ก จการท ไม ม ส วนได เส ยสาธรณะค อ

สรุปความแตกต่างที่สำคัญของหลักการระหว่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (ปรับปรุง 2565) (TFRS for NPAEs) และมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for PAEs) 2 ต.ค. 2566 ดาวน์โหลด การสัมมนา (ท่านสามารถคลิกชมได้ที่เมนูย่อย “Facebook Live & Clip” และเลือกหัวข้อสัมมนาที่ท่านสนใจ ซึ่งเรียงไว้ตามวันที่สัมมนา) 1 สัมมนาพิจารณ์ (ร่าง) TFRS for NPAEs ปรับปรุงเพื่อให้ครอบคลุมธุรกรรมมากขึ้น 27 เม.ย. 2565 Facebook Live & Clip 2 การเสวนาการเตรียมความพร้อมกับ TFRS for NPAEs ปรับปรุง 2565 22 พ.ย. 2565 Facebook Live & Clip 3 มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (ปรับปรุง 2565) (TFRS for NPAEs) หมายเหตุ: เอกสารฉบับนี้ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมภายหลังจากการสัมมนา 9 ธ.ค. 2565 Facebook Live & Clip

สำหรับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป

ลำดับ เรื่อง วันที่มีผลบังคับใช้ ดาวน์โหลด สถานะ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี/คำชี้แจงที่เกี่ยวข้อง 1 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs) 1 ม.ค. 2554 ดาวน์โหลด 2 ประกาศสภาวิชาชีพบัญชีที่ 13/2555 เรื่อง ข้อกำหนดเพิ่มเติมสำหรับการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ 1 ม.ค. 2554 ดาวน์โหลด ถูกยกเลิกโดยประกาศสภาวิชาชีพบัญชีที่ 34/2566 3 ประกาศสภาวิชาชีพบัญชีที่ 14/2555 เรื่อง การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ 1 ม.ค. 2554 ดาวน์โหลด ถูกยกเลิกโดยประกาศสภาวิชาชีพบัญชีที่ 34/2566 4 ประกาศสภาวิชาชีพบัญชีที่ 29/2554 เรื่อง คำอธิบายเกี่ยวกับการปฏิบัติตามข้อกาหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ 1 ม.ค. 2554 ดาวน์โหลด ถูกยกเลิกเนื่องจาก NPAEs (ปรับปรุง 2566) 5 ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 42/2563 เรื่อง ข้อกำหนดเพิ่มเติมสำหรับมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะเรื่องที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 1 ม.ค. 2563 ดาวน์โหลด ถูกยกเลิกโดยประกาศสภาวิชาชีพบัญชีที่ 34/2566 6 คำชี้แจง เรื่องวิธีปฏิบัติทางบัญชี เกี่ยวกับธุรกรรมการโอนทรัพย์เพื่อชำระหนี้ให้กับสถาบันการเงินตามมาตรการสนับสนุนการรับโอนทรัพย์สินหลักประกันเพื่อชำระหนี้ตามพระราชกำหนดการให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564 กรณีที่ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ เผยแพร่ ณ วันที่ 6 พ.ค. 2564 ดาวน์โหลด คำถาม-คำตอบ 1 คำถาม-คำตอบ: สถานการณ์ COVID-19 สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ และตัวอย่างประกอบทำความเข้าใจการรับรู้รายการทางด้านผู้เช่าและผู้ให้เช่า กรณีการยินยอมลดค่าเช่าเนื่องจากสถานการณ์ COVID-19 สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ - ดาวน์โหลด 2 คำถาม - คำตอบ “การถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs)” เผยแพร่ ณ วันที่ 8 เม.ย. 2564 ดาวน์โหลด 3 คำถาม - คำตอบเกี่ยวกับการถือครองคริปโทเคอร์เรนซี (Cryptocurrencies) สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs) 12 เม.ย. 2565 ดาวน์โหลด ตัวอย่างประกอบความเข้าใจ 1 ตัวอย่างประกอบความเข้าใจสำหรับประกาศสภาวิชาชีพบัญชีเรื่องข้อกำหนดเพิ่มเติมสำหรับมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะเรื่องที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เผยแพร่ ณ วันที่ 20 ก.ย. 2563 ดาวน์โหลด 2 ตัวอย่างสำหรับที่กิจการผู้โอนทรัพย์ชำระหนี้หลักประกันเพื่อชำระหนี้ตามพระราชกำหนดการให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564 กรณีที่ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ เผยแพร่ ณ วันที่ 7 พ.ค. 2564 ดาวน์โหลด ข่าวสาร 1 การจัดสัมมนาหลักสูตร “การสัมมนาเรื่อง TFRS For NPAEs ในปัจจุบันและรับฟังความคิดเห็นเพื่อการปรับปรุง TFRS For NPAEs ในอนาคต : Present And Future” (วันที่ 8 พฤศจิกายน 2562)

TFRS มีกี่ประเภท

TFRS คือมาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงมาจากมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศเพื่อให้เหมาะสมกับประเทศไทย ซึ่งปัจจุบันมี 2 ชุด คือ TFRs for NPAEs และ Full TFRSs.

TFRS for NPAEs (ปรับปรุง 2565) มีจํานวนทั้งสิ้นกี่บท

สรุปสาระสำคัญ TFRS for NPAEs ฉบับปรับปรุง 2565 เพิ่มเติม 6 บทใหม่ ที่ต้องปฏิบัติ.

สำคัญมาก!!!.

หัวข้อสัมมนา.

สรุป หลักการที่เพิ่มเติม/แก้ไขของ TFRS for NPAEs 2566 (17 บท).

บทที่ 1 ความเป็นมาและวัตถุประสงค์.

บทที่ 2 ขอบเขต.

บทที่ 3 กรอบแนวคิด.

บทที่ 4 การนำเสนองบการเงิน.

TFRS และ TAS แตกต่างกันอย่างไร

TAS หมายถึง มาตรฐานการบัญชี TFRS หมายถึง มาตรฐานการรายงานทางการเงิน TSIC หมายถึง การตีความมาตรฐานการบัญชี TFRIC หมายถึง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ คืออะไร

  1. กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Publicly Accountable Entities: PAEs) เช่น บริษัทมหาชนบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ กิจการที่ดำเนินธุรกิจหลักในการดูแลทรัพย์สินของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง เช่น สถาบันการเงิน บริษัทหลักทรัพย์ เป็นต้น ซึ่งกิจการเหล่านี้ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จัดขึ้นตาม ...