กระบวนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว มีกี่ขั้นตอน และมีอะไรบ้าง

ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี ๒

การพฒั นาสุขภาพของตนเองและครอบครัว

ผงั สาระการเรียนรู้

แนวคิดในการวางแผน การพฒั นาสุขภาพของตนเอง กระบวนการพฒั นา
พฒั นาสุขภาพของ และครอบครัว สุขภาพของตนเอง
ตนเองและครอบครัว
วิธีการวางแผนพฒั นา และครอบครัว
สุขภาพของตนเองและ

ครอบครัว

การท่ีคนเราจะมีสุขภาพท่ียงั่ ยนื ไดน้ ้นั นอกจากตอ้ งรู้จกั การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองแลว้
การรู้จกั วางแผนดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัว กน็ บั วา่ เป็นสิ่งท่ีจาเป็น เพราะสุขภาพของตนเอง
และบุคคลในครอบครัว ลว้ นแต่มีผลเกี่ยวเน่ืองกนั ท้งั สิ้น ดงั น้นั นกั เรียนจึงควรเรียนรู้และสร้างความ
เขา้ ใจถึงแนวทางในการวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลที่อยใู่ นครอบครัว เพือ่ ท่ีจะไดน้ าไปใช้

ในการดูแลสุขภาพ เพอื่ ใหเ้ กิดสุขภาพท่ีดีและยง่ั ยนื ต่อไป
การดูแลสุขภาพของตนเองนบั วา่ เป็นปัจจยั พ้นื ฐานที่ทุกคนควรปฏิบตั ิ แต่นอกเหนือจากการ

ดูแลสุขภาพของตนเองแลว้ การดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัว กน็ บั วา่ เป็นสิ่งสาคญั ไม่ยงิ่ หยอ่ น
ไปกวา่ กนั เพราะภาวะสุขภาพท่ีเกิดข้ึนในครอบครัว ลว้ นแลว้ แต่มีผลต่อสุขภาพของคนเรา ดงั น้นั
ความรู้เกี่ยวกบั การวางแผนการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว จึงเป็นความรู้ที่สาคญั อีก
ประการหน่ึงท่ีนกั เรียนควรไดศ้ ึกษาและทาความเขา้ ใจ เพอื่ ที่จะไดน้ าความรู้ความเขา้ ใจดงั กล่าว

ไปปรับใชใ้ นการสร้างเสริมสุขภาพในชีวติ ประจาวนั และในอนาคตต่อไป

๑. แนวคดิ ในการวางแผนพฒั นาสุขภาพ
ของตนเองและครอบครัว

๑.๑ การพฒั นาสุขภาพของตนเอง

การที่เราอยใู่ นสงั คมอยา่ งมีความสุขน้นั ตอ้ งมีสุขภาพดา้ นร่างกาย จิตใจ สงั คม และปัญญา
ที่สมบูรณ์แขง็ แรง เช่น มีสมรรถภาพทางกายดี อวยั วะต่าง ๆ ทางานไดต้ ามปกติ มีบุคลิกภาพที่ดี
มองโลกในแง่ดี มีความสมั พนั ธท์ ่ีดีกบั ผอู้ ื่น มีเพื่อนฝงู ญาติพีน่ อ้ งท่ีรักใคร่ห่วงใยกนั ใชเ้ หตุผล
ในการตดั สินใจ แกไ้ ขปัญหาดว้ ยสนั ติวธิ ีไม่ใชค้ วามรุนแรง ซ่ึงสามารถทาไดโ้ ดยทุกคนจะตอ้ ง
ดูแลรักษาและพฒั นาสุขภาพของตนเองและครอบครัว รวมไปถึงเพอื่ นในโรงเรียนและในชุมชน
โดยแต่ละบุคคลน้นั ตอ้ งมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง จึงมีความสาคญั อยา่ งยงิ่ สาหรับทุกคน
เพราะการสร้างเสริมสุขภาพเพ่ือใหม้ ีความสมบูรณ์ท้งั ดา้ นร่างกายและจิตใจ เป็นเรื่องท่ีทุกคนตอ้ งทา
ดว้ ยตนเอง คนอื่นมาทาใหไ้ ม่ได้ และสุขภาพดีไม่มีขาย หากใครอยากไดก้ ต็ อ้ งปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง

๑.๒ การพฒั นาสุขภาพของคนในครอบครัว

การพฒั นาสุขภาพในวยั เด็ก การพฒั นาและดูแลเอาใจใส่เล้ียงดูจากพอ่ แม่จะเป็นรากฐาน
ท่ีดีต่อชีวติ ต่อไป เช่น การไดร้ ับภูมิคุม้ กนั โรคอยา่ งครบถว้ นเป็นระยะ การสร้างเสริมความแขง็ แรง
ของร่างกาย โดยการรับวคั ซีนป้องกนั โรคหรือวคั ซีนที่จาเป็นเฉพาะโรค เช่น วคั ซีนป้องกนั
มะเร็งปากมดลูก วคั ซีนป้องกนั หดั เยอรมนั เมื่อไดร้ ับการพฒั นาสุขภาพดา้ นร่างกายมาอยา่ งดี
พร้อมกบั ไดร้ ับการเล้ียงดูเอาใจใส่ ไดร้ ับความรัก ความอบอุ่นทางจิตใจอยา่ งเพียงพอ จะทาให้
บุคคลน้นั มีสุขภาพจิตดีไปดว้ ย

การพฒั นาสุขภาพในวยั ผ้ใู หญ่ ส่วนมากจะเป็นไปในลกั ษณะการดูแลตนเอง เพราะผใู้ หญ่
จะรู้ความผดิ ปกติที่เกิดข้ึนกบั ตนเอง บอกอาการท่ีผดิ ปกติที่เกิดข้ึนกบั ตนเองได้ สุขภาพท่ีไม่ดี
ในวยั ผใู้ หญ่น้นั มกั เกิดจากพฤติกรรมของตนเองเป็นส่วนมาก เช่น พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
ไม่ตรงเวลา ไม่รับประทานอาหารบางม้ือ เลือกรับประทานอาหารเฉพาะส่ิงที่ชอบ หรือ
ไม่รับประทานอาหารทวั่ ไป แต่รับประทานอาหารเสริมหรืออาหารสาเร็จรูปท่ีเป็นแคปซูลแทน
เพ่อื รักษารูปร่าง ซ่ึงเป็นความเขา้ ใจท่ีไม่ถูกตอ้ ง ก่อใหเ้ กิดปัญหาสุขภาพเร้ือรัง

การดูแลสุขภาพในวยั ชราหรือผ้สู ูงอายุ ในวยั น้ีการทางานของอวยั วะต่าง ๆ ในร่างกาย
เสื่อมโทรมลง แต่ถา้ การดูแลสุขภาพดีในวยั เดก็ และวยั ผใู้ หญ่ การเสื่อมโทรมของอวยั วะในร่างกาย
กจ็ ะเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งชา้ ๆ และไม่ค่อยเจบ็ ป่ วย อยา่ งไรกต็ าม การเส่ือมโทรมของร่างกายและ
สมองยอ่ มเป็นไปตามวยั การดูแลสุขภาพของบุคคลในช่วงน้ีจึงตอ้ งไดร้ ับความช่วยเหลือดูแลจาก
คนในครอบครัว

๒. กระบวนการพฒั นาสุขภาพ
ของตนเองและครอบครัว

การพฒั นาสุขภาพของตนเองและครอบครัว เป็นกระบวนการท่ีตอ้ งครอบคลุมท้งั การ
สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกนั การรักษาพยาบาลเบ้ืองตน้ ตลอดจนการฟ้ื นฟสู ุขภาพ ซ่ึงมีข้นั ตอน
ดงั น้ี

๒.๑ ข้ันตอนของการประเมินปัญหา โดยแบ่งกลุ่มภาวะสุขภาพของคนเราได้ ดงั น้ี
๑) กลุ่มที่มีสุขภาพดี
๒) กลุ่มที่มีความเส่ียงจะเกิดภาวะสุขภาพที่ไม่ดี
๓) กลุ่มที่เกิดความเจบ็ ป่ วยแลว้
เม่ือประเมินภาวะของ ๓ กลุ่มน้ีแลว้ กจ็ ะเขา้ สู่กระบวนการต่อไป

๒.๒ ข้ันตอนการวเิ คราะห์ปัญหา หาสาเหตุของปัญหาแลว้ ดาเนินการแกไ้ ขหรือรักษา โดยนา
ขอ้ มูลจากการประเมินในขอ้ ๒.๑ มาศึกษาหาสาเหตุวา่ เกิดจากเหตุใด เช่น เกิดจากพฤติกรรมของ
ตวั บุคคล สภาพแวดลอ้ มในชุมชนท่ีอาศยั พนั ธุกรรม หรือจากความเคยชิน
๒.๓ ข้นั ตอนการวางแผนแก้ไขปัญหา เป็นการคิดหาวธิ ีการแกไ้ ข วางแผนดูแลสุขภาพให้
เหมาะสม เช่น อยใู่ นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน เมื่อวิเคราะห์ปัญหาแลว้ พบวา่ มี
พฤติกรรมการบริโภคส่วนบุคคลชอบรับประทานอาหารรสชาติหวาน การแกไ้ ขคือ ใหค้ วามรู้
ในเรื่องอาการของผปู้ ่ วยโรคเบาหวาน ผลกระทบจากการเป็นโรคเบาหวาน การแกไ้ ขไดใ้ น
ขณะน้นั คือ ลดปริมาณการรับประทานอาหารรสหวาน การวางแผนแกไ้ ข ควรใชแ้ นวคิดจาก
การใหค้ วามรู้แก่บุคคลน้นั ใหเ้ กิดความตระหนกั ดว้ ยตนเองจะดีที่สุด

๒.๔ ข้นั ตอนการลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ ตอ้ งปฏิบตั ิดว้ ยความเตม็ ใจ ไม่เป็นการบงั คบั จึง
จะเกิดผลดี ตอ้ งเห็นอนั ตรายท่ีจะเกิดแก่ตน หรือเกิดผลกระทบกบั บุคคลอนั เป็นที่รัก จึงจะทาให้
คนเราปฏิบตั ิได้ เช่น รู้วา่ จะเป็นโรคเบาหวาน ตอ้ งเลิกหรืองดรับประทานของมนั ของหวาน
ถา้ ทาไม่ไดอ้ าจเสียชีวิต ขาดผดู้ ูแลบุตรต่อไป

๒.๕ ข้นั ตอนการประเมนิ ผล เป็นกระบวนการที่เราสามารถทราบไดว้ า่
การวางแผนพฒั นาสุขภาพดว้ ยวิธีการท่ีเราเลือกปฏิบตั ิหรือวางแผนไวน้ ้นั
ประสบความสาเร็จหรือไม่และมากนอ้ ยเพยี งใด หรือทาใหส้ ุขภาพดีข้ึน
หรือไม่

๓. วธิ ีการวางแผนพฒั นาสุขภาพ
ของตนเองและครอบครัว

ความหมายของการวางแผนพฒั นาสุขภาพ

คือ การกาหนดแนวทางวธิ ีการในการสร้างสุขภาพ ดูแลส่งเสริมสุขภาพล่วงหนา้ โดยมีการ
ประเมินภาวะสุขภาพและวเิ คราะห์ผลการประเมินภาวะสุขภาพ นาขอ้ มูลมาวางแผนพฒั นาสุขภาพ
และกาหนดแนวทางวิธีการพฒั นาสุขภาพ เพอื่ ใหม้ ีภาวะสุขภาพท่ีสมบูรณ์แขง็ แรง

๓.๑ การวางแผนพฒั นาสุขภาพโดยการออกกาลงั กาย

หลกั การวางแผนการออกกาลงั กายโดยทว่ั ไปท่ีผวู้ างแผน ตลอดจนสมาชิกในครอบครัว
ควรนามาใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ มีดงั น้ี

๑) ศึกษารูปแบบของกิจกรรมการออกกาลงั กายใหเ้ หมาะสมกบั วยั และเพศ รวมท้งั สภาพร่างกาย
ของแต่ละคน เช่น การออกกาลงั กายในวยั เดก็ ส่วนใหญ่จะเป็นรูปแบบของการเล่น ซ่ึงจะช่วยในเร่ืองของ
การฝึกทกั ษะทางกาย พฒั นาการทางอารมณ์ สงั คม และสติปัญญาใหแ้ ก่เดก็ ส่วนผใู้ หญ่เป็นวยั ท่ีร่างกายมี
การพฒั นาเตม็ ที่แลว้ การออกกาลงั กายมีหลากหลายรูปแบบ ซ่ึงจะช่วยสร้างเสริมสมรรถภาพของร่างกาย
และประสิทธิภาพในการทางานของระบบอวยั วะต่าง ๆ ในร่างกาย กิจกรรมในการออกกาลงั กายอาจเลอื ก
ไดต้ ามความสนใจ แต่ท้งั น้ีตอ้ งคานึงถึงความเหมาะสมในเรื่องเพศ วยั และสภาพร่างกายของตนเองดว้ ย
ส่วนผใู้ หญ่วยั สูงอายคุ วรเลือกรูปแบบการออกกาลงั กายที่ไม่หนกั จนเกินไป ไม่เคลื่อนไหวร่างกายที่
รวดเร็วมากนกั ซ่ึงกิจกรรมการออกกาลงั กายท่ีเหมาะสมสาหรับผสู้ ูงอายุ ไดแ้ ก่ การรามวยจีน การเดินเร็ว
การวง่ิ เหยาะ การทาท่ากายบริหารง่าย ๆ

๒) เตรียมอุปกรณ์และเคร่ืองใชใ้ นการออกกาลงั กายใหเ้ หมาะสมกบั ชนิดของการออกกาลงั กาย

๓) กาหนดโปรแกรมในการออกกาลงั กายใหเ้ หมาะสม ซ่ึงโดยทวั่ ไปแลว้ ไม่วา่ จะอยใู่ น
วยั ใด ควรออกกาลงั กายคร้ังละไม่ต่ากวา่ ๓๐ นาที และสปั ดาห์ละไม่ต่ากวา่ ๓ วนั

๔) ในกรณีที่มีโรคประจาตวั หรือมีปัญหาทางดา้ นสุขภาพอ่ืน ๆ ควรปรึกษาแพทยก์ ่อนการ
ออกกาลงั กาย

การออกกาลงั กายมีหลกั และวธิ ีการที่เป็ นสากล
ในการออกกาลงั กายแต่ละคร้ัง ถา้ ตอ้ งการใหไ้ ดป้ ระโยชนส์ ูงสุด ผอู้ อกกาลงั กายควรมีหลกั ปฏิบตั ิ

เพือ่ ความพอเหมาะพอดี คือ
- ความหนักของการออกกาลงั กาย ผอู้ อกกาลงั กายมีความจาเป็นจะตอ้ งทราบวา่ ควรออกกาลงั กาย

เท่าใดจึงจะไม่เป็นอนั ตรายต่อร่างกายและไดผ้ ลดีที่สุด โดยปกติเราจะใชอ้ ตั ราการเตน้ ของหวั ใจเป็นตวั วดั
ความหนกั ของงาน ถา้ เป็นการออกกาลงั กายเพอ่ื สุขภาพ อตั ราการเตน้ ของหวั ใจของผอู้ อกกาลงั กายควร
อยใู่ นอตั รา ๗๐%-๘๐ % ของอตั ราการเตน้ ของหวั ใจสูงสุด โดยอตั ราการเตน้ ของหวั ใจสูงสุด มีสูตร
ในการคานวณ ดงั ต่อไปน้ี

ชีพจรสูงสุด = (๒๒๐-อายุปี ) x (๗๐-๘๐%)
๑๐๐

ตวั อย่าง อไุ รวรรณอายุ ๒๐ ปี อตั ราการเต้นของหัวใจสูงสุดในการออกกาลงั กาย คือ

= (๒๒๐-๒๐) x (๗๐-๘๐%)
๑๐๐

= ๑๔๐-๑๖๐ คร้ัง/นาที

- ความนานของการออกกาลงั กาย ในการออกกาลงั กายเพ่ือสุขภาพแต่ละคร้ังโดยทวั่ ๆ ไป
ควรใชเ้ วลาอยา่ งนอ้ ย ๒๐-๓๐ นาที (แต่สาหรับผทู้ ี่เป็นนกั กีฬาควรเพ่ิมเวลาใหน้ านข้ึน) โดยใหอ้ ตั รา
การเตน้ ของหวั ใจคงท่ี (ตามการคานวณไดใ้ นสูตรดงั กล่าว) ไปตลอดเวลาน้นั และควรออกกาลงั กาย
เป็นเวลาเดียวกนั ทุกคร้ัง

- ความบ่อยของการออกกาลงั กาย ความเหมาะสมในการออกกาลงั กายในหน่ึงสปั ดาห์น้นั
ควรออกกาลงั กายไม่นอ้ ยกวา่ ๓ วนั และไม่เกิน ๖ วนั และควรมีวนั พกั ผอ่ นสปั ดาห์ละไม่นอ้ ยกวา่ ๑ วนั

๓.๒ การวางแผนการรับประทานอาหารให้ถูกต้องตามหลกั โภชนาการ

หลกั การและแนวทางปฏิบตั ิที่สาคญั ในการวางแผนการรับประทานอาหารใหถ้ ูกตอ้ งตาม
หลกั โภชนาการ มีดงั น้ี

๑) ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกบั อาหารที่เหมาะสมกบั บุคคลวยั ต่าง ๆ ในครอบครัว เช่น อาหารที่
เหมาะกบั วยั เดก็ ควรจะเป็นอาหารท่ีช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตและครบท้งั ๕ หมู่ เพราะวยั เดก็ เป็นวยั
ท่ีกาลงั เจริญเติบโต ส่วนในวยั ผใู้ หญ่จะเนน้ การรับประทานอาหารที่ใหพ้ ลงั งานและครบท้งั ๕ หมู่
สาหรับในวยั ผสู้ ูงอายนุ อกจากการคานึงในเร่ืองการรับประทานอาหารใหค้ รบท้งั ๕ หมู่แลว้ ควรจะมีการ
ปรับเปล่ียนวิธีการปรุงอาหารใหเ้ หมาะสมต่อการรับประทานอาหาร เช่น อาหารประเภทเน้ือสตั ว์
ควรเป็นเน้ือสตั วแ์ บบยอ่ ยง่าย โดยเฉพาะเน้ือปลา

๒) ควรส่งเสริมสุขนิสยั ในการรับประทานอาหารใหเ้ กิดข้ึนกบั บุคคลในครอบครัว เช่น
รับประทานอาหารใหเ้ ป็นเวลา เลือกรับประทานอาหารที่ปรุงสุก สด ใหม่ สะอาด รับประทานแต่พออิ่ม
ไม่ควรรับประทานมากเกินไป เพราะอาจทาใหเ้ กิดโรคอว้ น

๓) หากบุคคลในครอบครัวมีโรคประจาตวั ผทู้ ี่มีหนา้ ที่ในการจดั เตรียมอาหารควรตอ้ งมีความ
ระมดั ระวงั ในการจดั เตรียม และผทู้ ่ีเป็นโรคกค็ วรจะตอ้ งระมดั ระวงั ในการบริโภคอาหารท่ีมีผลกระทบ

ต่อโรคดว้ ย เช่น ผทู้ ี่เป็นโรคไตควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเคม็

๓.๓ การวางแผนการพกั ผ่อน

การพกั ผอ่ นเป็นส่ิงท่ีจาเป็นต่อมนุษยแ์ ละมีความสาคญั ต่อสุขภาพท้งั ทางร่างกายและจิตใจ การ
พกั ผอ่ นเป็นการช่วยใหร้ ่างกายไดผ้ อ่ นคลายจากความเหน็ดเหนื่อยและช่วยสร้างเสริมใหร้ ่างกายสมบูรณ์
แขง็ แรงข้ึน และทาใหร้ ู้สึกสดช่ืน ลกั ษณะท่ีจดั วา่ เป็นการพกั ผอ่ น ไดแ้ ก่

๑) การนอนหลบั เป็นการพกั ผอ่ นท่ีดีท่ีสุด เน่ืองจากในขณะที่เรานอนหลบั อวยั วะทกุ ระบบใน
ร่างกายไดพ้ กั ผอ่ น ขณะเดียวกนั ร่างกายของเรากจ็ ะทาการซ่อมแซมปรับปรุงเซลลต์ ่าง ๆ ใหพ้ ร้อมท่ีจะ
ปฏิบตั ิงานต่อไป หากนอนหลบั อยา่ งเพยี งพอ เมื่อต่ืนข้ึนมาจะรู้สึกสดชื่น กระปร้ีกระเปร่า พร้อมท่ีจะ
ปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ คนในแต่ละวยั มีความตอ้ งการใชเ้ วลาในการนอนหลบั แตกต่างกนั เช่น ทารกแรกเกิด
ตอ้ งการเวลานอนวนั ละประมาณ ๑๘-๒๐ ชวั่ โมง เดก็ อายุ ๑-๔ ปี วนั ละประมาณ ๑๑-๑๒ ชว่ั โมง เดก็ อายุ
๕-๑๒ ปี วนั ละประมาณ ๘-๙ ชว่ั โมง และผสู้ ูงอายุ ๖๐ ปี ข้ึนไป วนั ละประมาณ ๙-๑๐ ชว่ั โมง นอกจากน้ี
ในช่วงวยั เดก็ เริ่มเรียน ๓-๕ ปี ควรนอนหลบั ในเวลากลางวนั เพ่ิมวนั ละ ๒-๓ ชวั่ โมงดว้ ย

๒) กจิ กรรมนันทนาการ เป็นกิจกรรมที่ทาในยามวา่ งนอกเหนือจากงานประจา และเป็นกิจกรรม
ที่ทาดว้ ยความสมคั รใจ เพอ่ื ผอ่ นคลายความตึงเครียด สร้างความสนุกสนาน กิจกรรมนนั ทนาการมี
มากมายหลายลกั ษณะ ซ่ึงในการวางแผนเลือกกิจกรรมนนั ทนาการ ควรยดึ หลกั ท่ีวา่ กิจกรรมเหล่าน้นั ตอ้ ง
มีความเหมาะสมกบั สุขภาพร่างกาย เพศ วยั ความสนใจ ความถนดั และความสามารถของตนเอง ไม่ขดั ต่อ
ศีลธรรม ประเพณี วฒั นธรรมของสงั คมและกฎหมาย นอกจากน้ีควรเป็นกิจกรรมท่ีไม่สร้างความรบกวน
หรือก่อความราคาญใหแ้ ก่บุคคลอื่น กิจกรรมที่จดั เป็นกิจกรรมนนั ทนาการ ไดแ้ ก่ กิจกรรมท่ีเก่ียวกบั งาน
ฝีมือ งานประดิษฐ์ งานศิลปะต่าง ๆ การเล่นดนตรี ร้องเพลง หรือการเตน้ ราในสถานท่ีที่มีความเหมาะสม

๓.๔ การวางแผนการตรวจสุขภาพและสร้างเสริมความต้านทานโรค

โรคภยั ไข้เจ็บ เป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนไดก้ บั บุคคลทุกเพศทุกวยั หากปล่อยปละละเลย ไม่สนใจดูแล
สุขภาพของตนเองกอ็ าจจะทาใหเ้ กิดอาการเจบ็ ป่ วย เป็นเหตุใหบ้ ุคคลอื่นในครอบครัวตอ้ งเสียเงิน
และเวลามาดูแลรักษา นอกจากน้ี ภาวะของความเจบ็ ป่ วยยงั ก่อใหเ้ กิดความเครียดส่งผลเสียต่อสุขภาพจิต
อีกดว้ ย และหากเกิดภาวะของการเจบ็ ป่ วยดว้ ยโรคติดต่อกอ็ าจส่งผลใหส้ มาชิกคนอ่ืนในครอบครัวติดเช้ือ
และเจบ็ ป่ วยไปดว้ ยกไ็ ด้ ดงั น้นั ทุกคนในครอบครัวจึงควรท่ีจะรู้จกั ป้องกนั ตนเองใหป้ ลอดภยั จากโรค
โดยการสร้างสุขนิสยั ท่ีดีในการดาเนินชีวติ ประจาวนั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมท่ีเส่ียงต่อโรค และหมน่ั สงั เกต
สิ่งผดิ ปกติที่อาจเกิดกบั ตนเองและบุคคลในครอบครัว หากมีความผดิ ปกติใด ๆ เกิดข้ึนควรรีบ
ไปพบแพทยเ์ พื่อทาการรักษา แต่ถึงแมว้ า่ จะไม่มีอาการผดิ ปกติใด ๆ กค็ วรท่ีจะป้องกนั ไวก้ ่อน
ดว้ ยวิธีการขอรับการตรวจสุขภาพวา่ ยงั ปกติอยหู่ รือไม่

การวางแผนการตรวจสุขภาพมแี นวทางปฏบิ ตั โิ ดยทวั่ ไป ดงั น้ี

๑) การตรวจสุขภาพทว่ั ไป หลกั เกณฑก์ ารตรวจสุขภาพทว่ั ไปจะแตกต่างกนั ไปตามกลุ่มอายุ เช่น
เดก็ ทารก ควรไดร้ ับการตรวจสุขภาพตามท่ีแพทยแ์ นะนา เพอื่ ตรวจการเจริญเติบโตและพฒั นาการและ
การใหภ้ ูมิคุม้ กนั โรคต่าง ๆ เดก็ วยั เรียนควรไดร้ ับการตรวจสุขภาพอยา่ งนอ้ ยปี ละ ๑ คร้ัง และตรวจ
สุขภาพฟันอยา่ งนอ้ ย ๔ เดือนต่อคร้ัง รวมไปถึงการไดร้ ับการฉีดวคั ซีนเพอื่ สร้างภูมิคุม้ กนั โรคตามที่
กระทรวงสาธารณสุขไดก้ าหนดไว้ ในวยั ผใู้ หญ่ควรไดร้ ับการตรวจสุขภาพอยา่ งนอ้ ยปี ละ ๑ คร้ัง
เพือ่ ประเมินสมรรถภาพการทางานของอวยั วะต่าง ๆ ในร่างกาย ส่วนในวยั ผสู้ ูงอายคุ วรไดร้ ับการตรวจ
ร่างกายอยา่ งละเอียดและสม่าเสมออยา่ งนอ้ ย ๖ เดือนต่อคร้ัง เพ่ือที่จะไดค้ น้ หาขอ้ บกพร่องทางดา้ นร่างกาย
ต่าง ๆ นอกจากน้ีบุคคลโดยทว่ั ไปควรไดร้ ับการตรวจสุขภาพในสถานการณ์อ่ืน ๆ เช่น ตรวจสุขภาพ
ก่อนแต่งงานหรือตรวจสุขภาพก่อนเขา้ ทางาน

๒) การตรวจสุขภาพเมื่อมอี าการผดิ ปกติเกดิ ขนึ้ นอกจากการตรวจ
สุขภาพทว่ั ไปท่ีกล่าวมาแลว้ ในครอบครัวทุกคนควรหมนั่ ดูแลและสงั เกต
สุขภาพของตนเองอยเู่ สมอ หากพบความผดิ ปกติหรืออาการของการ
เจบ็ ป่ วยเกิดข้ึนควรรีบไปพบแพทยเ์ พ่ือท่ีจะไดท้ าการรักษาอยา่ งทนั ท่วงที
และยงั เป็นการป้องกนั การลุกลามของโรค เพราะการคน้ พบความผดิ ปกติ
และอาการเกิดของโรคในระยะแรกแพทยจ์ ะสามารถรักษาใหห้ ายขาดได้
ง่ายกวา่ การคน้ พบโรคเมื่อมีอาการมากแลว้ ตวั อยา่ งอาการผดิ ปกติที่แสดง
ออกมาและควรไปพบแพทย์ เช่น น้าหนกั ตวั ลดลงอยา่ งรวดเร็ว ปวดเสียด
หนา้ อกเป็นคร้ังคราว

ผงั สรุปสาระสาคญั

๑. แนวคดิ ในการวางแผนพฒั นาสุขภาพของตนเองและครอบครัว การดูแลสุขภาพของตนเอง นบั วา่ เป็นปัจจยั พ้นื ฐานที่
ทุกคนควรที่จะปฏิบตั ิ แต่นอกเหนือจากการดูแลสุขภาพของตนเองแลว้ การดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัว กน็ บั วา่
เป็นสิ่งสาคญั ไม่ยง่ิ หยอ่ นไปกวา่ กนั เพราะภาวะสุขภาพท่ีเกิดข้ึนในครอบครัว ลว้ นแลว้ แต่มีผลต่อสุขภาพของคนเรา
ดงั น้นั ความรู้เกี่ยวกบั การวางแผนการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว จึงเป็นความรู้ที่สาคญั อีกประการหน่ึง
ท่ีนกั เรียนควรไดศ้ ึกษาและทาความเขา้ ใจ เพ่ือท่ีจะไดน้ าความรู้ความเขา้ ใจดงั กล่าวไปปรับใชใ้ นการสร้างเสริมสุขภาพ
ในชีวติ ประจาวนั และในอนาคตต่อไป

การพฒั นา ๒. กระบวนการพฒั นาสุขภาพของตนเองและครอบครัว วธิ ีการวางแผนพฒั นาสุขภาพของตนเองและ
สุขภาพของ ครอบครัว บุคคลในครอบครัวประกอบดว้ ยบุคคลท่ีมีความแตกต่างท้งั บทบาท หนา้ ท่ี และช่วงวยั ดงั น้นั
ตนเองและ การวางแผนดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัวจึงตอ้ งมีความแตกต่างกนั ออกไป เช่น ในวยั เดก็ เป็นวยั
ครอบครัว ที่ยงั ไม่สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ พอ่ แม่จึงมีส่วนสาคญั ในการวางแผนดูแลสุขภาพใหก้ บั เดก็ ในขณะที่
วยั ผใู้ หญส่ ามารถวางแผนดูแลสุขภาพดว้ ยตนเองได้ อยา่ งไรกต็ ามหากการวางแผนดงั กล่าวขาดความสมบูรณ์
และถูกตอ้ งเหมาะสม อาจจะส่งผลใหภ้ าวะทางสุขภาพไม่บรรลุประสิทธิผลที่ต้งั ไว้ ดงั น้นั ผทู้ ่ีจะวางแผน
ดูแลสุขภาพของบุคคลในครอบครัวควรใหค้ วามสาคญั ต่อเร่ืองท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การวางแผนปฏิบตั ิดงั กล่าว

๓. วธิ ีการวางแผนพฒั นาสุขภาพของตนเองและครอบครัว การวางแผนสุขภาพของตนเองและครอบครัว สามารถวางแผน
โดยแบ่งออกเป็น ๔ ดา้ น ไดแ้ ก่ การวางแผนพฒั นาสุขภาพ โดยการออกกาลงั กาย การวางแผนการรับประทานอาหารให้
ถูกตอ้ งตามหลกั โภชนาการ การวางแผนการพกั ผอ่ น และการวางแผนการตรวจสุขภาพและสร้างเสริมความตา้ นทานโรค