Ep สตร ว ทย 2 ม สอบส มภาษณ แบบไหน

Ep สตร ว ทย 2 ม สอบส มภาษณ แบบไหน

boomsdu Download

  • Publications :0
  • Followers :0

วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (พ.ค.-ส.ค.63)

วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (พ.ค.-ส.ค.63)

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (พ.ค.-ส.ค.63)

The Examination of Crucial Factors to Enhance Creative Contents in the Queer Film Production: A Study of “Love of Siam” Directed by Chookiat Sakveerakul (Full paper)

The Examination of Crucial Factors to Enhance Creative Contents in the Queer Film Production: A Study of “Love of Siam” Directed by Chookiat Sakveerakul (Full paper)

Although there are a number of film studies that reported on contents of Queer films, there are no film studies that focused on the factors supporting in making Queer films. Hence, the purpose of this study is to examine the symbolic codes that signify the contents and messages of the films, “Love of Siam”. Through semiotics, this study found that the used symbolic codes in the film reflect the love stories of family members, friends, and Queer. It intentionally communicated that “Queer” has become more acceptable in Thai society. Through the in-depth interview, it found that the factors supporting Madeaw Chookiat Sakveerakul in making the film included living skill, educational background, family background, friends, seniors, juniors, instructors, musical and film preferences. Importantly, intrinsic motivation is the most significant factor. Therefore, this film is accepted by audiences and people in the entertainment industry.

Ep สตร ว ทย 2 ม สอบส มภาษณ แบบไหน

boomsdu Download

  • Publications :0
  • Followers :0

วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (ม.ค.-เม.ย.63)

วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (ม.ค.-เม.ย.63)

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

วารสารบัณฑิตวิทยาลัย (ม.ค.-เม.ย.63)

ในที่สุด HR ก็นัด สัมภาษณ์งาน แล้ว จะต้องเตรียมตัวอย่างไร ? มี คำถามสัมภาณ์งาน แบบไหนบ้างที่อาจทำให้ตกม้าตายได้แบบไม่รู้ตัว สัมภาษณ์งาน ทั้งทีใครก็อยากได้งานกันทั้งนั้น

HR Buddy ขอแชร์ 20 คำถามสัมภาษณ์งาน ยอดนิยม และเทคนิคการตอบที่ทำให้โดดเด่นกว่าใคร ได้ใจคน สัมภาษณ์งาน ไปเต็ม ๆ มาเตรียมตัวไปพร้อมกันเลยค่ะ (เทคนิคการตอบอยู่ใต้ภาพนะคะ)

⭐️ 1 แนะนำตัวให้ฟังหน่อย : ไม่ควรเกิน 3 นาที บอกชื่อ-สกุล คณะ สาขา สถาบันที่จบ จากนั้นเล่าถึงผลงาน โครงการ หรืองานพิเศษที่เคยทำ ซึ่งมีความสอดคล้องหรือเกี่ยวข้องกับตำแหน่งที่ สัมภาษณ์งาน เพื่อแสดงถึงทักษะของเราและความสนใจในงาน รวมถึงเป้าหมายในอาชีพที่แสดงว่าเรามีความตั้งใจที่จะทำงานในระยะยาวและพัฒนาตัวเองในสายงานนี้

⭐️ 2 สิ่งที่ภูมิใจมากที่สุดในชีวิต : ควรเป็นเรื่องที่ทำให้เราได้พัฒนาตัวเอง และเป็นแรงผลักดันให้เราอยากก้าวหน้าพัฒนาตัวเองต่อไปอีกเรื่อย ๆ ด้วย

⭐️ 3 จุดอ่อนหรือข้อเสียของคุณคืออะไร : ต้องเป็นเรื่องที่กำลังพัฒนาตัวเองในส่วนนั้นเพื่อให้กลายเป็นจุดแข็งและเป็นประโยชน์ต่อการทำงาน เช่น ทักษะด้านภาษา ทักษะการสื่อสาร

⭐️ 4 เล่าเป้าหมายในชีวิตให้ฟังหน่อย : แบบไหนก็ได้แต่ต้องทำให้คน สัมภาษณ์งาน เห็นด้วยว่า เราต้องการที่จะพัฒนาตัวเองเกี่ยวกับทักษะในสายงานที่สมัครให้เก่งขึ้นและก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อย ๆ

⭐️ 5 ลักษณะงานที่ไม่ชอบมากที่สุด : ไม่ว่าจะเป็นอย่างไร ต้องมีวิธีรับมือด้วย ถ้าต้องเจองานแบบนั้น จะทำอย่างไรเพื่อให้การทำงานผ่านไปได้ด้วยดีที่สุด

⭐️ 6 ลักษณะหัวหน้าที่ไม่ต้องการทำงานด้วย : ตอบได้เต็มที่เลยค่ะ แต่ต้องเข้าใจโลกแห่งความเป็นจริงด้วยว่า เราไม่สามารถเลือกหัวหน้า หรือเลือกคนร่วมงานได้ ดังนั้นเมื่อเข้าไปทำงาน ย่อมมีโอกาสเจอคนในแบบที่เราไม่ชอบเสมอ แต่เราจะมีวิธีบริหารจัดการอย่างไร เพื่อให้สามารถร่วมงานกับพวกเขาได้อย่างราบรื่นที่สุด

⭐️ 7 สิ่งที่ทำให้เสียใจมากที่สุดในชีวิต : ไม่ควรเป็นเรื่องที่เราพยายามโทษคนอื่นนะคะ ควรเป็นเรื่องที่เกิดจากความผิดพลาดของเราที่ส่งผลให้เราเกิดความตระหนักที่จะตั้งใจและพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้นกว่าเดิม เพื่อไม่ให้ผิดพลาดซ้ำอีก

⭐️ 8 หากมีปัญหาในการทำงาน จะทำอย่างไร : แสดงถึงวิธีการที่เป็นทัศนคติเชิงบวก ต้องรู้จักขอโทษเมื่อเราผิด และให้อภัยเมื่ออีกฝ่ายผิด (แม้เขาจะไม่พูดขอโทษก็ตาม) เมื่อปัญหาเกิดขึ้นแล้ว ไม่ต้องพยายามค้นหาว่าใครเป็นคนผิดให้เสียเวลาและเสียความรู้สึกกันเปล่า ๆ แต่ให้รีบหาวิธีพร้อมลงมือแก้ปัญหาให้เร็วที่สุด

⭐️ 9 เหตุผลที่เลือกสมัครงานกับบริษัท : สนใจงานนี้เพราะคุณสมบัติและทักษะที่เขากำหนดตรงกับตัวเรา ซึ่งเรามั่นใจว่ามีความพร้อมในการทำงานและอยากพัฒนาตัวเองเพื่อเติบโตไปพร้อมกับบริษัท

⭐️ 10 ลักษณะพิเศษและความโดดเด่นที่บริษัทควรพิจารณา : ต้องเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งที่ สัมภาษณ์งาน เช่น ทักษะเฉพาะที่ต้องใช้ในงานนั้น

⭐️ 11 ทำไมคุณคิดว่าเหมาะสมกับงานนี้ : เรามีทักษะและคุณสมบัติที่ตรงกับงานนี้ ได้แก่อะไรบ้าง บอกเขาให้หมดเลยค่ะ แต่ต้องเกี่ยวข้องกับงานนั้นจริง ๆ นะคะ

⭐️ 12 คิดว่าตำแหน่งนี้มีหน้าที่รับผิดชอบอะไรบ้าง : ก่อนไป สัมภาษณ์งาน ต้องศึกษาบริษัทให้รู้จักเป็นอย่างดีที่สุด โดยเฉพาะประเภทธุรกิจ สินค้าและ/หรือบริการ แล้วกลับไปดูที่ ประกาศงาน ที่คุณกำลังจะไปสัมภาษณ์นี้ให้ละเอียดเลยค่ะ เขาระบุหน้าที่ว่าอะไรบ้าง เกี่ยวข้องกับสินค้า/บริการอย่างไร

⭐️ 13 คุณต้องการเงินเดือนเท่าไร : ควรอยู่ในจำนวนที่ไม่น้อยหรือมากเกินไปจากที่เขาระบุในประกาศงาน และต้องให้เหตุผลด้วย นั่นคือ เรามีคุณสมบัติและความสามารถตรงตามที่เขากำหนด จึงเหมาะสมที่จะได้เงินเดือนตามจำนวนนั้น แต่ถ้าเขาไม่ระบุในประกาศ ให้ดูประกาศของบริษัทอื่นที่รับสมัครตำแหน่งงานที่คล้ายกัน แล้วเรียกตรงกับจำนวนนั้นหรือใกล้เคียงก็ได้ค่ะ

⭐️ 14 ทำไมเราต้องจ้างคุณ : ย้ำให้เขาเห็นอีกครั้งว่า เรามีทักษะความสามารถที่พร้อมทำงาน และสนใจในงานนี้ อยากพัฒนาตัวเองในสายงานนี้ ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าว จะทำให้เรามีความสุขและทำงานออกมาด้วยความตั้งใจ ได้งานที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพด้วย

⭐️ 15 ถ้าทำงาน 5 ปีแล้วไม่ได้รับการโปรโมท คุณจะอยู่ทำงานนี้ต่อหรือไม่ : ก่อนอื่นต้องหันกลับมามองตัวเองก่อน ว่าได้พัฒนาตัวเองให้มีความสามารถที่มากพอ เหมาะสมต่อการโปรโมทรึเปล่า ถ้าเหมาะสมแล้ว ก็ต้องพูดคุยกับหัวหน้าหรือเจ้านายให้เข้าใจกัน หากบริษัทมีเงื่อนไขที่ไม่สามารถให้ความก้าวหน้ากับเราได้ ก็ต้องเลือกไป แต่ก่อนไปก็จะทำหน้าที่ให้สมบูรณ์ที่สุดให้สมกับที่บริษัทนี้เคยให้โอกาสเรา

⭐️ 16 คุณทำงานเป็นทีมได้หรือเปล่า ยกตัวอย่าง : ตัวอย่างต้องแสดงให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทำงานเป็นทีม แล้วเรามีวิธีรับมือกับปัญหานั้น ทำให้งานประสบความสำเร็จได้ตามเป้าหมาย

⭐️ 17 เหตุผลอะไรที่จะทำให้เริ่มหางานใหม่ : ควรเป็นเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาต่อยอดความสามารถของเรา ไม่ควรเป็นเรื่องเพื่อนร่วมงาน หรือการขึ้นเงินเดือน (แม้จะเป็นจริงแต่เก็บไว้ในใจก็พอค่ะ)

⭐️ 18 เล่าถึงการทำงานภายใต้ความกดดันที่ผ่านมาให้ฟังหน่อย : สำคัญที่วิธีรับมือ ทำอย่างไรเมื่อได้รับผลกระทบจากความกดดัน แล้วเรายังสามารถทำงานสำเร็จได้ด้วยดี แล้วจะนำประสบการณ์ครั้งนั้นไปใช้ในอนาคตได้อย่างไร

⭐️ 19 กิจกรรมอื่นที่สนใจนอกเหนือจากงาน : ถ้าไม่มี เราจะถูกมองว่าเป็นคนเก็บตัว เข้ากับคนยาก โลกส่วนตัวสูง เรื่องเหล่านี้ส่งผลเสียต่อการทำงาน ของแบบนี้มันต้องมีค่ะ เช่น กิจกรรมที่ช่วยคลายเครียด, การรักษาสุขภาพ หรือการเข้าสังคมพบปะเพื่อน ๆ

⭐️ 20 มีอะไรจะถามเพิ่มเติมไหม : ต้องถามนะคะ อะไรก็ได้ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท เช่น วัน – เวลาทำงาน, วันหยุด, จะได้ทำงานกับคนสัมภาษณ์ไหม, การแต่งกายมาทำงาน ฯลฯ ทำให้เขาเห็นว่า เราสนใจที่จะร่วมงานกับบริษัทอย่างจริงจัง ทำให้คน สัมภาษณ์งาน ประทับใจในตัวเรามากขึ้นค่ะ