แผนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คณิตศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คณิตศาสตร์

  • Home
  • Public
  • Search
  • Owners
  • Login
  • About EXPLORE
    • Background EXPLORE
    • Working EXPLORE
    • How to use EXPLORE

Thai  Eng

 การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 21

VDO.


Header :  การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 21
Owner :  คมคาย ไพฑูรย์
Co-Owner :   อาจารย์ ดร.น้ำผึ้ง อินทะเนตร
keywords :   คณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 21
Department :  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Description :  การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยการจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เป็นผู้คิดแก้ปัญหาเพื่อให้ได้วิธีการที่หลากหลายในการแก้ปัญหานั้นๆ ด้วยตนเอง ครูเป็นเพียงผู้อำนวยความสะดวกและชี้แนะ การสอนคณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ ๒๑ ต้องให้ผู้เรียนเข้าใจที่มาที่ไปของความรู้ไม่ใช่การให้สูตร แทนค่า ทำตามแบบฝึกหัดแล้วสิ้นสุดการสอน การจัดการเรียนรู้แบบนี้ครูผู้สอนมีความจำเป็นต้องสร้างความร่วมมือกันเพื่อสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ สังเกตการจัดการเรียนรู้ และสะท้อนผลการเรียนรู้
More information :  
Add documents :  
Research Branch :   การศึกษา

  เรื่องที่เกี่ยวข้อง

Research Information and Data Center
National Research Council of Thailand
196 Paholyotin rd., Chatuchak, Bangkok 10900
Tel. 02-561-2445 |

ชื่อโครงการวิจัย/ชื่อเรื่องการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 21
ชื่อนักวิจัย/ชื่อผู้แต่งคมคาย ไพฑูรย์
เจ้าของผลงานร่วม อาจารย์ ดร.น้ำผึ้ง อินทะเนตร
คำสำคัญคณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 21
หน่วยงานมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปีที่เผยแพร่2560
คำอธิบายการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยการจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เป็นผู้คิดแก้ปัญหาเพื่อให้ได้วิธีการที่หลากหลายในการแก้ปัญหานั้นๆ ด้วยตนเอง ครูเป็นเพียงผู้อำนวยความสะดวกและชี้แนะ การสอนคณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ ๒๑ ต้องให้ผู้เรียนเข้าใจที่มาที่ไปของความรู้ไม่ใช่การให้สูตร แทนค่า ทำตามแบบฝึกหัดแล้วสิ้นสุดการสอน การจัดการเรียนรู้แบบนี้ครูผู้สอนมีความจำเป็นต้องสร้างความร่วมมือกันเพื่อสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ สังเกตการจัดการเรียนรู้ และสะท้อนผลการเรียนรู้
สาขาการวิจัย
  • สังคมศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คณิตศาสตร์

เกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

เกณฑ์การ ระดบั คุณภาพ / คะแนน

ประเมิน ดเี ยี่ยม (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1)

เกณฑ์การประเมิน

11. เกณฑ์การให้คะแนนตดั สินระดับคุณภาพชน้ิ งาน/ภาระงาน

ระดบั 4 หมายถงึ ดีเยย่ี ม = 9 - 10 คะแนน
7 - 8 คะแนน
ระดบั 3 หมายถึง ดี = 5 – 6 คะแนน
1 - 4 คะแนน
ระดบั 2 หมายถึง พอใช้ =

ระดับ 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ =

การประเมินสมรรถนะสำคญั คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์และทกั ษะศตวรรษท่ี 21

ประเดน็ ประเมิน แหลง่ วธิ ีวดั เครอื่ งมือวดั เกณฑ์การให้
คะแนน
สมรรถนะสำคัญ ชิน้ งาน/การ การตรวจ/ แบบตรวจ/
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร อธบิ ายหรือการ การสังเกต แบบสังเกต - ความถกู ต้องของ
2. ความสามารถในการคิด นำเสนอ ช้ินงาน
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ชน้ิ งาน/การ การประเมนิ แบบประเมนิ -ตรงกับความเปน็
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี อธบิ าย/การ จริง
นำเสนอ
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ -ความถกู ต้อง
2. ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ ช้นิ งาน/การ การตรวจ แบบตรวจ - ความเขา้ ใจ
3. มวี นิ ัย อธิบายหรอื การ ประเมิน ประเมิน -ความเหมาะสม
4. ใฝค่ วามรู้ นำเสนอ ชน้ิ งาน/ ชิน้ งาน/ การ
6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน การสงั เกต สังเกตการ
8. มจี ติ สาธารณะ การอธบิ าย อธิบายหรอื
หรอื การ การนำเสนอ
ทักษะศตวรรษท่ี 21 นำเสนอ
1. Reading
2. Writing
3. Arithmetic
4. Critical thinking and problem
solving
5. Creativity and innovation
6. (Collaboration, teamwork and
leadership)
7. Cross-cultural understanding
8. Communication information
and media literacy
9. Computing and ICT Literacy
11. Compassion

บันทกึ ผลหลงั การสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นกั เรียนจำนวน........................คน
ผา่ นจดุ ประสงค์การเรียนร.ู้ ..............คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................................
ไมผ่ า่ นจดุ ประสงค์............................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................................

2. นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรียนมีความรเู้ กดิ ทกั ษะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นกั เรียนเจตคต/ิ คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปญั หา/อุปสรรค /แนวทางแกไ้ ข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ…………………….………………………………
(นางสาวสภุ าพร สารสี งั ข)์
ตำแหนง่ ครู

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 13

วิชาคณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั ชน้ั .ประถมศกึ ษาปที ี่ 3

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ชื่อหน่วยจำนวนนับไม่เกิน 100,000 จำนวน 14 คาบ

เร่อื ง แบบรปู ของจำนวนท่เี พ่ิมขน้ึ หรือลดลงทลี ะเท่าๆกัน

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 เวลา 1 คาบ

1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 1.2 : เขา้ ใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสมั พนั ธ์ ฟงั กช์ ัน ลำดบั และอนุกรม

และนำไปใช้

2. ตวั ชี้วดั ชั้นปี

ค 1.2 ป.3/1 : ระบจุ ำนวนท่ีหายไปในแบบรูปของจำนวนท่เี พม่ิ ข้นึ หรอื ลดลงทีละ

เทา่ ๆ กนั

3. สาระสำคัญ

แบบรูปของจำนวนท่ีเพ่ิมข้ึนหรือลดลงเป็นการเรียงลำดับจำนวนจากน้อยไปมาก หรือมากไปหา

น้อย จำนวนที่อยตู่ ดิ กนั อาจจะเพมิ่ ขนึ้ หรือลดลงตามท่กี ำหนด อาจจะเริม่ ตน้ ดว้ ยจำนวนนบั จำนวนใดกไ็ ด้

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายแบบรปู ของจำนวนทเี พิม่ ขึน้ หรือลดลงทีละเท่า ๆ กันได้ (K)

2. ระบุจำนวนทหี่ ายไปในรูปของจำนวนทเี่ พม่ิ ข้ึนหรอื ลดลงทลี ะเท่า ๆ กนั ได้ (P)

3. รบั ผดิ ชอบต่อหน้าทท่ี ่ีได้รบั มอบหมาย (A)

5. พฤตกิ รรมการเรียนรู้ Knowledge Practice Attitude ( K P A )

ดา้ นความรู้ ( Knowledge : K)

1.อธิบายแบบรปู ของจำนวนทีเพ่ิมขนึ้ หรอื ลดลงทีละเทา่ ๆ กนั ได้ (K)

ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process : P)9

1.มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา

2.มคี วามสามารถในการส่ือสาร สือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์

3.มคี วามสามารถการเช่ือมโยง

ดา้ นเจตคติ/คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ (Attitude: A)

1. รกั ชาติ

2. ซือ่ สัตย์สุจริต

3. มวี นิ ัย

4. ใฝ่ความรู้

5. อยู่อยา่ งพอเพียง

6. มุ่งม่นั ในการทำงาน

7. รกั ความเปน็ ไทย

8. มีจิตสาธารณะ

6. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. ทักษะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 (3R 8C )
1. ทกั ษะการอ่าน (Reading)
2. ทักษะการ เขียน (Writing)
3. ทกั ษะการคิดคำนวณ (Arithmetic)
4. ทักษะด้านการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา
(Critical thinking and problem solving)
5. ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and innovation)
6. ทกั ษะด้านความร่วมมือการทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ
(Collaboration, teamwork and leadership)
7. ทกั ษะด้านความเข้าใจตา่ งวฒั นธรรมตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
8. ทักษะด้านการส่ือสารสารสนเทศและร้เู ทา่ ทันสื่อ (Communication information
and media literacy)
9. ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)
10. ทักษะอาชีพและทักษะการเรยี นรู้ (Career and learning self-reliance, change)
11. มีคุณธรรม มีเมตตา กรณุ า มรี ะเบียบวินัย (compassion)

8. การบรู ณาการ
 1. บูรณาการรายวิชาอนื่ .....................................................................................................
 2. บูรณาการหลกั สตู ร STAR STEM …………………………………………………………………………….
 3. อื่นๆ (ระบ.ุ .....................................................)

9. สาระการเรียนรู้
แบบรูปของจำนวนทเ่ี พมิ่ ขน้ึ หรอื ลดลงทีละเท่าๆกัน

10. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้นั นำ

1. ครกู ระตนุ้ ความสนใจของนักเรียนโดยการให้นกั เรียนดบู ตั รจำนวน 5 ใบ

4,542 4,539 4,536 4,533 4,530
4530
2. จากนั้นครูต้ังคำถาม แล้วให้นักเรียนร่วมกันตอบว่า “นักเรียนรู้หรือไม่ว่า จำนวนเหล่านี้มี
ความสัมพันธก์ ัน

อย่างไร” ครูคอยกระตุ้นใหน้ ักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล โดยให้คำแนะนำได้บ้างว่าบัตรจำนวนแต่
ละใบแตกต่างหรือเหมือนกันอย่างไร ถา้ ต่างกัน ต่างกนั อย่างไร หรือถา้ เหมือนกนั เหมือนกนั อย่างไร ให้
นกั เรียนได้ใช้ความคิด
ข้ันสอน

3. ครอู ธิบายในหนังสอื เรยี นหนา้ 30-31 โดยให้นกั เรียนสังเกตเก่ยี วกบั ความสมั พนั ธข์ องแบบรปู
ท้งั แบบเพ่ิมข้นึ และลดลง

4. จากนน้ั ใหน้ กั เรียนชว่ ยกันตอบคำถามแบบฝึกหัดในหนงั สอื เรยี นหนา้ 32 เกีย่ วกับแบบรูปของ
จำนวนที่เพ่มิ ขนึ้ หรือลดลงวา่ เพ่ิมข้นึ หรือลดลงและหาจำนวนทหี่ ายไปในแบบรูปนั้นๆ

5. ครูจดั กจิ กรรมไมข้ ีดเสริมปัญญา โดยแบง่ นกั เรยี นเปน็ กลุ่ม กลุ่มละเทา่ ๆกัน
6. จากนั้นครตู ดิ แถบแบบรูปการวางไม้ขีดบนกระดานใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกันวางไม้ขดี เพือ่
แสดงรปู ที่ 4 ในแต่ละแบบรปู ที่ครกู ำหนด
7. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันวาดรูปแสดงการวางไม้ขดี ในกระดาษ ครูต้ังคำถามว่ารปู ท่ี 4 ใชไ้ ม้
ขดี กี่ก้านจำนวนไม้ขดี แตล่ ะรูปเป็นแบบรปู ของจำนวนท่ีเพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเทา่ ไหร่
ขน้ั สรุป

8. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลงาน
9. การตรวจสอบความเข้าใจให้นักเรยี นเตมิ จำนวนทหี่ ายไปในแบบรปู ทีก่ ำหนดใหใ้ นหนงั สือ
เรียนหนา้ 34
10. จากนน้ั ครแู ละนกั เรยี นช่วยกันสรปุ ส่งิ ทไี่ ดเ้ รยี นรู้ว่าแบบรูปของจำนวนที่เพม่ิ ข้ึนหรอื ลดลงที
ละเทา่ ๆกันเป็นชุดของจำนวนทม่ี คี วามสมั พันธ์กนั อย่างต่อเน่อื งในลกั ษณะของการเพิ่มขึ้นหรือลดลงทลี ะ
เท่าๆกัน
11. ทำแบบฝึกหดั 1.6 ในหนังสอื แบบฝึกหดั หนา้ 24
12. ครูให้นักเรียนทำใบงานเพม่ิ ทักษะ
11. ชิ้นงาน/ภาระงาน
1.แบบฝกึ หัด
2.ใบงาน
12. สื่อการเรยี นรู้ / แหล่งเรยี นรู้
12. หนงั สอื เรียนคณติ ศาสตร์ ป.3 เล่ม 1 สสวท.
13. แบบฝึกคณิตศาสตร์ ป.3 เล่ม 1 สสวท.

14. ไม้ขีด 55 กา้ นและ//.กระดาษ 4 แผ่น

13. การประเมินผลการเรยี นรู้
1.วิธกี ารวัด

วธิ ีการ เครอ่ื งมอื เกณฑ์

ตรวจแบบฝึกหดั และใบงาน แบบฝึกหัดและใบงาน ร้อยละ60ผา่ นเกณฑ์

สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน ระดบั คณุ ภาพ2ผา่ นเกณฑ์
รายบคุ คล

2.ประเมินผล

ประเด็นการ 4 ระดับคุณภาพ 1
ประเมนิ (ดีมาก) (ตอ้ งปรับปรุง)
32
(ด)ี (กำลงั พัฒนา)

1. เกณฑ์การ ทำแบบฝึกได้อย่าง ทำแบบฝึกได้อย่าง ทำแบบฝกึ ไดอ้ ย่าง ทำแบบฝึกไดอ้ ย่าง

ประเมินการทำ ถกู ต้องรอ้ ยละ 90 ถกู ต้องร้อยละ 80 - ถูกต้องรอ้ ยละ 60 - ถกู ต้องต่ำกวา่ ร้อย

แบบฝกึ หดั และ ขน้ึ ไป 89 79 ละ 60

ใบงาน

2. เกณฑ์การ ทำความเข้าใจ ทำความเข้าใจ ทำความเข้าใจ ทำความเข้าใจ

ประเมนิ ความ ปัญหา คิด ปญั หา คิดวเิ คราะห์ ปญั หา คิดวิเคราะห์ ปัญหา คดิ วเิ คราะห์

สามารถในการ วเิ คราะห์ วางแผนแก้ปญั หา วางแผนแก้ปญั หา มีร่องรอยของการ

แกป้ ญั หา วางแผนแกป้ ัญหา และเลอื กใช้วิธีการ และเลือกใช้วธิ กี าร วางแผนแก้ปญั หา

และเลอื กใช้วธิ ีการ ที่เหมาะสม แต่ ได้บางส่วน คำตอบ แต่ไม่สำเร็จ

ที่เหมาะสม โดย ความสมเหตสุ มผล ทไ่ี ด้ยังไมม่ ีความ

คำนึงถึงความ ของคำตอบยงั ไม่ดี สมเหตุสมผล และ

สมเหตุสมผลของ พอ และตรวจสอบ ไม่มีการตรวจสอบ

คำตอบพร้อมทั้ง ความถกู ต้องไม่ได้ ความถูกต้อง

ตรวจสอบความ

ถูกต้องได้

3. เกณฑ์การ ใช้รูป ภาษา และ ใช้รปู ภาษา และ ใช้รปู ภาษา และ ใช้รูป ภาษา และ

ประเมนิ ความ สญั ลกั ษณท์ าง สัญลกั ษณท์ าง สัญลักษณ์ทาง สัญลักษณท์ าง

สามารถในการ คณติ ศาสตร์ในการ คณิตศาสตร์ในการ คณิตศาสตร์ในการ คณิตศาสตร์ในการ

สอ่ื สาร สอ่ื สอ่ื สาร ส่อื สาร ส่ือสาร สอ่ื สาร

ความหมายทาง สอื่ ความหมาย ส่อื ความหมาย สอ่ื ความหมาย สื่อความหมาย

คณติ ศาสตร์ สรปุ ผล และ สรปุ ผล และ สรปุ ผล และ สรุปผล และ

นำเสนอได้อยา่ ง นำเสนอได้ถกู ต้อง นำเสนอได้ถูกต้อง นำเสนอไม่ได้

ถูกต้อง ชดั เจน แตข่ าดรายละเอียด บางส่วน

ทส่ี มบรู ณ์

4. เกณฑ์การ มีความต้ังใจและ มคี วามต้งั ใจและ มีความตัง้ ใจและ ไม่มีความต้ังใจและ

ประเมินความมุ พยายามในการทำ พยายามในการทำ พยายามในการทำ พยายามในการทำ

มานะในการทำ ความเข้าใจปัญหา ความเข้าใจปัญหา ความเขา้ ใจปัญหา ความเข้าใจปัญหา

ความเข้าใจ และแก้ปัญหาทาง และแกป้ ัญหาทาง และแก้ปัญหาทาง และแกป้ ัญหาทาง

ปัญหาและ คณิตศาสตร์ มี คณิตศาสตร์ แต่ไม่ คณิตศาสตร์ แต่ไม่ คณติ ศาสตร์ ไม่มี

แก้ปัญหาทาง ความอดทนและไม่ มีความอดทนและ มีความอดทนและ ความอดทนและ

คณติ ศาสตร์ ท้อแท้ต่ออปุ สรรค ท้อแทต้ ่ออุปสรรค ทอ้ แท้ตอ่ อปุ สรรค ท้อแทต้ อ่ อุปสรรค

จนทำให้แกป้ ัญหา จนทำใหแ้ กป้ ัญหา จนทำใหแ้ ก้ปัญหา จนทำใหแ้ ก้ปัญหา

ทางคณิตศาสตร์ได้ ทางคณิตศาสตร์ได้ ทางคณิตศาสตร์ได้ ทางคณิตศาสตร์ได้

ประเดน็ การ 4 ระดับคุณภาพ 1
ประเมนิ (ดีมาก) (ตอ้ งปรับปรุง)
สำเร็จ 32
5. เกณฑ์การ (ด)ี (กำลงั พัฒนา) ไมส่ ำเรจ็
ประเมินความ มีความมุง่ มั่นใน
มุ่งมัน่ ในการ การทำงานอย่าง ไมส่ ำเรจ็ เลก็ น้อย ไมส่ ำเร็จเปน็ ส่วน
ทำงาน รอบคอบ จนงาน ใหญ่
ประสบผลสำเรจ็
เรยี บร้อย มคี วามมุง่ มัน่ ในการ มีความม่งุ มัน่ ในการ มีความมุ่งมั่นในการ
ครบถว้ นสมบูรณ์
ทำงานอย่าง ทำงานอย่าง ทำงานแต่ไม่มีความ

รอบคอบ จนงาน รอบคอบ จนงาน รอบคอบ สง่ ผลให้

ประสบผลสำเรจ็ ประสบผลสำเร็จ งานไม่ประสบ

เรียบรอ้ ยสว่ นใหญ่ เรียบร้อยส่วนนอ้ ย ผลสำเร็จอย่างท่ี

ควร

เกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

เกณฑ์การ ระดบั คณุ ภาพ / คะแนน

ประเมิน ดเี ยี่ยม (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1)

เกณฑ์การประเมิน

12. เกณฑ์การให้คะแนนตดั สินระดับคุณภาพชิ้นงาน/ภาระงาน

ระดบั 4 หมายถงึ ดเี ย่ยี ม = 9 - 10 คะแนน
7 - 8 คะแนน
ระดบั 3 หมายถึง ดี = 5 – 6 คะแนน
1 - 4 คะแนน
ระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ =

ระดับ 1 หมายถึง ปรบั ปรงุ =

การประเมนิ สมรรถนะสำคญั คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์และทกั ษะศตวรรษท่ี 21

ประเดน็ ประเมิน แหลง่ วธิ ีวดั เครอื่ งมือวดั เกณฑ์การให้
คะแนน
สมรรถนะสำคญั ชิน้ งาน/การ การตรวจ/ แบบตรวจ/
1. ความสามารถในการสอื่ สาร อธบิ ายหรือการ การสังเกต แบบสังเกต - ความถกู ต้องของ
2. ความสามารถในการคิด นำเสนอ ชิน้ งาน
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ชน้ิ งาน/การ การประเมนิ แบบประเมนิ -ตรงกับความเปน็
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี อธบิ าย/การ จริง
นำเสนอ
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ -ความถกู ต้อง
2. ซื่อสัตย์สจุ ริต ช้นิ งาน/การ การตรวจ แบบตรวจ - ความเขา้ ใจ
3. มีวินัย อธิบายหรอื การ ประเมิน ประเมิน -ความเหมาะสม
4. ใฝค่ วามรู้ นำเสนอ ชน้ิ งาน/ ชิน้ งาน/ การ
6. มุ่งมั่นในการทำงาน การสงั เกต สังเกตการ
8. มีจิตสาธารณะ การอธบิ าย อธิบายหรอื
หรอื การ การนำเสนอ
ทักษะศตวรรษที่ 21 นำเสนอ
1. Reading
2. Writing
3. Arithmetic
4. Critical thinking and problem
solving
5. Creativity and innovation
6. (Collaboration, teamwork and
leadership)
7. Cross-cultural understanding
8. Communication information
and media literacy
9. Computing and ICT Literacy
11. Compassion

บันทึกผลหลงั การสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรยี นจำนวน........................คน
ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้...............คน คิดเป็นร้อยละ.................................
ไม่ผา่ นจุดประสงค.์ ...........................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................................

2. นกั เรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรียนมคี วามรูเ้ กิดทกั ษะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนเจตคต/ิ คุณลักษณะที่พึงประสงค์
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปญั หา/อุปสรรค /แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขอ้ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………….………………………………
(นางสาวสุภาพร สารีสังข)์
ตำแหนง่ ครู

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 14

วิชาคณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ระดบั ชน้ั .ประถมศกึ ษาปที ่ี 3

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ชื่อหน่วยจำนวนนับไมเ่ กิน 100,000 จำนวน 14 คาบ

เร่ือง ร่วมคดิ ร่วมทำ

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 เวลา 1 คาบ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ค. 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของ

จำนวน ผลทเี่ กิดข้นึ จากการดำเนนิ การสมบตั ิของการดำเนินการและนำไปใช้

2. ตวั ช้ีวัดชน้ั ปี

ค 1.1 ป.3/1 อ่านและเขยี นตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน

100,000 และ 0

ค 1.1 ป.3/2 เปรียบเทยี บและเรยี งลำดับจำนวนนับไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ต่างๆ

3. สาระสำคัญ

จำนวนนับที่ไม่เกิน 100,000 และ 0 เป็นจำนวนที่ประกอบด้วยหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย

หลักพัน หลักหมื่น และหลักแสน สามารถอ่านและเขียนแทนด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ

ตวั หนังสือ ซ่ึงต้องใสเ่ ครอ่ื งหมายจุลภาค (,) ทุกช่วงสามตำแหน่งของจำนวนโดยนับจากหลักหน่วยไปทาง

ซ้ายมอื การเรียงลำดับจำนวนหลาย ๆ จำนวน ทำได้โดยการเปรียบเทียบจำนวนทุก ๆ จำนวน แล้ว

เรยี งลำดบั จำนวนจากนอ้ ยไปมาก หรอื จากมากไปนอ้ ย

4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1) อธิบายหลักการอา่ นและการเขยี นจำนวนนบั ไม่เกนิ 100,000 ได้ (K)

2) เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0

ได้ถกู ตอ้ ง (P)

3) อ่านตัวเลขฮนิ ดอู ารบิกและตัวเลขไทย แสดงจำนวนนับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0 ไดถ้ กู ตอ้ ง (P)

4) เขียนแสดงการเรยี งลำดบั จำนวนจากน้อยไปมากและจากมากไปน้อยได้ถกู ต้อง (P)

5) รบั ผิดชอบตอ่ หน้าที่ท่ีไดร้ ับมอบหมาย (A)

5. พฤติกรรมการเรยี นรู้ Knowledge Practice Attitude ( K P A )

ดา้ นความรู้ ( Knowledge : K)

1.อธิบายหลกั การอ่านและการเขียนจำนวนนบั ไม่เกิน 100,000 ได้ (K)

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (Process : P)

1.มีความสามารถในการแกป้ ัญหา

2.มคี วามสามารถในการส่ือสาร สือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์

3.มีความสามารถการเช่ือมโยง

ดา้ นเจตคติ/คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ (Attitude: A)

1. รักชาติ

2. ซ่อื สัตยส์ ุจริต

3. มีวนิ ยั
4. ใฝค่ วามรู้
5. อย่อู ย่างพอเพยี ง
6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี นหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. ทักษะของผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 (3R 8C )
1. ทกั ษะการอ่าน (Reading)
2. ทักษะการ เขยี น (Writing)
3. ทักษะการคิดคำนวณ (Arithmetic)
4. ทักษะดา้ นการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา
(Critical thinking and problem solving)
5. ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and innovation)
6. ทกั ษะด้านความร่วมมือการทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ
(Collaboration, teamwork and leadership)
7. ทักษะด้านความเข้าใจต่างวฒั นธรรมต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
8. ทกั ษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและรู้เท่าทนั สื่อ (Communication information
and media literacy)
9. ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT
Literacy)
10. ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรียนรู้ (Career and learning self-reliance, change)
11. มีคณุ ธรรม มีเมตตา กรุณา มรี ะเบยี บวนิ ยั (compassion)

8. การบูรณาการ
 1. บูรณาการรายวิชาอน่ื .....................................................................................................
 2. บูรณาการหลกั สตู ร STAR STEM …………………………………………………………………………….
 3. อืน่ ๆ (ระบ.ุ .....................................................)

9. สาระการเรยี นรู้
การอา่ นการเขียนตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทยและตวั หนังสอื แสดงจำนวนการเปรยี บเทยี บและเรยี งลำดบั

10. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

กิจกรรมสนามกีฬานา่ รู้

วิธีจัดกจิ กรรม

1. ครแู บง่ นักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละเทา่ ๆกนั แจกบัตรกิจกรรมให้กลุ่มละ 4 บัตร

2. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มศกึ ษาข้อมูลความจุของสนามกีฬาแล้วเตมิ ขอ้ มลู ในบตั รกิจกรรม

3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มเรียงลำดบั ความจขุ องสนามกฬี าจากมากไปนอ้ ยหรือจากน้อยไปมาก

4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มบอกช่อื สนามกีฬาท่มี ีความจุมากกวา่ 80,000 คน

5.จากนั้นทำแบบฝึกหัดทา้ ทายในหนังสือแบบฝึกหัด หนา้ 25

6.ครูใหน้ ักเรียนสอบวัดความรู้ทา้ ยบท

11. ชิน้ งาน/ภาระงาน

1.แบบฝึกหดั

2.แบบทดสอบวัดความร้ทู ้ายบท

12. ส่ือการเรียนรู้ / แหลง่ เรยี นรู้

1. หนงั สือเรียนคณติ ศาสตร์ ป.3 เล่ม 1 สสวท.

2. แบบฝกึ คณิตศาสตร์ ป.3 เล่ม 1 สสวท.

13. การประเมินผลการเรียนรู้

1.วธิ ีการวัด

วิธกี าร เครื่องมือ เกณฑ์

ตรวจแบบฝึกหดั และแบบทดสอบวัด แบบฝกึ หดั และใบงาน รอ้ ยละ60ผ่านเกณฑ์

ความรู้ท้ายบท

สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน ระดบั คุณภาพ2ผา่ นเกณฑ์

รายบคุ คล

2.ประเมนิ ผล 4 ระดบั คณุ ภาพ 1
(ดมี าก) 32 (ตอ้ งปรบั ปรุง)
ประเด็นการ ทำแบบฝึกได้อย่าง (ด)ี (กำลังพัฒนา) ทำแบบฝกึ ได้อย่าง
ประเมนิ ถกู ต้องร้อยละ 90 ทำแบบฝึกไดอ้ ย่าง ทำแบบฝกึ ได้อย่าง ถกู ต้องตำ่ กวา่ ร้อย
ขน้ึ ไป ถูกต้องร้อยละ 80 - ถูกต้องรอ้ ยละ 60 - ละ 60
1. เกณฑ์การ 89 79
ประเมนิ การทำ ทำความเข้าใจ ทำความเข้าใจ
แบบฝึกหดั และ ปญั หา คิด ทำความเข้าใจ ทำความเข้าใจ ปัญหา คดิ วิเคราะห์
แบบทดสอบวดั วิเคราะห์ ปัญหา คดิ วเิ คราะห์ ปัญหา คดิ วิเคราะห์ มรี ่องรอยของการ
ความร้ทู า้ ยบท วางแผนแกป้ ัญหา วางแผนแกป้ ญั หา วางแผนแกป้ ญั หา วางแผนแกป้ ัญหา
2. เกณฑ์การ และเลอื กใช้วธิ กี าร และเลือกใชว้ ิธีการ และเลือกใช้วิธกี าร แต่ไม่สำเร็จ
ประเมนิ ความ ทเี่ หมาะสม แต่ ได้บางส่วน คำตอบ
สามารถในการ
แก้ปญั หา

ประเด็นการ ระดบั คุณภาพ
ประเมนิ
43 2 1
3. เกณฑ์การ (ต้องปรับปรุง)
ประเมินความ (ดีมาก) (ดี) (กำลงั พัฒนา)
สามารถในการ ใชร้ ูป ภาษา และ
สือ่ สาร สอ่ื ทเี่ หมาะสม โดย ความสมเหตสุ มผล ทไ่ี ด้ยังไม่มีความ สญั ลกั ษณ์ทาง
ความหมายทาง คณิตศาสตร์ในการ
คณติ ศาสตร์ คำนงึ ถึงความ ของคำตอบยังไม่ดี สมเหตสุ มผล และ สื่อสาร
สือ่ ความหมาย
4. เกณฑ์การ สมเหตสุ มผลของ พอ และตรวจสอบ ไมม่ ีการตรวจสอบ สรุปผล และ
ประเมนิ ความมุ นำเสนอไม่ได้
มานะในการทำ คำตอบพร้อมท้งั ความถกู ตอ้ งไม่ได้ ความถูกต้อง
ความเขา้ ใจ ไมม่ ีความต้ังใจและ
ปญั หาและ ตรวจสอบความ พยายามในการทำ
แกป้ ัญหาทาง ความเข้าใจปัญหา
คณิตศาสตร์ ถูกต้องได้ และแกป้ ัญหาทาง
คณิตศาสตร์ ไมม่ ี
ใช้รปู ภาษา และ ใช้รปู ภาษา และ ใช้รปู ภาษา และ ความอดทนและ
ทอ้ แท้ต่ออปุ สรรค
สญั ลกั ษณท์ าง สัญลกั ษณ์ทาง สัญลกั ษณท์ าง จนทำให้แก้ปัญหา
ทางคณิตศาสตร์ได้
คณติ ศาสตร์ในการ คณติ ศาสตร์ในการ คณติ ศาสตร์ในการ ไมส่ ำเร็จ

สือ่ สาร สอื่ สาร สอ่ื สาร

ส่ือความหมาย สือ่ ความหมาย ส่อื ความหมาย

สรุปผล และ สรุปผล และ สรุปผล และ

นำเสนอได้อยา่ ง นำเสนอได้ถกู ต้อง นำเสนอได้ถูกต้อง

ถูกต้อง ชัดเจน แต่ขาดรายละเอยี ด บางสว่ น

ที่สมบรู ณ์

มคี วามตั้งใจและ มคี วามต้งั ใจและ มคี วามต้ังใจและ

พยายามในการทำ พยายามในการทำ พยายามในการทำ

ความเข้าใจปัญหา ความเข้าใจปัญหา ความเขา้ ใจปัญหา

และแก้ปัญหาทาง และแกป้ ัญหาทาง และแกป้ ัญหาทาง

คณติ ศาสตร์ มี คณติ ศาสตร์ แต่ไม่ คณติ ศาสตร์ แต่ไม่

ความอดทนและไม่ มคี วามอดทนและ มีความอดทนและ

ทอ้ แทต้ ่ออปุ สรรค ทอ้ แท้ต่ออปุ สรรค ทอ้ แท้ตอ่ อปุ สรรค

จนทำใหแ้ กป้ ัญหา จนทำใหแ้ กป้ ัญหา จนทำใหแ้ ก้ปัญหา

ทางคณิตศาสตร์ได้ ทางคณิตศาสตร์ได้ ทางคณิตศาสตร์ได้

สำเร็จ ไม่สำเรจ็ เล็กน้อย ไม่สำเรจ็ เป็นสว่ น

ใหญ่

5. เกณฑ์การ มคี วามมุ่งม่นั ใน มีความมุง่ มน่ั ในการ มีความมงุ่ มัน่ ในการ มีความมุ่งมนั่ ในการ
ประเมนิ ความ การทำงานอย่าง
ม่งุ มั่นในการ รอบคอบ จนงาน ทำงานอย่าง ทำงานอย่าง ทำงานแต่ไม่มีความ
ทำงาน ประสบผลสำเรจ็
เรียบรอ้ ย รอบคอบ จนงาน รอบคอบ จนงาน รอบคอบ สง่ ผลให้
ครบถว้ นสมบรู ณ์
ประสบผลสำเร็จ ประสบผลสำเรจ็ งานไมป่ ระสบ

เรยี บรอ้ ยส่วนใหญ่ เรยี บร้อยส่วนน้อย ผลสำเรจ็ อยา่ งท่ี

ควร

เกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

เกณฑก์ าร ระดบั คุณภาพ / คะแนน

ประเมนิ ดีเยี่ยม (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1)

เกณฑก์ ารประเมนิ

1. เกณฑ์การให้คะแนนตัดสินระดับคุณภาพชน้ิ งาน/ภาระงาน

ระดับ 4 หมายถงึ ดีเยย่ี ม = 9 - 10 คะแนน
7 - 8 คะแนน
ระดับ 3 หมายถึง ดี = 5 – 6 คะแนน
1 - 4 คะแนน
ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ =

ระดบั 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ =

การประเมินสมรรถนะสำคญั คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์และทกั ษะศตวรรษท่ี 21

ประเดน็ ประเมิน แหลง่ วิธีวัด เครอื่ งมือวัด เกณฑ์การให้
คะแนน
สมรรถนะสำคัญ ชิน้ งาน/การ การตรวจ/ แบบตรวจ/
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร อธบิ ายหรือการ การสังเกต แบบสังเกต - ความถกู ต้องของ
2. ความสามารถในการคิด นำเสนอ ชิน้ งาน
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ชน้ิ งาน/การ การประเมนิ แบบประเมนิ -ตรงกับความเปน็
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี อธบิ าย/การ จริง
นำเสนอ
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ -ความถกู ต้อง
2. ซอื่ สัตยส์ ุจริต ช้นิ งาน/การ การตรวจ แบบตรวจ - ความเขา้ ใจ
3. มีวินัย อธิบายหรอื การ ประเมนิ ประเมิน -ความเหมาะสม
4. ใฝ่ความรู้ นำเสนอ ชน้ิ งาน/ ชิน้ งาน/ การ
6. มุ่งมัน่ ในการทำงาน การสังเกต สงั เกตการ
8. มจี ติ สาธารณะ การอธิบาย อธิบายหรอื
หรอื การ การนำเสนอ
ทักษะศตวรรษที่ 21 นำเสนอ
1. Reading
2. Writing
3. Arithmetic
4. Critical thinking and problem
solving
5. Creativity and innovation
6. (Collaboration, teamwork and
leadership)
7. Cross-cultural understanding
8. Communication information
and media literacy
9. Computing and ICT Literacy
11. Compassion

บนั ทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรยี นจำนวน........................คน
ผา่ นจดุ ประสงคก์ ารเรียนร.ู้ ..............คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................................
ไมผ่ ่านจุดประสงค์............................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................................

2. นักเรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นักเรียนมีความรเู้ กดิ ทักษะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นกั เรยี นเจตคติ/คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปญั หา/อุปสรรค /แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………….………………………………
(นางสาวสภุ าพร สารีสังข์)
ตำแหนง่ ครู