หน่วยการเรียน รู้ที่ 2 พุทธ ประวัติ พระสาวก ศา สนิก ชนตัวอย่าง และชาดก เฉลย

  • buddha-p1-test - ****ข้อสอบมาตรฐาน วิชาพระพุทธศาสนา ป.1**** - ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.1 พระพุทธศาสนา เรื่องที่ 1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา - ข้อสอบมาตรฐานชั้...

    4 ปีที่ผ่านมา

  • art-p1-test - ****ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.1 - วิชา ศิลปะ ดนตรี และนาฎศิลป์ **** - ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.1 - วิชา ศิลปะ ดนตรี และนาฎศิลป์ - ตอนที่ 1 ทัศนศิปล์ หน่วยที่ 1...

    4 ปีที่ผ่านมา

  • Kanngan-p5-test- - ****ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.5 - วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี**** - ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.5 - วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยที่ 1 งานบ้านน่ารู้ - ข้อส...

    4 ปีที่ผ่านมา

  • Main - - ****รวมแบบทดสอบ แบบฝึกหัด - อนุบาล - ประถม - มัธยม**** - *ข้อสอบมาตรฐาน ป.1 - ป.6* - *ข้อสอบมาตรฐาน ป.1* - ข้อสอบมาตรฐาน ป.1 - วิชาพระพุ...

    4 ปีที่ผ่านมา

  • About Ang Thong - อ่างทอง เป็นจังหวัดเล็ก ๆ ตั้งอยู่บริเวณภาคกลางตอนล่าง มีเนื้อท่ 968 ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่่น้ำสายสำคัญไหลผ่านสองสาย คือ แม่น้ำ...

    10 ปีที่ผ่านมา

  • Main - หน้าแรก เลือกหัวข้อได้เลยค่ะ

    59 ปีที่ผ่านมา

  • Main - ****คลังข้อสอบ แบบฝึกหัด และใบงาน**** *ข้อสอบมาตรฐาน ป.1 - ป.6* - *ข้อสอบมาตรฐาน ป.1* - ข้อสอบมาตรฐาน ป.1 - วิชาพระพุทธศาสนา

    59 ปีที่ผ่านมา

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

พระพุทธศาสนา

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๔ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒

กลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๕ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๖ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๗ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๘

๑_หลักสูตรวิชาพระพุทธศาสนา
๒_แผนการจดั การเรยี นรู้
๓_PowerPoint_ประกอบการสอน
๔_Clip
๕_ใบงาน_เฉลย
๖_ข้อสอบประจาหน่วย_เฉลย
๗_การวัดและประเมนิ ผล
๘_รูปภาพ
๙_เสริมสาระ
๑๐_สื่อเสริมการเรียนรู้

สอนโดย คณุ ครูพรรณดิ า สานารินทร์

๒หน่วยการเรยี นรู้ท่ี

พุทธประวตั ิ พระสาวก

ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง และชาดก

จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. วิเคราะห์พุทธประวัตหิ รือประวตั ิศาสดาของศาสนาท่ีตนนับถือตามท่กี าหนดได้
๒. วิเคราะหแ์ ละประพฤตติ นตามแบบอยา่ งการดาเนนิ ชวี ิตและข้อคดิ จากประวัติสาวก ชาดก เรอ่ื งเลา่ และศาสนกิ ชนตัวอย่างตามทกี่ าหนดได้

พทุ ธประวตั ิ การผจญมาร

พระแม่ธรณีบบี มวยผม บนั ดาลให้เปน็ กระแสนาหลากมาทว่ มกองทพั พญามาร

พทุ ธประวตั ิ การผจญมาร

เหตกุ ารณ์

• ขณะท่ีพระสิทธัตถะกาลงั นัง่ สมาธิ เพ่ือแสวงหาหนทางดับทุกข์ พญามารนามว่า วสวัตดี มาปรากฏตัวพร้อมเสนามาร
ร้องบอกให้พระองค์ลุกจากอาสนะ พระองค์ทรงแย้งว่าบัลลังก์เป็นของพระองค์ จากนันเหยียด พระดรรชนีลงยัง
พืนดินและตรสั ว่า “ขอใหว้ สนุ ธราจงเปน็ พยาน”

• ทันใดนัน พระแม่ธรณไี ดผ้ ดุ ขึนจากพนื ดนิ และบีบมวยผม บนั ดาลให้มกี ระแสนามาทว่ มกองทพั พญามารจนแตกพ่าย
ไปในท่สี ุด

พระพทุ ธรปู ปางมารวิชัย

สรา้ งขนึ เพ่อื จาลองพทุ ธประวตั ติ อนผจญมาร

พุทธประวตั ิ การผจญมาร

วิเคราะหเ์ หตกุ ารณ์

• พญามาร หมายถึง กิเลสที่มารบกวนพระทัยของพระสิทธัตถะในขณะนั่งสมาธิ อันได้แก่ โลภะ โทสะ
และโมหะ

• ดังนน้ั การผจญมาร กค็ ือการตอ่ สู้กับอานาจของกเิ ลส

• พระแม่ธรณี หมายถึง บารมีทัง ๑๐ ทท่ี รงบาเพญ็ มา

• ดังนั้น การอ้างถึงพระแม่ธรณี ก็คือทรงอ้างถึงคุณความดีที่ทรงบาเพ็ญมา เพ่ือใช้เป็นกาลังใจในการต่อสู้
กับกิเลสท้งั ปวง จนสามารถเอาชนะกเิ ลสและตรัสรู้ในท่ีสุด

พทุ ธประวัติ การตรัสรู้

พระสิทธตั ถะทรงตรัสร้เู ปน็ องค์พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ศาสดาของพระพทุ ธศาสนา

พทุ ธประวัติ การตรสั รู้

• เม่ือทรงออกผนวชแล้ว พระสิทธัตถะ ได้ศึกษาค้นคว้าทางพ้นทุกข์อยู่เป็นเวลา ๖ ปี จึงได้ตรัสรู้เป็น
พระสัมมาสมั พุทธเจา้ ในชว่ งเวลา ๖ ปนี ี พระองค์ทรงทาอะไรบ้าง สรุปเปน็ ขนั ตอนตามลาดับ

ขันที่ ๑ ทรงฝึกปฏบิ ัติโยคะ • ทรงไปขอศกึ ษาเล่าเรียนและฝึกปฏิบัติอยู่กับอาจารย์ “อาฬารดาบส กาลามโคตร”
กับ “อทุ ทกดาบส รามบุตร” จนจบความรู้ แต่ก็ยังไม่ใช่ทางพ้นทกุ ขท์ ี่แทจ้ รงิ

ขนั ที่ ๒ ทรงบาเพ็ญตบะ • การทรมานตนเองให้ลาบาก ตามวิธีทรมานตนเองแบบต่างๆ ท่ีนักบวชชาวอินเดียนิยม
ทากันเปน็ จานวนมาก และเช่ือวา่ เป็นแนวทางพน้ ทกุ ขท์ างหนง่ึ

ขนั ที่ ๓ ทรงบาเพ็ญทุกกรกิริยา • ขนั ที่ ๑ การกดั ฟนั
• ขนั ที่ ๒ การกลนั ลมหายใจ
• ขันท่ี ๓ การอดอาหาร

ขันท่ี ๔ ทรงบาเพ็ญเพียรทางจติ • เป็นการคิดค้นหาเหตุผลทางด้านจิตใจ เป็นขันตอนหลังจากท่ีพระองค์ทรงเลิกบาเพ็ญ
ทกุ กรกริ ิยาแล้ว

พทุ ธประวตั ิ การตรสั รู้

• หลงั จากทรงพิจารณาไตร่ตรองแล้ว พบว่าการบาเพ็ญทุกกรกิริยานัน มิใช่หนทางดับทุกข์ที่แท้จริง พระสิทธัตถะ
จึงทรงเลิกกระทา แล้วทรงยึดทางสายกลาง จนตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าเมื่อวันขึน ๑๕ ค่า เดือน ๖ ก่อน
พุทธศักราช ๔๕ ปี โดยส่ิงท่ีพระองค์ตรัสรู้ คือ กระบวนการเกิดของทุกข์และการดับทุกข์ เรียกว่า “อริยสัจ ๔”
ประกอบดว้ ย

นิโรธ
ทุกข์ มรรค

สมุทัย

พุทธประวตั ิ อร๔ิยสจั การตรัสรู้
สมทุ ยั
ทุกข์
สาเหตขุ องทุกข์ หรือ
ความทุกข์ หรอื ปญั หา สาเหตขุ องปญั หาชวี ติ
ของชีวิตทังหมด
ความดบั ทกุ ข์
ทางดบั ทกุ ข์ หรือ หรือภาวะหมดปัญหา
แนวทางแก้ปัญหาชีวติ
นโิ รธ
มรรค

พทุ ธประวัติ การตรสั รู้

• ความรแู้ จ่มแจง้ นัน ได้ปรากฏขึนในพระทัยของพระองคด์ ุจมองเหน็ ด้วยตาเปล่า เปน็ ความสวา่ งโพลงภายในท่ี
ปราศจากความสงสัยเคลือบแคลงใดๆ ความรู้นีได้ตอบปัญหาที่ทรงค้างพระทัยมาเป็นเวลากว่า ๖ ปี พร้อม
กับการเกิดความรู้ด้านกิเลส (ความเศร้าหมองแห่งจิต คือ โลภ โกรธ หลง) ท่ีทรงสงสัยอยู่ในจิตใจของ
พระองค์ก็ได้ปลาสนาการหายไปหมดสิน การรู้แจง้ ของพระองคส์ ามารถสรปุ เป็นขันๆ คือ

ยามตน้ • ทรงระลกึ ถงึ ชาติหนหลงั ของพระองคไ์ ด้
ยามสอง • ทรงไดต้ าทิพย์ มองเห็นการเกิด การตายของสตั ว์ทังหลายตามผลกรรมทีไ่ ดก้ ระทาไว้
ยามสาม • ทรงเกิดการร้แู จง้ ทส่ี ามารถทาลายกเิ ลสใหห้ มดสินไปได้

พทุ ธประวตั ิ การสั่งสอน

การแสดงปฐมเทศนาโปรดปัญจวัคคีย์

• หลังจากทรงตรัสรู้ พระพุทธเจ้าได้เสด็จไปตรัสสอน “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร”
ว่าด้วยอริยสจั ๔ ประการแกป่ ญั จวคั คีย์

• โกณฑญั ญะ ๑ ใน ๕ ของปญั จวัคคยี ์ไดเ้ กิด “ดวงตาเห็นธรรม” และขอบวช

• พระพุทธเจ้าประทานอุปสมบทให้ด้วยวิธี “เอหิภิกขุ” เกิดพระสงฆ์รูปแรกขึนในโลก
และมี “พระรัตนตรัย” ไดแ้ ก่ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ครบบริบรู ณ์

พทุ ธประวตั ิ การสั่งสอน

การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา

• หลังจากมีพระอรหนั ตส์ าวกครบ ๖๐ รปู พระพทุ ธเจ้าทรงส่งให้แยกย้ายไปประกาศพระพุทธศาสนายังทิศต่างๆ ส่วนพระพุทธเจ้า
เสด็จไปโปรดชฎิลสามพีน่ อ้ ง โดยทรงแสดง “อาทิตตปริยายสูตร” จนชฎิลสามพ่นี ้องและบริวารบวชเปน็ สาวกของพระพทุ ธองค์

• พระเจา้ พิมพสิ าร และชาวเมืองมคธที่นบั ถอื ชฎลิ สามพนี่ ้อง ตา่ งพากนั เลือ่ มใสในพระพทุ ธศาสนา และทรงสร้าง “วัดพระเวฬุวัน”
ถวายเป็นวัดในพระพุทธศาสนาแห่งแรกของโลกศิษย์ของสัญชัยเวลัฏฐบุตร ชื่อ อุปติสสมาณพ และโกลิตมาณพ ได้ขอบวชเป็น
พระสาวก ซ่งึ ต่อมาคอื พระสารีบตุ รและพระโมคคัลลานะ

• สุทัตตเศรษฐี หรืออนาถบิณฑิกเศรษฐี ทูลอาราธนาพระพุทธเจ้าให้เสด็จไปโปรดชาวเมืองสาวัตถี และสร้าง “วัดพระเชตะวัน
มหาวหิ าร” ถวาย

• หลังจากเสด็จไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายังแคว้นต่างๆ เป็นเวลา ๔๕ พรรษา พระพุทธเจ้าก็เสด็จดับขันธปรินิพพาน
เมือ่ พระชนมายุได้ ๘๐ พรรษา

ประวตั ิพุทธสาวก พุทธสาวิกา พระสารีบุตร

ประวัติ

• มนี ามวา่ อปุ ติสสะ เป็นบตุ รพราหมณ์ในเมืองนาลันทา กรงุ ราชคฤห์
• มีคุณสมบัติพิเศษ คือ เป็นผู้มีปัญญาเฉียบแหลม เล่าเรียนได้อย่างรวดเร็วได้เข้าศึกษาปรัชญาอยู่ในสานัก

สัญชัยเวลฏั ฐบุตร
• เม่ือได้ฟังธรรมจากพระอัสสชิเถระจนได้ดวงตาเห็นธรรม จึงขอบวชเป็นสาวกของพระพุทธเจ้า ได้นามว่า

“สารบี ุตร” และไดร้ บั การแตง่ ตังจากพระพทุ ธเจ้าใหเ้ ปน็ พระอัครสาวกเบอื งขวา

คุณธรรมที่ควรถอื เป็นแบบอยา่ ง

• เป็นผู้มีปัญญาหลกั แหลม
• มคี วามกตญั ญูกตเวทติ าธรรมเป็นเลิศ
• เปน็ ผมู้ ่นั คง และปรารถนาดตี อ่ พระพทุ ธศาสนา

ประวตั พิ ุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า พระโมคคลั ลานะ

ประวัติ

• มนี ามเดมิ ว่า โกลติ ะ เปน็ บตุ รพราหมณ์หวั หน้าหม่บู ้านโกลิตคาม ได้เข้าศึกษาปรัชญาสานกั สัญชัยเวลฏั ฐบุตร
• ได้ฟังธรรมจากพระอสั สชเิ ถระจนไดด้ วงตาเหน็ ธรรม จึงขอบวชเปน็ สาวกของพระพทุ ธเจา้ มีนามว่า “โมคคัลลานะ”
• มีคุณสมบัติพิเศษ คือ เป็นผู้มีฤทธิ์มาก สามารถใช้อิทธิปาฏิหาริย์ชักจูงคนให้คลายจากความเห็นผิด ได้รับการแต่งตังจาก

พระพทุ ธเจ้าให้เป็นพระอัครสาวกเบืองซ้าย

คณุ ธรรมทค่ี วรถือเปน็ แบบอย่าง

• เปน็ ผู้ที่มีความอดทนยิ่ง
• เป็นผ้ทู ีม่ คี วามถ่อมตนย่งิ
• ผู้มคี วามใฝร่ ู้อย่างยงิ่

ประวตั พิ ทุ ธสาวก พุทธสาวิกา นางขชุ ชุตตรา

ประวตั ิ

• เป็นหญิงค่อม ธิดาของนางนมในบ้านโฆสกเศรษฐี เมืองโกสัมพี นางขุชชุตตรามีหน้าที่ซือดอกไม้ถวายแก่
พระนางสามาวดี

• ไดฟ้ งั พระธรรมเทศนาจากพระพุทธเจา้ จนบรรลุโสดาปตั ตผิ ล
• ไดร้ ับมอบหนา้ ทจ่ี ากพระนางสามาวดีใหเ้ ปน็ ผู้ไปฟังธรรม แลว้ นามาแสดงให้พระนางและบรวิ ารฟงั

จนในเวลาตอ่ มาไดก้ ลายเปน็ อาจารยผ์ ูแ้ สดงพระธรรม

คณุ ธรรมทีค่ วรถอื เป็นแบบอยา่ ง

• เปน็ ผู้ฝกึ ฝนตนเองอยเู่ สมอ
• เปน็ ผู้ท่ีเอาใจใส่หนา้ ที่ทีไ่ ด้รบั มอบหมายอยา่ งดยี ิง่

ประวัติพุทธสาวก พทุ ธสาวิกา พระเจา้ พิมพสิ าร

ประวัติ

• พระเจา้ พิมพสิ าร เปน็ พระมหากษตั ริยแ์ ควน้ มคธ ทรงมีความเลอ่ื มใส ศรัทธาในพระพทุ ธเจ้า
และพระพทุ ธศาสนา

• พระองค์ได้ถวายสวนไผ่ เพ่อื ใช้ในการสร้างวดั เวฬุวันถวายพระพุทธเจา้ ซง่ึ ถือเปน็ วดั ในพระพุทธศาสนาแหง่ แรก
ของโลก

คณุ ธรรมท่คี วรถือเปน็ แบบอย่าง

• ทรงเป็นพระบดิ าท่ดี ขี องบตุ ร
• ทรงเป็นผ้มู ่นั คงในพระรตั นตรยั
• ทรงเปน็ ผนู้ าท่ดี ี

ศาสนิกชนตัวอยา่ ง พระมหาธรรมราชาลไิ ทย
พระประวัติ

• ทรงเปน็ พระราชโอรสในพระยาเลอไทย พระมหากษตั ริยอ์ งค์ที่ ๕ แหง่ กรุงสุโขทัย
• ทรงศกึ ษาวิชาชันตน้ จากพระเถระชาวลงั กาหลงั จากครองราชย์ได้ ๕ ปี
• ทรงอุปสมบทเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนาทรงปกครองแผ่นดินด้วยทศพิธราชธรรม และให้การทานุบารุง

พระพุทธศาสนาอย่างดีย่งิ
• ทรงเป็นแบบอย่างพระมหากษัตริย์ผู้ประพฤติธรรมพระองค์แรกของกรุงสุโขทัยและทรงเป็นนักปราชญ์ท่ีรอบรู้ทัง

ทางศาสนา การปกครอง และอักษรศาสตร์เปน็ อย่างยง่ิ

ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง พระมหาธรรมราชาลไิ ทย

ดา้ นศาสนา • ทรงมีความเช่ียวชาญทางด้านศาสนา รอบรู้พระไตรปิฎกอย่างแตกฉาน ทังอรรถกถา ฎีกา
ด้านการปกครอง อนุฎีกา และปกรณ์วเิ สสอน่ื ๆ

• ทรงสง่ เสรมิ อุปถมั ภด์ า้ นการศึกษาพระพุทธศาสนาและศิลปะศาสตรต์ ่างๆ
• ทรงส่งราชบุรุษไปขอพระบรมสารีริกธาตุจากลังกาทวีปและได้ทรง นามาบรรจุไว้ใน

พระมหาธาตุเมืองนครชมุ
• ทรงสง่ ราชทตู ไปอาราธนาพระสังฆราชมาจากลังกาทวปี มาจาพรรษา อยู่ทีว่ ดั ป่ามะมว่ ง

• โปรดใหส้ ร้างปราสาทราชมณเฑียร
• โปรดให้ยกผนงั กนั นาตงั แต่เมอื งสองแคว (พิษณโุ ลก) มาถึงกรงุ สุโขทัย
• ทรงปกครองดว้ ยทศพิธราชธรรม

ดา้ นอกั ษรศาสตร์ • ทรงพระราชนิพนธ์เร่ือง “เตภูมิกถา” หรือ “ไตรภูมิพระร่วง” อันเป็นวรรณกรรมทาง

พระพุทธศาสนาเร่อื งแรกของไทย
• โปรดใหม้ กี ารสร้างศลิ าจารกึ ไว้หลายหลัก

ศาสนกิ ชนตวั อย่าง พระมหาธรรมราชาลิไทย
คณุ ธรรมท่ีควรถอื เปน็ แบบอย่าง

• ทรงมีความกตัญญูอย่างย่ิง พระมหาธรรมราชาลิไทย ทรงมีความรักและกตัญญูต่อพระราชมารดาของพระองค์
เปน็ อยา่ งยิ่ง

• ทรงมีความสามารถในการถ่ายทอดนามธรรมให้เป็นรูปธรรม เนือหาของไตรภูมิพระร่วง กล่าวถึงเร่ืองศีลธรรม
จรยิ ธรรม เรอื่ งนรก สวรรค์ เปน็ เร่ืองละเอยี ดออ่ น ยากทจี่ ะอธิบายใหเ้ ขา้ ใจได้

• ทรงมีความคดิ ริเร่มิ เป็นยอด วเิ คราะห์ได้จากการที่ทรงบรรยายธรรมในไตรภูมิพระรว่ ง ทรงเสนอแนวคดิ ใหมๆ่ ดว้ ย เช่น
แนวคิดเรื่องคนทาชั่วแลว้ ถกู จารึกชือ่ บนหนังสนุ ขั ซึง่ ในคัมภีร์พระไตรปิฎกและอรรถกถา ฎกี า

ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส
พระประวตั ิ

• มีพระนามเดิมวา่ พระองค์เจา้ มนษุ ยนาคมานพ
• ประสูตเิ มื่อวันท่ี ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๐๒
• ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว และเจ้าจอมมารดาแพ
• ทรงผนวชเป็นสามเณรที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามเมื่อพระชันษาได้ ๑๓ พรรษา ทรงผนวชเป็นภิกษุ

เมอ่ื พระชนั ษาได้ ๒๐ พรรษา และเสดจ็ ไปประทับทวี่ ัดบวรนเิ วศวิหารและวัดมกุฏกษัตริยารามตามลาดบั
• ทรงไดร้ ับการยกยอ่ งว่าทรงเปน็ “ดวงประทีปแกว้ แหง่ คณะสงฆไ์ ทย”

ศาสนกิ ชนตวั อย่าง สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

ผลงานสาคัญดา้ นการจัดการทางพระพทุ ธศาสนา

• ทรงจดั สอนภกิ ษุสามเณรผู้บวชใหม่ ให้ได้เรียนพระธรรมวินัย และภาษาไทย
• ทรงให้สวดมนต์ในวันพรรษาทกุ วนั
• ทรงจัดให้ภิกษทุ ี่พรรษาต่ากวา่ ๕ ท่ีจบนักธรรมแลว้ มาเรยี นบาลที งั หมด
• ทรงจัดตังมหามกุฏราชวทิ ยาลยั
• ทรงจดั การเรียนการสอนทงั หนังสอื ไทยและความรู้ในศาสตรอ์ นื่ ๆ ควบคกู่ ันไป
• ทรงฝึกพระธรรมกถึก จนสามารถแสดงธรรมปากเปล่าได้
• ทรงจัดตังการฟังธรรมสาหรับเด็กวดั ในวันธรรมสวนะ

ผลงานพระนิพนธ์ทางพระพทุ ธศาสนา

• ทรงตังหลักสตู ร “สามเณรผรู้ ู้ธรรม”
• ทรงนพิ นธ์ “นวโกวาท”
• ทรงรจนาหนงั สือแบบเรยี นต่างๆ เชน่ วนิ ยั มขุ เล่ม ๑, ๒ และ ๓ ธรรมวิจารณ์ ธรรมวิภาค แบบเรยี นบาลไี วยากรณ์

เป็นตน้
• ทรงพระนิพนธ์หนงั สือประเภทอน่ื เช่น ประเภทพระโอวาท พระธรรมกถา ประเภทประวัตศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี เปน็ ต้น
• ทรงพระนิพนธภ์ าษาบาลี ทรงรจนาบทนมัสการพระรตั นตรัย ชื่อ นมการสทิ ธิคาถา (โย จกั ขมุ า)

ศาสนิกชนตวั อย่าง สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
คุณธรรมที่ควรถอื เปน็ แบบอย่าง

• ทรงมีความใฝ่รู้ใฝ่ศึกษา พยายามเอาแบบอย่างท่ีดีจากผู้ท่ีพระองค์ประทับใจ เช่น พระยาปริยัติธรรมธาดา
เห็นวา่ เปน็ คนมคี วามรแู้ ละความประพฤติดี จงึ คอยศึกษาหาความรจู้ ากทา่ นเหล่านนั เสมอ

• ทรงมคี วามอ่อนน้อมถอ่ มตนเป็นเลศิ พระองคท์ รงเปน็ “เจา้ นาย” มาผนวช กลับไมถ่ อื องค์ ทรงกราบไหว้พระภกิ ษุ
ทอ่ี ายพุ รรษามากกวา่

• ทรงมหี ิรโิ อตตปั ปะเปน็ เลศิ ทรงมีความละอายตอ่ การทาชว่ั ทาผดิ ทรงใชจ้ ่ายสรุ ุ่ยสุร่าย ไมร่ ูจ้ กั ประหยัด

• ทรงมีความคิดริเร่ิม ฝึกพระภิกษุสงฆ์ให้มีความสามารถในการถ่ายทอดพระธรรมให้เข้าใจง่าย รวมทังทรงนิพนธ์
หนงั สือคมู่ อื ศึกษาพระพทุ ธศาสนาอยา่ งงา่ ย คือ นวโกวาท ซึ่งใชเ้ ป็นหลักสูตรผบู้ วชใหม่มาจนบดั นี

• ทรงมีวิสยั ทศั นก์ ว้างไกล เน่ืองจากทรงเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่ศึกษา ทรงมีวิธีคิดท่ีแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) อย่างครบวงจรคือ
คดิ ถูกวธิ ี คดิ มีระเบยี บ คิดเปน็ เหตเุ ปน็ ผล และคิดก่อให้เกดิ กุศล คือ สร้างสรรค์ในทางดี

ชาดก มติ ตวินทกุ ชาดก

มิตตวินทกุ ชาดก เป็นเรื่องราวของชายช่ือมิตตวินทุกะ ผู้ได้รับผลกรรมเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เพราะเป็น
ผู้มคี วามโลภ ต้องการไดท้ รพั ยส์ มบัติจานวนมาก ทาให้เมื่อเขาได้พบกับปราสาทแก้วผลึก ปราสาทเงิน ปราสาท
แกว้ มณี และปราสาททอง เขาก็เลือกท่ีจะเดินผ่านเขา้ ไปเรอ่ื ยๆ เพราะหวังว่าจะไดพ้ บกบั ทรัพย์ลาคา่ มากขนึ

ในท่สี ุดความโลภนันไดช้ กั นาใหม้ ติ ตวนิ ทกุ ะไดพ้ บเจอกับผีเปรตทมี่ กี งจกั รบดศีรษะอยู่ แต่มิตตวินทุกะกลับ
เห็นว่าเป็นเทพบุตรที่มีดอกบัวประดับศีรษะ จึงร้องขอดอกบัวนัน ทาให้ต้องเสวยผลกรรมต่อจากผีเปรตตนนัน

ถกู กงจกั รบดศรี ษะได้รับความทรมานย่ิงนกั ซงึ่ ให้คติสอนใจ คอื โลภมาก ลาภหาย

ชาดก ราโชวาทชาดก

ราโชวาทชาดก เป็นเรื่องราวท่ีสั่งสอนให้ผู้นาประเทศปกครองประเทศโดยธรรม มีความซื่อสัตย์
สุจริต ไม่คดโกง ทังนีเพ่ือประโยชน์สุขของประชาราษฎร์เป็นสาคัญ โดยข้อคิดสาคัญท่ีได้จากเร่ือง
ราโชวาทชาดก สามารถสรปุ ได้ ๒ ประการ คอื

• ผปู้ กครองท่ีดตี อ้ งประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี เพ่อื ใหผ้ ู้นอ้ ยปฏบิ ตั ิตาม ซง่ึ จะชว่ ยให้สงั คมสงบสุข
• ธรรมหรอื คณุ ความดนี ามาซึ่งความสงบรม่ เยน็ ของบ้านเมอื ง ผู้ปกครองท่ีประพฤติธรรม จึงทาให้ประชาราษฎร์

อยอู่ ยา่ งรม่ เย็นเปน็ สุข