ตัวอย่าง การ ทบทวน เอกสาร ที่ เกี่ยวข้อง

  1. การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นขั้นตอนที่สำคัญขั้นหนึ่งของ การวิจัย ซึ่งใช้เป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงระดับคุณภาพของงานวิจัยในเรื่องนั้นๆได้ เป็นอย่างดี
  2. การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ช่วยทำให้ผู้วิจัยทราบข้อมูลมากมายในเรื่องที่จะทำวิจัยตั้งแต่ขั้นเริ่ม ต้นจนถึงขั้นสุดท้ายของการวิจัย
  3. ปัญหาที่สำคัญของกิจกรรมในการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 3.1 การไม่รู้จักแบ่งเวลาให้เหมาะสมสำหรับการค้นคว้าเอกสาร 3.2 ไม่รู้จักแหล่งของเอกสารและข้อมูล 3.3 ไม่รู้จักหลัก และเทคนิคของการสกัดข้อมูลที่สำคัญออกมาจากเอกสาร และงานวิจัยที่อ่าน 3.4 ไม่รู้จักวิธีเขียนเรียบเรียงเชื่อมโยงข้อมูลทั้งหมดจากเอกสารเข้าด้วยกัน
  4. สรุปขั้นตอนการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นแรก อ่านราบละเอียดตั้งแต่ต้นจนจบ ให้รู้เรื่องทั้งหมด ขั้นที่สอง วิเคราะห์เรื่องที่อ่าน โดยจับประเด็นใหญ่ๆมาสรุปเป็นตาราง ดังนี้ ก. ปัญหาวิจัย วัตถุประสงค์ สมมติฐาน ข. รูปแบบการวิจัย ขนาดตัวอย่าง ตัวแปรที่สำคัญ ค. เครื่องมือวัดวิธีเก็บข้อมูล วิธีวิเคราะห์ข้อมูล ง. ผลการวิจัย ขั้น ที่สาม เขียนเรียบเรียงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยเรียบเรียงเรื่องที่อ่านในขั้นที่สองให้ต่อเนื่องกัน ลักษณะของความต่อเนื่องอาจพิจารณาได้หลายลักษณะ ลักษณะที่สำคัญและพบมากในการเขียนรายงานวิจัยลงในวารสารวิชาการ ก็คือ ลักษณะการต่อเนื่องของผลการวิจัยและตัวแปรสำคัญๆที่มีบทบาทต่อผลการวิจัย สำหรับหัวข้ออื่นๆที่จะนำมาเขียนขึ้นอยู่กับว่า ผู้วิจัยต้องการนำประเด็นนั้นมาเกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่จะทำมากน้อยแค่ไหน เช่น ขนาดของตัวอย่าง หรือวิธีสุ่มตัวอย่าง เครื่องมือวัด หรือแบบการทดลอง เป็นต้น

ข้อเตือนใจในการเขียนเรียบเรียงเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

  1. การเขียนเรียบเรียงเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ให้เลือกเอาเฉพาะข้อมูลและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่จะศึกษาจริงๆ เท่านั้นมาเขียน ไม่ใช่เป็นการเอาเอกสารและงานวิจัยที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือเกี่ยวข้องเพียงเล็กน้อยเท่านั้นมาเขียนเรียงใส่เข้าไป เพื่อให้งานวิจัยดูหนามากขึ้น
  2. การเขียนเรียบเรียงต้องเน้นในลักษณะของการเชื่อมโยง และความต่อเนื่องของเนื้อหาในประเด็นที่เป็นปัญหาการวิจัย ซึ่งเป็นเป้าหมายสำคัญมากกว่าที่จะเขียนในลักษณะเรียงต่อเนื่องกันตามระยะ เวลาก่อนหลังของผู้ที่ศึกษาวิจัย และจุดอ่อนข้อนี้มักจะพบบ่อยๆในรายงานวิจัยทั่วๆไป คือ จะเอางานวิจัยของแต่ละคนมาเรียงต่อกันตามระยะเวลาก่อนหลังที่ทำการวิจัยใน แต่ละย่อหน้าไปเลย โดยไม่ได้มีการเชื่อมโยงในเนื้อหาที่สำคัญๆแต่อย่างใด
  3. ต้องมีการเขียนสรุปในตอนท้ายด้วย ไม่ใช่ปล่อยให้ข้อความขาดตอนทิ้งค้างไว้เฉยๆ ข้อความที่สรุปจะเป็นส่วนเชื่อมโยงระหว่างการวิจัยที่ศึกษามาแล้วกับงาน วิจัยที่จะศึกษานี้นั้นมันเกี่ยวข้องกันอย่างไร ถ้าไม่สามารถสรุป เพื่อชี้จุดตรงนี้ให้เห็นได้ การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่ทำมาแล้ว ก็แทบจะไม่มีความหมายอะไรเลย แนวทางของการเขียนสรุปสามารถเขียนได้ในหลายลักษณะ ซึ่งขึ้นอยู่กับประเด็นสำคัญๆที่ได้จากการอ่านเอกสารและรายงานนั่นเอง

ตัวอย่าง การ ทบทวน เอกสาร ที่ เกี่ยวข้อง

  • 1. ทองวาสนาสง] การกําหนดปญหาและ การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย
  • 2. การตั้งชื่อโครงการวิจัย • การกําหนดวัตถุประสงคสําหรับการวิจัย • สาระที่สําคัญในการทบทวนวรรณกรรม • ความหมายของวรรณกรรม • การทบทวนวรรณกรรม (Review literature) • ประโยชนของการทบทวนวรรณกรรม • แหลงของวรรณกรรมที่เกี่ยวของ • ขอเสนอแนะในการทบทวนวรรณกรรม • หลักการเขียนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ • สรุปการทบทวนวรรณกรรม • การเขียนเอกสารอางอิง
  • 3. เชน ตํารา บทความ • งานวิจัยของผูอื่น • บทคัดยอ • ประสบการณ • ขอเสนอของผูรู • การวิเคราะหแนวโนมของเหตุการณในสังคม • การจัดสัมมนา • จากสถาบันตาง ๆ 3 แหลงที่มาของปญหาการวิจัย 3
  • 4. ใหเปนปญหาใหม ๆ • คํานึงถึงเวลา • สภาพแวดลอม 4 หลักเกณฑในการเลือกปญหาการวิจัย 4
  • 5. ๆ ใชภาษาเขาใจงาย • ใชคําที่บงบอกวาเปนการวิจัยลักษณะใด • ใชคํานาม เชน การเปรียบเทียบ การสํารวจ การวิเคราะห • ขอความควรเรียงใหไดคําที่สละสลวย 5 การตั้งชื่อโครงการวิจัย 5
  • 6. เขียนเปนประโยคบอกเลาแลวตามดวยประโยคคําถาม • เขียนเปนสมมุติฐาน 6 การกําหนดวัตถุประสงคสําหรับการวิจัย 6
  • 7. ประโยชนที่ไดจากการทบทวนวรรณกรรม • แหลงของวรรณกรรมที่เกี่ยวของ • ขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ • หลักการเขียนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ 7 สาระที่สําคัญในการทบทวนวรรณกรรม 7
  • 8. หมายถึง สื่อสิ่งพิมพตางๆ ที่ รวบรวมไวอยางเปนระเบียบ เปนประโยชนในการศึกษา โดย สิ่งพิมพตองเปนที่นาเชื่อถือได เชน หนังสือ วารสาร จดหมาย เหตุ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ Encyclopedia เอกสารที่ เกี่ยวกับทฤษฎีที่ใชในการวิจัย เปนตน 8 ความหมายของวรรณกรรม 8
  • 9. ซึ่ง เกี่ยวของกับ 4 เรื่องใหญคือ o ทฤษฎี (Theory): ทฤษฎีหลัก (Grand Theory) และทฤษฎีที่ทดสอบกับสภาพ จริงแลว (Grounded Theory) o รูปแบบ (Model): ถาไมมีทฤษฎีรองรับ อาจหารูปแบบ (Model) มารองรับได o การวิจัยเริ่มแรก (Empirical research): นําผลสรุปจากการวิจัยมาเปน วรรณกรรมที่เกี่ยวของ o ความเกี่ยวของของทฤษฎีและการวิจัย แบงเปน 2 ประเภท • Theory-then-Research • Research-then-Theory 9 การทบทวนวรรณกรรม (Review literature) 9
  • 10. Grand theory หรือ Grounded theory โดยระบุทฤษฎีใหชัดเจนวามีรายละเอียดอยางไร  เลือกทดสอบวาปรากฏการณที่มีอยูนั้นสอดคลองกับทฤษฎีหรือไม หากไมสอดคลองใหระบุวา อะไรแตกตางออกไป (ผูวิจัยอาจไดขอคนพบใหม)  การออกแบบการวิจัย เพื่อเก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูลและเพื่อสรุปผล  ตรวจสอบวาจะยอมรับหรือปฏิเสธทฤษฎีนั้น พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบ  ทําการพัฒนาทฤษฎีตอไปดวยกระบวนการวิจัย 10 การทบทวนวรรณกรรม (Review literature) 10
  • 11. หรือการสืบคนเชิง ธรรมชาติ  ทําการวัดและประเมินผลปรากฏการณที่เกิดขึ้นโดยอาศัยกระบวนการวิจัยตั้งแตการกําหนด ตัวแปร และออกแบบเครื่องมือชี้วัด  วิเคราะหผลที่เกิดขึ้น  นําผลสรุปไปสรางเปนทฤษฎีตอไป ซึ่งอาจเปน Grounded theory แลวพัฒนาเปน Grand theory ในที่สุดก็ได 11 การทบทวนวรรณกรรม (Review literature) 11
  • 12. Model และงานวิจัยอะไรที่เกี่ยวของกับ ประเด็นปญหาของการวิจัยบาง มีตัวแปรอะไรที่เกี่ยวของบาง  เปนแนวทางใหผูวิจัยสามารถกําหนดกรอบแนวคิด (Conceptual framework) หรือ กรอบทฤษฎี (Theory framework) ของการวิจัยได นําไปสูการตั้งสมมติฐานตอไป  เพื่อใหทราบวามีใครทําวิจัยในเรื่องที่จะศึกษาอยูบาง เพื่อปองกันการทํา ซ้ําซอนกัน ทั้งวิธีการ กลุมตัวอยาง และเครื่องมือ  เพื่อศึกษางานวิจัยของผูอื่น จะไดทราบวิธีการศึกษา กลุมตัวอยาง เครื่องมือที่ ใช วิธีการ รวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล ซึ่งทําใหผูวิจัยไดแนวคิดมา ประยุกตใชกับการวิจัยที่จะจัดทําได  เพื่อชวยในการอภิปรายผลไดมากขึ้น 12 การทบทวนวรรณกรรม (Review literature) 12
  • 13. เพื่อใหผูวิจัยไดขอสรุปในการขยายแนวคิดตาง ๆ ที่ไดอานมาไปศึกษา เพิ่มเติม หรือศึกษาในสวนที่ยังไมสมบูรณ 13 การทบทวนวรรณกรรม (Review literature) 13 จุดมุงหมายของการทบทวนวรรณกรรม
  • 14. เปนเรื่องที่อยูในความสนใจของ สังคม ของศาสตรที่กําลังศึกษา  ทําใหไดหัวขอไมซ้ํากับผูวิจัยอื่นๆ  ทําใหผูวิจัยเกิดแนวคิดในการทําวิจัยที่มีประโยชนตอศาสตร ตอสังคม โดยรวม มีการเชื่อมโยงความรูจากทฤษฎี งานวิจัย และจากศาสตรตางๆ เขาดวยกัน  ทําใหผูวิจัยไดแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการวิจัย ตั้งแตเครื่องมือการ วิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การแปลผล 14 ประโยชนของการทบทวนวรรณกรรม 14
  • 15. book) ที่เกี่ยวของกับเรื่องที่กําลังวิจัย  บทความจากวารสารตางๆ ทั้งในและตางประเทศ  รายงานการวิจัยจากสถาบันการศึกษา และหนวยงานตางๆ  สารานุกรมทางการวิจัย หนังสือรวบรวมบทคัดยอการวิจัย ทั้งในและ ตางประเทศ  วิทยานิพนธ  CD-ROM และ Internet 15 แหลงของวรรณกรรมที่เกี่ยวของ 15
  • 16. โดยพิจารณาคําสําคัญ (Key word)  คนหาจากเอกสารที่ตองการ ทั้งหนังสือ วารสาร พจนานุกรม Encyclopedia จากหองสมุด CD-ROM Internet  หลักเกณฑการเลือกเอกสารดังนี้  พิจารณาจากเนื้อหาที่เกี่ยวของเทานั้น  พิจารณาความทันสมัย ตองเปนความรูใหม สาระใหมๆ ทฤษฎีที่เปนที่ยอมรับ แพรหลาย มีความเปนปจจุบัน  ประวัติผูเขียนหรือผูวิจัย 16 ขอเสนอแนะในการทบทวนวรรณกรรม 16
  • 17. ความนาเชื่อถือของขอมูล การจดบันทึกรายละเอียดเพื่อปองกันการลืม  กรณีเปนหนังสือ: ชื่อ-สกุลผูแตง ชื่อหนังสือ วารสาร บทความ สถานที่พิมพ ปที่ พิมพ เลมที่ เลขหนา เลขหมูหนังสือ/สถานที่คนหนังสือ  กรณีเปนผลงานวิจัย: ชื่อหัวขอการวิจัย วัตถุประสงคของการวิจัย สมมติฐาน ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช สรุปผลการวิจัย 17 ขอเสนอแนะในการทบทวนวรรณกรรม 17
  • 18. ความหมายของคําสําคัญที่ปรากฏ โดยสรุปวาใครกลาวใหความหมายไวอยางไร บาง ซึ่งอาจจะเหมือนกัน คลายคลึงกัน แลวผูวิจัยสรุปวาในงานวิจัยนี้จะ หมายความวาอยางไร  แนวคิดในเรื่องที่ทําการวิจัย เชน กรอบแนวคิดอะไรบาง  ทฤษฏีที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ศึกษามีอะไรบาง มีการยืนยันทฤษฎีหรือไม ถาใชจะ ยืนยันทฤษฎีอะไร หากมีหลายทฤษฎี ตองสรุปวาจะนําทฤษฎีอะไรมาสนับสนุน บาง ถาไมมี ตองมี Model หรืองานวิจัยมาสนับสนุน  งานวิจัยที่เกี่ยวของ ทั้งงานวิจัยในและตางประเทศ เพื่อใหไดทราบวามีงานวิจัย ใดบางที่เกี่ยวของกับเรื่องที่จะวิจัย ขอคนพบของงานวิจัยแตละเรื่อง ตองสรุปให เปนหมวดหมูชัดเจน 18 หลักการเขียนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ 18
  • 19. และทําให เกิดแนวคิดที่เปนกรอบสําหรับการวิจัย  ชวยในการออกแบบการวิจัย สรางเครื่องมือสําหรับการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลและการสรุปผลของการวิจัย 19 สรุปการทบทวนวรรณกรรม 19
  • 20. อางอิงบทความทางวิชาการ • อางอิงผลการวิจัย 20 การเขียนเอกสารอางอิง 20 APA
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28. 3 ขอ • ใหนักศึกษาคนหางานวิจัยที่ใกลเคียงหรือคลายคลึงจากหัวของานวิจัย จากแหลงใดก็ได และใหเขียนอางอิงตามหลักวิชาการ โดยงานวิจัยที่ คนความานั้นจะตองเปนงานวิจัยที่แลวเสร็จ ตั้งแตป 55 เปนตนไป (เฉพาะขอนี้สงสัปดาหหนา) 28 คําถามและอภิปราย 28
  • 29. [email protected] Tel: 085-352-1050

การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องในการทำวิจัย คืออะไร

○การค้นคว้าข้อมูลและผลงานวิจัยจากแหล่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับ โจทย์การวิจัยที่กําหนด ให้ครอบคลุมประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ งานวิจัย ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์หรือโสตทัศนูปกรณ์ ต่างๆ

ควรทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเมื่อใด

ในการวิจัยใด ๆ นั้น การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจะเป็นขั้นตอนก่อน-หลัง จากผู้วิจัยได้กาหนดปัญหาของการวิจัยอย่างชัดเจนแล้ว ที่จ าเป็นจะต้องมีการศึกษา แนวคิด ทฤษฏีหรือ กฎเกณฑ์ว่าจะใช้แนวทาง/ระเบียบวิธีการใดในการศึกษาปัญหาหรือวิธีการแก้ไขปัญหาการวิจัยนั้น ๆ รวมทั้งมีการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่าง ...

วิธีเขียนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

โดยหลักการเขียนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จะต้องปฏิบัติดังนี้ อ่าน ศึกษา และวิเคราะห์งานวิจัยที่สอดคล้องให้มาก เรียงลำดับการเขียนจากกว้างไปแคบ หรือเรียงตามตัวอักษร นำบทคัดย่อ สรุปผล และอภิปรายผล จากงานวิจัยที่มีเนื้อหาของงานคล้ายกับงานที่จะทำการศึกษา

การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องมีกี่ขั้นตอน

กระบวนการในการทบทวนวรรณกรรม 1.ระบุประเด็นที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน 2.ระบุแหล่งข้อมูลในการรวบรวมวรรณกรรมต่างๆ 3.คัดเลือกวรรณกรรมที่ต้องการ อาทิหนังสือ วารสารวิชาการ รายงานการ วิจัย ฯลฯ โดยหารให้คาสาคัญ (KEY WORD) จากประเด็นที่ต้องการ ศึกษาในการค้นหา 4.อ่านและประเมินคุณค่าวรรณกรรม