เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม

โรคกระเพาะอาหาร เป็นโรคที่เกิดในระบบทางเดินอาหาร เกิดจากการมีพฤติกรรมการทานอาหารที่ไม่ถูกต้องโดยส่วนมากจะมีอาการ ปวดเสียด จุก และแน่นบริเวณใต้ลิ้นปี่ ปวดท้องก่อนและหลังอาหารหรือช่วงท้องว่าง เป็นต้น

ปวดท้องแบบไหนเป็นโรคกระเพาะ (อาหารอักเสบ)

ปวดท้องแบบไหนเสี่ยงเป็น “มะเร็งกระเพาะอาหาร”

หากเป็นโรคกระเพาะอาหาร มีอาหารอะไรบ้างที่ควรรับประทาน และไม่ควรรับประทาน

เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 ควรรับประทาน 
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม

เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 อาหารย่อยง่าย ไขมันต่ำ อกไก่ เนื้อปลา
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 อาหารที่มีความเป็นกรดต่ำ สาหร่าย หน่อไม้ฝรั่ง แตงกวา
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 กล้วย ยับยั้งการหลั่งน้ำย่อย ช่วยรักษาแผลในกระเพาะ
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 อาหารที่มีโพรไบโอติกส์ เช่น โยเกิร์ต
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 อาหารที่อุดมไปด้วยเส้นใยอาหาร เช่น พืชตระกูลถั่ว แครอท บล็อกโคลี
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 อาหารควรปรุงโดยใช้น้ำมันมะกอก และน้ำมันคาโนลาเป็นหลัก

เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 ไม่ควรรับประทาน 
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม

เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 อาหารรสจัด เผ็ด-เปรี้ยว-หวาน-เค็ม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 ชา กาแฟ น้ำอัดลม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 อาหารไขมันสูง ของทอด
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 ของหมักดอง
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 นมสด ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากนมสดหรือครีม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
 เนื้อสัตว์แปรรูป เช่น ไส้กรอก แฮม หรือเบคอน

เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม
เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม


โรคกระเพาะอาหารอักเสบ – รู้ทันอาการ และการรักษาอย่างถูกวิธี

ระวัง “คนชอบกินรสจัด” เสี่ยงเป็นหลายโรค!!!

ปวดตรงนี้ ป่วยตรงไหน? 9 ตำแหน่งปวดท้อง บ่งบอกโรคได้!

 เนื่องจากการรับประทานองุ่นอาจส่งผลต่อการแข็งตัวของเลือด และหากรับประทานร่วมกับวาร์ฟารินอาจทำให้เสี่ยงต่อการเกิดแผลฟกช้ำหรือเลือดออกได้ง่าย อาจต้องปรับขนาดยาเพื่อลดความเสี่ยงดังกล่าว และควรตรวจเลือดเป็นประจำ

ผู้ป่วยโรคกระเพาะต้องพิถีพิถันในการเลือกรับประทานอาหารมากเป็นพิเศษ เพราะอาหารบางชนิดอาจระคายเคืองต่อกระเพาะอาหารและทำให้อาการป่วยแย่ลง จนเกิดอาการปวดท้อง ท้องอืด แสบร้อนกลางอก หรืออาหารไม่ย่อยตามมา ในขณะเดียวกัน การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะกับสุขภาพของตนเองอาจช่วยควบคุมอาการของโรคกระเพาะ และทำให้อาการป่วยทุเลาลงได้อีกด้วย

เป็นโรคกระเพาะกินองุ่นได้ไหม

โรคกระเพาะ กับการเลือกรับประทานอาหาร

โรคกระเพาะ คือ ความผิดปกติที่เกิดจากการอักเสบของเยื่อบุกระเพาะอาหาร ซึ่งอาจเกิดขึ้นอย่างฉับพลันหรือเรื้อรัง และมีอยู่หลายประเภทขึ้นอยู่กับสาเหตุที่ก่อโรค โดยส่วนใหญ่มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร (H. Pylori) ผู้ป่วยโรคนี้มักมีอาการไม่รุนแรง และหายเป็นปกติได้ในเวลาอันรวดเร็วหากได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง แต่โรคกระเพาะอาหารบางประเภทอาจก่อให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร และเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งตามมาได้

อย่างไรก็ตาม การรับประทานอาหารบางชนิดอาจช่วยควบคุมอาการป่วยไม่ให้รุนแรงขึ้น หรือช่วยบรรเทาอาการป่วยได้ แต่ผู้ป่วยก็ควรรับการรักษาการเจ็บป่วยที่เป็นสาเหตุของโรคกระเพาะด้วย อย่างโรคติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร และหลีกเลี่ยงปัจจัยต้นเหตุอย่างการดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารรสเผ็ดหรืออาหารบางอย่างที่กระตุ้นให้มีอาการกำเริบ รวมทั้งควรสังเกตอาการของตนเองอยู่เสมอ หากมีอาการรุนแรงหรือมีอาการป่วยเกิดขึ้นอย่างเรื้อรัง ควรไปพบแพทย์เพื่อเข้ารับการรักษาอย่างถูกต้อง ควบคู่กับปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหารไปด้วย

อาหารที่ดีต่อผู้ป่วยโรคกระเพาะ

อาหารแต่ละชนิดที่คนเรารับประทานเข้าไปนั้น ส่งผลต่อระบบย่อยอาหารและสุขภาพโดยรวมเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะผู้ที่มีความผิดปกติในระบบทางเดินอาหารอย่างโรคกระเพาะ ควรเลือกรับประทานอาหารที่ส่งผลดีต่อระบบย่อยอาหาร ไม่ก่อให้เกิดการระคายเคืองกระเพาะอาหาร และมีคุณสมบัติช่วยบรรเทาอาการป่วยด้วย ดังนี้

  • อาหารที่อุดมไปด้วยเส้นใยอาหาร เช่น พืชตระกูลถั่ว แครอท บร็อกโคลี่ ข้าวโอ๊ต แอปเปิ้ล เป็นต้น
  • อาหารที่มีความเป็นกรดต่ำ หรืออาหารที่มีฤทธิ์เป็นด่าง อย่างผักชนิดต่าง ๆ
  • อาหารที่มีไขมันต่ำ เช่น อกไก่ เนื้อปลา เป็นต้น
  • อาหารที่ปรุงโดยเลือกใช้น้ำมันมะกอกและน้ำมันคาโนลาเป็นหลัก
  • ธัญพืชเต็มเมล็ด เช่น ขนมปังโฮลวีต ซีเรียล ข้าวกล้อง เป็นต้น
  • เครื่องดื่มที่ไม่อัดแก๊ส และไม่มีคาเฟอีน
  • อาหารที่มีโพรไบโอติกส์ (Probiotics) ซึ่งเป็นเชื้อจุลินทรีย์และยีสต์ในกลุ่มที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น กะหล่ำดอง กิมจิ ชาหมัก โยเกิร์ต เป็นต้น เนื่องจากมีงานวิจัยที่พบว่า โพรไบโอติกส์อาจช่วยป้องกันโรคติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ซึ่งเป็นต้นเหตุของโรคกระเพาะและการเกิดแผลในกระเพาะอาหารได้

นอกจากการเลือกรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อระบบย่อยอาหาร ผู้ป่วยควรปรับพฤติกรรมการบริโภคให้เหมาะสมด้วย ทั้งนี้ ไม่ควรรับประทานอาหารก่อนเข้านอนอย่างน้อย 2 ชั่วโมง และหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารครั้งละมาก ๆ โดยให้หันมารับประทานอาหารทีละน้อย ๆ แต่รับประทานให้บ่อยครั้งขึ้นแทน

อาหารที่ผู้ป่วยโรคกระเพาะไม่ควรรับประทาน

ร่างกายของผู้ป่วยโรคกระเพาะอาจตอบสนองต่ออาหารแต่ละชนิดแตกต่างกัน ผู้ป่วยแต่ละรายจึงควรสังเกตอาการตนเองขณะรับประทานอาหารแต่ละชนิด และหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้อาการป่วยแย่ลง ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นอาหารที่มีรสเผ็ด เปรี้ยว หรือมีฤทธิ์เป็นกรด และอาหารที่มีไขมันสูง ดังนี้