กรมศ ลกากร ม หล กฐานเอาผ ดซ เปอร ซาร า

หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดาเนนิ ชวี ติ รายวิชา ทช33ห09น8ังสกญัอื เชรายี แนลสะากรัญะชทงกั ศษกึ ษะกาาเรพด่ือาใชเนเ้ ปนิ ็นชยีวาติ อยา่ งชาญฉลาด รายวชิ า ทช33098หกนัญงั สชรือะาเดรแียบัลนมะสธักายญั รมะชศทกึงักศษษกึาะตษกอาานรเปดพาลอ่ืเานใยินชช้เปีวติ็นยาอยา่ งชาญฉลาด รายวิชา ทช33098 กรญั ะรชะดดาับแับมลมธัะธั ยกยัญมมศศชกึึกงศษษกึาาษตตอาอนเนพปปอื่ลลใาชยา้เยป็นยาอยา่ งชาญฉลาด สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กรงุ เทพมหานคร สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สานักงานสง่ สเสารนิมกั กงาารนศปกึ ลษดั ากนรอะกทรระวบงบศแกึ ลษะากธาิกราศรกึ กษราะตทารมวองธัศยกึ าษศายั ธกิกราุงรเทพมหานคร สานักงานส่งสเาสนรกั ิมงกานารสศ่งเกึ สษรมิานกาอรกศรึกะษบาบนอแกลระะกบาบรแศลกึ ะษการตศากึมษอาธั ตยาามศอยัธกยารศงุ ยัเทพมหานคร สานกั งสาานนสกั ง่ งเาสนรปมิ ลกัดากรรศะึกทษรวางนศอกึ กษราะธบกิ บารแกลระะกทารรวศงึกศษึกษาาตธาิกมาอรัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

รหานยังวสชิ ือาเรทยี ชนส3า3ร0ะ9ท8ักษกะญักาชรดา�ำแเลนะนิ กชัญีวิตชงศึกษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จดั ทำ�โดย ส�ำ นักงาน กศน. กทม. 161/10 ซอยอรณุ อมรนิ ทร์ 15 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงบ้านชา่ งหลอ่ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 02-866-2830 ถึง 33 02-866-2839 [email protected] พิมพ์ท ่ี : บริษทั เอกพิมพไ์ ท จ�ำ กดั 9แข4-ว9ง8ศาหลมาู่ธ1ร0รมซสอพยนบ ์ร มเขรตาทชชววีนัฒนนี 1า1 7กถรุงนเนทบพรฯม1รา0ช1ช7น0นี 02-8888-152 02-8888-121 [email protected] www.akepimthai.com

2 ค�ำคนำนำ�ำ หนังสือเรียนสาระทักษะการดาเนินชีวิต ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดทาข้ึนเพ่ือให้ผู้เรียนหลักสูตรรายวิชาน้ี ใช้เป็นสื่อ เอกสารในการศึกษาค้นคว้า และครูผู้สอนใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ ขณะพบกลุ่มจัดประสบการณ์ การเรียนรูใ้ หก้ ับผเู้ รียน สง่ ผลให้ผ้เู รียนมีความรู้ และเจตคติท่ีถกู ตอ้ งในการใช้กัญชาและกัญชงเปน็ ยา ในการรักษา หรือควบคุมอาการของผู้ป่วยในครอบครัว รวมทั้งผู้ป่วยอ่ืน ๆ ที่ต้องการคาแนะนา ท่ีถูกต้อง นอกจากน้ียังส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์ อันเป็นคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ที่สถานศึกษาต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียนส่วนผู้ท่ีสนใจศึกษาความรู้ เกี่ยวกับกัญชาและกัญชง ก็สามารถศึกษาเรียนรู้หนังสือเรียนฉบับนี้ได้ เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและ ปัญญาในการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาอย่างรู้คุณค่าและชาญฉลาด ตลอดจนใช้เป็นเอ กส าร ทางวชิ าการเพอ่ื การอา้ งอิงทเ่ี กีย่ วข้องกบั กญั ชาและกัญชงไดอ้ ีกดว้ ย เอกสารหนังสือเรียนเล่มน้ีประกอบด้วย คาแนะนาการใช้หนังสือเรียน โครงสร้างรายวิชา มเี นือ้ หาจานวน 7 บท ได้แก่ (1) เหตใุ ดตอ้ งเรียนรู้กญั ชาและกัญชง (2) กัญชาและกญั ชงพชื ยาที่ควรรู้ (3) รู้จักโทษและประโยชน์ของกัญชาและกัญชง (4) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชง (5) กัญชาและกัญชงกับการแพทย์ทางเลือก (6) กัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปัจจุบัน และ (7) ใชก้ ญั ชาและกญั ชงเป็นยาอยา่ งรคู้ ุณค่าและชาญฉลาด ความสาเร็จของเอกสารหนังสือเรียนเล่มน้ีเกิดขึ้นจากวิทยากรพัฒนาหลักสูตร รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ได้ ออกแบบหนังสือเรียน ให้ความรู้ในการจัดทาหนังสือเรียน การตรวจสอบคุณภาพของเอกสารหนังสือเรียน ซ่ึงประกอบด้วย รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ศรีสังข์ ผู้เช่ียวชาญด้านการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ข้าราชการบานาญ และนายสังคม โทปุรินทร์ ผู้เช่ียวชาญด้านการบริหารสถานศึกษา ผู้อานวยการสถานศึกษาเช่ียวชาญ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 ข้าราชการบานาญ และคณะผู้จัดทา ประกอบด้วย ผู้บริหาร และครู ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตบางรัก เขตบางกอกใหญ่ เขตราษฎร์บูรณะ เขตบางบอน เขตจอมทอง เขตคลองสามวา และเขตประเวศ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ท่ีร่วมมือร่วมใจกันจัดทาหนังสือเรียน จนสาเร็จ ขอขอบพระคุณ และขอขอบคณุ ทกุ ทา่ นเปน็ อย่างสงู (นายปรเมศวร์ ศริ ิรตั น์) ผู้อานวยการสานกั งาน กศน.กทม.

สารบญั หนา้ คำ�แนะน�ำ การใชห้ นังสอื เรยี น................................................................................................................1 โครงสรา้ งรายวิชา.................................................................................................................................3 สรปุ สาระสำ�คญั ......................................................................................................................3 ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง........................................................................................................ 24 ขอบข่ายเนอ้ื หา.................................................................................................................... 24 สื่อประกอบการเรยี น........................................................................................................... 26 บทท่ี 1 เหตใุ ดตอ้ งเรียนรูก้ ญั ชาและกญั ชง.................................................................................... 27 สาระส�ำ คญั .......................................................................................................................... 27 ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั ........................................................................................................ 29 ขอบข่ายเนือ้ หา.................................................................................................................... 30 ส่ือประกอบการเรียน........................................................................................................... 30 เรอ่ื งที่ 1 มุมมองกฎหมายการใชก้ ัญชาและกญั ชงในประเทศไทยและตา่ งประเทศ............. 30 เรอ่ื งที่ 2 มมุ มองการใช้กัญชาและกัญชงของประชาชนทวั่ ไป.............................................. 37 เรือ่ งที่ 3 สภาพการณข์ อ้ มูลทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั กัญชาและกญั ชงผ่านส่ือออนไลน.์...................... 40 เร่ืองที่ 4 สภาพการณก์ ารใช้กญั ชาและกญั ชงในตา่ งประเทศ.............................................. 45 เรอ่ื งท่ี 5 สภาพการณก์ ารใชก้ ัญชาและกญั ชงในประเทศไทย.............................................. 46 เร่อื งท่ี 6 มุมมองการใช้กญั ชาและกญั ชงของบุคลากรทางการแพทย.์.................................. 47 เรอ่ื งที่ 7 มุมมองการใช้กัญชาและกญั ชงของผูป้ ว่ ย.............................................................. 50 เรื่องที่ 8 สภาพการณแ์ ละข้นั ตอนการให้บริการคลินกิ กญั ชาในประเทศไทย...................... 52 กจิ กรรมทา้ ยบท................................................................................................................... 63 บทที่ 2 กญั ชาและกญั ชงพืชยาท่ีควรร.ู้.......................................................................................... 67 สาระส�ำ คญั .......................................................................................................................... 67 ผลการเรียนรูท้ คี่ าดหวงั ........................................................................................................ 69 ขอบข่ายเนื้อหา.................................................................................................................... 70 สื่อประกอบการเรยี น........................................................................................................... 70 เรอ่ื งที่ 1 ประวัติความเปน็ มาของพืชกัญชาและกัญชง........................................................ 70 เรอ่ื งท่ี 2 ความรเู้ บอื้ งต้นเก่ียวกบั พชื กัญชาและกญั ชง......................................................... 73 เร่อื งที่ 3 พชื กญั ชาและกัญชงคืออะไร แตกต่างกันอย่างไร.................................................. 87 เร่อื งท่ี 4 การใช้พชื กัญชาและกัญชงในชวี ติ ประจำ�วันของคนในโลก.................................... 88 กิจกรรมทา้ ยบท................................................................................................................... 97

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ บทท่ี 3 รู้จกั โทษและประโยชนข์ องกญั ชาและกญั ชง.................................................................. 101 สาระส�ำ คญั ....................................................................................................................... 101 ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง.................................................................................................... 102 ขอบขา่ ยเน้อื หา................................................................................................................. 102 ส่อื ประกอบการเรยี น........................................................................................................ 102 เรอ่ื งที่ 1 โทษของกญั ชาและกัญชง................................................................................... 103 เรอ่ื งท่ี 2 ประโยชนข์ องกญั ชาและกัญชงทางการแพทย.์ .................................................. 109 กจิ กรรมทา้ ยบท................................................................................................................ 112 บทที่ 4 กฎหมายที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชา....................................................................... 115 สาระส�ำ คัญ....................................................................................................................... 115 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั .................................................................................................... 121 ขอบขา่ ยเนอ้ื หา................................................................................................................. 122 ส่อื ประกอบการเรียน........................................................................................................ 122 เรื่องท่ี 1 พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ. 2522..................................................... 123 เรื่องท่ี 2 พระราชบัญญตั วิ ตั ถุออกฤทธิ์ต่อจติ และประสาท พ.ศ. 2559............................ 124 เรอ่ื งที่ 3 พระราชบญั ญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562................................... 127 เรือ่ งที่ 4 ประกาศกระทรวงสาธารณสุขท่ีเกย่ี วข้องกับกญั ชาและกัญชง........................... 131 เรอ่ื งที่ 5 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ............................................... 135 เรื่องท่ี 6 พระราชบัญญัติสทิ ธิบัตรกับกัญชาและกญั ชง.................................................... 139 เรอ่ื งท่ี 7 ขอ้ ปฏบิ ตั ิท่ีตอ้ งทำ�ตามกฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ งกับกญั ชาและกญั ชง........................ 145 เรอ่ื งที่ 8 โทษของการฝา่ ฝืนกฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั กัญชาและกัญชง............................... 148 เรอ่ื งที่ 9 กฎหมายระหวา่ งประเทศเกีย่ วกับกัญชาและกัญชง........................................... 153 กจิ กรรมทา้ ยบท................................................................................................................ 156 บทท่ี 5 กัญชาและกญั ชงกบั การแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก.................................. 159 สาระสำ�คญั ....................................................................................................................... 159 ผลการเรยี นรูท้ ่คี าดหวัง.................................................................................................... 160 ขอบขา่ ยเนอ้ื หา................................................................................................................. 160 ส่อื ประกอบการเรยี น........................................................................................................ 161 เรื่องที่ 1 ประวัติความเป็นมาการใชก้ ญั ชาเปน็ ยาทางการแพทย์ในตา่ งประเทศ............... 161 เรื่องท่ี 2 ประวัตคิ วามเปน็ มาการใชก้ ญั ชาในการแพทยท์ างเลอื กของไทย....................... 162

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ เรอื่ งที่ 3 ตำ�รบั ยาที่มีกญั ชาเป็นสว่ นประกอบท่ีได้มีการคัดเลือกและรบั รองโดย กระทรวงสาธารณสุข........................................................................................ 177 เรอ่ื งที่ 4 ภูมิภเู บศรรวบรวมและเผยแพร่ภมู ิปัญญาไทย.................................................. 206 เรื่องท่ี 5 ภูมปิ ัญญาหมอพน้ื บ้าน นายเดชา ศิริภทั ร........................................................ 213 กจิ กรรมทา้ ยบท................................................................................................................ 216 บทท่ี 6 กัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จบุ ัน................................................................... 219 สาระส�ำ คญั ....................................................................................................................... 219 ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง.................................................................................................... 222 ขอบขา่ ยเนื้อหา................................................................................................................. 222 สื่อประกอบการเรียน........................................................................................................ 223 เรอ่ื งท่ี 1 ประวตั ิการใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปจั จุบัน................................ 223 เรื่องที่ 2 กัญชาและกัญชงที่ช่วยบรรเทาโรคแผนปจั จุบนั ................................................. 226 เรื่องท่ี 3 การใช้นำ�้ มนั กญั ชาและกัญชงกบั การแพทยแ์ ผนปัจจุบัน................................... 232 เรื่องที่ 4 ผลิตภัณฑก์ ัญชาและกัญชงทางการแพทย.์ ........................................................ 236 เรอ่ื งที่ 5 การใช้ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกญั ชงให้ได้ประโยชน์ทางการแพทยใ์ นปัจจบุ นั ....... 241 เรอ่ื งท่ี 6 การใชผ้ ลิตภณั ฑ์กญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์น่าจะไดป้ ระโยชนใ์ นการ ควบคมุ อาการ................................................................................................... 243 กจิ กรรมทา้ ยบท................................................................................................................ 244 บทที่ 7 ใชก้ ัญชาและกญั ชงเปน็ ยาอยา่ งรคู้ ุณค่าและชาญฉลาด................................................. 249 สาระสำ�คัญ....................................................................................................................... 249 ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวงั .................................................................................................... 252 ขอบขา่ ยเนื้อหา................................................................................................................. 252 สอ่ื ประกอบการเรียน........................................................................................................ 252 เรอ่ื งท่ี 1 ความเช่ือและความจรงิ เกยี่ วกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย.์....................... 253 เรอ่ื งท่ี 2 การใช้ผลิตภณั ฑก์ ญั ชาและกัญชงทางการแพทยใ์ นอนาคตใหไ้ ดป้ ระโยชน.์....... 260 เรอ่ื งที่ 3 ขอ้ แนะน�ำ ก่อนตัดสนิ ใจใชผ้ ลิตภณั ฑก์ ัญชาและกัญชงทางการแพทย.์................ 261 เรอ่ื งที่ 4 การวางแผนการรักษาด้วยผลิตภัณฑก์ ัญชาและกัญชง....................................... 262 เรอ่ื งท่ี 5 การเร่มิ ใช้ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงในทางการแพทย.์..................................... 263 เรอ่ื งที่ 6 ขอ้ ห้ามใชผ้ ลติ ภัณฑ์ทีม่ ีสาร THC และ CBD เปน็ สว่ นประกอบ......................... 266 เรื่องท่ี 7 ข้อควรระวังเกยี่ วกับการใชผ้ ลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกัญชง...................................... 266

สารบัญ (ต่อ) หนา้ เรอ่ื งที่ 8 ขอ้ ห้ามในการใชก้ ญั ชาและกัญชง...................................................................... 275 เร่ืองที่ 9 การถอนพษิ เบอ้ื งต้นจากการเมากญั ชาและกญั ชง............................................. 275 กจิ กรรมทา้ ยบท................................................................................................................ 277 บรรณานุกรม................................................................................................................................... 281 ภาคผนวก........................................................................................................................................ 297 ก นยิ ามศพั ท.์..................................................................................................................... 298 ข เฉลยกจิ กรรมท้ายบท..................................................................................................... 300 ค การอนุมัตใิ ช้หนงั สอื เรียน............................................................................................... 306 ง รายชื่อคณะท�ำ งานจดั ท�ำ ส่ือหนงั สือเรียน........................................................................ 308

สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา้ 1 ข่าวใช้นำ้� มันกญั ชา “หยอดแล้วตาย” ทางอินเทอรเ์ น็ต........................................................41 2 ข่าวหมอพ้ืนบา้ นกบั ราชกิจจานเุ บกษา ทีร่ ับรองหมอพ้ืนบ้าน จาก Facebook....................42 3 ข่าวการระดมความคิดเตรยี มปลกู กญั ชา จาก Line..............................................................43 4 ข่าวทเี่ กี่ยวข้องกบั กัญชาทาง Youtube................................................................................44 5 โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร........................................................................................55 6 ปา้ ยชอ่ื โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร............................................................................55 7 ป้ายชอื่ คลินิกกญั ชาทางการแพทย.์.......................................................................................55 8 แพทย์ผ้เู ชี่ยวชาญ..................................................................................................................56 9 แพทย์ให้ค�ำปรกึ ษาคนไข.้......................................................................................................56 10 คณะแพทย์และเภสชั กรผใู้ หก้ ารรักษา..................................................................................56 11 ผู้ป่วยที่เข้ารับการรกั ษา........................................................................................................56 12 ตัวอย่างหนังสือส�ำคญั ผลิต ซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5..............................................57 13 ตัวอย่างหนังสอื ส�ำคญั จ�ำหนา่ ยซึ่งยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5........................................58 14 ต�ำรบั ยากญั ชาแผนปจั จบุ ัน ยาน�้ำมนั หยดใต้ลิน้ ....................................................................59 15 ผลติ ภัณฑน์ ำ้� มันกัญชา โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภูเบศร...................................................59 16 ขั้นตอนการให้บริการคลินิกกัญชา........................................................................................61 17 พชื กญั ชา (Cannabis sativa L.)..........................................................................................74 18 การจ�ำแนกกัญชาออกเป็น 3 ชนดิ ย่อย ตามถ่ินก�ำเนิดและลักษณะทางกายภาพ.................76 19 ภาพแสดงถ่ินก�ำเนดิ ..............................................................................................................79 20 ต้นตัวผ.ู้.................................................................................................................................79 21 ตน้ ตัวเมยี ..............................................................................................................................80 22 ต้นกะเทย..............................................................................................................................80 23 ชอ่ ดอกของกัญชาเพศเมยี เมอื่ สอ่ งดว้ ยกล้องขยายจะเหน็ ไทรโครมอยู่บนชอ่ ดอก................83 24 ภาพแสดงชวี ะสังเคราะหข์ องสารคานาบินอยด.์ ...................................................................84 25 ดอกกัญชาแหง้ ......................................................................................................................89 26 Crystalline..........................................................................................................................90 27 Distillate..............................................................................................................................90 28 Live Resin...........................................................................................................................90 29 Shatter.................................................................................................................................91 30 Budder................................................................................................................................91 31 Snap.....................................................................................................................................91 32 Honeycomb.......................................................................................................................92

สารบัญภาพ (ตอ่ ) ภาพที่ หน้า 33 Crumble.............................................................................................................................. 92. 34 Sap....................................................................................................................................... 92. 35 PHO...................................................................................................................................... 93. 36 Hash oil............................................................................................................................... 93. 37 Charas.................................................................................................................................. 93. 38 อาหารท่มี สี ่วนผสมสารกัญชา............................................................................................... 94. 39 Hemp seed oil.................................................................................................................. 95. 40 ความหมายของยาเสพตดิ ................................................................................................... 123 41 พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธ์ติ ่อจติ และประสาท พ.ศ. 2559............................................. 125. 42 ประเภทของวตั ถุออกฤทธติ์ อ่ จติ ประสาท............................................................................ 126. 43 กัญชายังคงเปน็ ยาเสพตดิ .................................................................................................... 127. 44 ใครปลกู กญั ชาได้บ้าง.......................................................................................................... 129. 45 ก�ำหนดต�ำรับกัญชาท่ีใหเ้ สพเพ่อื รักษาโรคได.้...................................................................... 131 46 ผู้ประกอบวิชาชีพแผนไทยทส่ี ามารถปรงุ หรอื สัง่ จา่ ยต�ำรบั ยาท่ีมีกัญชาผสมอยไู่ ด.้............. 132 47 เง่ือนไขการยกเลิก กัญชาและกัญชง ออกจากยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5..................... 134 48 ลกั ษณะกัญชง..................................................................................................................... 137 49 ความหมายของสทิ ธิบตั ร..................................................................................................... 140. 50 ความหมายของสิทธิบัตรการประดิษฐ.์ ............................................................................... 141. 51 ขัน้ ตอนการด�ำเนินการขอรับสิทธบิ ตั ร................................................................................. 142. 52 ตัวอย่างสิทธิบตั รการประดษิ ฐ.์ ........................................................................................... 143 53 ค�ำขอสิทธบิ ตั รกญั ชา ที่กรมทรพั ยส์ ินทางปญั ญายงั ไมย่ กเลิก............................................. 144. 54 โทษของการโพสตภ์ าพ หรือ ขอ้ ความ เพ่ือโฆษณายาเสพตดิ ............................................. 145. 55 นโยบายการแกไ้ ขปัญหายาเสพติดแนวใหม.่ ....................................................................... 147. 56 บทลงโทษการฝา่ ฝนื กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั กัญชา............................................................. 149. 57 บดิ เบอื นฉลากอาหาร ฉลากยา มีความผดิ .......................................................................... 150. 58 ชดุ ต�ำราภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยฉบับอนุรักษค์ ัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน (ต�ำราพระโอสถพระนารายณ)์ ......................................................................... 163. 59 ต�ำรบั ยาท่อี ย่ใู นแผ่นศิลาวดั พระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม...................................................... 167. 60 จารึกต�ำรายา วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร....................................................................... 172. 61 จารึกแผน่ สญู หาย แผน่ ท่ี 4................................................................................................. 173

สารบญั ภาพ (ต่อ) ภาพท่ี หน้า 62 ต�ำราเวชศาสตรฉ์ บบั หลวง รชั กาลที่ 5................................................................................ 175 63 คัมภีรป์ ฐมจนิ ดา.................................................................................................................. 175 64 คมั ภีรม์ หาโชตรัต..................................................................................................................176 65 คัมภีร์ชวดาร........................................................................................................................176 66 คัมภรี ก์ ระษยั ........................................................................................................................177 67 กระทรวงสาธารณสุข...........................................................................................................178 68 ตวั อยา่ งบรรจภุ ัณฑต์ �ำรับยาศขุ ไสยาศน.์..............................................................................204 69 ต�ำรบั ยาแผนไทยที่มีกญั ชาเป็นส่วนผสม จ�ำนวน 16 ต�ำรับ (ภาพท่ี 1)................................205 70 ต�ำรับยาแผนไทยท่ีมกี ัญชาเปน็ สว่ นผสม จ�ำนวน 16 ต�ำรบั (ภาพที่ 2)................................205 71 ภมู ภิ เู บศร.............................................................................................................................207 72 เรอื นหมอพลอย ภูมิภเู บศร..................................................................................................207 73 สวนสมนุ ไพรและภมู ปิ ัญญาสขุ ภาพ สร้างความรอบรู้สขุ ภาพดว้ ยแพทย์แผนไทย...............208 74 สมุนไพรและภูมปิ ัญญาสขุ ภาพ สร้างความรอบร้สู ขุ ภาพดว้ ยแพทย์แผนไทย......................209 75 โครงการปลูกกัญชาเพอื่ ใช้ประโยชนท์ างการแพทยโ์ ดยระบบปิด........................................213 76 ภมู ิปญั ญานายเดชา ศริ ภิ ัทร.................................................................................................214 77 ตวั อยา่ งน�ำ้ มนั กัญชา โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภเู บศร.....................................................233 78 นำ้� มันกัญชาทง้ั 3 สตู รขององค์การเภสัชกรรม (GPO).........................................................234 79 โดรนาบินอล (Dronabonol)...............................................................................................237 80 นาบโิ ลน (Nabilone)...........................................................................................................237 81 ซาตเิ วกซ์ (Satavex)............................................................................................................238 82 เอพดิ โิ อเลก็ ซ์ (Epidiolex)...................................................................................................239 83 นำ้� มันกญั ชาในรปู แบบคุกกีส้ �ำหรบั สนุ ขั ...............................................................................240 84 นำ�้ มันกัญชาส�ำหรบั รกั ษาสตั ว.์.............................................................................................240

คคำ�ำแแนนะะนนำ�ำกำกราใชรห้ใชนัง้หสนอื เังรสียนือเรียน กกกกกกกหนงั สือเรยี นสาระทักษะการดาเนินชีวติ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพื่อใช้ เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นสื่อเอกสารการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน ที่ลงทะเบียนเรียนหลักสูตรรายวิชานี้ ใช้ศึกษาค้นคว้านาข้อมูลที่ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน ผู้เรียน และครูผู้สอนขณะมาพบกลุ่ม นอกจากนี้ผู้ท่ีสนใจต้องการศึกษาค้นคว้าความรู้ที่เกี่ยวข้อง กับการใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ ก็สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงทางวิชาการได้อีกด้วย ส่วนผู้เรียนต้องปฏิบัติตามข้ันตอนท่ีกาหนดไว้ในคาแนะนาการใช้หนังสือเรียน เพ่ือให้มีความรู้ และ เจตคติที่ถูกต้องในการใช้กัญชาและกัญชงทางการการแพทย์ สามารถนาไปใช้เป็นประโยชน์ในชีวิต จริง ได้แก่ ใช้กับตนเอง การให้คาแนะนาแก่บุคคลอ่ืน ๆ รวมท้ังผู้ท่ีประสงค์ที่จะใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา และกัญชงรักษาโรคที่บุคคลเหลา่ น้ันเป็นอยูไ่ ด้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ ของหลกั สตู รน้ไี ด้ กกกกกกก1. ขนั้ ตอนการใช้หนังสือเรียน มี 2 ข้ันตอน ดงั นี้ กกกกกกกกกขั้นตอนท่ี 1 ให้ผู้เรียนศึกษาหัวข้อโครงสร้างรายวิชา ประกอบด้วย สรุปสาระสาคัญ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ขอบข่ายเนื้อหา และสื่อประกอบการเรียน ให้เข้าใจก่อนที่ จะศึกษา รายละเอยี ดเนอื้ หาของหนงั สือเรียน จานวน 7 บทเรียน ในลาดับถัดไป กกกกกกกกกข้ันตอนที่ 2 ให้ผู้เรียนศึกษารายละเอียดของเนื้อหาในแต่ละบท โดยมีแนวปฏิบัติ จานวน 7 ข้อ ดงั ต่อไปนี้ กกกกกกกกก ข้อ 1 ศึกษาสาระสาคญั ของบทที่นัน้ ๆ กอ่ นเปน็ ลาดับแรก กกกกกกกกก ขอ้ 2 ศกึ ษาผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวังที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียนในลาดับต่อมา กกกกกกกกก ข้อ 3 ศึกษาขอบข่ายของเน้ือหาของบทท่ีน้ัน ๆ ว่ามีเนื้อหาจานวนเรื่องเท่าใด เพื่อให้ เหน็ ภาพรวมของเนอื้ หาของบทนั้น ๆ กอ่ น จะทาใหก้ ารเรยี นรูใ้ นภาพรวมมคี วามชดั เจนมากยงิ่ ขึ้น กกกกกกกกก ข้อ 4 ศึกษาส่ือประกอบการเรียนของเนื้อหาบทท่ีนั้น ๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนที่ต้องการ ศึกษาค้นควา้ เพม่ิ เตมิ ได้กวา้ งขวางและล่มุ ลึกมากขนึ้ กกกกกกกกก ข้อ 5 ศึกษารายละเอียดของเร่ืองในเน้ือหาบทที่น้ัน ๆ ให้เข้าใจอย่างชัดเจน ก่อนที่ จะทากิจกรรมท้ายบทของทุกบท ทง้ั 7 บท กกกกกกกกก ข้อ 6 เม่ือปฏิบัติกิจกรรมท้ายบททุกกิจกรรมเสร็จส้ินแลว้ ให้ผู้เรียนตรวจสอบคาตอบ กิจกรรมท้ายบทในภาคผนวก ข. ของหนังสือเรียนเล่มนี้ หากผู้เรียนตรวจสอบคาตอบของเฉลย กจิ กรรมทา้ ยบทแล้ว พบว่า ไมถ่ ูกตอ้ ง ใหผ้ ูเ้ รยี นกลับไปอ่านทบทวนเน้ือหาเร่ืองนั้น ๆ ของบทที่ศึกษา ใหม่อีกคร้ังหนึ่ง แล้วจึงมาฝึกปฏิบัติทากิจกรรมข้อนั้น ๆ ซ้าใหม่อีกรอบหนึ่ง เพ่ือความเข้าใจอย่าง ชดั เจนในเน้อื หาของเรื่องนัน้ ๆ กอ่ นทีจ่ ะไปศึกษาในบททต่ี อ่ ไป

2 กกกกกกกกก ข้อ 7 ผู้เรียนสามารถนาผลของการฝึกปฏิบัติกิจกรรมท้ายบทไปพูดคุยแลกเปลี่ยนกับ เพ่ือนผเู้ รยี น หรือกับครูผสู้ อนหลักสูตรรายวิชาน้ีขณะพบกลมุ่ เพอ่ื ช่วยเสริมความรู้ ความเข้าใจ ให้กับ ผู้เรียนได้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใชเ้ ป็นยาอยา่ งชาญฉลาด ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ได้ กกกกกกก2. เน้อื หาของหนังสือเรยี นเล่มนี้ ประกอบด้วย 7 บท ดงั น้ี กกกกกกกกก บทท่ี 1 เหตใุ ดต้องเรยี นรกู้ ัญชาและกัญชง กกกกกกกกก บทที่ 2 กญั ชาและกัญชงพชื ยาที่ควรรู้ กกกกกกกกก บทที่ 3 รูจ้ ักโทษและประโยชน์ของกัญชาและกญั ชง กกกกกกกกก บทท่ี 4 กฎหมายท่ีเกยี่ วข้องกบั กญั ชาและกัญชง กกกกกกกกก บทท่ี 5 กัญชาและกัญชงกบั การแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กกกกกกกกก บทท่ี 6 กัญชาและกัญชงกับการแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั กกกกกกกกก บทท่ี 7 ใช้กญั ชาและกญั ชงเปน็ ยาอย่างรู้คุณคา่ และชาญฉลาด 2 หนงั สือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ เพื่อใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา

3 โครโงคสรรง้าสงร้ารงารยาวยวชิ ิชาา สรุปสารสะสรปุาคสญั าระสำ�คัญ บทที่ 1 เหตุใดตอ้ งเรยี นรกู้ ญั ชาและกัญชง กกกกกกก1. 1. มุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ กฎหมายที่เก่ียวขอ้ งกบั การใชก้ ัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชา ไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์ และ สามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ ในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศอุรุกวัย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย อิสราเอล และมาเลเซีย แต่ในบางประเทศ เช่น ประเทศแคนาดา หรือในบางรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศ ทางยุโรป เปน็ ตน้ มกี ารอนุญาตใหใ้ ชก้ ัญชาเพ่อื การนนั ทนาการได้อีกด้วย กกกกกกก1. 2. มมุ มองการใชก้ ัญชาและกัญชงของประชาชนทัว่ ไป 2.1 มิติการระบาดของกัญชาและกัญชง กกกกกกก ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายของการนานามันกัญชา มาใช้ในการ รักษาโรคต่าง ๆ ตามความเช่ือของประชาชน ซึ่งการใช้นามันกัญชาในปัจจุบันโดยส่วนมากเป็นการ แอบซือมาใช้โดยไม่ทราบแหล่งที่มา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการผลิตมากน้อยเพียงใด ไม่มีการ ควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย หลังจากที่ประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ นามันกัญชา และในต่างประเทศทั่วโลก มุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นส่ิงถูกกฎหมาย ในรูปแบบใด รูปแบบหน่ึง ในหลายประเทศพยายามจะก้าวตามให้ทัน ซ่ึงจะเห็นได้หลายแห่งในภูมิภาคลาติน อเมริกา รัฐบาลอยากให้ชาวไร่ สามารถเข้าถึงการปลูกกัญชาเพื่อการแพทย์มากขึน เพราะได้ผลกาไร ดี และเปน็ ตลาดที่กาลังเจริญเตบิ โต 2.2 ความเชื่อทีเ่ กีย่ วข้องกับกญั ชาและกัญชงในวถิ ีชวี ิต ความเชื่อในประเทศไทยและต่างประเทศ มีลักษณะคล้ายคลึงกันในการ นากัญชามาใช้ในการปรุงอาหารเพื่อเพ่ิมรสชาติ ในขณะที่ประเทศไทยมีความเช่ือว่ากัญชาเป็น สว่ นผสมของยาพนื บ้านใช้ประโยชน์ทางยาได้ สว่ นในตา่ งประเทศจะใช้นามนั กัญชาเพ่ือรักษาโรคและ บรรเทาอาการป่วย ผู้ท่ีคิดจะนานามันกัญชาไปใช้จึงควรตระหนักถึงโทษอันตรายท่ีอาจจะเกิด ขนึ กับตนเอง หรอื ผ้มู สี ่วนเกีย่ วขอ้ งได้ 2.3 การสารวจความคิดเหน็ ของประชาชน จากผลการสารวจเรือ่ ง “คนไทยคิดเหน็ อย่างไร กับการนากญั ชามาใช้เป็น ยารักษาโรค” พบว่าประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการผลักดันให้มีการนากัญชามาใช้เป็นยารักษา รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพอื่ ใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 3 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

4 โรคในประเทศไทย เรื่อง “กญั ชาประโยชน์หรือโทษ” พบว่าประชาชนสว่ นใหญเ่ ห็นดว้ ย เพราะกัญชา มีประโยชน์หลายอย่าง สามารถใช้ในการรักษาโรคได้ ถ้านามาใช้ทางการแพทย์คาดว่าจะเกิด ประโยชน์อย่างมาก และเรื่อง “การอนุญาตให้ใช้กัญชาและกระท่อมในทางการแพทย์” พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการอนุญาตให้ใช้ประโยชน์จากกัญชาและกระท่อม ทางการแพทย์ ในพระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562 กกกกกกก1. 3. สภาพการณ์ข้อมลู ที่เกยี่ วขอ้ งกับกัญชาผ่านส่อื ออนไลน์ ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านสื่อออนไลน์ มีทังข้อมูลทาง อนิ เทอร์เน็ต (Internet) เฟซบกุ๊ (Facebook) ไลน์ (Line) และยูทูบ (YouTube) ข้อมูลเหลา่ นี ทาให้ ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย แต่ยังขาดการคิดวิเคราะห์ว่าข้อมูลใดมีความน่าเชื่อถือ จึงควรมีความรู้ในการ คิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลท่ีสืบค้นได้ผ่านส่ือออนไลน์ และตระหนักถึงความสาคัญของการคิด วเิ คราะห์แยกแยะขอ้ มูลท่ถี ูกต้อง กกกกกกก1. 4. สภาพการณ์การใช้กญั ชาและกญั ชงในตา่ งประเทศ การใช้กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ ใช้เสรีได้เพื่อนันทนาการ มีอยู่ใน ประเทศอุรุกวัย แคนาดา สหรัฐอเมริกาเป็นบางรัฐ สเปนใช้ในพืนที่ส่วนตัว เนเธอร์แลนด์ใช้ในร้าน กาแฟ ในขณะท่ีประเทศอ่ืน ๆ มากกว่า 30 ประเทศ ให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์รวมถึงประเทศไทยด้วย ส่วนการศึกษาและวิจัยเก่ียวกับกัญชาและกัญชง มีในต่างประเทศมานานแล้ว สาหรับประเทศไทยยัง ไม่มกี ารศึกษาวจิ ยั เนื่องจากกญั ชาและกญั ชงเปน็ ยาเสพตดิ จึงยงั ไมม่ ผี ลการวิจัยมารองรับ กกกกกกก1. 5. สภาพการณ์การใชก้ ัญชาและกญั ชงในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข อนุญาตให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบนั ในการรักษาโรคภาวะคล่ืนไส้อาเจียนในผู้ป่วยท่ีได้รับยาเคมีบาบัด โรคลมชักที่รักษายากและท่ีดือต่อ ยารักษา ภาวะกล้ามเนือหดเกร็งในผู้ป่วยปลอกประสาทเสื่อมแข็ง ภาวะปวดประสาทที่รักษาวิธีอ่ืน ไม่ได้ผล และใหค้ วบคุมอาการของโรคพาร์กินสัน อลั ไซเมอร์ โรควิตกกงั วล โรคปลอกประสาทอักเสบ และผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ส่วนการแพทย์ทางเลือกได้คัดเลือก และรับรองตารับยาที่มีกัญชา เปน็ สว่ นประกอบ ใหผ้ ปู้ ่วยใช้ได้โดยอยู่ภายใต้การควบคมุ ดูแลของแพทย์ท่ีได้รับอนญุ าต กกกกกกก1. 6. มุมมองการใช้กัญชาและกญั ชงของบุคลากรทางการแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ มีความคิดเห็นว่าหากจะใช้กัญชาและกัญชงในทาง การแพทย์ต้องแจ้งให้ชัดเจน ว่าใช้ได้กับโรคใดท่ีได้ผลชัดเจน มีความปลอดภัยทางวิชาการ คุณภาพ ของสารสกัดจากกญั ชาและกัญชง ต้องระบวุ ธิ ีการสกัด หรือมีสารปนเป้อื นหรอื ไม่ การเขา้ ถึงอย่างเป็น ระบบ ทังระยะสันและระยะยาว รวมถึงมีการศึกษาเรื่องความปลอดภัยการใช้ในคนและในมิติต่าง ๆ เพ่ือให้แน่ใจว่าใช้แล้วไม่เกิดการเสพติด หรือมีการนาไปใช้ในทางที่ผิด ซึ่งในการผลิตยานันไม่ได้ ต้องการเพียงยาที่รักษาโรคเท่านัน แต่ยังต้องการยาท่ีมีความปลอดภัย มีมาตรฐาน และมีคุณภาพ 4 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวิต เพอ่ื ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

5 แม้กัญชาและกัญชงจะมีสรรพคุณเป็นยาท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในบางโรค แต่ถ้าใช้กัญชาอย่าง ไมถ่ ูกตอ้ ง และไมม่ กี ารควบคุมกจ็ ะเป็นอนั ตรายทงั ต่อผใู้ ช้และสังคม กกกกกก 7. มมุ มองการใช้กัญชาและกัญชงของผู้ปว่ ย ผู้ป่วยมีความคิดเห็นว่าการใช้กัญชาและกัญชงต้องคานึงถึงความจาเป็นและ ความต้องการของผู้ป่วย โดยเฉพาะความพึงพอใจท่ีมีต่อการใช้ยา ในการจัดการอาการ เพ่ือบรรเทา อาการต่าง ๆ ของโรค ถึงแม้ว่าจะเกิดอาการข้างเคียงท่ีเป็นผลลบบ้าง แต่อาการข้างเคียงดังกล่าว ก็ขึนอยู่กบั ปรมิ าณการใช้ยาที่มีกญั ชาและกัญชงและความแตกต่างของแตล่ ะบุคคล กกกกกกก 8. สภาพการณ์และขนั ตอนการให้บริการคลินิกกัญชาในประเทศไทย ประเทศไทยเร่ิมให้บริการคลินิกกัญชาครังแรก เมื่อวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ท่ีโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี ต่อมาวันท่ี 17 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เปิดที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา และวันท่ี 2 กันยายน พ.ศ. 2562 ได้เปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลศูนย์ จานวน 14 แห่ง ตลอดจน ภายในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยเพ่ิมเติมในโรงพยาบาลชุมชน จานวน 12 แหง่ รวมทงั เปิดคลนิ กิ วจิ ยั นามนั กญั ชาตารับหมอเดชา จานวน 22 แห่งอีกด้วย นอกจากนี วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 กระทรวงสาธารณสุขเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน 110 แหง่ และคลินิกกัญชาทางการแพทยแ์ ผนไทย 24 แหง่ เพอ่ื เพม่ิ การเข้าถงึ ยากัญชาอย่างปลอดภัย ของผ้ปู ่วย บทท่ี 2 กญั ชาและกัญชงพชื ยาท่ีควรรู้ กกกกกกก1. 1. ประวตั ิความเปน็ มาของพืชกัญชาและพชื กัญชง ประวัติพืชกัญชาในต่างประเทศมีการนามาใช้ตังแต่ 10,000 ปี มาแล้ว นามา ใช้ในการสูดดมควัน ใช้เส้นใยทาเสือผ้า ทาใบเรือและเชือกในการสร้างเรือ ใช้เป็นส่วนผสมในอาหาร ใช้ในพิธีกรรมเก่ียวกับศาสนา และการใช้เสพเพ่ือนันทนาการ จนกระทั่งจดสิทธิบัตรรักษาโรค ทางระบบประสาท สว่ นประเทศไทยใชเ้ ป็นตารบั ยาในการรักษาโรค กกกกกกก1. 2. ความรู้เบืองต้นเกี่ยวกบั พชื กัญชาและพืชกญั ชง กกกกกกก 2.1 พฤกษศาสตร์ของพชื กัญชาและพืชกัญชง พืชกัญชา มีช่ือวิทยาศาสตร์ คือ Cannabis sativa L. เป็นพืชในวงศ์ Cannabaceae มีช่ือสามัญหลากหลายตามแต่ละท้องถ่ิน เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ลาต้นตังตรง สูงประมาณ 1-5 เมตร ใบเด่ียว มี 3 - 9 แฉก รูปฝ่ามือ เรียงสลับ ดอกแยกเพศผู้และเพศเมีย อยู่ต่างต้นกัน (Dioecious Species) และมีแบบต้นกะเทย คือ เพศผู้ และเพศเมียในต้นเดียวกัน (Monoecious Species) ออกดอกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายยอด ช่อดอกเพศเมีย เรียกว่า “กะหลี่กัญชา” ผลแหง้ เมลด็ ล่อน เล็ก เรียบ สนี าตาล รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใช้เปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 5 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

6 กกกกกกก 2.2 ชนดิ (Species) ของพืชกัญชาและพืชกญั ชง กัญชาและกัญชง นักพฤกษศาสตร์จัดว่าเป็นพืชในสปีชีส์ (Species) เดียวกัน คือ Cannabis sativa L. ซ่ึงจัดอยู่ในสกุล (Genus) Cannabis และเป็นพืชในวงศ์ (Family) Cannabaceae แต่ในส่วนขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้แบ่งย่อยเป็น 2 ซับสปีชีส์ (Subspecies) ได้แก่ Cannabis sativa L. Subsp. sativa (กัญชง, Hemp) ซึ่งมักจะมีปริมาณ THC น้อยกว่ารอ้ ยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง (แต่ในบางครังอาจจะสูงถึงร้อยละ 1) และ Cannabis sativa L. subsp. indica (กัญชา, Cannabis) ซ่ึงมักจะพบปริมาณ THC มากกว่าร้อยละ 1 ในใบและช่อดอกแห้ง การจาแนก พืชกัญชาและกัญชง โดยสังเกตจากลักษณะทางสัณฐานวิทยาทาได้ยาก เนื่องจากสาร THC ในกัญชา เปลี่ยนแปลงได้ง่ายจากปัจจัยด้านส่ิงแวดล้อม นักวิชาการเกษตรด้านการปรับปรุงสายพันธ์ุมักจะจาแนก กัญชา และกญั ชงออกเป็น 3 สายพันธุ์ ได้แก่ ซาติว่า (Cannabis sativa L.) อินดิก้า (Cannabis indica Lam.) และรูเดอลาลิส (Cannabis ruderalis Janishch.) ซ่ึงจาแนกตามลักษณะทาง กายภาพของพชื เช่น ลกั ษณะใบ ความสูง ถิน่ กาเนิดที่พบ เป็นตน้ กกกกกกก 2.3 องค์ประกอบทางเคมี และสาระสาคัญทีพ่ บในพืชกัญชาและพืชกญั ชง องค์ประกอบทางเคมีท่ีพบในพืชกัญชาและกัญชงมีมากกว่า 500 ชนิด และมีอยู่หลายกลุ่ม แต่สารท่ีมีความสาคัญทางยา คือ สารในกลุ่มแคนนาบินอยด์ (Cannabinoids/ Phytocannabinoids) พบมากบริเวณยางในไทรโครมของดอกเพศเมียที่ยังไม่ได้รับการผสมพันธุ์ (Resin Glandular Trichomes) 2.3.1 สารสาคญั ท่พี บในพชื กญั ชาและพชื กญั ชง 1) สารแคนนาบิเจอรอล (Cannabigerol, CBG) เป็นอนุพันธ์ของสาร CBGA เมื่อสาร CBGA ถูกความร้อนจะเปล่ียนสภาพเป็นสาร CBG ดังนัน สาร CBG จึงสามารถตรวจ พบได้ในพืชกัญชาและกัญชง สาร CBGA เป็นสารต้นกาเนิดของสารทังหมดท่ีพบในพืชกัญชาและกญั ชง เมื่อพืชโตขึน สาร CBGA นี จะถูกเปลี่ยนเป็น THCA CBDA และสาร อื่น ๆ เมื่อสารถูกความร้อน หรือ ออกซไิ ดซ์ สาร CBGA THCA และสาร CBDA จะเปลยี่ นสภาพเปน็ สาร CBG สาร THC และสาร CBD 2) สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol,THC) เป็นสารทีม่ ีฤทธิ์ทาให้มึนเมาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง (Psychoactive Effect) ปริมาณ ของ THC ในแต่ละส่วนของพืชมีปริมาณไม่เท่ากัน จะออกฤทธ์ิกระตุ้นประสาททาให้ผู้เสพต่ืนเต้น ช่างพูด หัวเราะอารมณ์ดี ต่อมาจะกดประสาทมีอาการคล้ายเมาเหล้าอย่างอ่อน ๆ เซื่องซึม ง่วงนอน และหลอนประสาท โดยขึนอยู่กับปริมาณท่ีได้รับ 3) สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) สารนีไม่มีผลต่อจิต และประสาท (non-psychoactive) และช่วยลดผลข้างเคียงจาก THC ซึ่งเป็นสารที่มีคุณสมบัติมีขัวต่า 6 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต เพือ่ ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

7 ละลายไดด้ ใี นนามัน ดังนันการสกดั สาระสาคัญจากกัญชา จึงมกั นยิ มใชต้ ัวทาละลายที่มขี ัวต่า หรอื นามัน ในการสกดั เพราะจะสามารถละลายเอาสารแคนนาบนิ อยด์ออกมาไดด้ ี 4) สารออกฤทธิ์ท่รี ่วมกับแคนนาบินอยด์ เช่น สารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ และเทอรป์ ีน เป็นสารท่ชี ว่ ยเสริมการออกฤทธิ์ทางยาแก่สารกลมุ่ แคนนาบินอยด์ กกกกกกก1. 3. พืชกญั ชาและพืชกญั ชงคืออะไร แตกต่างกนั อย่างไร กกกกกกก1. 2.3d พืชกัญชาและกัญชงมีชื่อวิทยาศาสตร์เดียวกันคือ Canabis Sativa L. มีถิ่นกาเนิดมาจากพืชเดิมชนิดเดียวกัน ลักษณะภายนอก หรือสัณฐานวิทยาของพืชทังสองชนิดจึงมี ความแตกตางกันนอย การแยกโดยสัณฐานวิทยาทาได้ค่อนข้างยาก ปัจจุบันพืชกัญชาและกัญชงแยก จากกัน โดยตัดสินจากปริมาณสาร THC ซึ่งข้อกาหนดขององค์การอนามัยโลก (WHO) กาหนด ให้กัญชงมีปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง ส่วนกฎหมายของประเทศไทย กาหนดให้กัญชงมีปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 1.0 ในใบและช่อดอกแห้ง กกกกกกก1. 4. การใช้พืชกัญชาและพืชกัญชงในชีวิตประจาวันของคนในโลก กกกกกกก1. 2.3d 4.1 ผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงไม่แปรรูป เช่น ดอกกัญชาแห้ง (Cannabis Dries Flower) ในประเทศท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ ผู้ป่วยจะสามารถนาใบสั่งซือจากแพทย์ไปซือ กญั ชาแหง้ มาเพื่อใชส้ ูบหรอื ใชเ้ พ่ือการรักษาได้ 4.2 ผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงแปรรูป คือ ผลิตภัณฑ์จากพืชกัญชาและกัญชง ท่ีแปรรูปเป็นสารสกัดเข้มข้น (Concentrates) ซึ่งมีหลายรูปแบบ และมีช่ือเรียกแตกต่างกันไป ผลิตภัณฑ์สารสกัดกัญชาจะให้สารแคนนาบินอยด์ที่เข้มข้นกว่าในรูปพืชแห้ง แต่ทังสองรูปแบบ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ทังทางการแพทย์ และเพ่ือการนันทนาการได้ตามกฎหมายของแต่ละ ประเทศทม่ี ีการอนุญาตใหใ้ ช้ 4.3 การบรโิ ภคและอปุ โภค กกกกกกกกกกกกกกก มีการใช้พืชกัญชาหรือกัญชงเป็นส่วนประกอบในอุตสาหกรรมอาหาร บางประเทศ มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในอาหารซ่ึงจะต้องระบุปริมาณสาร THC และ CBD ให้ชัดเจน โดยปกติต้องไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อหน่วยบริโภค แต่ในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมความงาม และสุขภาพ รวมไปถึงอุตสาหกรรมสิ่งทอ มีการใช้ประโยชน์อย่างมากมายของกัญชง เช่น การผลิต เครือ่ งสาอาง นามนั จากเมล็ด ซึง่ มคี ุณคา่ ทางโภชนาการสงู การทาเคร่ืองแต่งกาย เสอื กนั กระสนุ เปน็ ตน้ กกกกกกก1. 2.3d 4.4 การนนั ทนาการ กกกกกกกกกกกกกกก กัญชาเป็นพืชทม่ี ีสารออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ทาให้เกิดความผ่อนคลาย และความรู้สึกเป็นสุข ในบางประเทศอนุญาตให้ใช้พืชกัญชาเพื่อการนันทนาการได้ เช่น ประเทศ อุรุกวัย ประเทศแคนาดา และในบางรัฐของสหรัฐอเมริกา เน่ืองจากผู้ใช้กัญชารู้สึกเกิดการผ่อนคลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต 7 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

8 และเป็นสุขขณะที่ใช้ แต่เนื่องจากกัญชายังมีสารท่ีทาให้ติดได้ จึงไม่ควรใช้กัญชาต่อเน่ืองและใช้ ในปรมิ าณสูง บทท่ี 3 รู้จกั โทษและประโยชน์ของกญั ชาและกัญชง 1. โทษของกัญชาและกญั ชง 1.1 ผลกระทบต่อร่างกายและผลข้างเคียง ผู้เช่ียวชาญเกี่ยวกับสารเสพติดจาก สาขาต่าง ๆ และรายงานทางวิชาการ พบว่า กัญชามีผลกระทบต่อร่างกายเกี่ยวกับระบบหัวใจและ หลอดเลือด ผลต่ออาการติดยา นอกจากกระทบต่อการใช้ชีวิตตามปกติแล้ว กัญชายังมีโทษต่อ ทุกส่วนของร่างกาย ผู้เสพกัญชา ร่างกายจะเส่ือมโทรม ทาลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย และ ทาลายสมอง ก่อให้เกดิ ความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปอด ทารา้ ยทารกในครรภ์ มผี ลกระทบต่อทางเดินหายใจ หัวใจ และหลอดเลือด กัญชาจะเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจเร็ว เมื่อใช้กัญชาในปริมาณมาก และยาวนาน ตอ่ เนอ่ื งไมส่ ามารถควบคุมอาการติดยาได้ 1.2 ผลกระทบต่อจิตใจ ฤทธิ์ของกัญชาและกัญชงทาให้ผู้เสพมีความผิดปกติ ทางความรู้สึก ความคิด อาการ หรือพฤติกรรมต่าง ๆ จิตฟ่ันเฟือน มีอาการประสาทหลอน ความคิด สบั สนนาไปสูโ่ รคจิตเวช หรอื ภาวะซมึ เศรา้ ได้ 1.3 ผลกระทบต่อครอบครวั ชุมชน และสงั คม การเสพกญั ชาและกัญชงทาให้ มีผลกระทบต่อครอบครัวทาลายความสุขในบ้าน เป็นที่รังเกียจของชุมชน ทาลายช่ือเสียงวงศ์ตระกูล อาจเพม่ิ ความรนุ แรงถึงขันเกดิ ปญั หาอาชญากรรมต่าง ๆ ในชมุ ชน และสังคมตามมาได้ 1.4 ผลกระทบต่อประเทศชาติ เมื่อประชากรเสพติดกัญชามาก ส่งผลทาลาย เศรษฐกิจ สูญเสียงบประมาณในการดูแลรักษาผู้ท่ีเสพติดกัญชา ทาลายความม่ันคงของประเทศ ต้องสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีคุณภาพในการพัฒนาประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศก็จะ เป็นไปอย่างเชื่องช้า เกิดข้อขัดแย้งทางการเมือง หรือความไม่สงบระหว่างประเทศ ทาให้เส่ือมเสีย ชื่อเสยี ง และเกียรตภิ ูมิในสายตาของชาวต่างชาติได้ 2. ประโยชน์ของกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ สารสกัดจากกัญชาที่นามาใช้ ประโยชน์ทางการแพทย์ มีสารกลุ่ม แคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) ทม่ี สี ารออกฤทธิ์สาคัญ 2 ชนดิ คือ แคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) มีคุณสมบัติลดอาการเจ็บปวด อักเสบ ชักเกร็ง คลื่นไส้ และ สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) มีคุณสมบัติต่อจิตประสาททาให้ ผ่อนคลาย ลดอาการตึงเครียด สารสกัดจากกัญชาทางการแพทย์แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม (1) สารสกัด กัญชาที่มีข้อมูลทางวิชาการที่สนับสนุนชัดเจน (2) สารสกัดกัญชาช่วยในการควบคุมอาการ ควรมี ข้อมูลทางวิชาการที่สนับสนุนเพิ่มเติม และ (3) สารสกัดกัญชาที่ยังขาดข้อมูลจากการวิจัยสนับสนุน ที่ชัดเจนเพียงพอ ดังนัน การนาสารสกัดกัญชามาใช้ในทางการแพทย์จาเป็นต้องคานึงถึงประสิทธิผล และความปลอดภัยเป็นสาคัญ และในทางการแพทย์แผนไทย มีการอนุญาตให้ใช้ตารับยาที่มีกัญชา 8 หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต เพ่อื ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา

9 เป็นส่วนประกอบที่ได้มีการคัดเลือก และรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข 16 ตารับ การใช้ยาจาก กัญชาต้องอยู่ภายใต้การควบคุม ดูแลของแพทย์ และแพทย์แผนไทย เพ่ือให้ผู้ป่วยได้รับประโยชน์ สงู สุด กกกกกกกบทที่ 4 กฎหมายท่เี กยี่ วข้องกับกัญชาและกัญชง กกกกกกกกก 1. พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 กกกกกกกกกกกกก พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ให้ความหมายคาว่า “ยาเสพติด ใหโ้ ทษ” หมายถึง สารเคมีหรอื วตั ถชุ นิดใด ๆ ซึ่งเมอ่ื เสพเข้าสูร่ ่างกายไมว่ ่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือดว้ ยประการใด ๆ แล้วทาให้เกิดผลต่อรา่ งกายและจติ ใจในลักษณะสาคญั เช่น ตอ้ งเพ่มิ ขนาด การเสพขึนเป็นลาดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพ ทังร่างกายและจิตใจ อย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืชหรือส่วนของพืช ท่เี ปน็ หรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดใหโ้ ทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดใหโ้ ทษและสารเคมที ี่ใช้ในการ ผลิตยาเสพติดให้โทษด้วย นอกจากนียังแบ่งยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท โดยกัญชา ถูกบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามมาตรา 7 โดยกาหนดไว้ว่าห้ามปลูก หา้ มเสพ หา้ มจาหน่ายและมไี วค้ รอบครอง กกกกกกกกก 2. พระราชบัญญัติวัตถอุ อกฤทธต์ิ ่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 กกกกกกกกกกกกก พระราชบัญญัติวัตถุเพ่ือออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 มีเหตุผลใน การประกาศใช้เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซ่ึงมีสภาพปัญหาเก่ียวกับวัตถุออกฤทธ์ิ ที่ทวคี วามรนุ แรงยิง่ ขนึ สมควรปรับปรุงบทบัญญตั เิ ก่ียวกับองค์ประกอบของคณะกรรมการวตั ถุท่ีออก ฤทธิ์ต่อจิตและประสาท การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ หน้าท่ีของผู้รับ อนุญาต หน้าที่ของเภสัชกร การโฆษณาและอานาจหน้าท่ีของพนักงานเจ้าหน้าท่ี รวมทังเพ่ิมเติม บทบัญญัติเกี่ยวกับด้านตรวจสอบวัตถุออกฤทธิ์ และการให้โอกาสแก่ผู้เสพ หรือเสพและมีไว้ ในครอบครอง หรือเสพและมีไว้ในครอบครองเพ่ือขาย หรือเสพและขายซึ่งวัตถุออกฤทธ์ิ ได้สมัครใจ เข้ารับการบาบัดรักษาในสถานพยาบาล ตลอดจนปรับปรุงบทกาหนดโทษ และอัตราค่าธรรมเนียม ให้เหมาะสมย่ิงขึน ทังนีกัญชามีสารวัตถุออกฤทธ์ิช่ือว่า “เตตราไฮโดรแคนนาบินอล ” (Tetrahydrocannabinol, THC) และถกู บญั ญัติไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื งระบชุ ่ือวัตถุ ออกฤทธ์ใิ นประเภท 1 กกกกกกกกก 3. พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 กกกกกกกกกกกก พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 เป็นฉบับ ที่แก้ไขเพม่ิ เตมิ จากพระราชบัญญัตยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 เปดิ โอกาสให้สามารถนากัญชาและ พชื กระทอ่ มไปทาการศึกษาวจิ ัย เพื่อประโยชน์ทางการแพทยแ์ ละสามารถนาไปใช้ในการรักษาภายใต้ การดูแลและควบคุมของแพทย์ผู้ได้รับอนุญาตได้ เพ่ือให้ถูกต้องตามหลักวิชาการให้ทาได้โดยชอบ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ป็นยา หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ 9 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

10 ด้วยกฎหมาย เพ่ือสร้างความมั่นคงทางด้านยาของประเทศ และป้องกันไม่ให้เกิดการผูกขาด ทางด้านยา นอกจากนีส่งผลให้อนาคตผู้ป่วยในประเทศ ลดภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพได้อย่างมาก และส่งผลทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ เปิดทางให้ใช้ในอุตสาหกรรมยา สมุนไพร อาหารและ เครื่องสาอาง เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติ พร้อมสนับสนุนผู้ประกอบการภายในประเทศ ใช้ประโยชนจ์ ากกัญชงนอกเหนอื จากเส้นใย หวงั เพม่ิ มูลคา่ ทางเศรษฐกจิ นารายไดเ้ ขา้ ประเทศ กกกกกกกกกกกก พระราชบัญญัติฉบับนี กัญชา ยังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ห้ามมิให้ ผู้ใดเสพ เว้นแต่เสพเพื่อรักษาโรคตามคาส่ังของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือเป็นการเสพ เพ่ือศึกษาวิจัย และยังสามารถใช้ประโยชน์ได้ ตามวัตถุประสงค์ในกรณีจาเป็น คือ ประโยชน์ ของทางราชการ ประโยชน์ทางการแพทย์ ประโยชน์ในการรักษาผู้ป่วย ประโยชน์ในการศึกษาวิจัย และพัฒนา และประโยชน์ในการเกษตรกรรม พาณิชยกรรม วิทยาศาสตร์ หรืออุตสาหกรรม อีกทัง ในมาตรา 26/5 ยังกาหนดผู้มีสิทธิ์ท่ีจะขอออกใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้ ครอบครอง ผู้ขออนุญาตต้องเป็นหนว่ ยงานของรัฐ ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม สถาบันอุดมศึกษาตาม กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมท่ีรวมกลมุ่ เป็นวิสาหกจิ ชุมชน ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ ผู้ป่วยเดินทางระหว่างประเทศ และผู้ขอ อนุญาตอ่ืนตามที่รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกาหนดในกฎกระทรวง ซ่ึงในวาระ เร่ิมแรกภายในระยะเวลา 5 ปี การขอรับใบอนุญาตสาหรับวัตถุประสงค์ผลิต นาเข้า ส่งออก เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์หรือการรักษาผู้ป่วย ให้อนุญาตได้ คือ ให้อนุญาตได้เฉพาะกรณีท่ีผู้ขอ อนุญาตเป็นหน่วยงานของรัฐ หรือเป็นผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 ซึ่งดาเนินการร่วมกับผู้ขอ อนุญาตทเ่ี ป็นหนว่ ยงานของรัฐ กกกกกกก1. 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ท่ีเกีย่ วข้องกบั กัญชาและกัญชง กกกกกกกกกกกกประกาศ และระเบียบของกระทรวงสาธารณสุขที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง ทาให้เกิดความชัดเจนตามกฎหมายสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยทุกด้าน ทังนี เพื่อใช้ประโยชน์จากสารสาคัญในกัญชา และกัญชง มีจานวน 5 ฉบับ ดังนี (1) ประกาศกระทรวง สาธารณสุข เรื่อง กาหนดตารับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ท่ีให้เสพเพื่อ รักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ (2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง กาหนดผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยและหมอพืนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ท่ีจะสามารถปรุง หรือส่ังจ่ายตารับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้ (3) ประกาศกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก เร่ือง กาหนดแบบตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการรับรองหมอพืนบ้าน พ.ศ. 2562 (4) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง ระบุชือ่ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5 พ.ศ. 2561 มีสารสาคัญโดยกาหนดให้ กัญชา (Cannabis) เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ลาดับท่ี 1 ซึ่งมีชื่อ พฤกษศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. และ Cannabis indica Lam. ทังนีให้หมายความรวมถึง 10 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพือ่ ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

11 ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น และ วัตถุหรือสารต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในพืชกัญชา เช่น ยาง นามัน ยกเว้นเปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง และผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากเปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง และ (5) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง ระบุช่ือยาเสพติดใหโ้ ทษประเภท 5 (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 มีสารสาคัญคือ กาหนดยกเลิกและแก้ไขเพ่ิมเติม ลาดับ 1 กัญชา (Cannabis) ซึ่งเป็นพืชในสกุล Cannabis ทังนีให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น และวัตถหุ รอื สารตา่ ง ๆ ที่มีอยูใ่ นพชื กญั ชา เชน่ ยาง นามัน และ ลาดบั ที่ 5 คือ กญั ชง (Hemp) ซึ่งมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. Subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ทงั นีให้หมายความรวมถึง ทกุ สว่ นของพืชกัญชง เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) และลักษณะเป็นไป ตามทค่ี ณะกรรมการประกาศกาหนด กกกกกกก1. 5. ประกาศคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพติดให้โทษ กกกกกกกกกกกก ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษท่ีเก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง ท่ีสาคัญมีจานวน 6 ฉบับ ได้แก่ (1) ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เร่ือง การแสดง ความจานงและการตรวจสอบผู้แสดงความจานงเป็นผู้รับอนุญาตตังแต่วันท่ีผู้รับอนุญาตตาย (2) เร่ือง กาหนดแบบการจัดทาบัญชีรับจ่ายและรายงานเก่ียวกับการผลิต การนาเข้า การส่งออก การจาหน่าย การมีไว้ในครอบครอง ซ่ึงยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา (3) เร่ือง กาหนด ฉลากและเอกสารกากบั ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5 คาเตือนหรือข้อควรระวังการใช้ทภี่ าชนะบรรจุ หรือหีบหอ่ บรรจุยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5 ท่ีผลิต นาเขา้ หรือสง่ ออก สาหรับยาแผนปัจจบุ ันซ่ึงมี กัญชาปรุงผสมอยู่ (4) เรื่อง กาหนดเมล็ดพันธ์ุเฮมพ์เป็นเมล็ดพันธ์ุรับรองตามกฎกระทรวง การขอ อนญุ าตและการอนญุ าตผลิต จาหน่าย หรือมีไวใ้ นครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ พ.ศ. 2559 (5) เรื่อง กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) ประกาศเม่ือวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2562 โดย กาหนดลักษณะกัญชง เพ่ือเป็นประโยชน์ในการควบคุมการผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้ ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชง ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.5 ต่อนาหนักแห้ง และเมล็ดพันธ์ุ รับรองมีลักษณะเป็นเมล็ดพันธุ์กัญชงที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.3 ต่อนาหนักแห้ง และ (6) เรื่อง กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2562 โดยกาหนดให้มีการยกเลิกประกาศ ฉบบั เดิม ซง่ึ สาระสาคัญของประกาศฉบบั นี คือ กาหนดลกั ษณะกัญชง (Hemp) มลี กั ษณะเปน็ พืชซึ่งมี ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ว่า Cannabis sativa L. Subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอก ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อนาหนักแห้งโดยตรวจวิเคราะห์ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 11 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

12 ประกาศกาหนด และ เมลด็ พนั ธ์รุ บั รองมลี ักษณะเปน็ เมล็ดพนั ธุ์กญั ชง (Hemp) ท่ีมีปรมิ าณสารเตตรา ไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบ และช่อดอก ไม่เกินร้อยละ 1.0 ตอ่ นาหนักแห้ง ทงั นี ตามทค่ี ณะกรรมการประกาศกาหนด โดยการตรวจวเิ คราะห์ตามหลักเกณฑ์และ วธิ กี ารท่คี ณะกรรมการประกาศกาหนด และเป็นพนั ธุ์พืชขนึ ทะเบยี นตามกฎหมายวา่ ดว้ ยพันธุ์พืช โดย ประกาศฉบับนีจะไม่มีผลบังคับใช้กับกรณีกัญชงท่ีปลูกอยู่ก่อนประกาศดังกล่าวมีผลบังคับใช้ รวมถึง เมล็ดพันธ์ุที่รับรองแล้วก่อนประกาศมีผลบังคับใช้ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาสายพันธ์ุกัญชง โดยเฉพาะ พนั ธุพ์ ืนเมอื ง เปิดกวา้ งใหเ้ กิดการใช้ประโยชน์กัญชงอยา่ งคมุ้ คา่ กกกกกกก1. 6. พระราชบัญญัติสทิ ธิบัตรกับกญั ชาและกัญชง กกกกกกกกกกก ตามพระราชบญั ญัติสิทธบิ ตั ร พ.ศ. 2522 ฉบบั แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2542 ให้ความหมาย “สิทธิบัตร” หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อ คุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกาหนด ทังนี ขันตอนการย่ืนคาขอจดสิทธิบัตรที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง มี 3 ขันตอน ได้แก่ ขันตอนท่ี 1 กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะพิจารณาว่าขัดต่อพระราชบัญญัติสิทธิบัตรในมาตรา 9 (1) ซ่ึงกาหนดว่า สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืชไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติหรือ หากขัดกับ มาตราดังกล่าวจะไม่สามารถยื่นจดสิทธิบัตรได้ เช่น สารสกัดจากกัญชาไม่สามารถจดได้ ขันตอนที่ 2 หากการยื่นคาขอไม่ขัดกับมาตรา 9 (1) เช่น ตารับยาจากกัญชาสาหรับใช้รักษาโรคต่าง ๆ กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะเป็นผู้ตรวจสอบว่าสามารถจดได้หรือไม่ โดยพิจารณาตามหลักการ คือ ต้องเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ มีขันตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิต อุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้ และขันตอนท่ี 3 เม่ือผ่านการพิจารณา ในขันตอนที่ 2 จะประกาศโฆษณาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถคัดค้านหรือให้ข้อเสนอแนะได้ เม่ือประกาศโฆษณาแล้วผู้ขอต้องยื่นขอให้ตรวจสอบการประดิษฐ์ เจ้าหน้าท่ีจะนาข้อคัดค้านหรือ ข้อเสนอแนะมาประกอบการพิจารณาร่วมกับการตรวจสอบการประดิษฐ์อีกครัง ก่อนจะพิจารณา ว่าสามารถจดสิทธิบัตรได้หรือไม่ ปัจจุบันนีมีผู้ขอจดสิทธิบัตรที่เก่ียวข้องกับกัญชากับกรมทรัพย์สิน ทางปัญญา มีจานวน 3 บริษัท โดยมีจานวน 10 คาขอ ซึ่งอยู่ในขันตอนการดาเนินการ และการขอ จดสทิ ธิบตั ร กกกกกกก1. 7. ขอ้ ปฏิบัติท่ีตอ้ งทาตามกฎหมายที่เก่ยี วข้องกบั กญั ชาและกญั ชง กกกกกกกกกขอ้ ปฏิบัติท่สี าคญั ตามกฎหมายกัญชาและกัญชง มีข้อท่ีควรปฏิบตั ิดังนี 7.1 โพสต์ภาพ หรือข้อความ เพื่อโฆษณายาเสพติด มีโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกนิ 200,000 บาท 12 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวิต เพื่อใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

7.2 ใชอ้ บุ ายหลอกลวง ข่เู ขญ็ ใช้ก�ำลังประทษุ ร้าย ข่มขืนใจใหผ้ ู้อ่นื เสพ มีโทษดงั น้ี 7.2.1 จ�ำคุก 1 - 10 ปี และปรบั ตั้งแต่ 100,000 - 1,000,000 บาท 7.2.2 ถ้าท�ำโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนข้ึนไป จ�ำคุก 2 - 15 ปี และปรับ ตง้ั แต่ 200,000 - 1,500,000 บาท 7.2.3 ถ้ากระท�ำต่อหญิงหรือผู้ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือเพ่ือจูงใจให้ผู้อื่น ท�ำผิดอาญา หรือเพื่อประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อ่ืนในการท�ำผิดอาญา จ�ำคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวิต และ ปรบั 300,000 - 5,000,000 บาท 7.2.4 ยุยงส่งเสริมให้ผู้อ่ืนเสพ มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือท้งั จ�ำทง้ั ปรับ 7.2.5 ใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้ก�ำลังประทุษร้าย ข่มขืนใจให้ผู้อื่นผลิต น�ำเขา้ สง่ ออก จ�ำหนา่ ย ครอบครองเพอื่ จ�ำหนา่ ย มโี ทษเปน็ สองเทา่ ของโทษทก่ี ฎหมายบญั ญตั ไิ วส้ �ำหรบั ความผดิ น้ัน ๆ ปจั จบุ นั ประเทศไทยมผี เู้ ขา้ ไปเกยี่ วขอ้ งกบั ยาเสพตดิ เปน็ จ�ำนวนมาก ซงึ่ กระทรวงยตุ ธิ รรม ได้ก�ำหนดแนวทางการช่วยเหลือผู้เสพยาเสพติดแนวใหม่ ภายใต้กรอบความคิด “ผู้เสพ คือ ผู้ป่วย” ท่ีจะต้องได้รับการบ�ำบัดรักษาอย่างถูกต้อง โดยแพทย์และพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐทุกแห่ง ทว่ั ประเทศ และหลงั จากทผี่ เู้ สพไดร้ บั การบ�ำบดั รกั ษาแลว้ กส็ ามารถกลบั ไปใชช้ วี ติ ในสงั คมอยา่ งปกตสิ ขุ โดยรัฐบาลจะให้การติดตามช่วยเหลือส่งเสริมการประกอบอาชีพ เพ่ือให้ผู้เสพได้เร่ิมต้นชีวิตใหม่ “เปล่ียนเพอ่ื ครอบครวั เพอ่ื อนาคตที่ดกี วา่ ” 8. โทษของการฝา่ ฝืนกฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับกัญชาและกญั ชง บทลงโทษของการฝ่าฝืนกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกญั ชาและกญั ชง มี 5 กลุ่มดงั นี้ 8.1 กลุ่มผเู้ สพ (นอกเหนือเพือ่ รักษาตามค�ำสั่งแพทย)์ มีบทลงโทษ จ�ำคกุ ไม่เกนิ 1 ปี หรือปรบั ไม่เกนิ 20,000 บาท หรอื ทัง้ จ�ำท้งั ปรบั 8.2 กลุ่มครอบครอง หรือจ�ำหน่ายโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต (ไม่ถึง 10 กิโลกรัม) มบี ทลงโทษ จ�ำคุกไมเ่ กิน 5 ปี หรอื ปรับไมเ่ กนิ 100,000 บาท หรือทงั้ จ�ำทัง้ ปรับ 8.3 กลุ่มจ�ำหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต (ปริมาณ 10 กิโลกรัมข้ึนไป) มีบทลงโทษ จ�ำคุกตัง้ แต่ 1 - 15 ปี และปรบั 100,000 - 1,500,000 บาท 8.4 กลมุ่ ผ้ฝู ่าฝนื ผลิต น�ำเขา้ หรอื สง่ ออก มบี ทลงโทษ จ�ำคุกไมเ่ กิน 5 ปี และปรับไมเ่ กิน 500,000 บาท 8.5 กลมุ่ กรณีเพื่อจ�ำหน่าย มบี ทลงโทษ จ�ำคุกไมเ่ กนิ 1-15 ปี และปรับ 100,000 - 1,500,000 บาท รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 13 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ในส่วนผขู้ ออนุญาตตามมาตรา 26/5 มีสิทธทิ ี่จะขอใบอนุญาตให้ผลิต น�ำเขา้ ส่งออกจ�ำหน่ายหรือมีไวใ้ นครอบครองซึ่งผู้ขออนุญาตตามข้อ 2,3,4 และ 7 มบี ุคคลอยู่ 2 กลุ่ม ดงั นี้ กลมุ่ ท่ี 1 กรณบี คุ คลธรรมดา สัญชาตไิ ทย มีถ่ินทีอ่ ยใู่ นไทย กลุ่มท่ี 2 กรณีนติ ิบุคคล จดทะเบียนตามกฎหมายไทย 2 ใน 3 กรรมการ หนุ้ สว่ น ผู้ถือหุ้น มีสัญชาตไิ ทย มสี �ำนกั งานในไทย นอกจากนกี้ ารน�ำกญั ชามาโฆษณาชวนเชือ่ บดิ เบอื นฉลากอาหาร - ฉลากยา มคี วามผิด ตอ้ งระวางโทษ ปรบั ไมเ่ กนิ 30,000 บาท หากเขา้ ขา่ ยเปน็ อาหารทม่ี กี ารแสดงฉลากเพอ่ื ลวง หรอื พยายาม ลวงให้เข้าใจผิดเร่ืองคุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ สถานท่ีผลิต จัดเป็นอาหารปลอม ต้องระวางโทษ จ�ำคกุ ตั้งแต่ 6 เดอื น - 10 ปี และปรบั ตัง้ แต่ 5,000 - 100,000 บาท ต่อมาไดม้ ีการนริ โทษกรรม โดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข 3 ฉบบั ซึง่ ประกาศใช้ใน ราชกิจจานุเบกษา ลงวันท่ี 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ดงั นี้ ฉบบั ที่ 1 เรื่อง การก�ำหนดใหย้ าเสพติด ให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชาตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข หรือให้ท�ำลายกัญชาที่ได้รับมอบ จากบคุ คล ซง่ึ ไมต่ อ้ งรบั โทษ ตามมาตรา 22 แหง่ พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562 โดยรายละเอียดผู้ที่ได้รับการนิรโทษกรรม หรือการครอบครองก่อนหน้านี้ไม่ผิด และให้มาแจ้งภายใน 90 วนั ฉบบั ท่ี 2 เรอื่ งการครอบครองยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5 เฉพาะกญั ชา ส�ำหรบั ผปู้ ว่ ยทม่ี คี วาม จ�ำเป็นต้องใช้เพื่อรักษาโรคเฉพาะตัว ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 ใชบ้ งั คบั ใหไ้ มต่ อ้ งรบั โทษ ซงึ่ ในกรณนี ผ้ี ปู้ ว่ ยทมี่ คี วามจ�ำเปน็ ตอ้ งใชก้ ญั ชารกั ษาตวั และมคี รอบครองกอ่ น กฎหมายใช้บังคับ และฉบับที่ 3 เร่ือง การแจ้งการมีไว้ในครอบครองกัญชา ส�ำหรับผู้มีคุณสมบัติตาม มาตรา 26/5 และบุคคลอื่นที่มิใช่ผู้ป่วยตามมาตรา 22 (2) ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562 ใช้บงั คับใหไ้ ม่ตอ้ งรบั โทษ กล่าวคือ บุคคลท่ไี ม่ใชก่ ลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 โดยใน ฉบบั น้ี ใหห้ นว่ ยงานหรอื บคุ คลผคู้ รอบครองกญั ชากอ่ นกฎหมายมผี ลใชบ้ งั คบั เพอ่ื ประโยชนท์ างการแพทย์ การรักษาผู้ป่วย การใช้รักษาโรคเฉพาะตวั หรือการศกึ ษาวจิ ัย 9. กฎหมายระหวา่ งประเทศเกีย่ วกับกญั ชาและกญั ชง ประเทศไทยในมติ ดิ า้ นความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ ไดเ้ ขา้ เปน็ รฐั ภาคี จ�ำนวน 4 ฉบบั ดว้ ยกัน คือ ฉบบั ท่ี 1 อนสุ ัญญาเด่ยี ววา่ ด้วยยาเสพตดิ ให้โทษ ค.ศ. 1961 และพธิ ีแก้ไขอนสุ ญั ญาเด่ยี ว ว่าด้วยยาเสพติดใหโ้ ทษ ค.ศ. 1961, ค.ศ. 1972 ฉบับท่ี 2 อนุสญั ญาวา่ ดว้ ยวัตถทุ ่ีออกฤทธต์ิ อ่ จิตและ ประสาท ค.ศ. 1971 ฉบบั ท่ี 3 อนุสญั ญาสหประชาชาตวิ ่าด้วยการต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพตดิ และ วตั ถทุ อ่ี อกฤทธต์ิ ่อจิตและประสาท ค.ศ. 1988 และฉบับที่ 4 อนุสัญญาสหประชาชาตวิ ่าดว้ ยการต่อต้าน อาชญากรรมขา้ มชาตทิ จ่ี ัดตั้งในลกั ษณะองค์กร ค.ศ. 2000 14 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ เพื่อใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

15 กกกกกกกกก ตามอนุสัญญาเดี่ยวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961 ได้บัญญัติกัญชา สารสกัด จากกัญชา จัดให้อยู่ในตารางการควบคุมในบัญชีเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 และยางกัญชา เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 4 โดยห้ามปลูก ผลิต ส่งออก นาเข้า ค้าขาย ครอบครองหรือ ใช้ประโยชน์ เว้นแต่เพื่อใช้ทางการแพทย์หรือการศึกษาวิจัยเท่านัน ภาคีประเทศต้องกาหนด มาตรการควบคมุ ป้องกันมใิ ห้มีการนาใบของพืชกัญชาไปในทางทผี่ ิด หรือทาการคา้ ทีผ่ ดิ กฎหมาย นอกจากนอี นสุ ัญญาของสหประชาชาติ (United Nation, UN) เป็นข้อตกลงสากล สงู สุดในเร่อื งการควบคุมยาเสพติดอย่างเชน่ กัญชา อนสุ ัญญาดังกล่าวกาหนดความรับผดิ ชอบร่วมกัน ในระดบั สากล สาหรับการควบคมุ การผลติ การค้า และการใช้ยาควบคุม โดยทั่วไปแล้วแตล่ ะประเทศ จะกาหนดกฎหมายว่าด้วยยาซ่ึงสัมพันธ์กับการออกกฎหมายและข้อบังคับเก่ียวกับยารักษาโรค สาหรับกัญชาทางการแพทย์ อานาจและมาตรการควบคุมของประเทศอ่ืน ๆ มีเป้าหมาย 3 ประการ ดังนี ประการที่ 1 ควบคุมการเข้าถึงและการใช้กัญชาทางการแพทย์ที่ชอบด้วยกฎหมาย ประการ ที่ 2 เปิดโอกาสให้สามารถเข้าถึงกัญชาท่ีมาจากวิธีการทางเภสชั กรรมเพ่ือวตั ถุประสงค์ทางการแพทย์ บางกรณีในปริมาณที่เพียงพอ ประการท่ี 3 อนุญาตให้สามารถมีการเพาะปลูก และผลิตกัญชาเพื่อ วตั ถปุ ระสงคด์ ังกล่าว โดยประเทศทีล่ งนามในอนุสญั ญามีภาระหน้าทใ่ี นการควบคุมการส่งออก นาเข้า และการขายสง่ กญั ชา และยาเตรียมจากกัญชาอย่างระมดั ระวัง กกกกกกก ข้อกาหนดดังกล่าวท่ีมีผลผูกมัด ให้ประเทศท่ีลงนามอนุสัญญานีต้องควบคุมการ ส่งออก นาเข้า และขายส่งกัญชาและยาท่ีผลิตจากกัญชาอย่างระมัดระวัง แต่สาหรับประเทศไทยเรา ยังไม่มีความพร้อมเรื่องระบบการควบคุม ถึงเราจะมีความพร้อมด้านการปลูกกัญชา แต่องค์การ สหประชาชาติ มีข้อกาหนดเร่ืององค์กรกลางในการกากับดูแลการใช้กัญชาทางการแพทย์ ซึ่งขณะนี ประเทศไทยมสี านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป็นองคก์ รกลางท่ีรบั ผิดชอบอยู่ แต่ปัญหา ที่เกิดขึนภายหลังจากท่ีกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใช้กัญชาทาง การแพทย์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทาให้ไม่มีกัญชาในปริมาณที่เพียงพอ สาหรับรักษาผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้กัญชาเพื่อการรักษาโรคต้อง ไปหากัญชามาจากแหล่งท่ีไม่ อาจเปดิ เผยได้ หรอื ตลาดมืดทาให้เกิดความสบั สนแยกไม่ออกระหว่างพวกธรุ กิจท่ีถูกและผดิ กฎหมาย พวกท่ีเสพเพื่อนันทนาการสนุกสนาน หรือผู้ป่วยท่ีมีความจาเป็นต้องใช้ในการรักษา ซึ่งสานักงาน ป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) จะดาเนินการปราบปรามก็ทาไดไ้ ม่ค่อยถนัดนัก เพราะเป็น เรื่องของจริยธรรม มนุษยธรรม และยากท่ีจะแยกแยะออกได้ว่าบุคคลใดเป็นผู้เสพ บุคคลใดเป็น ผูค้ รอบครอง และบคุ คลใดเป็นผจู้ าหนา่ ยได้ มีระบบกากับควบคมุ ส่งออก ขายสง่ กญั ชาและยาที่ผลิต จากกัญชา ท่ีผลิตภัณฑ์ยา ท่ีมีประสิทธิภาพ จึงเป็นส่ิงที่รัฐต้องดาเนินการให้ชัดเจน เข้มงวด กวดขัน และท่ัวถึง ให้มีประสิทธิภาพโดยทาให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้จริง และ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ 15 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

16 ต้องแยกแยะผู้ป่วยกับผู้ท่ีแอบแฝงเป็นผู้ป่วยใหไ้ ด้ เมื่อถึงจุดนันการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ กจ็ ะสามารถทาได้อย่างประสบผลสาเร็จ บทท่ี 5 กญั ชาและกญั ชงกบั การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กกกกกกกกกก 1. ประวัติความเป็นมาการใช้กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ พบหลักฐานบันทึก ไว้ว่า มีการใช้กัญชาเป็นยารักษา หรือควบคุมอาการของโรคต่าง ๆ ในทวีปยุโรป ได้แก่ โปรตุเกส สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ในทวีปเอเชีย ได้แก่ ประเทศจีน อินเดีย และอิหร่าน มาอย่างช้านาน ในบาง ประเทศมหี ลกั ฐานวา่ เคยมีการใช้กญั ชามานานกวา่ 4,700 ปี กกกกกกกกกก 2. ประวัติความเป็นมาการใช้กัญชาและกัญชงในการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ในประเทศไทยมีหลักฐานการใช้กญั ชาในการรักษา หรอื ควบคุมอาการของโรคต่าง ๆ ตงั แต่ สมัยอยุธยาตอนปลาย สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช จนถึงกรุงรตั นโกสินทร์ สมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีการรวบรวมไว้เป็นตารายาหลายเล่ม และสูตรยาหลายขนาน เช่น ตาราพระโอสถพระนารายณ์ ตาราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ พระคัมภีร์ปฐมจินดา พระคัมภีร์ มหาโชตรัต พระคัมภีร์ชวดาร และพระคัมภีร์กษัย เป็นต้น มีการระบุตารับยาที่ใช้กัญชา หรือมีกัญชา เปน็ ส่วนประกอบทีใ่ ชใ้ นการรักษา นบั แตใ่ นอดตี สบื เนือ่ งกันมากกกกกกกก ก 3. ตารับยาทีม่ ีกัญชาเปน็ ส่วนประกอบท่ีได้มีการคดั เลือก และรับรองโดยกระทรวง สาธารณสขุ ในปัจจุบัน พ.ศ. 2562 ประกาศใช้ทังหมด 16 ตารบั ไดแ้ ก่ (1) ยาอัคคินวี คณะ (2) ยาศุขไสยาศน์ (3) ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย (4) ยานามันสน่ันไตรภพ (5) ยาแก้ลมขึนเบืองสูง (6) ยาไฟอาวุธ (7) ยาแก้ นอนไม่หลับหรือยาแก้ไข้ผอมเหลือง (8) ยาแก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง (9) ยาอัมฤตย์โอสถ (10) ยาอไภยสาลี (11) ยาแก้ลมแก้เส้น (12) ยาแก้โรคจิต (13) ยาไพสาลี (14) ยาทาริดสีดวงทวารหนักและโรคผิวหนงั (15) ยาทาลายพระสเุ มรุ และ (16) ยาทพั ยาธิคณุ กกกกกกก1. 4. ภูมภิ เู บศรรวบรวมและเผยแพร่ภูมิปัญญาไทย ภูมิภูเบศร ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรครบวงจร ภายใต้แนวคิดการพึ่งพาตนเอง เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ประกอบด้วย (1) เรือนหมอพลอย (2) สวนสมุนไพรภูมิภเู บศร และ (3) อภยั ภูเบศรโมเดล กกกกกกก1. 5. ภูมิปญั ญานายเดชา ศิริภทั ร หมอพนื บา้ น นายเดชา ศิรภิ ทั ร หมอพืนบา้ น ประธานมูลนิธิข้าวขวัญ เปน็ ผทู้ ไี่ ด้นากัญชามา รักษาโรคตามตารับยาพืนบ้านไทยจากกระแสความนิยมที่มาจากตะวันตก ได้เริ่มทดลองใช้กัญชา รักษาตัวเอง โดยนาความรู้พืนฐานในการสกัดที่เผยแพร่โดย ริค ซิมป์สัน (Rick Simpson) ชาว อเมริกันท่ีป่วยเป็นโรคมะเร็งแล้วสกัดกัญชารักษาโรคมะเร็งที่ตัวเอง เป็นมาผสมผสานกับความรู้ พืนบ้าน เป็นนามันเดชา (Decha Oil) นามาใช้กับตนเองในการช่วยให้นอนหลับได้ลึกขึน หลงลืมง่าย และต้อเนือในตาในช่วง 4 - 5 ปี ที่ผ่านมา จึงขยายผลเผยแพร่ ทายาแจกให้ผู้ป่วยโรคต่าง ๆ โดยไม่ 16 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต เพ่ือใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

17 เสียค่าใช้จ่าย เป็นจานวนมากกว่า 4,000 ราย ปัจจุบัน นามันเดชาได้รับการรับรองให้เป็นตารับยา พืนบ้าน ของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งหมอพืนบ้านผู้เป็นเจ้าของตารับยาสามารถจ่ายให้กับผู้ป่วยของ ตนเองได้ และกระทรวงสาธารณสุขอยู่ระหว่างทาการวิจัยเพื่อวิจัยพิสูจน์ประสิทธิภาพและความ ปลอดภยั ของสูตรการรกั ษาดงั กลา่ ว กกกกกกกบทท่ี 6 กญั ชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จบุ ัน กกกกกกก1. 1. ประวตั กิ ารใชก้ ัญชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปัจจบุ ัน 1.1 ตา่ งประเทศ ในต่างประเทศใช้กัญชาเป็นยารักษาโรค ได้แก่ ประเทศอังกฤษ อนุญาต ให้ใช้กัญชา ในลักษณะเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทางการแพทย์ ในรูปของยาเม็ด ยาแคปซูล นามันกัญชา แต่ไม่อนุญาตให้มีการสูบ ในประเทศเยอรมนี ให้ใช้ในรูปแบบสเปรย์ (Spray) สาหรับรักษาอาการ ปวดเกร็งกล้ามเนือ ในประเทศสเปน มีการวิจัยทางคลินิกการใช้กัญชารักษามะเร็งหรือ เนืองอกชนิด กลัยโอบลาสโตมา (Glioblastoma หรือ GBM) ผลการวิจัย พบว่าได้ผลดี ในประเทศ สหรัฐอเมริกา มีการจดสิทธิบัตรกัญชาและ พบฤทธ์ิของกัญชาที่อาจมีผลดีต่อโรคทางระบบประสาท เช่น อัลไซเมอร์ พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง และโรคที่เกิดจากเซลล์ถูกทาลายโดยอนุมูลอิสระ (Oxidative) โรคหัวใจ โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง โรคเบาหวาน โดยรัฐโคโลราโด อนุญาตให้ใช้ กัญชาถูกกฎหมาย และอีก 33 มลรัฐ อนุญาตใช้นามันกัญชาทางการแพทย์ได้ นอกจากนี ประเทศ อิสราเอล โคลมั เบีย และแคนาดา อนญุ าตใหใ้ ช้ผลิตภัณฑ์จากกัญชารักษาโรคได้ 1.2 ประเทศไทย กัญชา เข้าสู่ประเทศไทยจากประเทศอินเดีย โดยอ้างหลักฐานจากความ คล้ายของช่ือไทยกับคาว่า (Ganja) ในภาษาฮินดี เดิมกัญชาใช้ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็น ส่วนประกอบอาหาร เคร่ืองเทศ และยา ในประเทศไทย มองกัญชาเป็นสมุนไพรท่ีใช้ประกอบเปน็ ตวั ยาเพ่ือบาบัดรักษาอาการป่วยต่าง ๆ ในอดีต ดังที่มีปรากฏในคัมภีร์หรือตารายาโบราณ เช่น ตารา โอสถธาตุพระนารายณ์ มีตารับ “ยาศุขไสยาสน์” ใช้ช่วยนอนหลับ ช่วยเจริญอาหาร บรรเทาอาการ เกร็งกล้ามเนือ แขนขาชาอ่อนแรง ในผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาต ในปัจจุบันกฎหมายในประเทศไทย อนุญาตใหส้ ามารถนากญั ชามาใช้ในกรณีจาเปน็ เพอ่ื ประโยชน์ของราชการ การแพทย์ การรกั ษาผปู้ ่วย หรือการศึกษาวิจยั และพฒั นา กกกกกกก1. 2. กัญชาและกญั ชงทีช่ ว่ ยบรรเทาโรคแผนปัจจุบนั 2.1 กัญชาและกัญชงกับโรคพาร์กนิ สนั สาร CBD เป็นสารสกัดที่ได้จากกัญชงและกัญชา ไม่มีฤทธ์ิต่อจิต และ ประสาท ช่วยให้ผู้ป่วย ลดความวิตกกังวล บรรเทาอาการเกร็งของกล้ามเนือ และมีฤทธิ์ระงับปวดได้ และมกี ลไกที่เชื่อวา่ อาจทาให้ลดอาการสน่ั อาการยุกยกิ ซ่งึ เปน็ ผลแทรกซ้อนจากยาพารก์ นิ สัน ทาให้ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต 17 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

18 การเคลื่อนไหวดีขึน ปัจจุบันยังไม่ทราบกลไกการออกฤทธิ์ที่ชัดเจน คาดว่าทัง สาร CBD และ สาร THC ในกัญชาจะมีส่วนช่วยชะลออาการของโรคพาร์กินสัน จากฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระ ลดการ อักเสบ และปกป้องเซลล์สมอง ซึ่งต้องการงานวิจัยเพ่ิมเติมในอนาคตถึงสัดส่วน สาระสาคัญ ที่ใช้ใน โรคพาร์กินสัน 2.2 กญั ชาและกัญชงกับโรคมะเร็ง มะเร็ง เป็นโรคที่สามารถพบได้ในผู้ป่วยทุกเพศ ทุกวัย ตังแต่เด็กแรกเกิด ไปจนถึงผู้สูงอายุ แต่โดยส่วนใหญ่จะพบในผู้ป่วยที่เป็นผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก และจะพบได้สูงในผู้ป่วย ที่อายตุ ังแต่ 50 ปีขนึ ไป มีการศึกษาเก่ียวกับการใช้กัญชาต่อต้านมะเร็งในประเทศไทย พบว่า กัญชาสามารถออกฤทธ์ิฆ่าเซลลม์ ะเร็งในการเพาะเลียงเซลลใ์ นห้องทดลอง แต่ยังไม่มีการศึกษาถึงผล ของกัญชาต่อโรคมะเร็งในมนุษย์ ส่วนในต่างประเทศสารในกัญชา ได้แก่ สาร THC และสาร CBD มงี านวจิ ยั ในมนุษย์ ได้แก่ มะเร็งปอด และมะเร็งเมด็ เลือดขาว 2.3 กัญชาและกัญชงกบั การลดอาการปวด มีการศึกษาการนากัญชามาใช้ลดอาการปวด มีบทบาทในการบรรเทา อาการปวดเรือรัง (Chronic Pain) ที่เป็นการปวดทางระบบประสาท (Neuropathic Pain) เช่น ปวดเสียวแปลบเหมือนไฟช็อต แสบร้อน รู้สึกยิบ ๆ ชา ๆ ท่ีมีอาการรุนแรง หรือไม่ตอบสนองต่อการ รักษาในยามาตรฐาน สามารถบรรเทาอาการปวดลงได้ ส่วนการบรรเทาอาการปวดเฉียบพลัน เช่น หลังผ่าตัด พบว่าให้ผลการรักษาที่ไม่ดี กรณีท่ีนากัญชามาใช้บรรเทาอาการปวดจากโรคมะเร็ง พิจารณาใช้เป็นยาเสริมยามาตรฐาน ไม่ค่อยได้ผล เน่ืองจากมีงานวิจัยพบว่า ยามอร์ฟีนมีฤทธิ์ระงับ ปวดได้ดกี ว่ากัญชา 2.4 กัญชาและกัญชงกับโรคลมชกั อาการของโรคลมชักท่ีเห็นได้ชัด คือ ชักแบบเหม่อลอย ชักเกร็ง ชักแบบ กล้ามเนืออ่อนแรง ชักกระตุก ชักกระตุกและเกร็ง ชักสะดุ้ง และชักเฉพาะส่วน ผู้ป่วยโรคลมชัก ส่วนใหญ่จะรักษาโดยการใช้ยาต้านอาการชัก จะไม่สามารถรักษาโรคลมชักให้หายขาดได้ ทาได้เพียง ควบคมุ อาการชักเท่านัน สาหรับกัญชาที่องค์การอาหารและยา (Food and Drug Administration) ของประเทศสหรัฐอเมริกา อนุมัติยาจากสารสกัดกัญชา ตัวแรก (ไม่ใช่สารสังเคราะห์) ช่ือการค้า Epidiolex ประกอบด้วยตัวยา CBD 100 mg/ml ในรูปแบบสารละลายใหท้ างปาก (Oral Solution) โดยมีข้อบ่งใช้ในการรักษาโรคลมชักชนิดรุนแรง 2 ชนิด คือ Lennox - Gastaut Syndrome และ Dravet Syndrome พบได้ในผู้ปว่ ยอายุ 2 ปขี ึนไป 18 หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ เพ่ือใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

19 ในประเทศไทย กรมการแพทย์ ประกาศถึงประโยชน์ของสารสกัดจาก กญั ชาทางการแพทย์ ในการนาตัวยา CBD มาใช้โรคลมชกั ท่ีรักษายาก และโรคลมชกั ท่ีดือต่อยารักษา เท่านนั 2.5 กญั ชาและกัญชงกับโรคผวิ หนงั ในประเทศไทยการใช้กัญชากับโรคผิวหนัง นายแพทย์เวสารัช เวสสโกวทิ ท่ีปรึกษาผู้อานวยการด้านวิชาการ สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กาลัง ดาเนินการศึกษาวิจัย การนานามนั กัญชามาใช้ในโรคสะเก็ดเงิน และโรคหนังหนาแต่กาเนิดในรูปแบบ ยาทา เนอื่ งจากทังสองโรคนีมรี ายงานในต่างประเทศพบวา่ ให้ผลการรักษาทีด่ ี สาหรบั ในตา่ งประเทศ มกี ารคน้ พบการรักษาโรคมะเร็งผวิ หนังด้วยกัญชา ในปี ค.ศ. 2003 Rick Simpson สังเกตเหน็ “ตุม่ ” ผิดปกติที่ผิวหนังบนแขน จานวน 3 ตุ่ม และเมื่อไปพบแพทย์ ผลการตรวจชินเนือยืนยันว่าเป็น “มะเร็งผิวหนัง” เขาจึงตัดสินใจจะใช้กัญชาในการรักษามะเร็งผิวหนังด้วยตัวเขาเอง เพราะเคยอ่าน ได้ยินมาว่าสาร THC สามารถฆ่าเซลล์มะเร็งในหนูทดลองได้ เขาจึงสกัดกัญชา แล้วนามาประคบไว้ บริเวณที่เป็นตุ่มเนือมะเร็งบนผิวหนัง หลังจากนัน 4 วัน เขาพบว่าตุ่มเนือนัน มีขนาดลดลงอย่างมาก จากนันมาเขากพ็ ัฒนาสตู รในการผลติ กญั ชาสกัดเปน็ ของตนเอง เรียกว่า “Rick Simpson Oil : RSO” แล้วนามาเผยแพร่แก่ประชาชนชาวสหรัฐอเมริกา และประเทศอังกฤษ มีรายงานใช้ในโรคตุ่มนาพอง แต่กาเนิด เพอ่ื ลดอาการปวด 2.6 กญั ชาและกัญชงกบั โรคตอ้ หิน โรคต้อหิน สามารถใช้กัญชารักษาได้ผลพอสมควร งานวิจัย ตังแต่ ปี ค.ศ. 1971 พบว่าการสูบกัญชา ทาให้ความดันในลูกตาลดลงได้ แต่ฤทธิ์นีอยู่ได้แค่ 3 ชั่วโมง และ ขึนอยู่กับปริมาณการสูบกัญชาด้วย สูบมากก็มีผลมาก ผลข้างเคียงบางอย่างก็ตามมา เช่น ความดัน โลหติ ต่าลง หัวใจเต้นเรว็ ขึน จึงไมน่ ยิ มใชก้ ัญชาในการรกั ษา 3. การใช้นามันกัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปจั จุบนั นามันกัญชา คือ สารสกัดกัญชา (Cannabis Extract) ท่ีเจือจางอยู่ในนามันตัวพา (Carrier Oils หรอื Diluent) ส่วนมากนิยมใช้นามันมะกอก และนามนั มะพร้าวสกัดเยน็ โดยหากผ่าน การผลิตท่ีได้มาตรฐานจะมีการควบคุมคุณภาพของปริมาณสารสาคัญ ปริมาณความเข้มข้นของตัวยา THC และ CBD นามันกัญชามีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีนาตาล ลักษณะข้นหนืด นามันกัญชาที่มีการผลิต อย่างได้มาตรฐาน ในประเทศไทยจากองค์การเภสัชกรรม และโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ปัจจุบันมีอยู่ 3 สูตร สูตรท่ี 1 นามันสูตร THC สูง สูตรที่ 2 นามันสูตร THC : CBD ในอัตราส่วน เท่า ๆ กนั สูตรที่ 3 นามนั สตู ร CBD สงู วธิ กี ารสกัดนามนั กัญชาโดยใช้ปริมาณกัญชาต่อนามนั มะกอก ในอตั ราส่วน 1 : 10 ทอ่ี ุณหภูมิ 98 องศา เปน็ เวลา 2 ช่วั โมง แลว้ กรองกากออก จะเป็นวิธที ่ีเหมาะสม ที่สุด ขนาดการใช้นามันกัญชาจะต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ และเภสัชกร โดยมีหลักการ คือ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใช้เปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวติ 19 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

20 เริ่มยาท่ีขนาดต่า ๆ โดยแนะนาให้เริ่มท่ี 0.05 - 0.1 ซีซี หรือเท่ากับ 1 - 2 หยด และปรับเพ่ิมขนาด ช้า ๆ ตามคาแนะนาของแพทย์ ยากัญชาอาจจะทาให้มีภาวะง่วงซึม จึงแนะนาให้ใช้เวลาก่อนนอน และหลกี เลย่ี งการทางานใกล้เครอ่ื งจักร หรือขับรถ 4. ผลิตภัณฑก์ ญั ชาและกัญชงทางการแพทย์ ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปจากกัญชาเพ่ือใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ สาหรับคน มีรูปแบบแคปซูล สเปรย์ใต้ลิน ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะบนผิวหนัง ยากัญชาจะมี สูตรแตกต่างกันตามสัดส่วน และปริมาณสารสาคัญ THC และ CBD ยากัญชาที่ได้รับการขึนทะเบียน (Registered Drug) ขณะนีมอี ยู่ 3 รูปแบบ คอื รูปแบบ THC สงั เคราะห์ สารสกดั แคนนาบินอยด์จาก ธรรมชาติ และสารสกดั CBD นอกจากนีในตา่ งประเทศยังมผี ลติ ภณั ฑร์ ักษาอาการเจ็บปว่ ยในสัตว์ 5. การใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาและกญั ชงให้ไดป้ ระโยชน์ทางการแพทย์ในปัจจบุ ัน 5.1 ภาวะคลน่ื ไสอ้ าเจยี นจากเคมบี าบดั เคโมเธอราภี อินดวิ ซ นอเซยี แอนด์ วอม มิท (Chemotherapy Induced Nausea and Vomiting) โดยแพทยส์ ามารถใช้ผลิตภัณฑก์ ัญชาเพ่ือ รักษาภาวะคลนื่ ไสอ้ าเจยี นจากเคมีบาบัด ท่รี ักษาด้วยวธิ ีตา่ ง ๆ แลว้ ไม่ไดผ้ ล 5.2 โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชกั ที่ดือตอ่ ยารกั ษา (Intractable Epilepsy) ผู้ส่ังใช้ควรเป็นแพทย์ผู้เช่ียวชาญด้านระบบประสาท และได้รับการอบรมการใช้สารสกัดจากกัญชา เพ่ือการรักษาผู้ป่วย 5.3 ภาวะกล้ามเนือหดเกร็ง สปาทิซิตี (Spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาท เสื่อมแข็ง (Multiple Sclerosis) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาในกรณีที่รักษาภาวะกล้ามเนือหด เกร็ง ท่ดี อื ต่อการรกั ษารวมถงึ ในกรณีท่ีรกั ษาดว้ ยวธิ ีอืน่ ๆ แล้วไม่ไดผ้ ล 5.4 ภาวะปวดประสาท นวิ รพู าททริค เพน (Neuropathic Pain) แพทยส์ ามารถใช้ ผลิตภัณฑ์กญั ชาในกรณีทร่ี ักษาภาวะปวดประสาทท่ดี ือต่อการรักษา 6. การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์น่าจะได้ประโยชน์ ในการควบคุม อาการ ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยวิธีมาตรฐานแล้วไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้ หาก จะนาผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงมาใช้กับผู้ป่วยเฉพาะราย ปฏิญญาเฮลซิงกิ ของแพทย์สมาคมโลก (ปี ค.ศ. 2013) ระบุว่ามีความเป็นไปได้หากไม่มีวิธีการรักษาอ่ืน ๆ หรือมีวิธีการรักษาแต่ไม่เกิด ประสิทธิผล ภายหลังจากได้ปรึกษาหารือผู้เชี่ยวชาญ และได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย หรือญาติ โดยชอบธรรมแล้ว แพทย์อาจเลือกวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงมาช่วยชีวิตผู้ป่วย ฟ้ืนฟู สุขภาพ หรือลดความทกุ ขท์ รมานของผู้ปว่ ย กกกกกกกบทที่ 7 ใชก้ ัญชาและกญั ชงเป็นยาอยา่ งรู้คณุ ค่าและชาญฉลาด กกกกกกกกก 1. ความเชือ่ และความจริงเกี่ยวกับกญั ชาและกัญชงทางการแพทย์ 20 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ติ เพอ่ื ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

21 1.1 ความเชื่อเกี่ยวกับกัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ได้แก่ ตาราสมุนไพร โบราณ กัญชาและกัญชงรักษาโรคมะเร็งได้ และกัญชาและกัญชงเป็นยารักษาชีวิตได้ ซ่ึงความเช่ือ บางอย่าง ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยรองรับ แต่ความเชื่อบางอย่างยังอยู่ในการศึกษาวิจัย จึงไม่ควร ปฏบิ ตั ติ ามจนกวา่ จะมผี ลการวิจยั ความเชอ่ื ทไี่ ดศ้ กึ ษา ในหัวข้อดังกลา่ ว 1.2 ความจริงเกีย่ วกับกัญชาและกญั ชงทางการแพทย์ จากการวิจัยเกยี่ วกับการใช้ กัญชาและกัญชงช่วยในการรักษาอาการ และโรคดังนี (1) อาการปวดเรือรังจากเส้นประสาท (2) อาการ คลนื่ ไสอ้ าเจยี น และเพม่ิ ความอยากอาหาร (3) โรคปลอกประสาทเสือ่ ม และ (4) โรคลมชัก กกกกกกกกก 2. การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ เช่น โรคมะเรง็ โรคสมองเสอื่ ม โรคเบาหวาน และโรคไตเรือรงั เปน็ ตน้ จาเปน็ ตอ้ งมกี ารศึกษาวจิ ัยถึงความ ปลอดภัย และประสิทธิผลอย่างละเอียด ซึ่งปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) ยังมีข้อมูลหลักฐานทางวิชาการ ไม่เพียงพอ ผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาตามวิธีมาตรฐานทางการแพทย์ในปัจจุบันหากเลือกใช้ เฉพาะ ผลติ ภณั ฑ์กัญชาและกัญชงในการรักษาแล้ว อาจทาให้ผู้ป่วยเสียโอกาสในการรักษาได้ กกกกกกกกก 3. ข้อแนะนาก่อนตัดสินใจใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ มี 8 ข้อ ได้แก่ (1) ความสัมพันธ์ ระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย เป็นพืนฐานในการยอมรับการรักษาพยาบาล รวมถึง การประเมนิ ผปู้ ่วยวา่ เหมาะสมทจี่ ะใช้ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกญั ชงหรือไม่ (2) การประเมนิ ผู้ปว่ ย ขอ้ มูล ประวัติท่ีเกย่ี วข้องกับอาการของผู้ปว่ ย (3) การแจง้ ให้ทราบ และตัดสินใจร่วมกัน (4) ขอ้ ตกลงการรักษา รว่ มกนั (5) เงื่อนไขที่เหมาะสม ในการตัดสนิ ใจของแพทย์ในการสง่ั ใช้ผลิตภัณฑก์ ัญชาและกญั ชง (6) การ ติดตามอย่างต่อเน่ืองและปรับแผนการรักษา (7) การให้คาปรึกษา และการส่งต่อ และ (8) การบันทึกเวช ระเบียน จะช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในการแนะนาการใช้ผลติ ภัณฑ์กญั ชาและกญั ชง กกกกกกกกก 4. การวางแผนการรักษาด้วยผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง แนะนาให้ใช้ผลิตภัณฑ์ กัญชาและกัญชงในการทดลองรักษาระยะสัน เพือ่ ประเมินประสิทธิผลในการรักษาผู้ป่วย แผนการรักษา ควรมีความชัดเจน ใน 6 ประเด็น ได้แก่ (1) วางเป้าหมายการเร่ิมรักษา และการหยุดใช้ แพทย์ควร หารือร่วมกับผู้ป่วยให้ชัดเจน (2) การบริหารจัดการโดยแพทย์เวชปฏิบัติท่ัวไป (3) มีกระบวนการ จัดการความเส่ียง (4) กากับติดตาม ทบทวนทุกสัปดาห์ โดยแพทย์ หรือเภสัชกรผู้เช่ียวชาญ (5) ให้ผู้ป่วยลงนามยินยอม และ (6) ให้คาแนะนาผู้ป่วยเมื่อใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง ทางการแพทย์ กกกกกกกกก 5. การเร่ิมใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงกับผู้ป่วยในทางการแพทย์ ต้องคานึงถึง ข้อปฏิบัติ 2 ประการ ได้แก่ (1) การซักประวัติอาการป่วยในปัจจุบัน ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ประวัติเจ็บป่วยทางจิต และโรคทางจิตเวช และอาการทางจิตจากการได้รับยารักษาโรคพาร์กินสัน ยารักษาโรคสมองเสื่อม และพฤติกรรมเสี่ยงท่ีสัมพันธ์กับการติดสารเสพติด และ (2) การกาหนด ขนาดยา และการบริหารยา ไม่มีขนาดยาเร่ิมต้นท่ีแน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงแต่ละชนิด รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต 21 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

22 ขนาดยาที่เหมาะสมขึน กับลกั ษณะของผูป้ ่วยแตล่ ะคน โดยเรม่ิ ตน้ ขนาดต่า และปรับเพิ่มขนาดช้า ๆ จน ได้ขนาดยาที่เหมาะสม ส่งผลต่อการรักษาสูงสุด และเกิดผลข้างเคียงต่าสุด ขนาดยาในระดับต่า มีโอกาสเกิดผลข้างเคยี งนอ้ ย กกกกกกกกก 6. ข้อห้ามใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสาร THC และ CBD เป็นส่วนประกอบมี 4 ข้อ ได้แก่ (1) ผู้ท่ีมีประวัติแพ้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสารสกัดกัญชาและกัญชง (2) ผู้ท่ีมีอาการรุนแรง หรือมีปัจจัย เสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ (3) ผู้ที่เป็นโรคจิต หรืออาการของโรคอารมณ์แปรปรวน หรือโรควิตก กังวลมาก่อน และ (4) สตรีมีครรภ์ สตรีท่ีให้นมบุตร รวมทังสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่ไม่ได้คุมกาเนิด หรือ สตรวี างแผนท่จี ะตงั ครรภ์ กกกกกกกกก 7. ข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกญั ชง 7.1 ข้อควรระวังทางการแพทย์ ไม่ควรใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาและกัญชงในผู้ป่วย ที่มีอายุต่ากว่า 25 ปี เพราะมผี ลข้างเคียงต่อสมองที่กาลังพัฒนา และไม่ควรใชก้ ับผู้ปว่ ยโรคตับ ผตู้ ิดสาร เสพติด รวมถึงนิโคติน ผู้ด่ืมสุราอย่างหนัก ผู้ใช้ยาในกลุ่มโอปิออยด์ (Opioids) ยากล่อมประสาท เด็ก และผู้สูงอายุ เนอื่ งจากยงั ไมม่ ีข้อมลู ทางวิชาการมากเพียงพอ 7.2 ขนาดของกัญชาและกัญชงท่ีใช้ในทางการแพทย์ ในการรักษาโรค ยังไม่ สามารถกาหนดขนาดการใช้ท่ีแน่นอนได้ โดยต้องปรับให้เหมาะกับแต่ละบุคคล และมีหลักสาคัญคือ เร่ิมทีละน้อย แล้วค่อย ๆ เพ่ิมขนาด ซ่ึงผู้ป่วยท่ีเป็นโรค หรือมีอาการต่างกัน จะใช้ขนาดยาต่างกัน โดยหากใชข้ นาดยากญั ชาและกัญชงทไี่ ม่ถูกตอ้ งจะเกดิ การดือยา 7.3 ห้ามใช้นามันกัญชาและกัญชงทาบุหร่ี เพราะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อ ระบบทางเดินหายใจ และไม่ควรใชก้ ับบหุ ร่ีไฟฟา้ อาจทาให้ปอดอกั เสบเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ 7.4 สารตกค้างจากการสกัดนามันกัญชาและกัญชง ในการเลือกผลิตภัณฑ์ กัญชาและกัญชงต้องศึกษาว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวใช้สารสกัดชนดิ ใด มีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใด การสกัดโดยตัวทาละลายแนฟทา หรือปิโตรเลียมอีเทอร์ มีความปลอดภัยน้อยกว่าการสกัดด้วย เอทานอล หรือการต้มในนามันมะกอก เนื่องจากพบการตกค้างของตัวทาละลายที่มีความเส่ียงท่ีทาให้ เกิดโรคมะเร็งได้ และวิธีการสกัดใหม่ที่เป็นท่ีนิยมในปัจจุบัน ได้แก่ การสกัดโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์ เหลว และเอทานอล สกัดเย็น เน่ืองจากมีความปลอดภัยสูง สามารถสกัดได้ปริมาณมาก และได้สาร แคนนาบนิ อยดเ์ ขม้ ข้น 7.5 ความปลอดภัยของนามันกัญชาและกัญชง ต้องคานึงถึงแหล่งที่มา ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานการผลิตท่ีดี ต้องผ่านการตรวจควบคุมคุณภาพ และสั่งจ่ายภายใต้แพทย์ เภสัชกร และแพทย์แผนไทยที่ผ่านการอบรมการใช้กัญชาและกัญชง เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์ มาแล้ว 22 หนังสือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต เพือ่ ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

23 7.6 สายพันธุ์กัญชาและกัญชงเหมาะกับบางโรค จากการสังเกตการณ์เก็บ ขอ้ มูลจากงานวิจัย สารเคมีทแ่ี ตกตา่ งกันในกัญชาและกญั ชงแต่ละสายพันธ์ุ และผลการรกั ษาในผู้ป่วย แต่ละโรคในต่างประเทศ พบว่ากัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธ์ุมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับแต่ละโรค ไมเ่ ท่ากนั แต่ยงั เปน็ งานวจิ ยั ขนั ต้น ต้องมกี ารศกึ ษาในเชงิ ลึกต่อไป 7.7 หลกั ธรรมนาชีวิตพ้นพิษภยั จากกัญชาและกัญชง การใชพ้ ุทธธรรมเพื่อสร้าง ภูมิคุ้มกัน ทางด้านจิตใจให้มีความเข้มแข็ง โดยใช้ภูมิคุ้มกันทางครอบครัวท่ีเป็นความรักความอบอุ่น ความเข้าใจซึ่งกันและกัน ภูมิคุ้มกันจากสังคมสิ่งแวดล้อม ภูมิคุ้มกันจากกัลยาณมิตร รวมถึงการ เสริมสร้างการเรียนรู้ท่ีเกิดจากตนเองเป็นผู้กาหนด เยาวชนของชาตสิ ่วนใหญ่ทห่ี ลงเขา้ ไปเสพยา หรอื เก่ียวข้องกับยาเสพติด รวมทังกัญชาและกัญชง อาจเนื่องจากขาดความรักความอบอุ่น ขาดความรู้ ความเข้าใจต่อสังคม เข้าใจว่าตนเองไม่มีคุณค่า และขาดความรู้ทางธรรมะพืนฐาน หากเราต้องการ แก้ปญั หาเรอ่ื งยาเสพติดของเยาวชน เราจาเปน็ ตอ้ งแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของเยาวชน รวมทงั ตวั เราควร ได้เรียนรู้ปรับทัศนคติมุมมองด้วยการใช้ปัญญา เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาของตนเอง ในด้านครอบครัว สังคม และมิตร ให้ประสานสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เสมือนเฟืองสามตัว ขบั เคลอ่ื นกลไกใหท้ างานในเวลาเดียวกัน ดงั นันการป้องกนั มใิ หเ้ ยาวชน รวมทังตัวเราได้มีโอกาสเข้าไป ยุ่งเก่ียว กับยาเสพติด เป็นการป้องกันในลักษณะการสร้างความพร้อมในการใช้ชีวิตเตรียมความพร้อม ในการเป็นผู้ใหญ่ หรือเป็นผู้ดูแลตนเองได้ โดยใช้ปัญญาเป็นเคร่ืองมือที่จะนาพาตนเองให้อยู่ในสังคม เป็นพลเมือง ที่มีคุณภาพ ซ่ึงจะเป็นปัจจัยสาคัญท่ีจะทาให้เราใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างภาคภูมิใจ เป็น พลเมืองท่ีมีคุณภาพ มีความเข้มแข็งที่เกิดจากกระบวนการใช้ปัญญาเป็นหลักที่ยึดเหน่ียว ซ่ึงจะเป็น พืนฐานสาคัญท่ีจะทาให้ประเทศไทยมีพลเมืองท่ีมีคุณภาพนาพาประเทศให้มีความสุขสงบ เจริญรงุ่ เรอื งสืบไป กกกกกกก1. 8. ข้อห้ามในการใช้กัญชาและกัญชงกับบุคคลต่อไปนี ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีอาการทางระบบ ประสาทผิดปกติ ผ้ปู ว่ ยโรคหัวใจขนั รุนแรงทีม่ ีอาการความดนั โลหติ ต่าลง หรือหัวใจเตน้ เร็ว สตรีตังครรภ์ หรือให้นมบุตร บุคคลที่มีอายุต่ากว่า 25 ปี ผู้ป่วยโรคตับ โดยถ้าจาเป็นต้องใช้ต้องอยู่ในความดูแล ของแพทยผ์ เู้ ชี่ยวชาญ กกกกกกก1. 9. การถอนพิษเบืองต้นจากการเมากัญชาและกัญชง ท่ีมีอาการมึนศีรษะ โคลงเคลง แนน่ หนา้ อกจากการใช้กญั ชาและกัญชงเกินขนาด มีอยู่ 3 วิธี ไดแ้ ก่ วธิ ที ี่ 1 ใหด้ มื่ นามะนาวผสมนาผึง หรือนาตาลทราย วิธีท่ี 2 ดื่มสมุนไพรรางจืด และวิธีท่ี 3 รับประทานกล้วยนาว้าสุก วันละ 3 เวลา เวลาเช้า กลางวนั และเย็น รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 23 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

24 24 ผลการเรผยี ลนกราูท้ ร่ีคเรายีดนหรวูท้ งั ค่ี าดหวงั ผลการเรีย1น. รเทู้พี่คื่อใาหด้ผหู้เรวียังนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเหตุใดต้องเรียนรู้กัญชาและกัญชง กัญชา และกัญชงพ1.ืชยเาพท่ือ่ีคใหวร้ผรู้เู้รรียู้จนักมโีคทวษาแมลระู้คปวราะมโเยขช้านใจ์ขเอกง่ียกวัญกับชาเหแตลุะใดกตัญ้อชงงเรกียฎนหรมู้กาัญยชทา่ีเแกลี่ยะวกขัญ้องชกงับกัญชา และกัญชชงงพกืชัยญาชทาี่คแวลระรกู้ รัญู้จักชโงทกษับแกลาะรปแรพะทโยช์แนผ์ขนอไงทกยัญแชลาะแกลาะรกแัญพชทงยก์ทฎาหงเมลาือยกท่ีเกี่ยัญวชขา้อแงลกะับกกัญั ชาง แกับลกะากรัญแชพงทยกแ์ ัญผชนาปแัจลจุบะกนั ัญแชลงะกใชับ้กกัญาชราแแพลทะยก์แญั ผชนงเไปทน็ ยยแาลอะยกา่ งารรู้คแณุ พคทา่ ยแ์ทละาชงเาลญือฉกลากดัญชาและกัญชง กับการแพท2ย. ์แเผพนื่อปใัจหจ้ผบุ ู้เรนั ียนแลมะีทใกั ชษ้กะัญใชนากแาลระแกสญัวงชหงาเปค็นวายมารอู้ยแ่าลงะรทู้คักณุ ษคะ่าใแนลกะาชราคญิดฉวลิเคารดาะห์เกี่ยวกับเหตุ ใดต้องเรียน2ร.ู้กเัญพช่ือาใแหล้ผะู้เรกียัญนชมงีทกั ัญษะชใานแกลาะรกแัญสชวงหพาืชคยวาาทม่ีครวู้ แรลรู้ะรทู้จักักษโทะใษนแกลาะรปคริดะวโิเยคชรนาะ์ขหอ์งเกกี่ยัญวชกาับแเหลตะุ กใดัญตช้องงเกรฎียหนมรู้ากยัญทช่ีเากแี่ยลวขะก้อัญงกชับงกกัญัญชาชแาลแะลกะัญกัญชงชงกพัญืชชยาาแทล่ีคะวกรัญรชู้ รงู้จกักบโกทาษรแลพะทปยร์แะผโนยไชทนย์ขแอลงะกกัญารชแาพแทลยะ์ กทัญางชเลงอื กฎกหัญมชายกทัญี่เกช่ียงกวบัขก้อางรกแับพกทัญยช์แผาแนลปะัจกจัญบุ นัชงแลกะัญใช้กาแญั ลชะากแัญละชกงัญกชับงกเปารน็ แยพาอทยย่า์แงผร้คูนุณไทคย่าและชกาญรแฉพลาทดย์ ทางเลือกกญั 3ช.าเกพัญื่อชใงหก้ผับู้เกราียรนแมพีทักยษ์แผะนในปกัจจารุบในั หแ้คลาะแในชะ้กนัญาชกาาแรลใะชก้กญั ัญชชงเาปแน็ ลยะาอกยัญ่าชงรง้คูเปุณ็นคย่าาแอลยะช่าางญถูกฉลตา้อดง กับบคุ คลอ่นื3.ๆเพทีเ่ือกใย่ีหว้ผขู้เ้อรีงยนมีทักษะในการให้คาแนะนาการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาอย่างถูกต้อง กับบคุ คลอืน่4.ๆเทพเ่ีือกใ่ยี หว้ผขู้เ้อรงียนตระหนักถึงโทษของกัญชาและกัญชง และตระหนักถึงประโยชน์ของ กญั ชาและก4ญั. ชเงพเ่ือพใอ่ืหใ้ผชู้เ้ รปียน็ นยตารทะาหงกนาักรถแึงพโททยษ์ทขาองเงลกอื ัญกชแาลแะลกะากรัญแพชทง ยแแ์ ลผะนตปรจั ะจหุบนันักถึงประโยชน์ของ กขขัญออชบบาขขแ่า่าลยยะขบเเกนนทอญั อือืทบชหห่ีงข1าาา่เพยเหอ่ื เนตใชุใ้อื เ้ดปหตน็ ้อายงาเรทียานงกรูก้ารัญแชพาทแยล์ทะกางญั เลชอืงก และการแพทย์แผนปัจจบุ นั โครง บทท่ี 1 เหร่อืตงใุ ทดต่ี 1อ้ งมเรมุ ยี มนอรงู้กกัญฎชหามแาลยะกกาัญรใชชงก้ ัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ โครง เร่ืองท่ี 12 มุมมองกฎารหใมชา้กยัญกชาารแใชล้กะัญกัญชาชแงขลอะกงปญั รชะงชใานชปนรทะว่ัเทไปศไทยและต่างประเทศ โครง เรอื่ งท่ี 23 มสภมุ มาพอกงกาารรณใ์ขช้อกมัญลู ชทาี่เแกล่ยี ะวกขัญ้อชงกงขบั อกงญั ปชราะแชลาะชกนัญทชั่วไงปผา่ นส่ือออนไลน์ โครง เรื่องที่ 43 สภาพการณ์กขอ้ารมใลู ชทก้ ี่เัญกช่ียาวแขล้อะงกับญกชญั งใชนาตแ่าลงะปกรัญะเชทงศผ่านสื่อออนไลน์ โครง เร่ืองท่ี 45 สภาพการณ์การใชก้ ญั ชาและกญั ชงในตป่ารงะปเทรศะเไทศย โครง เรื่องที่ 56 สมภมุ มาพอกงกาารรณใ์กชาก้ รญั ใชก้าแัญลชะากแัญละชกงขัญอชงงบใุคนลปารกะรเทศางไทกายรแพทย์ โครง เรื่องที่ 76 มมุ มองการใชก้ ญั ชาและกัญชงของบผู้ปุค่วลยากรทางการแพทย์ โครง เร่อื งที่ 87 สมภมุ มาพอกงกาารรณใ์แชลก้ ะัญขชนั าตแอลนะกาัญรชใหงขบ้ อรงิกผาูป้ รว่คยลนิ ิกกญั ชาในประเทศไทย โครง บทที่ 2 กเญัรือ่ ชงาทแ่ี ล8ะกสญั ภชางพพกืชายรณาทแ์ ่คี ลวะรขรันู้ ตอนการให้บริการคลินิกกญั ชาในประเทศไทย โครง บทที่ 2 กเรญั ื่อชงทาแี่ 1ละปกรัญะชวงัตพิคืชวยาามทเปคี่ น็วรมราู้ ของพชื กัญชาและกญั ชง โครง เร่อื งที่ 12 ปควราะมวัตร้เูคิ บวือางมตเ้นปเน็ กมย่ี าวขกอบั งพืชกกัญัญชชาาแแลละะกกญั ัญชชงง โครง เรอื่ งที่ 23 คพวืชากมญั รช้เู บาือแงลตะน้กเญั กช่ยี งวคกือบั อพะืชไกรัญแชตากแตลา่ ะงกญันอชยง่างไร โครง เรอ่ื งท่ี 34 พกาชื รกใัญชพ้ชชืาแกลัญะชกาัญแชลงะคกือัญอชะงไใรนแชตวี ติกปต่ารงะกจันาวอันยข่างอไงรคนในโลก โครง เรื่องท่ี 4 การใชพ้ ชื กัญชาและกัญชงในชวี ติ ประจาวันของคนในโลก 24 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต เพ่ือใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

25 บทที่ 3 รู้จักโทษและประโยชนข์ องกัญชาและกญั ชง โครง เร่ืองท่ี 1 โทษของกัญชาและกญั ชง โครง เร่อื งที่ 2 ประโยชนข์ องกัญชาและกญั ชงทางการแพทย์ บทที่ 4 กฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ งกบั กญั ชาและกัญชง กกก เรอื่ งที่ 1 พระราชบัญญตั ิยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 โครง เร่ืองที่ 2 พระราชบัญญัตวิ ตั ถุออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 โครง เร่อื งท่ี 3 พระราชบญั ญตั ิยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562 โครง เร่อื งที่ 4 ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ทเี่ กยี่ วข้องกบั กญั ชาและกัญชง เรอ่ื งที่ 5 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เรอ่ื งที่ 6 พระราชบญั ญัติสิทธิบัตรกับกัญชาและกัญชง โครง เรื่องที่ 7 ขอ้ ปฏบิ ัติทีต่ ้องทาตามกฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้องกับกัญชาและกัญชง โครง เรื่องท่ี 8 โทษของการฝา่ ฝืนกฎหมายทีเ่ กยี่ วข้องกับกัญชาและกัญชง โครง เร่ืองที่ 9 กฎหมายระหว่างประเทศเก่ยี วกบั กญั ชาและกัญชง บทที่ 5 กัญชาและกญั ชงกับการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โครง เรอ่ื งท่ี 1 ประวตั คิ วามเปน็ มาการใช้กญั ชาเปน็ ยาทางการแพทย์ในต่างประเทศ โครง เรือ่ งท่ี 2 ประวตั ิความเปน็ มาการใช้กญั ชาในการแพทยท์ างเลอื กของไทย โครง เร่อื งที่ 3 ตารบั ยาที่มีกัญชาเปน็ สว่ นประกอบที่ไดม้ ีการคดั เลือกและรับรองโดย กระทรวงสาธารณสขุ โครง เรื่องที่ 4 ภูมภิ เู บศรรวบรวมและเผยแพร่ภมู ิปญั ญาไทย โครง เรือ่ งท่ี 5 ภูมิปญั ญาหมอพืนบา้ น นายเดชา ศริ ภิ ัทร บทท่ี 6 กญั ชาและกญั ชงกับการแพทย์แผนปจั จุบนั โครง เร่อื งท่ี 1 ประวตั ิการใช้กัญชาและกญั ชงทางการแพทยแ์ ผนปจั จุบัน โครง เรอื่ งที่ 2 กญั ชาและกญั ชงทชี่ ว่ ยบรรเทาโรคแผนปัจจบุ ัน โครง เร่อื งที่ 3 การใช้นามันกัญชาและกญั ชงกับการแพทย์แผนปัจจบุ ัน โครง เร่อื งที่ 4 ผลิตภัณฑ์กญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์ โครง เรอ่ื งที่ 5 การใช้ผลิตภัณฑก์ ญั ชาและกัญชงใหไ้ ดป้ ระโยชน์ทางการแพทย์ ในปจั จบุ ัน โครง เร่อื งที่ 6 การใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์น่าจะได้ประโยชนใ์ นการ ควบคมุ อาการ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวติ 25 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

2266 บบทททท่ี ี่77 ใใชช้ก้กญั ัญชชาาแแลละะกกัญัญชชงงเเปป็น็นยยาาออยย่าา่ งงรรู้คู้คุณุณคค่าา่ แแลละะชชาาญญฉฉลลาาดด โโคครรงง เเรร่ืออ่ื งงทท่ี ่ี11 คคววาามมเเชชอ่ื ่อื แแลละะคคววาามมจจรรงิ ิงเเกก่ียีย่ ววกกับับกกัญัญชชาาแแลละะกกญั ัญชชงงททาางงกกาารรแแพพททยย์ ์ โโคครรงง เเรรอื่ อื่ งงทท่ี ่ี22 กกาารรใใชช้ผ้ผลลิติตภภัณณั ฑฑ์กก์ ัญญั ชชาาแแลละะกกัญญั ชชงงททาางงกกาารรแแพพททยย์ใ์ในนออนนาาคคตตใใหห้ไ้ไดดป้ ้ปรระะโโยยชชนน์ ์ โโคครรงง เเรร่อื ่ืองงทท่ี ี่33 ขขอ้ ้อแแนนะะนนาากก่อ่อนนตตดั ดั สสินนิ ใใจจใใชชผ้ ผ้ ลลติ ติ ภภณั ัณฑฑก์ ก์ ัญัญชชาาแแลละะกกัญญั ชชงงททาางงกกาารรแแพพททยย์ ์ โโคครรงง เเรร่ือื่องงทที่ ่ี44 กกาารรววาางงแแผผนนกกาารรรรกั กั ษษาาดดว้ ว้ ยยผผลลติ ติ ภภัณัณฑฑ์ก์กัญญั ชชาาแแลละะกกญั ัญชชงง โโคครรงง เเรรอื่ ื่องงทที่ ่ี55 กกาารรเเรรมิ่ ิม่ ใใชช้ผผ้ ลลิติตภภัณัณฑฑ์กก์ ัญญั ชชาาแแลละะกกญั ัญชชงงใในนททาางงกกาารรแแพพททยย์ ์ โโคครรงง เเรรอื่ ่ืองงทที่ ่ี66 ขข้ออ้ หหา้ า้ มมใใชช้ผ้ผลลติ ติ ภภัณณั ฑฑ์ท์ทม่ี ่มี สี สี าารร TTHHCCแแลละะCCBBDDเเปปน็ น็ สส่วว่ นนปปรระะกกออบบ โโคครรงง เเรร่ืออื่ งงทที่ ี่77 ขขอ้ ้อคคววรรรระะววังงั เเกกี่ย่ยี ววกกบั ับกกาารรใใชชผ้ ้ผลลิตติ ภภณั ณั ฑฑก์ ์กญั ัญชชาาแแลละะกกัญัญชชงง โโคครรงง เเรรอื่ อ่ื งงทท่ี ี่88 ขขอ้ ้อหหา้ า้ มมใในนกกาารรใใชชก้ ้กญั ัญชชาาแแลละะกกัญัญชชงง โโคครรงง เเรร่ือื่องงทที่ ี่99 กกาารรถถออนนพพษิ ษิ เเบบือืองงตตน้ ้นจจาากกกกาารรเเมมาากกญั ญั ชชาาแแลละะกกัญญั ชชงง สสอื่ ่ือปปรระะกกอสอบื่อบกปการาระรเกเรรอยี ียบนนการเรียน สส่ือ่ือทที่ใ่ีใชช้ศ้ศึกึกษษาาเเนนือือหหาาแแตต่ล่ละะบบททมมีทีทังังสสื่อื่อเเออกกสสาารร สสื่อ่ือออิเิเลล็ก็กททรรออนนิกิกสส์ ์ แแลละะสส่ือ่ือแแหหลล่ง่งเเรรียียนนรรู้ ู้ ใในนชชมุ ุมชชนน 26 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพ่ือใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

27 บทที่ 1 1บทที่ เหตใุ ดตอ้ งเรยี นรกู้ ญั ชาและกญั ชง เหตใุ ดตอ้ งเรยี นรกู้ ญั ชาและกญั ชง สาระสาคสญั าระส�ำ คัญ กกกกกกก1. มุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ กฎหมายท่ี เกี่ยวข้องกับการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ เพ่ือเปิดโอกาสให้สามารถ นากัญชา ไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ และสามารถนาไปใช้ในการ รักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ ในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศอุรุกวัย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย อิสราเอล และมาเลเซีย แต่ในบางประเทศ เช่น ประเทศแคนาดา หรือในบางรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศทางยุโรป เป็นต้น มีการ อนุญาตใหใ้ ชก้ ัญชาเพ่ือการนันทนาการได้อีกดว้ ย กกกกกกก2. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของประชาชนทั่วไป 2.1 มิติการระบาดของกัญชาและกัญชง ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายของการ นานามันกัญชา มาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ ตามความเช่ือของประชาชน ซึ่งการใช้นามันกัญชา ในปัจจุบันโดยส่วนมากเป็นการแอบซือมาใช้โดยไม่ทราบแหล่งที่มา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการ ผลิตมากน้อยเพียงใด ไม่มีการควบคุมคุณภาพและความปลอดภยั หลังจากที่ประชาชนนาไปใช้ ทาให้ ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้นามันกัญชา และในต่างประเทศทั่วโลก มุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็น ส่ิงถูกกฎหมาย ในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง ในหลายประเทศพยายามจะก้าวตามให้ทัน ซ่ึงจะเห็นได้ หลายแห่งในภมู ิภาคลาตนิ อเมริกา รฐั บาลอยากใหช้ าวไร่ สามารถเข้าถงึ การปลูกกญั ชาเพื่อการแพทย์ มากขนึ เพราะได้ผลกาไรดี และเปน็ ตลาดทกี่ าลงั เจริญเตบิ โต 2.2 ความเช่ือท่ีเก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงในวิถีชีวิต ความเชื่อในประเทศไทยและ ต่างประเทศ มีลักษณะคล้ายคลึงกันในการนากัญชามาใช้ในการปรุงอาหารเพื่อเพ่ิมรสชาติ ในขณะท่ี ประเทศไทยมีความเชื่อว่ากญั ชาเป็นส่วนผสมของยาพืนบ้านใช้ประโยชน์ทางยาได้ ส่วนในต่างประเทศ จะใช้นามันกัญชาเพื่อรักษาโรคและบรรเทาอาการป่วย ผู้ท่ีคิดจะนานามันกัญชาไปใช้จึงควร ตระหนกั ถึงโทษอนั ตรายท่อี าจจะเกิดขึนกบั ตนเอง หรอื ผู้มสี ่วนเก่ียวขอ้ งได้ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 27 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

28 2.3 การสารวจความคิดเห็นของประชาชน จากผลการสารวจเรื่อง “คนไทยคิดเห็น อยา่ งไร กับการนากญั ชามาใช้เป็นยารักษาโรค” พบว่าประชาชนสว่ นใหญ่เห็นด้วยกับการผลกั ดนั ให้มี การนากัญชามาใชเ้ ป็นยารักษาโรคในประเทศไทย เรอื่ ง “กัญชาประโยชน์หรือโทษ” พบว่าประชาชน ส่วนใหญ่เห็นด้วย เพราะกัญชามีประโยชน์หลายอย่าง สามารถใช้ในการรักษาโรคได้ ถ้านามาใช้ ทางการแพทย์คาดว่าจะเกิดประโยชน์อย่างมาก และเรื่อง “การอนุญาตให้ใช้กัญชาและกระท่อม ในทางการแพทย์” พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ รับทราบข้อมูลเก่ียวกับการอนุญาตให้ใช้ประโยชน์จาก กัญชาและกระท่อมทางการแพทย์ ในพระราชบญั ญตั ิยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562 กกกกกกก3. สภาพการณ์ข้อมูลทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับกัญชาและกญั ชงผา่ นส่ือออนไลน์ ข้อมลู ที่เก่ียวข้องกับ กัญชาและกัญชงผ่านสื่อออนไลน์ มีทังข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต (Internet) เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) และยูทูบ (YouTube) ข้อมูลเหล่านี ทาให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย แต่ยังขาดการคิดวิเคราะห์ ว่าข้อมูลใดมีความน่าเชื่อถือ จึงควรมีความรู้ในการคิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลที่สืบค้นได้ผ่านส่ือ ออนไลน์ และตระหนักถึงความสาคญั ของการคิดวิเคราะหแ์ ยกแยะขอ้ มูลท่ีถูกต้อง กกกกกกก4. สภาพการณ์การใช้กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ การใช้กัญชาและกัญชงใน ต่างประเทศ ใช้เสรีได้เพื่อนันทนาการ มีอยู่ในประเทศอุรุกวัย แคนาดา สหรัฐอเมริกาเป็นบางรัฐ สเปนใช้ในพืนที่ส่วนตัว เนเธอร์แลนด์ใช้ในร้านกาแฟ ในขณะท่ีประเทศอื่น ๆ มากกว่า 30 ประเทศ ใหใ้ ช้กัญชาในทางการแพทยร์ วมถงึ ประเทศไทยด้วย ส่วนการศึกษาและวจิ ัยเกี่ยวกับกัญชาและกัญชง มีในต่างประเทศมานานแล้ว สาหรับประเทศไทยไม่มีการศึกษาวิจัยเน่ืองจากกัญชาและกัญชงเป็นยา เสพติด จึงไม่มผี ลการวจิ ยั มารองรบั กกกกกกก5. สภาพการณ์การใช้กญั ชาและกญั ชงในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสขุ อนญุ าตให้ใช้ ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ในการรักษาโรคภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยท่ีได้รับยา เคมบี าบัด โรคลมชักท่ีรกั ษายากและที่ดือต่อยารักษา ภาวะกล้ามเนือหดเกร็งในผู้ปว่ ยปลอกประสาท เส่ือมแข็ง ภาวะปวดประสาทที่รักษาวิธีอื่นไม่ได้ผล และให้ควบคุมอาการของโรคพาร์กินสัน อัลไซเมอร์ โรควิตกกังวล โรคปลอกประสาทอักเสบ และผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ส่วนการแพทย์ทางเลือกได้ คัดเลือก และรับรองตารับยาที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ ให้ผู้ป่วยใช้ได้โดยอยู่ภายใต้การควบคุมดูแล ของแพทยท์ ไ่ี ด้รบั อนุญาต กกกกกกก6. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของบุคลากรทางการแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ มีความคิดเห็นว่าหากจะใช้กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ต้องแจ้งให้ชัดเจน ว่าใช้ได้กับโรคใด ได้ผล มีความปลอดภัยทางวิชาการ คุณภาพของสารสกัดจากกัญชาและกัญชง ต้องระบุวิธีการสกัด หรือมีสารปนเปื้อนหรือไม่ การเข้าถึงอย่างเป็นระบบ ทังระยะสันและระยะยาว รวมถึง มีการศึกษา เร่ืองความปลอดภัยการใช้ในคน และในมิติต่าง ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าใช้แล้วไม่เกิดการเสพติด หรือมีการ นาไปใช้ในทางที่ผิด ซ่ึงการผลิตยานันไม่ต้องการเพียงยาที่รักษาโรคเท่านัน แต่ยังตอ้ งการยาท่ีมีความ 28 หนังสอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต เพือ่ ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

29 29 ปลอดภัย มีมาตรฐาน และมีคุณภาพ แม้กัญชาและกัญชงจะมีสรรพคุณเป็นยา ที่เป็นประโยชน์ต่อ ปผู้ปล่วอยดใภนัยบามงีมโารตครแฐตา่นถ้าแใชล้กะัญมีคชุณาอภยา่าพงไมแ่ถมูก้ ตัญ้อชงาและไกมัญ่มชีกงาจระคมวีสบรครุมพกค็จุณะเป็นอยันาตทร่ีเาปย็นทปังตร่ะอโผยู้ใชน้แล์ตะ่อ ผสังู้ปค่วมยในบางโรค แต่ถ้าใช้กัญชาอย่างไม่ถูกต้อง และไม่มีการควบคุมก็จะเป็นอันตรายทังต่อผู้ใช้และ สกงักคกมกกกก7. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของผู้ป่วย ผู้ป่วยมีความคิดเห็นว่าการใช้กัญชาและ กัญกกชกงตก้อกงกค7า.นึงมถุมึงมคอวงากมาจราใเปช้กน็ ัญแลชะาคแวลาะมกตัญ้องชกงาขรอขงอผงู้ปผ่วปู้ ย่วยผู้ปโด่วยยเมฉีพควาะาคมวคาิดมเพหึ็งนพวอ่าใกจาทรี่มใชีต้ก่อัญกาชราใแชล้ยะา กในัญกชางรตจ้อัดงกคาารนอึงาถกึงาครวเาพมื่อจบาเรปรน็ เทแาลอะาคกวาารมตต่า้องงๆกาขรอขงอโงรผค้ปู ถ่วยึงแโมด้วย่าเฉจพะเากะิดคอวากมาพรึงขพ้าองเใคจียทง่ีมทีต่ีเอ่ปก็นารผใลชล้ยบา ใบน้ากงาแรตจ่อัดากกาารรอขา้ากงาเครียเพงด่ือังบกรลร่าเวทขาึนออายกู่การับตป่ารงิมๆาณขกอางรโรใชค้ยถาทึงแี่มมีก้วัญ่าชจาะแเกลิดะอกัาญกชางรแขล้าะงคเควียางมทแี่เตปก็นต่าผงลขลอบง บแต้าง่ละแบตคุ ่อคาลการข้างเคียงดังกลา่ วขึนอย่กู ับปริมาณการใช้ยาท่ีมีกญั ชาและกัญชงและความแตกต่างของ แกตก่ลกะกบกุคกคกล8. สภาพการณ์และขันตอนการให้บริการคลินิกกัญชาในประเทศไทย ประเทศไทยเร่ิม ใกหก้บกรกิกากรกค8ล.ินสิกภกัาญพชกาาครรณังแ์ รลกะขเมันื่อตวอันทก่ีา2ร4ใหม้บิถรุนิกายรนคลพิน.ิกศก. ัญ25ช6า2ในปที่รโระงเทพศยไาทบยาลปเจร้าะพเทรศะไยทายอเภร่ิัมย ใภหเู บ้ ศรริกาจรังคหลวิัดนปิกรกาัญจชนี าบครุ รี ตังอ่แมรกาวเนั มท่ือี่ ว1ัน7ทสี่ งิ 2ห4าคมมิถุนพา.ศย.น25พ6.ศ2.เ2ป5ิด6ท2ี่โรงทพ่ีโยรางบพายลามบหาาลรเาจช้านพครระรยาาชอสภีมัยา จภังเู บหศวรัดนจัคงหรวรัดาชปสรีามจานี แบลรุ ะี ตวอ่ันมทา่ี ว2ันกทัน่ี 1ย7ายสนงิ หพาค.ศม. พ25.ศ6.22ไ5ด6้เ2ปิเดปคิดลทินี่โิกรงกพัญยชาาบทาลางมกหาารรแาพชนทคยร์แรผานชไสทมี ยา จในังหโรวงัดพนยคารบราาลชศสูนีมยา์ จแาลนะวนั ท1่ี42แกหัน่งยตายลนอดพจ.นศภ. 2าย56ใน2ปไีดพ้เป.ศิด.ค2ล5ิน6ิก2กไัญด้มชีกาทาราเงปกิดาครแลพินิทกกยัญ์แผชนาไททายง ใกนาโรรแงพพทยยา์แบผานลไศทูนยยเพ์ จิ่มาเนติมวนใน1โร4งพแยหา่งบตาลอชุดมจชนภจาายนใวนนปี1พ2.ศแ.ห2่ง5ร6ว2มทไดัง้มเปีกิดาครลเปินิดิกควลิจินัยนิกากมัญันชกาัญทชาาง ตการแับพหทมยอ์แเผดนชไาทจยาเพนิ่มวเนติม2ใ2นโแรหง่พงอยีกาบด้าวลยชนุมอชกนจจาากนนวีวนัน1ท2ี่ 2แ0หพ่ง ฤรศวมจทิกังาเยปนิดคพล.ินศิก. ว2ิจ5ัย6น2ากมรันะกทัญรชวาง ตสาธราับรหณมสอุขเเดปชิดาคจลาินนิกวกนัญช22าทแาหงก่งอารีกแดพ้วทยยน์แอผกนจปาัจกจนุบีวันันท11ี่ 200แพหฤ่งศแจลิกะาคยลนินิกพก.ศัญ.ช2า5ท6า2งกการระแทพรทวยง์ สแผาธนาไรทณยส2ุข4เปแิหดคง่ ลเพินื่อิกเกพัญิ่มชการทเาขงา้ กถาึงรยแาพกญัทชย์าแอผยน่าปงัปจจลุบอดันภ1ัย1ข0องแผหปู้ ่ง่วยและคลินิกกัญชาทางการแพทย์ แผนไทย 24 แห่ง เพ่ือเพิ่มการเขา้ ถงึ ยากัญชาอย่างปลอดภยั ของผปู้ ่วย ผกผกลลกกกกาากรรกเเรรกผีียย1ลนน.กรรเาูู้้ททพรีคค่่ี ื่อเราาใียดดหน้หหมีรคววูท้วังงั าี่คมารดู้ หคววาังมเข้าใจ เก่ียวกับมุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงใน ปกกระกเกทกศกแกล1ะ.ต่าเงพป่ือรใะหเ้ทมีคศวมาุมมรอู้ คงวกามรใเชข้กาัญใจชเากแ่ียลวะกกับัญมชุมงขมองปกรฎะหชมาชายนกทาั่วรไใปช้กสัญภาชพากแาลระณก์ขัญ้อชมงูลในที่ ปเกรี่ยะวเขท้อศงแกลับะกตัญ่างชปารแะลเทะกศัญมชุมงมผอ่างนกสา่ือรอใชอ้กนัญไลชนา์แสลภะากพัญกชางรขณอ์กงาปรรใะชช้กาัญชชนาทแั่วลไปะกสัญภชางพในกตาร่าณงป์ขร้อะมเูทลทศ่ี สเกภี่ยาวพขก้อางรกณับ์กกาัญรใชชา้กแัญละชกาแัญลชะงกผัญ่านชงสใ่ือนอปอรนะไเทลนศไ์ ทสภยามพุมกมาอรงณก์การาใรชใช้ก้กัญัญชาชแาลแะลกะัญกัญชงชขงอในงบตุค่าลงปากรระทเทาศง สกาภราแพพกทายร์ณม์กุมามรอใงชก้กาัญรใชชา้กแญั ลชะกาแัญลชะงกใญันปชงรขะอเทงศผ้ปูไท่วย มแุมละมสอภงกาพารกใาชร้กณัญแ์ ชลาะแขลันะตกอัญนชกงาขรอใหงบ้ ุครกิลารกครลทนิ าิกง กาญั รชแาพในทปย์รมะมุเทมศอไงทกยารใช้กัญชาและกัญชงของผปู้ ว่ ย และสภาพการณแ์ ละขันตอนการให้บริการคลินิก กญักกชกากในกปกร2ะ.เทเพศไ่ือทใหย้มีทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์ เหตุใดต้องเรียนรู้กัญชา กแลกะกกญักกชกง2. เพื่อให้มีทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์ เหตุใดต้องเรียนรู้กญั ชา แกลกะกกัญกกชกง3. เพื่อให้ตระหนกั ถึงมุมมองทุกมิตทิ ่ีเก่ียวขอ้ งกับกัญชาและกัญชง รวมทังสภาพการณก์ าร กใชก้กกัญกชกากแกล3.ะกเญัพ่ืชองใหใน้ตตรา่ะงหปนรักะถเทึงมศแุมลมะอปงทระกุ เมทิตศิทไที่เกย่ียวขอ้ งกับกัญชาและกัญชง รวมทังสภาพการณก์ าร ใชก้ ญั ชาและกญั ชงในตา่ งประเทศและประเทศไทย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพื่อใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 29 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

3300 ขขออบบขขา่่ายยขเเนนอือือบหหขาาา่ ยเนอ้ื หา กกกกกกกกกกกกกกบบทททท่ี่ี 11 เเหหตตใุุใดดตต้ออ้ งงเเรรียียนนรรู้กู้กญััญชชาาแแลละะกกัญัญชชงง มมขขีี ออบบขข่าา่ ยยเเนนออืื หหาา 88 เเนนืออื หหาา ดดงงัั นนีี กกกกกกกกกกกกกก เเรรื่อือ่ งงทที่่ี 11 มมมุุมมมอองงกกฎฎหหมมาายยกกาารรใใชชก้้กััญญชชาาแแลละะกกััญญชชงงใในนปปรระะเเททศศไไททยยแแลละะตตา่่างงปปรระะเเททศศ กกกกกกกกกกกกกก เเรรอื่ื่องงทที่ี่ 22 มมมุมุ มมอองงกกาารรใใชชก้ก้ ญัญั ชชาาแแลละะกกัญัญชชงงขขอองงปปรระะชชาาชชนนททัว่ัว่ ไไปป กกกกกกกกกกกกกก เเรรอ่่อืื งงทที่่ี 33 สสภภาาพพกกาารรณณ์์ขขอ้้อมมลููลททีเเ่่ี กก่่ีียยววขข้้อองงกกัับบกกญัญั ชชาาแแลละะกกััญญชชงงผผ่่าานนสส่่ืืออออออนนไไลลนน์์ กกกกกกกกกกกกกก เเรรืื่ออ่ งงทที่่ี 44 สสภภาาพพกกาารรณณ์์กกาารรใใชช้กก้ ัญญั ชชาาแแลละะกกญััญชชงงใในนตต่่าางงปปรระะเเททศศ กกกกกกกกกกกกกก เเรรือ่ื่องงทท่ีี่ 55 สสภภาาพพกกาารรณณ์์กกาารรใใชชก้้กญััญชชาาแแลละะกกญญัั ชชงงใในนปปรระะเเททศศไไททยย กกกกกกกกกกกกกก เเรร่ือ่ืองงทที่ี่ 66 มมุมมุ มมอองงกกาารรใใชชก้ก้ ััญญชชาาแแลละะกกััญญชชงงขขอองงบบุุคคลลาากกรรททาางงกกาารรแแพพททยย์์ กกกกกกกกกกกกกก เเรรอื่ือ่ งงทท่ีี่ 77 มมมุมุ มมอองงกกาารรใใชชก้ก้ ัญัญชชาาแแลละะกกญัญั ชชงงขขอองงผผู้ปู้ปว่ว่ ยย กกกกกกกกกกกกกก เเรรื่่ออื งงททีี่่ 88 สสภภาาพพกกาารรณณแ์์แลละะขขนนัั ตตออนนกกาารรใใหห้บ้บรริกกิ าารรคคลลินินิกกิ กกัญัญชชาาใในนปปรระะเเททศศไไททยย สสือ่อ่ื ปปรระะกกสออ่อืบบปกกราาะรรกเเรรอยีียบนนการเรยี น 11.. ชช่่ืืออหหนนัังงสสืืออกกััญญชชาารรัักกษษาามมะะเเรร็็งง ชชื่่ืออผผูู้้แแตต่่งง สสมมยยศศ ศศุุภภกกิิจจไไพพบบููลลยย์์ โโรรงงพพิิมมพพ์์ สสาานนัักกพพิิมมพพ์์ ปปััญญญญาาชชนน IINNTTEELLLLEECCTTUUAALLSS ปปีทที พี่ีพ่ มิิมพพ์์ 22556611 22.. ชช่ืื่ออบบททคคววาามม ขข้้ออรระะววัังงกกาารรใใชช้้ผผลลิิตตภภััณณฑฑ์์กกััญญชชาา ชชื่ื่ออผผูู้้เเขขีียยนน ศศููนนยย์์พพิิษษววิิททยยาารราามมาาธธิิบบดดีี คคณณะะแแพพททยย์์ศศาาสสตตรรโโ์์ รรงงพพยยาาบบาาลลรราามมาาธธิิบบดดีี มมหหาาววิิททยยาาลลยัยั มมหหิิดดลล สสืืบบคค้้นนจจาากก hhttttppss::////wwwwww..hhffooccuuss..oorrgg //ssiitteess//ddeeffaauulltt //ffiilleess//ffiilleess__uuppllooaadd//kkhhmmuuuullkkaayycchhaaaassuuuunnyypphhiissrraaaammaaaa__eeddiitt..ppddff 33.. ชชื่ื่ออบบททคคววาามม คคลลิินนิิกกกกััญญชชาาททาางงกกาารรแแพพททยย์์แแผผนนไไททยย ดดีีเเดดยย์์เเปปิิดดบบรริิกกาารร 1133 แแหห่่งงททุุกกเเขขตต สสุุขขภภาาพพ ชชืื่ออ่ ผผเู้้เู ขขยีียนน ชชววีี จจิติต สสบืบื คคนน้้ จจาากก hhttttpp::////wwwwww..bbbbcc..ggooooddddlliiffeeuuppddaattee..ccoomm//hheeaalltthhyy--bbooddyy// 44.. ชช่ื่ืออบบททคคววาามม มมอองงกกััญญชชาาใใหห้้รรออบบดด้้าานน ชช่ืื่ออผผูู้้เเขขีียยนน พพรรททิิพพยย์์ ททอองงดดีี สสืืบบคค้้นนจจาากก hhttttppss::////wwwwww..kkoommcchhaaddlluueekk..nneett//nneewwss//bbrreeaakkiinngg--nneewwss//337700228877 55.. หห้ออ้ งงสสมมุุดดใใกกลลบ้้บ้า้านนขขอองงผผเูเู้้ รรียียนน เเรร่ื่ือองงทท่ี่ีเร11อ่ื งมมทมุมุ ่ี มม1อองงมกกุมฎฎมหหอมมงาากยยฎกกหาามรราใใยชชกก้ก้ าญััญรชชใชาา้กแแัญลละะชกกาัญญั แลชชะงงกใในนัญปปชรรงะะใเเนททปศศรไไททะเยยทแแศลลไะะทตตยา่่าแงงลปปะรรตะะ่าเเททงปศศระเทศ กกกกกกกกกก ททาาไไมมปปรระะชชาาชชนนตต้้อองงเเรรีียยนนรรูู้้เเกกี่ี่ยยววกกัับบกกััญญชชาาแแลละะกกััญญชชงงออยย่่าางงรรูู้้เเทท่่าาททัันน เเนนื่่ือองงจจาากกมมีีกกาารร เเปปลลี่ี่ยยนนแแปปลลงงขขอองงกกฎฎหหมมาายยทท่่ีีเเปปิิดดกกวว้้าางงใใหห้้ใใชช้้กกััญญชชาาเเปป็็นนปปรระะโโยยชชนน์์ททาางงกกาารรแแพพททยย์์ไไดด้้ ปปรระะกกออบบกกัับบกกรระะแแสส โโลลกกแแลละะปปรระะชชาาชชนนใในนปปรระะเเททศศไไททยย มมีีคคววาามมตต่ืื่นนตตััววใใหห้้คคววาามมสสนนใใจจกกาารรใใชช้้ปปรระะโโยยชชนน์์จจาากกกกััญญชชาาแแลละะกกััญญชชงง ททาางงกกาารรแแพพททยย์์ เเพพื่่ืออกกาารรรรัักกษษาาโโรรคคเเปป็็นนไไปปออยย่่าางงกกวว้้าางงขขววาางงมมาากกขขึึนน แแลละะรรััฐฐบบาาลลปปััจจจจุุบบัันนกก็็ไไดด้้กกาาหหนนดด นนโโยยบบาายยใใหห้้มมีีกกาารรสส่่งงเเสสรริิมมกกาารรพพััฒฒนนาาเเททคคโโนนโโลลยยีีกกาารรใใชช้้กกััญญชชาาแแลละะกกััญญชชงงใในนททาางงกกาารรแแพพททยย์์ แแลละะ ออุุตตสสาาหหกกรรรรมมททาางงกกาารรแแพพททยย์์ ทที่่ีไไมม่่กก่่ออใใหห้้เเกกิิดดผผลลเเสสีียยตต่่ออสสัังงคคมม โโดดยยตต้้อองงปปฏฏิิบบััตติิตตาามมทท่ี่ีกกฎฎหหมมาายยบบััญญญญััตติิไไวว้้ 30 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา

31 อย่างเครง่ ครัด ด้วยเหตุนีจึงมีความจาเป็นต้องเตรียมสงั คมให้มีความรู้เก่ยี วกับการใชก้ ญั ชาและกญั ชง เป็นยาอย่างถูกต้อง เหมาะสม โดยเฉพาะโทษของกัญชาและกัญชง เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย สภาพการณ์ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านสื่อออนไลน์ การใช้ กัญชาและกัญชงในต่างประเทศและในประเทศไทย มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของบุคลากรทาง การแพทย์ และของผู้ป่วย รวมทังสภาพการณ์ และขันตอนการให้บริการคลินิกกัญชาในประเทศไทย เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการใช้กัญชาและกัญชงอย่างถูกต้องกว้างขวางทุกมิติ ซึ่งจะช่วยให้เกิดความตระหนักรู้ถึงโทษ ท่ีเป็นพิษภัยของการใชผ้ ลิตภัณฑ์จากกัญชาและกัญชงในทาง ท่ีผิด อันจะนาไปสผู่ ลเสยี หายตอ่ ตนเอง ครอบครัว สงั คม และประเทศชาติท่ียากจะเยียวยาตามมาได้ การเรียนรู้เก่ียวกับการใช้กัญชาและกัญชงในหลักสูตรนี ไม่ส่งเสริมให้มีการปลูก หรือผลิตส่ิงท่ีเป็น ผลิตภัณฑ์จากพืชกัญชาและกัญชง แต่เป็นการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพืชกัญชา และกญั ชงทถี่ ูกต้อง โดยสามารถนาไปใชเ้ ปน็ ประโยชน์ทางการแพทย์เท่านัน ดงั มีรายละเอียดต่อไปนี กกกกก 1. มมุ มองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทย ในอดีตประเทศไทยให้กัญชาและกัญชงเป็นสารเสพติดประเภทท่ี 5 จนกระทั่งถึงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ไดม้ ีการแก้ไขกฎหมายเพ่ิมเติมพระราชบัญญตั ิยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562 เพื่อเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชาไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพ่ือประโยชน์ทาง การแพทย์ และสามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ เป็นเร่ืองที่ สังคมไทยรับรู้มาตังแต่ปี พ.ศ. 2561 เพียงแต่องค์การสหประชาชาติ (UN : United Nations) มี ข้อกาหนดเรื่ององค์กรกลาง ในการกากับดูแลการใช้กัญชาทางการแพทย์ กล่าวคือ ในกรณีท่ีมีการ เพาะปลูกกัญชา หน่วยงานของรัฐจะต้องจัดตังองค์กรกลาง หรือหน่วยงานกัญชาแห่งชาติขึนมา กาหนดดูแลเขตพืนที่ และที่ดินท่ีจะปลูกกัญชา รวมถึงจัดตังระบบการออกใบอนุญาต ซ่ึงขณะนี ประเทศไทย มีสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปน็ องค์กรกลางทรี่ ับผิดชอบอยู่ แต่ปัญหา ที่เกิดขึนภายหลังจากท่ีกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือ ประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใช้กัญชาในทาง การแพทย์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อกฎหมายมีผลใช้บังคับตังแต่วันถัด จากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือ วนั ท่ี 19 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2562 กฎหมายได้ให้ใช้กัญชาเพื่อ ประโยชน์ทางการแพทย์และการรักษาผู้ป่วย แต่ในความเป็นจริงคือ ไม่มีกัญชาในปริมาณเพียงพอ สาหรบั รักษาผู้ป่วย นอกจากนียังมีการเคลื่อนไหวทางสงั คม ของกลุ่มนักการเมือง ผู้ออกกฎหมาย และ เหล่าเกษตรกรผู้เพาะปลูก ผู้สนับสนุน ทาให้ประชาชนทั่ว ๆ ไป ได้รับรู้ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับกฎหมาย การใช้กัญชาและกัญชงมีทังที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง จึงมีความจาเป็นท่ีคนไทยต้องเรียนรู้กฎหมายการ ใช้กัญชาและกัญชงที่ถูกต้อง ทังในอดีตและปัจจุบัน เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันให้สามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง ไม่ฝ่าฝืนกฎหมายก่อเกิดปัญหาสังคม (รายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายการใชก้ ัญชาและกัญชงในประเทศ ไทยสามารถศกึ ษาได้จากหัวเรื่องท่ี 4 กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับกัญชาและกัญชง) รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 31 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

32 กกกกก 2. มมุ มองกฎหมายการใชก้ ญั ชาและกญั ชงในต่างประเทศ ประเทศ มมุ มองทางกฎหมาย อุรกุ วยั เป็นประเทศแรกท่ีเปิดให้ใช้กัญชาได้อย่างกว้างขวางขึน โดย ประธานาธิบดี โฮเซ มูฮิกา (Jose Mujica) ออกกฎหมายเม่ือ เดือนธันวาคม ค.ศ. 2013 หรือ พ.ศ. 2556 และในเดือน สงิ หาคม ค.ศ. 2014 หรือ พ.ศ. 2557 อนุญาตให้ประชาชนปลูก กญั ชาที่บ้านได้บา้ นละ 6 ต้น ให้รวมกลมุ่ เป็นสโมสรผู้ปลกู กญั ชา และเปดิ ใหม้ ีร้านขายกญั ชาได้โดยรฐั บาลควบคมุ เอง แคนาดา 28 พ ฤษ ภ าคม ค.ศ. 2019 ห รือ พ .ศ. 2562 โดยมูลนิ ธิ สาธารณสุขแห่งชาติ ข้อมูลจากการบรรยายเรื่อง “บทเรียนการ จัดการนโยบายจากประเทศแคนาดา” ใช้กัญชาทางการแพทย์ ตังแต่ปี ค.ศ. 2001 หรือ พ.ศ. 2544 และ มพี ระราชบัญญัตฉิ บับ ใหม่เม่ือเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2018 หรือ พ.ศ. 2561 นอกจากใช้ ทางการแพทย์แล้ว ล่าสุดอนุญาตใหป้ ระชาชนใช้เพ่ือนนั ทนาการ ได้ด้วย ประเทศแคนาดากลายเป็นประเทศท่ี 2 ของโลก ต่อจาก ประเทศอุรุกวัยท่ีประชาชนสามารถเสพกัญชาได้อย่างเสรี รวม ไปถึงการเพาะปลกู จนการซือขาย ประเทศแคนาดาเป็นประเทศ แรก ๆ ของโลกท่ีมีการใช้กัญชาในทางการแพทย์ ซึ่งเป็น ประโยชน์ต่อผู้ป่วย “แม้ก่อนหน้านีรัฐบาลจะบอกว่าไม่ต้องการ เปิดเสรีกัญชา แต่ศาลพิจารณาว่าการปฏิเสธสิทธิของประชาชน เป็นการกระทาท่ีไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ รัฐบาลต้องเปิดเสรี น่ีคือเหตผุ ลที่เริม่ ใช้ทางการแพทย์” เนเธอรแ์ ลนด์ เป็นประเทศแรกท่ีนาร่อง ในการผ่อนปรนการควบคุมกัญชา ท่ีเริ่มแบ่งยาเสพติดเป็นกลุ่มอันตรายมากกว่าและน้อยกว่า และ จัดกัญชาอยู่ในกลุ่มอันตรายน้อยกว่า ในปี ค.ศ. 1972 หรือ พ.ศ. 2515 ซ่งึ กาหนดการครอบครองกัญชาไม่เกิน 30 กรัม เป็น ความผิดอาญาไม่ร้ายแรง ปัจจุบันนโยบายความผิดทางอาญา สาหรับยาเสพติดไม่ร้ายแรง เช่น การมียาเสพติดประเภทสอง ไม่เกิน 5 กรัม จะไม่ถูกฟ้องร้องเป็นคดีอาญา การทาให้กัญชา เปน็ สง่ิ ถกู ต้องในกฎหมายกญั ชา เริม่ ในปี ค.ศ. 2005 หรือ พ.ศ. 2548 32 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ เพื่อใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

33 ประเทศ มุมมองทางกฎหมาย สหรัฐอเมริกา มีกฎหมายใหม่เรียกว่า “Amsterdam Drugs Laws” กฎหมาย นีอนุญาตให้ขายกัญชาในร้านกาแฟ (Coffee Shops) ได้ โดย กาหนดให้คนท่ีมีบัตรสมาชิกสามารถเข้าร้านประเภทนีได้ แต่ ป ร ะ ช าช น ทั่ ว ไป ที่ อ า ศั ย อ ยู่ ใน พื น ท่ี จ ะ ร้ อ งเรี ย น เรื่ อ งปั ญ ห า อาชญากรรมท่ีสูงขึน เพราะมีการคา้ ยาเสพตดิ ตามท้องถนน ใช้รูปแบบการปกครองประเทศแบบสหพันธรัฐ (Federal State) ประกอบด้วยมลรัฐ 50 มลรัฐ (State Government) และการ ปกครองในระดับท้องถ่ิน (Local Government) รัฐธรรมนูญ สหรัฐอเมริกาได้อธิบายอานาจในการออกกฎหมายว่า “อานาจ ทงั หมดท่ีไมไ่ ด้มอบให้แก่รฐั บาลกลาง แต่จะสงวนไว้ให้แก่รัฐบาล มลรัฐ” โดยกฎหมายอาญาได้ถูกกาหนดให้อยู่ภายใต้ขอบข่าย อานาจรัฐบาลกลาง ยกเวน้ การกระทาท่ีเป็นอันตรายต่อประเทศ เท่านัน ในกฎหมายรัฐบาลกลาง รัฐสภาสหรัฐอเมริกากาหนดให้ การใช้กัญชายังคงเป็นส่ิงผิดกฎหมาย กัญชาเป็นยาเสพติด และ การจาหน่ายกัญชาเป็นอาชญากรรม โดยมีกระทรวงยุติธรรม (The Department of Justice) เป็ น ห น่ ว ย งาน บั งคั บ ใช้ กฎหมายควบคุมยาเสพติด (The Controlled Substances Act) ส่วนกฎหมายมลรัฐมีความแตกต่างกัน ขณะนีมี 33 มลรัฐ ที่อนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ได้ และมี 10 มลรัฐ ท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาในทางนันทนาการ แต่กัญชายังคงเป็น ยาเสพติดท่ีผิดกฎหมาย จึงไม่ได้รับการรับรองให้ใช้เป็นยารักษา โรคได้ แม้ว่ามลรัฐต่าง ๆ จะได้แก้กฎหมายให้ใช้กัญชาทาง การแพทย์ ดังนัน ผู้ท่ีครอบครองและแจกจ่ายกัญชาจะต้อง ได้รับโทษ มผี ลทาให้การใช้กัญชาทางการแพทยด์ าเนนิ การในตลาดมืด รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ 33 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

34 ประเทศ มมุ มองทางกฎหมาย อังกฤษ มีกฎหมายควบคุมยาเสพติดมากกว่า 25 ฉบับ ตามกฎหมายว่า ด้วยการใช้ยาในทางท่ีผิด ซึ่งควบคุมการใช้ยาตามบัญชีรายช่ือ ออสเตรเลยี โดยมีการจาแนก นาเข้า ผลิต จัดส่ง ครอบครองยาไว้เพ่ือการ จัดส่งและครอบครอง นโยบายยาเสพติดที่ชัดเจนเกี่ยวกับกัญชา เร่ิมตังแต่ ค.ศ. 1971 หรือ พ.ศ. 2514 จากการตราพระราชบัญญัติ วา่ ด้วยการใช้ยาในทางที่ผิด เพื่อให้สามารถปฏิบัติตามพันธกรณี ของสนธิสัญญาระหว่างประเทศ หลายสนธิสัญญาที่ได้ให้ สัตยาบันไว้ เพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของความพยายามของรัฐบาลท่ีจะ พัฒนายุทธศาสตร์ยาเสพติดระดับชาติท่ีสามารถแก้ไขปัญหา การเสพยาและการติดยาเสพติดท่แี พร่ระบาดมาอย่างยาวนานใน สังคม ได้พัฒนาแผนยุทธศาสตร์ยาเสพติด ในปี ค.ศ. 2008 – 2018 หรือ พ.ศ. 2551 – 2561 เพื่อแก้ไขและปรับปรุง แผน ยทุ ธศาสตร์ 10 ปี กรุงแคนเบอร์ราเป็นเมืองแห่งแรกที่มีการรับรองการปลูกและใช้ กญั ชาเพื่อนันทนาการ สอ่ื ท้องถิ่นออสเตรเลียรายงานว่า สภาเขต (Australian Capital Tarritory, ACT) ได้ผ่านกฎหมายอนุญาต ให้มีการปลูกกัญชาในบ้าน รวมถึงครอบครองกัญชาได้ไม่เกิน 50 กรัม เพ่ือใช้นันทนาการ นับว่าเป็นรัฐแรกของออสเตรเลียท่ี ผ่านกฎหมายการใช้กัญชาในลักษณะดังกล่าว ในส่วนของรัฐอื่น ๆ การใช้กัญชาเพื่อนันทนาการยังคงผิดกฎหมาย ออสเตรเลียได้ ผ่านกฎหมายให้สามารถใช้กัญชาทางการแพทย์ได้ท่ัวประเทศตังแต่ ปี ค.ศ. 1973 หรือ พ.ศ. 2516 สภาเขต (ACT) ไดล้ งมติร่างกฎหมาย อนุ ญ าตให้ป ระชาชนท่ี อายุตังแต่ 18 ปีขึนไป สามารถ ครอบครองกัญชาแห้งได้ไม่เกนิ คนละ 50 กรัม หรือสามารถปลูก เพื่อใช้บริโภคในครัวเรือนได้ไม่เกินคนละ 2 ต้น สูงสุดไม่เกิน 4 ต้นต่อหนง่ึ ครอบครัว 34 หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

35 ประเทศ มุมมองทางกฎหมาย อิสราเอล ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ป ร ะ เท ศ อิ ส ร า เอ ล ร่ า งแ ก้ ไข ก ฎ ห ม า ย ล ด โท ษ ให้ ผู้เสพกัญชา โดยจะไม่จับกุมดาเนินคดีในทันที แต่ให้เสียค่าปรับในการ กระทาผิดครังแรกและครังที่สอง การลดโทษดังกล่าวมีขึนสาหรับผู้เสพ กัญชารายบุคคลเทา่ นัน โดยผู้ที่ยอมรับสารภาพในการกระทาผิดครังแรกจะ ถูกปรับเป็นเงิน 1,000 เชเคล (ประมาณ 9,400 บาท) แต่จะถูกปรับเพิ่ม เป็นสองเท่าหากพบว่ากระทาผิดซาสอง อย่างไรก็ตามผู้ที่ยังกระทาผิดเป็น ครังท่ีสามจะถูกภาคทัณฑ์ และจะถกู ดาเนินคดีอาญาในครังที่ส่ี ทังนี การซือ ขายและผลิตกัญชายังคงเป็นความผิดอาญาตามกฎหมายของอิสราเอล แต่ การพิ จ ารณ าล ด โทษครังนี มีขึน ตามคาแน ะน าของคณ ะกรรมกา รศึกษ า ปัญหายาเสพติด และตามแนวทางของประเทศพัฒนาแล้วในยุโรปและ สหรัฐอเมริกาท่ีไม่ถือว่าการเสพกัญชาในหลายกรณีเป็นความผิดอาญา แต่ เน้นใช้ในการศึกษา และช่วยเหลือบาบัดแก้ไขปัญหาการเสพติดแทน นายกรัฐมนตรีเบนจามิน เนทันยาฮู ของอิสราเอลเผยว่า การลดโทษ ดังกลา่ ว มีขนึ อย่างค่อยเปน็ ค่อยไป โดยในทางหน่ึงอิสราเอลได้เปดิ กวา้ งรับ แนวทางแห่งอนาคตมาใช้ แต่ในอีกทางหนึ่งก็ยังคงตระหนักถึงอันตรายของ ยาเสพติด รัฐบาลจึงพยายามสร้างสมดุลระหว่างแนวทางทังสอง โดยร่าง แก้ไขกฎหมายนียังต้องผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภาอีกขันหนึ่ง จึงจะเร่ิม ประกาศใช้ได้ สถิติของสานักงานป้องกันยาเสพติดและปราบปราม อาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Office on Drugs and Crimes, UNODC) ระบุว่ามีผู้ใช้กัญชาในอิสราเอลเกือบร้อยละ 9 ของ ประชากรทังหมด แต่เชื่อกันว่าตัวเลขจริงสูงกว่านันมาก ประเทศอิสราเอล ยงั เป็นประเทศผวู้ จิ ัยเพื่อใชก้ ัญชาทางการแพทยช์ นั นาของโลกอีกดว้ ย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ 35 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

36 ประเทศ มมุ มองทางกฎหมาย มาเลเซยี สานักข่าว Talking Drugs และ Highland รายงานตรงกันว่า เม่ือวันท่ี 30 สิงหาคม ค.ศ. 2018 หรือ พ.ศ. 2561 ศาลสูงของ มาเลเซียตัดสินประหารชีวิต นายมูฮัมหมัด ลุคแมน โดยการ แขวนคอ มีความผิดฐานครอบครอง ผลิต และแจกจ่ายนามัน กัญชาจานวน 3 ลิตร และกัญชาอัดแท่งปริมาน 279 กรัม ซ่ึง เป็นของกลางท่ีเจ้าหน้าท่ียึดได้จากบ้านพัก เม่ือวันท่ี 5 ธันวาคม ค.ศ. 2015 หรือ พ.ศ. 2557 โดย นายลุคแมน ใช้นามันกัญชา เพ่ือรักษาลูก และแจกจ่ายให้กับคนไข้คนอ่ืน ๆ โดยไม่คิด ค่าตอบแทน อยา่ งไรกต็ ามการกระทานี ถอื ว่าผดิ กฎหมายยาเสพ ตดิ อันตราย ปี ค.ศ. 1952 หรือ พ.ศ. 2495 ของมาเลเซีย ท่ีระบุ วา่ “ผู้ใดทแี่ จกจ่ายยาเสพติดผิดกฎหมาย ถือวา่ มีความผิด และมี โทษถึงประหารชีวติ ” กกกกก กล่าวโดยสรุป กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและ ต่างประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชา ไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพ่ือประโยชน์ทาง การแพทย์ และสามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ ในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศอุรุกวัย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย อิสราเอล และมาเลเซีย แต่ในบางประเทศ เช่น ประเทศแคนาดา หรือในบางรัฐของประเทศ สหรฐั อเมรกิ า และประเทศทางยโุ รป เป็นต้น มีการอนญุ าตใหใ้ ชก้ ัญชาเพ่อื การนันทนาการได้อีกดว้ ย ถาม ผู้ปว่ ยสามารถหาซอื ยากญั ชารกั ษาตนเองได้ไมผ่ ิดกฎหมาย จริงหรอื ไม่ ตอบ ไม่จริง เพราะกฎหมายยังไม่อนุญาตให้ผู้ป่วยหาซือกัญชาที่ขายตาม ท้องตลาด หรือออนไลน์ได้ เน่ืองจากคุณภาพอาจจะยังไม่ผ่านมาตรฐาน และอาจเป็น อันตรายแก่ผู้ป่วยได้ แต่ผู้ป่วยสามารถเข้ารับการรักษาจากคลินิกกัญชาทางการแพทย์ ของโรงพยาบาลทไ่ี ดร้ บั อนญุ าตได้ 36 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวติ เพื่อใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

37 เร่ืองที่ 2เร่อื มงุมทมี่ อ2งกมาุมรมใชอก้งกัญาชราใชแก้ลัญะกชญั าแชลงขะกอัญงปชรงะขชอางชปนรทะั่วชไาปชนท่ัวไป 1. มติ กิ ารระบาดของกญั ชาและกัญชง 1.1 มิติการระบาดของกัญชาและกัญชงในประเทศไทย ก เม่ือวันท่ี 6 มิถุนายน พ.ศ. 2562 นายมโนรมภ์ สินธพอาชากุล หัวหน้ากลุ่มงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ เปิดเผยว่า ในช่วงนี มีการแพร่กระจายของการนานามันกัญชา มาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ ตามความเชื่อของประชาชน ซ่ึงขณะนียังไม่เคยมีการอนุญาตให้นากัญชาหรือนามันกัญชามาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ จากการ แพร่กระจายของการนานามันกัญชามาใช้ในปัจจุบัน ส่วนมากเป็นการแอบซือมาใช้โดยไม่ทราบ แหล่งที่มา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการผลิตมากน้อยเพียงใด ไม่มีการควบคุมคุณภาพและความ ปลอดภัย หลังจากท่ีประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้นามันกัญชา จนเกิดอาการ ความดันต่า หน้ามืด อาการใจสั่น อาการคลุ้มคล่ัง จนต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลเกือบ ทัว่ ประเทศ จากสถิติพบแทบทุกวัน แพทย์ต้องทาการรกั ษาอาการแบบประคับประคอง จนอาการดีขึน ซ่ึงต้องใช้เวลานานหลายวัน ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุข ยังไม่สามารถควบคุมผู้ใช้นามันกัญชาได้ เน่ืองจากผูป้ ว่ ยสว่ นใหญ่หามาใช้เอง โดยไมม่ กี ารปรกึ ษาแพทย์ 1.2 มิติการระบาดของกัญชาและกัญชงในตา่ งประเทศ ก เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ข้อมูลจากบีบีซี นิวส์ รายงานว่า รัฐบาลหลาย ประเทศกาลังวางแผนจะทาให้การใช้กัญชาทางการแพทย์และนันทนาการถูกกฎหมาย มีการลง ประชามติว่าควรจะดาเนินการนโยบายการใช้กญั ชาในทิศทางใด ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลงตา่ ง ๆ ทก่ี าลัง เกิดขึนหลายประเทศ เช่น (1) ประเทศอังกฤษ มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ได้ (2) ประเทศเกาหลีใต้ มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แต่มีการควบคุมอย่างเคร่งครัด (3) ประเทศแอฟริกาใต้ ผ่านกฎหมายสามารถให้ใช้กัญชาในพืนที่ส่วนตัวได้ และ (4) ประเทศ เลบานอน กาลังพิจารณาว่าจะทาให้การผลิตกัญชาเพอ่ื การแพทย์ถูกกฎหมาย เพ่ือช่วยเศรษฐกิจของ ประเทศ เป็นต้น และหลายประเทศท่ัวโลกมุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นส่ิงถูกกฎหมาย ในรูปแบบใด รูปแบบหน่ึง พยายามจะก้าวตามให้ทัน ซ่ึงจะเห็นได้หลายแห่งในภูมิภาคลาตินอเมรกิ า รัฐบาลอยาก ให้ชาวไร่ สามารถเข้าถึงการปลูกกัญชา เพื่อการแพทย์มากขึน เพราะได้ผลกาไรดี และเป็นตลาดที่ กาลังเจริญเตบิ โต ก กลา่ วโดยสรุป ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายของการนานามันกัญชา มาใช้ใน การรักษาโรคต่าง ๆ ตามความเชื่อของประชาชน ซึ่งการใช้นามันกัญชาในปัจจุบันโดยส่วนมากเป็น การแอบซือมาใช้โดยไมท่ ราบแหล่งท่ีมา และไมท่ ราบว่าใช้กัญชาในการผลิตมากนอ้ ยเพียงใด ไมม่ ีการ ควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย หลังจากที่ประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ นามันกัญชา และในต่างประเทศท่ัวโลก มุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นส่ิง ถูกกฎหมาย ในรูปแบบใด รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยา หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 37 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

38 รูปแบบหน่ึง ในหลายประเทศพยายามจะก้าวตามให้ทัน ซึ่งจะเห็นได้หลายแห่งในภูมิภาคลาติน อเมริกา รัฐบาลอยากให้ชาวไร่ สามารถเข้าถึงการปลูกกัญชาเพ่ือการแพทย์มากขึน เพราะได้ผลกาไรดี และเปน็ ตลาดท่กี าลังเจรญิ เตบิ โต 2. ความเช่ือทเี่ กี่ยวขอ้ งกับกัญชาและกญั ชงในวิถีชวี ิต 2.1 ความเชือ่ ในประเทศไทย ก จากการลงพืนท่ีสารวจความรู้ของมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพืนที่ภาคใต้ พบว่า ชาวบ้านมีการใช้กัญชาโดยนาใบอ่อนมาใช้ในการปรุงอาหาร นามาใส่แกงส้ม แกงกะทิ แกงมัสม่ัน เมนูผัดต่าง ๆ หรือใช้รับประทานสด เป็นผักจิมนาพริก นาบูดู แต่จะใช้ปริมาณ น้อย 1-2 ใบ (ใช้มากจะทาให้เมาได้) มีความเชอื่ กัญชาเพ่ิมรสชาติอาหาร ทาให้รับประทานข้าวไดม้ าก นอนหลับ ในส่วนของการใช้ประโยชน์ทางยา หมอยาพืนบ้านภาคใต้นาใบกญั ชามาใช้แก้ปวดฟัน โดย นาใบมาขยีพอแหลก ไปพอกหรืออุดบริเวณที่มีอาการ หรือนาไปต้มจนเดือดด่ืมอุ่น ๆ ช่วยรักษา อาการปวดเมื่อย เป็นยากษัยเส้น ทาให้ผ่อนคลาย คลายเครียด หรืออีกตารับหน่ึง นาใบกัญชา ตาละเอียดผสมนาต้มสุกพอกหนังศีรษะประมาณครึ่งชั่วโมงแก้อาการผมร่วง คันหนังศีรษะได้ นอกจากภาคใต้แล้ว หมอยาพืนบ้านในภาคอ่นื ใช้ดอกกัญชาปงิ้ ไฟให้เหลืองกรอบ ตาผสมพริกแกงเผ็ด ปรุงให้คนไข้เบ่ืออาหารรับประทาน ทาให้คนไข้รับประทานข้าวได้มาก บางท่ีใช้นาจากบ้องกัญชาให้ คนไข้อหิวาต์ด่ืม ทาให้คนไข้ได้พัก ต่ืนมาอาการทุเลาลง ในตารับยาพืนบ้านล้านนาใช้กัญชาผสมกับ พริกไทยบดผสมนาดื่มทุกคืน เชอ่ื วา่ เป็นยาคมุ กาเนดิ สาหรับสตรไี ด้ แตย่ ังไม่มผี ลการศึกษาวจิ ยั รบั รอง 2.2 ความเช่อื ในตา่ งประเทศ ก ประเทศในแถบยุโรป อเมริกา รวมถึงประเทศท่ีกฎหมายอนุญาตให้สามารถ ครอบครองกัญชาได้ ทาการพัฒนาสูตรอาหารจากกัญชาขึน เริ่มจากเมนูพืนฐานอย่างชากัญชา บราวน่ีกัญชา คุกกีกัญชา ขนมปังเนยกระเทียมกัญชา ไปจนถึงเมนูอย่างสปาเกตตี หรือนาสลัดท่ีใช้ แคนนาบิส บัตเตอร์ (Cannabis Butter) หรือเนยกัญชาในการปรุงนาสลัด มีความเชื่อว่าการใช้เนย กญั ชาในการปรุงอาหารจะชว่ ยเพ่ิมรสชาตแิ ละกล่ินให้หอม แตกต่างจากการใช้เนยธรรมดา ก นอกจากนียังมีความเช่ือในการนานามันกัญชามาใช้เพื่อรักษาโรคมะเร็งและโรค ร้ายแรงต่าง ๆ ได้แก่ การใช้นามันสูตร ริค ซิมป์สัน ออยล์ (Rick Simpson Oil, RSO) ว่าสามารถช่วย รักษาหรือบรรเทาอาการจากโรคท่ีตนเองประสบอยู่ได้ และมีความเช่ือเกี่ยวกับการใช้กัญชาเพื่อ กระตุ้นอารมณ์ก่อนการมีเพศสัมพันธ์ ทังนียงั ไม่มีการศกึ ษาวิจัยอย่างชัดเจนทังในเร่ืองสารสกัดกัญชา สามารถรักษาโรคมะเร็ง หรือสามารถกระตุ้นอารมณ์ความรู้สึกทางเพศได้ ผู้ที่คิดจะนานามันกัญชา ไปใช้จึงควรตระหนักถึงโทษอันตรายที่อาจจะเกิดขึนกับตนเอง หรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้ แต่มีผล การศึกษาวจิ ัยกัญชาจะไปช่วยในเร่อื งของคณุ ภาพชวี ิตของผู้ป่วยในบางโรคใหด้ ขี นึ 38 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวิต เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

39 ก กล่าวโดยสรปุ ความเชื่อในประเทศไทยและต่างประเทศ มีลักษณะคลา้ ยคลึงกนั ใน การนากัญชามาใช้ในการปรุงอาหารเพื่อเพ่ิมรสชาติ ในขณะที่ประเทศไทยมีความเช่ือว่ากัญชาเป็น ส่วนผสมของยาพืนบ้านใชป้ ระโยชนท์ างยาได้ ส่วนในต่างประเทศจะใช้นามันกญั ชาเพื่อรกั ษาโรคและ บรรเทาอาการป่วย ผู้ท่ีคิดจะนานามันกัญชาไปใช้จึงควรตระหนักถึงโทษอันตรายที่อาจจะเกิด ขนึ กบั ตนเอง หรือผมู้ ีส่วนเกยี่ วข้องได้ 3. การสารวจความคดิ เหน็ ของประชาชน 3.1 การสารวจความคิดเห็นของศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตร (แมโ่ จ้โพล) ระหว่างวนั ท่ี 1 - 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2561 เรอ่ื ง “คนไทยคิดเห็นอยา่ งไร กบั การนากัญชา มาใช้เป็นยารักษาโรค” ได้ทาการสารวจความคิดเหน็ ของประชาชนท่ัวประเทศ จานวน 1,426 หน่วย ตัวอย่าง มีวัตถุประสงค์เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนท่ัวไป เกี่ยวกับการปลดล็อกกัญชา ให้สามารถใช้เป็นยารักษาโรค ผลการสอบถามความเข้าใจเก่ียวกับกัญชา พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 64.03 เห็นว่ากัญชาเปน็ ยาสูบประเภทหน่ึงคล้ายบุหรี่ อนั ดับ 2 ร้อยละ 59.68 เหน็ ว่ากัญชาเป็นยาเสพติดให้โทษ อันดับ 3 ร้อยละ 45.86 เห็นว่ากัญชาเป็นส่วนผสมในอาหารบางประเภท และอันดับ 4 ร้อยละ 10.73 เห็นว่ากัญชาเป็นยารักษาโรค และผลการสอบถามประเด็นการผลักดันให้กัญชาสามารถ นามาใช้เป็นยารักษาโรคได้ พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 61.78 เห็นว่าช่วยลดคา่ ใช้จ่ายในการใช้ยานาเข้า จากต่างประเทศได้ อันดับ 2 ร้อยละ 59.75 เหน็ ว่าสารทพี่ บในกัญชา สามารถนามาวจิ ัยและผลิตเป็น ยารกั ษาโรคได้ และอันดับ 3 ร้อยละ 52.66 เห็นว่าปจั จบุ ันกัญชาเป็นท่ียอมรับวา่ เปน็ ของถกู กฎหมาย ในบางประเทศแล้ว จากผลการสารวจสะท้อนให้เห็นว่า (1) ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการ ผลักดันให้มีการนากัญชามาใช้เป็นยารักษาโรคในประเทศไทย (2) ราคายารักษาโรคในประเทศไทย ยังมีค่าใช้จ่ายสูง ทาให้เกิดความเหลื่อมลาของคนภายในประเทศ ในการเข้าถึงการรักษาด้วยตัวยา บางประเภท (3) การนากัญชามาสกัดทายารักษาโรคในครังนี อาจส่งผลดีต่อการเข้าถึงตัวยา และลด ความเหลื่อมลาในสังคมได้ และ (4) สามารถลดงบประมาณค่าใช้จ่ายในการนาเข้ายารักษาโรค บางชนิดจากต่างประเทศ 3.2 การสารวจความคิดเห็นของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ได้ทาการ สารวจความคิดเห็นของประชาชนเร่ือง “กัญชาประโยชน์หรือโทษ” ระหว่างวันที่ 16 - 17 สิงหาคม พ.ศ. 2561 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึนไป กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา และอาชีพ ทั่วประเทศ จานวน 1,250 หน่วยตัวอย่าง เก่ียวกับการทาให้กัญชาถูกกฎหมายเพื่อการรักษาโรค ประเด็นทราบหรือเคยได้ยินเกี่ยวกบั ประโยชน์ของกัญชาท่ีสามารถนามาใชเ้ ป็นยารักษาโรคได้ พบว่า (1) ร้อยละ 68.24 ระบุว่า ทราบหรือเคยได้ยิน (2) ร้อยละ 31.36 ระบุว่า ไม่ทราบหรือไม่เคยได้ยิน และ (3) ร้อยละ 0.40 ไม่ระบุหรือไม่แน่ใจ และประเด็นการมีกฎหมายเฉพาะให้ใช้กัญชาเป็นยารักษา โรคโดยถูกกฎหมายในอนาคต พบว่า (1) ร้อยละ 72.40 เห็นด้วย เพราะกัญชามีประโยชน์หลายอย่าง รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 39 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

4400 เเเเกกปปยมยมกแกแ88ไใททไไสไใสปปพพกกนนมมมม22ลลาาาาาาาารรวั่ว่ัรริิดด่แ่แรร่่ททเเมมรร..รรใใะะะะททะะหห00าาชชนนปปแแัักกาาาาชชกกชชกุุก77ะะ็็นน้้เเงงรรพพใ่่ใรรษษรราาาาปปภภกกจจกกถถดดะะะะสสพพททชชาา็็ููมมนนญัญัาาใใ้้โโททววมัมันนยโโยออชชรรภิภิยยยยรรยยชช่่ออพพ์์ทท้้แแใใสสชชาาาาคคาานนมมนัันพพ่่ใใววรรเเรรคคนนมมใในนกกพพททาานนััธธกกททนนขข์์ออปีีปาาบพพบาา์์รรษษใใออ33ยยปปททรรยยรรงงหหาาขขรร..งง์์าา””รระะกก่่รราา33าาะะะะ้้ออญญปปโโัักกโโงงะะกกาาถถรรรรรรมมยยรรษษมม่่รรเเาาาาะะคค้้าากกรระะููลลททชชกกแแรราาาาชชหหทท””ััาาบบเเนนโโพพสสกกศศลลบบททแแววรราารรทท์์หหาา่่าาไไพพททญััญ่่าาสสศศคคลลใใแแททรรววรรหหลลงงยยบบะะาาไไลลญญววโโาาววยยจจดดาา้้์์ถถรรดดววจจบบะะัันนใใยยาา((ตัตั้้ถถววููกก่่าายย22คคนนเเเเนนขขออททิิยย้้จจาารรปปรรกก))สสววพพ้้ออววยยนน่ื่ืาา่ีี่ออ่่ืืออคครรฎฎาารรรร11นนรรเเา่า่มมาางงงงววะะมมุุปป้้ออสสหห11ะะงงททมมููลลาาชชคคพพยยรร““““มมาาังงัมม--จจเเสสาาดิดิลลาาตตกกกกกกใใสสาาาาชชาาคค11ชชชชะะเเดิดิี่่ีััยยญญาายยิินนกกมมหห88นนิิดดบบ้้ททรรใใววจจผผ11าา็็นนชชสสหหขขญัญัออ22าาเเกกะะรร77ลลมมาาขข่่ววอองง้โ้โ,,นนัับบถถมมญญ00..กกททปปกกษษนนออ99งงุุญญใใีีกก55ผผาาาาััตตษษสสงง33รราาชชใใ88รราาลลรรหหปปาายยิิยยะะถถ้ใใ้ สสรรแแทท((เเตตนนนนญญรราาโโาาหหฉฉสสออพพาายยรรเเะะใใกกบบบบนน่่ีีเเสสยยรรนนหหพพาาททชชชชหหาาัันนววับับ่วว่พพมมบบุุญญ้้ใใรร..าานนยย็็นนศศจจยยบบชชททาาตตรรชชดด์์นน์์หหาาเเดด..ตต้้กกกกัักักัณณดิดิ่่ีีนนีีเเรรตต่่าารร7722้้กกววััววกกััญญษษื่ออ่ืใใจจใใฑฑืืออ55))ยยออหหี่ี่ยยเเววงงหหาาะะรรชช66โโกกยยพพิิววตต้โ้โ่่าาโโ่ื่ืเเออ้้ททใใาาทท22““รรกก่่ััาาบบกกผผพพ..ชชงงศศแแคคษษงงคคษษัับบิิดดกกลลจจัั้้ฒฒปป..ลลไไนน““””ปปกกพพาาดดาาดดรร22((ะะนนกกไไรรกกาาฉฉรรีีบบ้้ะะ55กกททพพแแผผาารรถถบบปปะะบบโโวว66รรรรยยออบบลลลลโโ้้าายยรรรรับบั่่าา22ยยะะออคคนนนนััะะกกะะิิหหววชชททชชททนน((ิิดดชชาาุุ่่ญญดดาานน11าานน((่่ีี่่ออุุญญมมเเปปาาัันน77รร33))์์จจาาหห์์ออชชมมาาศศ))รร))าาใใตตปปาา็็นนใใยยนนหหใใตตะะาาพพกกรรใใชชรรนน่่ออาาททหห้้มมชชสสใใ้้ออกกะะ..้้ททงงหหททยยศศี่ี่มม้้ตตีีาาใใกกชชยยััญญมมาาชช่่าา..้้ใใาาชชีีออาารราาลลงงาาชชงงชช้้ปปงง22รร์์นนชชาากกกกะะไไ้้กกกก((าา55นนรรยยรรนนาานนสสัญัญแแาา((66ะะุุตต22รราาสส22่่ิิววดดรรกกลล22โโแแกกชช..ัังง))่่ววนน66้้ยยแแาาัับบะะแแพพััญญาารรนน))44ชชใใพพกกกกตตแแ้้ททออหหใใชชนนรรททรราาลล่่ไไหหยยยย่่ญญาาวว11์์มมจจรระะะะยยลลญญ์์คคมมมม88นนาาทท่่รร่่กกเเ์์””ะะาาาาหห่่กกกกะะาา่่ออรรปปรรดดใใัักกกก็็บบบบนน22ะะพพมมชชอ้้อีีขขววััญญััญญ44ททกกุุดดหห้้เเยยบบทท่ึ่นาึานปป..่่ออรร้้จจววลลชชชชรร99ววไไาา็็นนมมปปมมืืยยออะะะะ66าาาา่่งงาา เใเใกสเคกคเสววเเวว((เเIIพพขขปปรรนนิิิิเเnnเเ็อ็อน้้นนนคคคค้้าาอื่ื่อ็็่ืื่นนออสสttาาหหใใถถรรรรee่่ืืงงไไออจจขขจจาาาาึึงงมมาาrrททออตตจจ้้ออขขnnะะไไะะ่่ใใออดดะะ่่ออมม่ีี่หหอ้อ้หหeeหห33เเนน้้งงผผููลลมมtt์์แแ้้ตตปป์์แแเา่า่))ไไลลททรลูลูยยกกน็็นยยยยลลเเ11กกขขอ่ืสสผผกกี่ี่ผผเเฟฟกกกกนนปป..้้แแรรออ่า่าแแูู้้งพพภภาาแแ์์ไไซซะะนน็็ตตนนยยทมมปปมมรรบบแแาายยบบทท่่สสยยะะเเสสูู่่ไไจัจัลล่ีนนพพะะเเหหุุ๊๊กกดดงงััขขืออื่่บบ3หหรรจจททขขววขขยยกก้เ้เอ้อ้ออ้้าาทท็็ุุนนบบทท้้ปปออ((่ี่ีเเาา่ื่ือองงมมออาาFFีี่่ตตกกันนัเเสาาดดมมนน็็เเขขหหนนaaููลลรรรรี่่ีงงาายยสสกกููลลภคคออccณณทท่ืื่ออไไตตกกมมอืื่่อววาาใใลลววeeงงางงถถี่่ีาาุุกกมมนนรรออขขสสาาขข์์นนbbขขพรรกูกูาาคคาามมททออ้้่ื่ืออออึึooนนแแ์์้้ออรรตตกิิดดหหจจนนออาายยงงooออมมณณมม้อ้อววารรลลงงกกไไออกกkkาาาางงลลิิเเลลููงิิง์์ททเเรักักัั))นนจจแแบบคคปปททนนหหณทท่่ีีกกสสเเยยไไไไรรกก็็นนังงัรร์์เเรรลลลลาาืืบบะะาาี่เี่เขขหหััีีข์ยยญญผผืืออรรกกนนนนะะขขคค้า้ามมกกรรูู้้โโตตอ้หหย่่ยีี์์้้ออ์์ชชมม้้นนพพูเู้เ้ดดไไดด((ััดดมทท์์มมขขววาาาาLLดดไไสสัังงตตมม้้ออดดูลูล่าา่แแูลกกiiขข้้ววนนnnตต่่ออททมมผผีอีอ้้ผผ่่รราาลลทอ้้อััeeนน์์ภภภภะะันนัา่า่ิิททสสููลล่่าาะะ))งง่เีจจาานนาาแแนน่ืื่ออววสสธธกกกกกึึแแงงพพพพสสสส่่าาพิพิอ่ืื่อออสสี่ยััมมญญบบััลลเเเเขขอื่ือ่ออ่่ืืออออลลขขพพวีีออคคะะกกออ้้ออชชออนนตตอออ้อ้งงววขื่ื่ออยยมมออัญัญนนงง่่ออออไไมมาาดดููทท้อแแนนููลลลลผผไไสสมมนนููลลงึึงชชลลููลลบบงททนนไไ่่าาังังจจดดใใไไลลนนกะะาาคคี่ี่ดด์์หหนนลลเเาาดูดูนน((ปปถถแแ์์บัมมคคนนเเลลYYสสคคมมปป์์็็นน่่าาลลไไืืออooัั่่งง์์่ืื่กออววีีททยย็็นนแแเเไไขข33uuะะาาญัหหออหหททยยตตลล้้ออมมกกTTมมหหออลลออออ้้ะะออชมมuuสสญัญั ืืออออลลยยนนตตดดงงููลลbbนนายยนนาา่่กัักสสรรปปชชไไททeeแใใงงูู่่ใใลลกกรระะดดจจรรงง))่ีี่นนนนมมล้้าาาาหหนนใใาาะะผผขข่่าาาาสสงงหหรระบบ์์สสนนมมกกเเภภ้้ออ่่าาืื่่ออก้้ขขชชดดบบััสสีีกกททนนููมมมมอออ้อ้่ื่ืญัออจจัังงออกกถถััิิออููคคงงลลสสมมึึนนถถงงึึงงงงาาขขชนนุุ้้มมตตเเููลลืือออื่่อืีีคคคครรหห้้ออ้้ไไกกอองเเณณออมมววลลปปลลจจงงััผนนมมาาททออนนึึ่่งงพพ์์็็าาโโนนููใใลลา่มมดดคค่่ีีนนนนเเ์์มมหหึึงงททนรรททสสยยววรรีีมมีี้้ปปไไาา่ีี่นนาารรททสะะตตาาลลาาจจรร่่คคาามมววงงรราากก่อืนนะะะะเเััญญคีคีังงัอองงใใชชมมอชชตตเเ์์หหิิววนนื่่ืออพพาาขขาา้้แแอออาา้้ปปยยถถเเชชออรรตตงงมมนททรรืืออาานนรรงง่่บบบบรรไะะะะกกออูู้้เเใใูู้้ใใลาาโโาาททชชขขนนาานนรรดดงงงงน่่้้ออาาาารร์์กกเเกกคคคคยยนนททชชมมคค์าาาาไไรรรร็็ัันนนนููลลิิมมตตรรดดรรัังงัังง่่ 40 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต เพื่อใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

41 หลักการท่ี 1 การค้นหาข้อมูลในสื่อออนไลน์ ต้องตังคาถามกับตัวเองทุกครงั ว่าข้อมูล ดังกล่าวมาจากไหน หากแหล่งข่าวหรือที่มาไม่มีความน่าเช่ือถือ ข้อมูลในข่าวก็ไม่น่าเชื่อถือเช่นกัน อยา่ เช่อื สิง่ ท่เี หน็ หรอื ได้ยินทกุ ครังจนกว่าจะรทู้ ี่มาของแหล่งขา่ วมาจากไหน หลักการที่ 2 การติดตามข่าวสารผ่านส่ือออนไลน์ปัจจุบันถือว่าเป็นสิ่งสาคัญมาก เพราะช่องทางของส่ือออนไลน์ท่ีกระจายข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น อินเทอร์เน็ต (Internet) เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) และยูทูบ (YouTube) เป็นต้น จึงควรต้องระมัดระวัง และรอบคอบในการรับขอ้ มูลจากส่อื ออนไลน์ หลักการท่ี 3 การตรวจสอบข้อมูลหลาย ๆ ทาง โดยทาการสารวจข้อมูลจากเว็บไซต์ ของกูเกลิ (www.google.com) ในเบอื งตน้ เพือ่ ดทู ี่มาของแหลง่ ข้อมลู สามารถสบื ค้นข้อมูลไปยงั แหล่ง อ้างอิงของข่าวท่ีระบุไว้ เข้าไปสืบค้นข้อมูลจากเว็บไซต์ท่ีน่าเชื่อถือ เช่น ข้อมูลจากกระทร วง สาธารณ สุข (https://www.moph.go.th) สานักงานคณ ะกรรมการอาหารและยา (อย.) (www.fda.moph.go.th) กรมการแพทย์ (www.dms.moph.go.th) เปน็ ต้น 2. ตวั อยา่ งข้อมูลท่เี กี่ยวข้องกบั กญั ชาและกญั ชงผ่านสอ่ื ออนไลน์ 2.1 ข้อมลู ทางอนิ เทอร์เน็ต (Internet) ภาพที่ 1 ข่าวใช้นามันกัญชา “หยอดแลว้ ตาย” ทางอนิ เทอร์เนต็ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอื่ ใช้เป็นยา หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ 41 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

42 สาวผสมเอง นามันกญั ชา “หยอดแล้วตาย” โดนแจ้งจบั พบเงินสดกว่า 3 ลา้ น ในวันท่ี 20 กันยายน พ.ศ. 2562 เจ้าหน้าท่ีตารวจกองบังคับการตารวจภูธรจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับ สภ.สารภี สนธิ นาหมายศาลเข้าตรวจค้นที่บ้านเลขท่ี 74/49 หมู่ 3 ต.ชมพู อ.สารภี จับ บัณฑิตสาว ขายนามันกัญชาออนไลน์ มีคนหลงเชื่อซือไปหยอดให้ญาติแล้วตาย ทราบว่าได้ซือ นามันกัญชาผ่านระบบออนไลน์มาจาก นางสาววิชุนี ภักดีราช อายุ 31 ปี นามาโพสต์ขายผ่าน ทางระบบออนไลน์ ทาให้ญาติผู้ป่วยโรคมะเร็งหลงเช่ือ นาไปหยอดให้ผู้ป่วยจนเสียชีวิต ไม่สามารถรักษาโรคได้ตามที่มีการโฆษณาชวนเช่ือ จึงได้เข้าแจ้งความ จากการสอบสวน เดิมยึด อาชีพขายถุงห่อมะม่วง ต่อมาได้ตรวจพบก้อนเนือที่ขาหนีบ จึงทดลองนานามันกัญชามาหยอด รกั ษาแล้วดีขึน จึงส่ังนามันกัญชามาจากประเทศลาวในราคาขวดละ 1 แสนบาท แล้วนามาผสม กบั นามันมะพร้าว ซ่งึ เป็นสูตรที่คิดขึนเอง ก่อนท่ีจะนามาบรรจุใสข่ วดขนาดเล็กขายตามไลนก์ ลุ่ม ผู้ป่วยโรคมะเร็ง ลูกค้าที่ป่วยเป็นโรคมะเร็งซือไปใช้ สามารถยือชีวิตได้หลายราย ซ่ึงรายที่ เสียชีวิตนัน ตนไม่เช่ือว่าจะเสียชีวิตจากนามันกัญชาที่ซือไป เบืองต้นได้แจ้งข้อหามียาเสพติดให้ โทษประเภท 5 เอาไว้ในครอบครอง และมีไว้จาหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต ส่วนกรณีผู้ป่วยซือ นามันกัญชาไปใช้แล้วเสียชีวิต จะขยายผลโดยประสานแพทย์มายืนยันอีกครังว่าผู้ป่วยเสียชีวิต ด้วยสาเหตจุ ากการใชน้ ามนั กัญชาหรือไม่ หากแพทย์ยืนยันมาจะดาเนนิ การแจ้งข้อหาต่อไป 2.2 ขอ้ มลู ทางเฟซบุ๊ก (Facebook) ภาพที่ 2 ข่าวหมอพืนบ้านกับราชกิจจานุเบกษา ท่ีรับรองหมอพืนบา้ น จาก Facebook 42 หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวติ เพื่อใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

43 รมว.สธ.ลงนามแก้ระเบียบรับรองหมอพืนบ้าน พร้อมเซ็นประกาศกระทรวงอีก 2 ฉบับ ที่แก้ไขให้ ปรุงยาได้ โดยไม่ต้องใช้เคร่ืองกัญชากลาง ได้ใจหมอพืนบ้าน 3 พันคน ด้าน “รจนา” เสนอปลูก กญั ชาควรต้องเป็นหมอพืนบ้าน-แพทย์แผนไทยกอ่ นขยาย อสม. นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กล่าวว่า รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข ได้ลงนามในประกาศกระทรวงสาธารณสุขอีก 2 ฉบับ คือ ประกาศกระทรวง สาธารณสขุ เรื่อง กาหนดตารับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ทใี่ ห้เสพเพื่อรักษา โรคหรือการศึกษาวิจัยได้ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง กาหนดผู้ ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและหมอพืนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ที่จะสามารถปรุง หรือ ส่ังจ่ายตารับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 โดยประกาศ กระทรวงทงั 2 ฉบับ เปน็ การแกไ้ ขจากเดมิ ทก่ี รมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กาหนดว่า ในการทายาของแพทยแ์ ผนไทยและหมอพืนบ้าน จะต้องใชว้ ัตถุดบิ ทเี่ ปน็ เครอื่ งกญั ชากลาง ซงึ่ เจตนาจะ มหี น่วยผลิตกลางจัดทาขึน เพ่ือป้องกันการนาไปใช้ผิดวัตถปุ ระสงค์ แต่ในข้อเท็จจริงหมอพืนบ้านและ แพทย์แผนไทยท่ีจะปรุงยาเฉพาะรายไม่ได้ใช้เครื่องกัญชากลาง ต้องใช้พืชใบสด ซ่ึงรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสขุ ได้ลงนามแกไ้ ขทงั 2 ประกาศที่จะทาให้แพทยแ์ ผนไทยและหมอพืนบา้ นสามารถ ใชย้ าไดโ้ ดยไม่ต้องใช้เคร่ืองกญั ชากลาง ทังนี รัฐมนตรี ฯ ได้ลงนามประกาศทงั 2 ฉบับแลว้ ซ่ึงจะทาให้ มีความสะดวก และใช้ได้ตามภูมิปัญญา ซึ่งได้ผ่านคณะกรรมการยาเสพติด ฯ เมื่อประชุมคราวท่ีแล้ว ก็จะทาให้การพัฒนาหมอพืนบ้านและแพทย์แผนไทยในการปรุงเฉพาะรายจะดีขึน โดยจะมีผลหลัง ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาตอ่ ไป 2.3 ขอ้ มูลทางไลน์ (Line) ภาพท่ี 3 ข่าวการระดมความคิดเตรยี มปลูกกญั ชา จาก Line รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพอ่ื ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 43 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

44 วันท่ี 17 กันยายน 2562 ณ ศูนย์การเรียนรู้วิจัยและพัฒนาเมืองสมุนไพร ชุมชนพรสวรรค์ ใน เขตเทศบาลตาบลหนองบัว อ.เมือง จ.อุดรธานี ดร.องอาจ วิเศษ ประธานเครือข่ายวิจัยและ พัฒนากัญชาเพื่อประโยชน์แพทย์ไทย ผศ.ดร.อานนท์ แสนน่าน ประธานสมาพันธ์วิจัยและ พัฒนากัญชาเพื่อประโยชน์แพทย์ไทย นายเศรษฐภัทร์ นิตยวิทธิวรากุล นายศรีทัศน์ มาตราช รองประธานสมาพันธ์วิจัยและพัฒนากัญชาเพื่อประโยชน์แพทย์ไทย นางธนภัทร พันธวาส ประธานเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนไทย นอกจากนันแล้วยังมีแพทย์แผนไทย หมอพืนบ้าน และ ตัวแทนเกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนภาคอีสาน ร่วมประชุมหารือ “เตรียมการปลูกกัญชงเพ่ือ เศรษฐกิจไทย” โดยใหม้ ีการร่วมมอื หลายภาคส่วนให้เกษตรกรสามารถปลกู กัญชงก่อน ในขณะที่ กาลงั รอกฎหมายลูกและนโยบายจากกระทรวงสาธารณสขุ ใหช้ ดั เจนอีกครงั ในการ “ปลกู กญั ชา” 2.4 ขอ้ มลู ทางยูทบู (YouTube) ภาพที่ 4 ขา่ วท่เี กีย่ วขอ้ งกับกัญชาทาง YouTube กล่าวโดยสรุป ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านสื่อออนไลน์ มีทังข้อมูล ทางอินเทอร์เน็ต (Internet) เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) และยูทูบ (YouTube) ข้อมูลเหล่านี ทาให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย แต่ยังขาดการคิดวิเคราะห์ว่าข้อมูลใดมีความน่าเช่ือถือ จึงควรมีความรู้ ในการคิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลที่สืบค้นได้ผ่านส่ือออนไลน์ และตระหนกั ถึงความสาคัญของการคิด วเิ คราะห์แยกแยะขอ้ มลู ทถ่ี กู ต้อง 44 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพ่อื ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

45 เรื่องท่ี 4เรสือ่ ภงทาพ่ี 4กาสรภณาก์ พากราใชรณ้กญั ก์ าชราใแชลก้ ะญั กชญั าชแงลใะนกตญั ่างชปงรในะเตทา่ ศงประเทศ ในปัจจุบันมีกว่า 30 ประเทศท่ัวโลกท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาเพ่ือทาการรักษาโรคได้ และอีก หลายรัฐในสหรัฐอเมรกิ า และยุโรปท่อี นุญาตให้ใชก้ ัญชาไดอ้ ย่างเสรี ในปี พ.ศ. 2556 สภาประกาศผ่านร่างกฎหมายให้ประชาชนสามารถใช้กัญชาเพื่อ นันทนาการ พักผ่อนหย่อนใจ จนอุรกุ วัยกลายเป็นประเทศแรกของโลก ที่เปิดกัญชาเสรใี ห้ผู้คนซือหา มาเสพได้ แตก่ อ็ นุญาตให้สามารถซอื กญั ชาไดเ้ ฉพาะร้านขายยาท่ีมสี ิทธ์ิจาหน่ายกญั ชาเทา่ นัน แคนาดาเป็นประเทศท่ีสอง ท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาได้อย่างเสรี หลังจากรัฐบาล นายกรัฐมนตรี จัสตนิ ทรโู ด ได้รบั เลอื ก โดยออกกฎหมายอนญุ าตให้ชาวแคนาดาท่ีบรรลุนติ ภิ าวะแล้ว สามารถครอบครองและใช้กัญชาเพื่อนันทนาการได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย เม่ือวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ในขณะท่ีได้อนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์มาตังแต่ปี พ.ศ. 2554 ซึ่งก่อนหน้านี การครอบครองกัญชาในแคนาดา ถือเป็นความผิดตามกฎหมายมาตังแต่ปี พ.ศ. 2466 หรือ 95 ปี นานเกือบจะร่วม 1 ศตวรรษ สถานการณ์กัญชาในสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันแต่ละรัฐจะมีกฎหมายการอนุญาตใช้กัญชา แตกต่างกันไป ขณะนีมี 33 รัฐ จาก 50 รัฐในสหรัฐอเมริกา ท่ีได้ออกกฎหมายอนุญาตใช้กัญชาทาง การแพทย์เพือ่ รักษาโรคได้ และมีอีก 10 รัฐ ท่ีสามารถใชเ้ พ่ือนันทนาการได้ รัฐวอชิงตนั และโคโลราโด เป็นสองรัฐแรกในสหรัฐอเมริกา ท่ีสามารถใช้กัญชาโดยไม่ต้องมีจุดประสงค์ทางการแพทย์ และต่อมา มีอีก 8 รัฐ ในสหรัฐอเมริกา ได้แก่ เนวาดา อิลินอยส์ อลาสกา ออรีกอน เวอร์มอนต์ รวมถึงกรุง วอชงิ ตนั ด.ี ซี. ทีไ่ ด้สนับสนนุ การใช้กญั ชาเพอื่ นนั ทนาการได้ สเปน อนุญาตใหใ้ ชก้ ัญชาในพนื ที่ส่วนตัวได้โดยไม่ผิดกฎหมาย เนเธอร์แลนด์ มกี ารอนญุ าตให้ขายกัญชาไดอ้ ยา่ งเสรใี นร้านกาแฟ อังกฤษ ได้คลายกฎเร่ืองกัญชาลง อนุญาตให้แพทย์สามารถส่ังจ่ายยาผลิตภัณฑ์จาก กญั ชาให้แก่ผู้ปว่ ยไดต้ งั แตว่ ันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 หลายประเทศทั่วโลกกว่า 30 ประเทศแล้ว ที่ออกกฎหมายอนุญาตให้ใช้กัญชาทาง การแพทย์ เพื่อนาไปรักษาผู้ป่วย รวมทัง อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย แคนาดา ชิลี โคลอมเบีย โครเอเชีย ไซปรัส ฟินแลนด์ เยอรมนี กรีซ อิสราเอล อิตาลี ลักเซมเบิร์ก มาเซโดเนียเหนือ นอร์เวย์ เนเธอรแ์ ลนด์ นวิ ซแี ลนด์ เปรู โปแลนด์ สวติ เซอร์แลนด์ และไทย ไทยเป็นชาติแรกในภูมภิ าคอาเซยี น ทอี่ นญุ าตใหใ้ ช้กญั ชาเพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์ ในต่างประเทศมีการศกึ ษาวิจัยกัญชาและกัญชงมานานกว่าในประเทศไทย มีการวิจยั และ พัฒนาสายพันธุ์กัญชาและกัญชงอย่างกว้างขวาง รวมไปถึงการศึกษาฤทธ์ิทางเภสัชวิทยา และการ รักษาโรคต่าง ๆ มากมาย เช่น การศึกษาเกี่ยวกับโรคมะเร็งปอด โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว โรคมะเร็ง สมอง โรคมะเร็งเต้านม โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก โรคมะเร็งช่องปาก โรคมะเร็งตับ โรคมะเร็งตับอ่อน รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ 45 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

4466 แจจเใแเใปโปโกกดดยยโโโโพพรรรรชชรราาังงัลลาา้ว้วรรคคคคคค้้กกีีไไยยนนแแยยะะะะมมออททลลััญญงงฟฟกกววเเ่ม่มััลลสสททููเเกกมมนนาาชชรรไไีกกี่่ววใใศศาาหหชชมม็ตต็ซซาานนนนาารรออัันนกกจจาาเเตตรรขขศศกกมมุุรรกกดดึึงง์์ศศณณึึโโาากกออซซุุกกจจยยปปกกึึรรกกรรรรษษิินนววะะาาัังงรรคคษษศศลล์์ััยยเเมมททโโาามมิิโโผผปปึึ่่กกาาาาดดรรววีีขขี่่ีปปาาววิิววววแแษษ็็นนคครริิจจ้้ออณณรรจิจิโโหหคคมมลลาาตตััยยดดมมะะยยัักกแแนนนนาา้้ออขขเเยยููลล((เเาาไไลลททTTัันนาางงงงัันนสสนนสสรระะดดออooศศื่อ่อื รรใใ้้ออ22ตต้้ออววยยาาuuออชชงงุุปปัักก้้นนยยิิจจจจูู่่ภภื่ื่rrนน้้ใใโโสสเเeeััยยนนรรใใาาสสกกาาปปนนหหttคคกกเเๆๆขขบบยยาาttกกรรหหรรกกนนeeรรใใเเะะีี่่ยยไไมมััฐฐรรััญญตตลลใใ’’าาดดสสววาาืืออsออsชชดด้้กกออ้้ชชแแิิกกททกกรร้้เเกกททSSาาดดาามมกกัับบกกธธัังงััญญรรyy่ป่ีีปแแทท่่รริิภภววกกดดnnหหโโลลชชลลิิกกาา่่ดดาาััญญรรููddแแรระะออาาาาพพลลคคืืออลล33rrชชกกแแดดเเooออกกสสปป00โโขขาาัญญัลลภภคคmmาางงะะแแออ็็นนะะยัยัปปชชรรรรเเลลงงeeกกหหบบกกนนแแรรงงรรแแะะ))ััญญเเัักกาา็็รรลลดดะะปปพพกก((งงแแืืออษษเเะะเเCCชช็น็นททััญญรรททงงลลเเหหาาrrงงิิสสัันนฐฐยยศศooยยะะชชขขใในนี่ย่ยีาาhhนนโโ์์งงออสสููแแใใททเเรรซซงงnnตตหหสสงงเเตตคคมมลล่ึ่ึงงดด’’ปปกก่่าาพพ้้ใใ่่ออssจจตตีีใใะะลลชชัังงญญนนนนตตผผะะ้อ้อกกDDปป้้ออกกใใตติดิดชชจจลลหหรรiiชชััญญรรงงss่่าา่่าาาาขขรรนินิ้้ะะeeใใจจงงใใยยชชกกมมาา้้นนaaเเนนปปึงึงงงใใาาททแแาาพพssพพยยหหผผเเรรใใรรตตeeศศคคัันนังังนนืืนนะะูู้้ปป้้ใใศศ))่ทท่ไไยีียนนเเททธธททใใมม่่ววึึกกโโททัังงงงุุ์์ชชผผกกรราายย่ีี่สสมม่่นนนนษษศศคค้้ิิเเงงววลลจจ่่ววีีผผีีสสกก้อ้อาากกนนปปหหุุ่่มมรรนนลลาารรววยยาาาาลลิิงงนนโโกกรรีีตตไไิิจจรรนนรรยยออดดศศัังงาาััแแััววยยคคัังงแแกก้้ชชเเรรึึกกพพททไไพพททลลปปเเววนนษษมมนนททาา่ืื่้้ออววี่่ีิิจจมมรริิดด่่ชชาางงเเยยยััยะะนนีีผผววธธััสสดดหหคคร์์รสสมมััลลนนิิจจออาาเเลลนนววาาาาจจกกัยยัรรททหหมมิิททนนรรัังงนน์์แแสสาานนรรออถถหหิิเเกกรรนนว่ว่ลลบบััสสาาึึงงงงนนววใในนนนัักกื่ื่ออรรปปกกปปนนิิจจาาใใบบััมมดดาารรรรผผััหหยยแแดดรร์์ะะะะใใูู้้ททปปโโััตตญญงงชชเเเเรรนนมมททททีี่่่่่่ชชกกวว้้ใใ่่ยยคคนนััีีนนออยยััศศดดศศาางังัเเออยยรรเเกกจจไไเเไไเเนนปปจจทททท้้าาดดูู่่ใใาารริินนนนนนดด็็นนยยรรยยสสิิงง์์ เเกไกไคคแแสสคคทททจทไไจรรดดททาาผผาาััรรณณญญ่ี่รรีาา่ืืออ่แ้้แยยกกหหออัันนกกงงะะชชกกงงกกททกกบบรรษษไไกกาา่่ททททับับัญัญีี่่าาชชคคาาปปรรรรยยผผ่่ีีััดดยยลลชชรรรร55แแแแ้ปูู้ปาามุมุเเมมเาาุุงงจจรพพลลกกตตว่่วททกกผผนน่อืะะแแยยทท้้ออสสาาตตปปปปปปปปังปงัปสสสสกกงลลเเรรตตงงยยาาาาภภแแรรมมรรรรรรรรฉฉาาทออไไะะาามมหหะะ์์ะะะะะะแแะะลลออมมพพาารราารรทท่ีเเปปเเเเเเรรผผเเะะแแส่ส่ยยพพาาหหบับัภภภภ5ภภภภภภ่่ีีดดัับบรรไไนนพพะะูู่่าาททาายยททททททกกททดดืืออททะะปปมมรรปปททรร่ี่ีใใาาทท้้รรตทตทาากกททททาาสหหาาททแแรรแแััยยจจัับบยย่่ี่ี่ออรราาี่ี่รร่่ีีี่ี่ะะภลล้้่ีี่เเผผ์ท์ท55จจ332244ศศถถกกณณสสยย11เเะะนน((าุุบบาาททกกแแาาSSาาพพตตยยตตตตตตพงงปป์์กกตตััรรรรนนศศยยppรราาาาเเเเาาาาาาักกัจัจัรรพพาาะะาาลลกกไไกeeรรรรรรรรัับบททใใจจรรษษททรรอือืัับบเเ่่ืืccออัับบาัััับบบบชชปปัับบุุบบรรยยใใiiกกาารรยยรรรaaยย้้ยยยยรรน็น็ชชออันันววยยััาากกณllััาากกภภาาาากก((ชชงงงงก้้กททแแาาปปษษททAAททแแษษรรจจสสาาอ่่อ์กททลลญญัั่ีี่หหจจััี่ี่ccออาาผผววะะ่่ีีไไาาาาาาดดะะาี่ี่ดดไไจจccมมโโะะททกกนนนนธธภภชชออดดตตรรรeeุบุบ้้รรกกออาากกุุรรญญไไาาคคกก้้าารราาใััssบบรรททลลันนัพพววรรววชรรััssหหบบาาแแณณ้้ออาางงมมมมยยใใืืนนะะบบััตตก้รรสสกกบบมมลลSSนนกกททีีสสคคบบยยใืืใออ11ccัญาาเเาาะะุุาาญญุุหห่่ีีขขมมลลาานน้้าาเเhh66กกธธรรรรกกพพแแนน่ื่ื้้ีีผผนนกกชืืออาาาาeeาารรเเแแญัญัตต่ือ่อืผผรรลลััปปญญตตรรหหไไััรรmmบบาพพปปนนื่ื่าาสสออณณิิศศตตภภรรแดดชชชชรรรรททee้้ออไไงง้ออุุ้งงึึใใกกาาเเออสสลบบััาาททงงกกนนขข))ยยกกงงาายยษษผผุุขขงงใใ))ะยยกกาาึึนน์์เเแแรรปปใใจจาานนจจสสหหกันนัง็็งตตผผจจใใรรววาาีียยมมใใปปหหนนญักก้้าานนโโะะิิจจนนกกนนคคปปกกาา้้กกดดเเรรไไััยยผผสสททชรรใใรรททรรออาาตตะะไไูู้้ปปนนาานนงงุุศศงงงรรงงยยดดเเาากกนน่่ออววผผคคาาททใยยแแรร้้ ภภยยาาไไนััูู้้ยยปปพพกก์์คคออัับบลลศศปปรรปปาาูู่่ววงง่่มมปวว..ยยะะไไววตตใใศศยยาาลลาายยรรชชททกกาาิิรจจาา..ใใมมนนออัับบททเเใ้ใ้าาตตะััมมยยยยสส22นนรรกกคครรววีี่่ไไ้้เกกททคค้แู้แูพพ55ททปปดดทแแณณ่่าาาาีีา่่าไไลล66ตตสส้้พพาารรรรรรดดศแแะะ22ะะงงััิิะะบบดดาารรทท้้รรไนนกกททภภมมสสัักกใใยยไไััทบบยยะะหหรรผี่ีผูู่มมดดาาาาษษาา์์ททออยนนรรททิิดด้้รริิปปโโ้้กกเเาานนททาามมคคถถาาเเาาััญญโโงงสสุุญญขขษษใใกกมมรรหหเเชชญญ่ื่ืออคคออลลีีาาใใบบนนาา้้ผผมมนนงงรรตตืืาาออตตาาดดลลกกแแกกปปออาากกบบจจไไิิตตขขรรมมาาาารรววาาััดดททมมรรง็็งภภะะหหกก้้กกแแ55กกเเัังงััณณรรโโาาสสภภภภพพนนรราาณณรราาปปาาฑฑททคครรีีททววแแนนววีีจจรรแแ์์กกััตตลลยยลละะัักกะะาา55พพััญญถถมม์์แแปปะะเเงงเเปปุุดดภภททชชผผททาาววยยชชิิบบ็็ัันนนนนนกกดดททยย่ีี่มมาาาา์์ีี 46 หนังสอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชีวติ เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

4477 เไเทโทใใปโขโอโอไปขวททปทปวอทอภภดดรมนนมริิธธััััมมออกกจัจั่่ววัั่ีม่่ีีีมด่ดรรคคสสยย่่หหีีออตตรระะงงจจพพืืเเออีีกกปปัชัชแแสสื่่ืนนาาา่า่ตตลลสสุุบบญัญัตตฤฤงงพพกกรรลลบบัับบไไาาาาัั่่นนออกกกกชชัับบมมรรรรออททททยยษษาาาาแแ่่ไไชชััยยบบใใกกยยททททาายยดดเเ์์นน่่ลลววาาปปยยปป์์แแรรออ่ี่ีี่่ีผผ้้รรผผแแกกยยะะขขัักกาา็็นนผผััรรัักกมมกก่า่าลลผผาาเเผผบบััแแษษนนะะสสนนลลจจพพษษรรนนูู้้ปปผผแแลลสสาา่่ววไไ่่รรกกาารราาาาไไททมมลลนน่่นนววิิาาญญววัักกาาตตววททภภททยยะะยยโโปปรรไไษษิิธธออแแยยาาดดททใใออททททมมออีีรรออาาววลลหหาายยบบยยะะ่่ีีีี่่ผผััมมะะกกโโืื่่ททนนะะหหะะ้้คคสสรรกกททรร่่าาเเีีออเเกกี่่ีออไไผผาาคคววรรสสรรมมออนนมม่ีี่ผผาาลลนนรรูู้้ปป็็งงบบุุภภปปบบบบกกกกกก่่ไไสส้้าารรุุญญ่ว่วคคาาดดผผาาาาาามมมมะะยยกกแแววใใุุรรมมูู้้้้ปปผผาารรรรเเหหยยกกททะะรรลลใในนตตออเเออลล่่ววชชะะัักก้้ผผะะญญคคีี่่มมะะืออืบบใใาายย้้กกสสททู้ปูป้รรหหลลอีอีแแผผกกหหชชรรทท็็งงญััญุุดดื่่ืนนว่ว่รราา้้ลลใใูู้้ปปาามมาาดดขข่ี่ีมมชชกกยยววททรรไไชชะะเเ่่กกววเเออสสีี้้ออททอองงใใาาขขกก้้ใใาาาายยาาชชงงสสรร้้ออหหาางงััอองงททรรยยรรมมกกไ้้ไลลกกาาาา็็งง้้งงคคใใดดาามม11ะะลลมมเเธธใใโโาาชชงงววจจโโ้้ นน66ีีรรสสใใเเ้้าาาาจจรร้้กกดดกกรรบบีีชชยยคคมม่่รรผผจจววุุกกาาััยยญญ็็งงตต้้นนกกคคพพณณู้้ปปูุุนนเเกกเเรรรรออาานนสสััชชใใบบุุมมาาแแเเ่่ววะะกกยยสสรรนนีียยสสืืออาารรออหหพพยยยยัับบาาภูู่ภุุ่ขขผผดดททีียย์์กกแแาาปปลลรระะททนนาาูู้้ปปปปดดิินนขขาากกออแแสสลลาายยยยัันนงง่่ววววนนสสาานนยยุุพพออดดใใ์จจ์ททกกยยดดรรตตัันนขขกกุุกกญญททาาสสททาา้้ออททมมขขก้้กาากกลลปปรรรร้้าางงยยออาา่่ีีไไววออออาาแแกกุุ่่รรมมดดยยรรแแตต์์นนััลลททรร่่งงออพพพพรระะ้้รรไไโโขขคคโโใใไไททาานนดดรระะสสบบััหหรรคคซซทท็็งงววงงออ้้คคททแแ้้คคาาเเเเุุยยณณ้้ใใยยบบเเโโกกงงมมททรรรชชรลลพพาาดด์์แแคคออรรใใอองงวว้้เเืืผผเเเเออยยาาหหผผุมุม็็สสงงาาคคปปงงรรลลผผกกรรเเออนนทท้้สสใใอ่ือ่ืดดมม์์น็็นปป์์ิิกกตตชชูู้้ปปโโไไยยาาไไิิมมูแูแีีบบตตรรดด็็นนิิททนน้้ภภโโผผ่่ธธววูู่่ภภลลแแคคาาดด้้นน้้คคเเูู้้าาปปยยััยยสสณณขขขขบบาาถถววยยััรรดดมมททัันน่่ววยยออ็็งงิิตตััดดาาฑฑออณณเเาายยี่ี่มมงงใใดดกกลล้้าาภภ์์กกออตตแแแแสสโโโโีีออาากกืืงงออรราารรััััญญลลลล้้พพกกุุขขนนาาออัังงคคววกกคค้้ววไไาาแแททกกววชชิิงงะะลลซซเเเเรรเเลลตตลลาายยาารรแแชชปปสสมมเเดดรร้้ววืืททาามม์ท์ทออ่่ลลนนีีววยยชชโโููแแททมมรรออ่ี่ีาาไไรรดดะะกกใใงงัักกลลดด้้ออััตตนนงงงงคครรแแรรปปัันนททขขททร้้รกกงงาา์์สสปปัับบหหรร่ีี่รรับับโโผผออรราา่ีี่มมโโ่่ววลละะรรบบรรกกัั ููดดาารรกกอองงนนีีออคคสสออออษษแแแแแแแแยยนนขขาาาากกววปปงงหหลลาาพพพพสสญญุุกกททออิิตตตตปปยยววะะ้้งงรรททททาางงททาาาากกรรดาดาสสรรกกรรยยตตยยผผรรกกะะีี่่รรกกเเพพัั่่งงนนาา์์ััมมแแ์์บบูู้้ปปัักกสสแแแแััจจงงคครรออืื่่ผผออษษววาา่่ลลยยวว่่ลลาาใใุุณณนนททนนลลยยชชยยยยะะาาาาะะ้้ ทCอทอCเเจจสสกชกชรรมออวคมวครระะิิททาาาาBัBัยยััยยืืดดญญออหหาาอ่่อืื คคมมยยDD่่าา่่งงยยาาเเาาชชจจไไงงงงญญัักกงงะะจจ))าาววททาาสสนนททมมาาุุยยรรศศิิททววยยมมทรทราาีี33าา่ีี่าายย่่าา44คคแแแแกก66บบ่ี่ีววสสสสสสาาคคืืออพพลลเรูรู””ตตจจกกลลรซซกกนนะะณณททุุฬฬรรััจ11จดดััมมือ่ยย((ึ่ึ่ัังงดดเเฟฟ11ยย์์..าากกไไปป์์ จจาางุมุมถถกก33ดด))ใใิิ์์ลลกกววรรลล้้าาทาาศศููหหกกาามม55้ใใ้่่โโาาิิกกปปมมงงกกหหหหรรรราาวว่ี้้ขขสสออาากกกกปปปป6กกแแมมคคสสิิธธข้ข้้้าาออรรรรงงาาิิัันนพรรพีีญญหหตตมมใใ้อ้อาาเเมมณณรรกกดดะะสสยยสสททมมาารรรรมแแููลลชชเเาาววทท์์รรมมืื์์สสาาออลููลททยยพพไไาาุมนนสสรรถถจจ่ี่ีไไหหุุววมมดดมม์์ศศออททดด่่ววใใรรมาาสสาา้้ววีีาามมุุสสททยยชชัักกนน้้ผผยยรรัั่่งงาารรอววคคาามม้้าา่่าาษษ์์คคยย้กก้ลลไไปปออบัับิิททรรงรรยยออดดงง์์มมาาีีชชกกญััญััรรจจปปัักยยงงไไงงขขนน้้ออโโออััดดททรรจจททาานนรราออแแ11ออาาชชงงบบุุเเบบลลี่ี่คคี่่ีเเรเเยยงง00ลลจจกกบบ11กกาาปป้้ััยยาาไไัันนใกก00แแนนะะ99นนดดาาีย่ีย่แแงงชื้้ืออมมาากกงงพพเเ้้ววโโออลลกกเเนนก้รรรร((สสีียยกกหหาาขขมมททยย22่่ืืออววะะใใหหว่ว่ญับบรราา้ออ้าาื่ื่ออ่่))าาชชยย่่าางงกกนนบบรรรรกกาางงงงวว้้คคปปกก์์เเชใใญัญัืืออยยแแกกรรกกจจ““ัันนชช11ััญญววรราิิหหเเนนบบััไไีีกกะะยยทท้้44ชชกกาาะะชชมมแชช่่าากกนนััใใญญรรมมิิััญญเเ่ี่ีงง่่งงชชรรปปลทท22าาญญััตตออสสแแปปชชขขจจ้้ชชกกใใรระิินนศศุุลลขขชชพพลลนนาาััดดรระะออาาััญญกภภะะาาออัักกฤฤททใใกกเเแแยยงงเเททญัททนนชชาาพพดดษษษษตตััาางงาา((บบพพาาศศ44าาททถถรรภภ่ื่ืออ่่งงตตภภ์์ชรรงงุคคุใใ))ววททืืกกออาาุุ่่ััเเงง้้ยยออกกาาแแนนงยย่่าาลลกกงงี่่ีธธตตาาววคคททงงาาลลขททกกีียยรร่่าาาารราาไไ้้ออรรคคมมะะาามมอาาววรราาแแผผรรแแกกงงววงงปปรรยย่่เเงงเเมมงิิพพพพดดคคพพววรรรรชชขขรรแแกกาาบิิกกใใิิดดชช..ททททททืื่่้้ะะาาออรรพพศศสสชชาาฎฎใใุคาาถถเเยยออยยออาารรุุ..ขข้้สสหหททททกกึึหหงง์์ล์์ยยกกงงแแงง22ภภาา้้รรศศยยดดออาาออ่่กกมมาา็็าเเพพ55รรออาารร์์ออททงัังหหยยงงธธแแาาก66าาพพนนททบบงงาาี่่ี่่ไไาามมิิกกยย((คค22รรมมเเดดีี33””คคงงยยืืซซออาาแแนนทงงเเ้้รร))แแ์์ณณออรรีียยปปนนาามมนนยยพพัับบาสสคคบบบบยยนน็็นนีีบบยยัังงาากกงหหุุดดณณททดดททมมบบาารรุุคคเเกาา““งง้้ออปปยยีีดด่ี่กกีรรภภะะีีปปิิรรลลไไววาหหงงัั็็ดดกก้้นน์์าาบบาารราา่่าาาารรปปรลลลลนนออััษษบบพพสสยยกกบบะะแรรัักกงัังออวว่ิ่ิัังงงงรราารรเเขขะะพดดฐฐดดททิิททมมจจลลออโโททออชชาาาารร็็นนััทยยี่ี่ีีปปสสัังงงงาางงุุมมเเนน((คคททรรนนัังงททงงสสCCรรยเเจจททะะคคกก22าาะะนิินaaชชาาีี่่ตต์ ุุฬฬยยุุมมงงาากก00nnรรเเิิกกงง้้ออดดกกรระะาาตต22สสnnปปชชาางง็็แแนนฎฎสสลลaa้้กกออรรนนรรแแออพพััbbนนใใงงเเหหงงััดดะะิิดดจจรราานนกกรรiiททแแจจมมddจจื่อือ่คค้้งงะะเเรรคคัักกลลยยiiาาาาชชใใงงาาooววณณหหืืกก์์ยยษษออททนนิิรรงงะะllัังง,,้้์์ีีีี่่์์ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวิต 47 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

48 ทาอย่างไรให้ผู้ป่วยท่ีจาเป็นเข้าถึงยาได้เร็วที่สุด ถูกต้อง และปลอดภัย จึงต้องมุ่งเน้นเรื่องหลักฐาน เชงิ ประจกั ษ์ ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และใชอ้ ย่างมีสติ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.รุ่งเพ็ชร สกุลบารุงศิลป์ คณบดีคณะเภสัช ศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงนโยบายและงานวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในเร่ือง กญั ชาว่า จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย มีการส่งเสริมการวิจัยดา้ นกัญชา โดยความรว่ มมือของหลายคณะ มเี ปา้ หมายตงั แต่การปลูกและการพัฒนาสายพันธุ์ต่าง ๆ ซง่ึ ปัจจุบันมีองคค์ วามรู้ในหลายลกั ษณะ เช่น การได้สารสกัดกัญชาที่ไม่ได้มาจากต้นกัญชา เนื่องจากการปลูกต้นกัญชาต้องใช้เวลา 3 - 4 เดือน กว่าจะเก็บเกี่ยวและนาไปสกัด แต่กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทาให้สารสกัดนไี ปเกิดบนต้นไม้อ่นื ได้ โดยได้ปริมาณสารสกัดท่ีเหมาะสมและรวดเร็วกว่า และการพัฒนาสายพนั ธ์ุท่ีดี มคี ุณภาพ ให้สารสกัด ในปริมาณที่ต้องการ “ด้านกระบวนการสกัด มีการวิจัยเพื่อทาให้มั่นใจว่ามีความปลอดภัย และได้ ปริมาณท่ีเหมาะสม กระบวนการผลิตก็ทาการพัฒนาตารับที่เหมาะกับการใช้ ไม่ว่าจะใช้ทางปาก การเหน็บ การพ่น รวมถงึ มีการศกึ ษาเรื่องความปลอดภยั ในการใช้ในคนและในมติ ิตา่ ง ๆ เพื่อใหแ้ น่ใจ ว่าใชแ้ ล้วไม่เกิดการติดหรอื การนาไปใช้ในทางท่ีผดิ ถา้ มีผลข้างเคยี งจากการใช้ยาก็ตอ้ งติดตามได้ หลัง กระบวนการเสร็จสินจึงจะนาไปขึนทะเบียนเป็นยา จะเห็นว่าขันตอนเพื่อให้ได้มาซ่ึงยานันไม่ได้ ตอ้ งการเพียงยาท่ีรักษาโรคเทา่ นนั แตย่ งั ตอ้ งการยาทม่ี คี วามปลอดภยั มมี าตรฐาน และมคี ณุ ภาพ” 3. ศาสตราจารย์ นายแพทย์ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ระบุถึงการใช้กัญชาไว้ว่า “ห ากใช้ใน ปริมาณ ที่เกิน กาหน ดอาจจะทาให้ เกิดผลเสียต่อผู้ป่วยมากกว่าการรักษ าเยียวยา ” เช่นเดียวกับทางด้านของ นายแพทย์ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา (อย.) ที่มองว่า “แม้กัญชาจะมีสรรพคุณเป็นยาท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในบางโรคแต่ถ้าใช้ กัญชาอย่างไม่ถูกต้องและไม่มีการควบคุมก็จะเป็นอันตรายต่อผู้ใช้และสังคม” จึงจาเป็นต้องมีการ กาหนดใช้กัญชาเพื่อการแพทย์ ด้วยการผลิตเป็นยาเท่านัน ไม่อนุญาตให้มีการนาไปใช้ประโยชน์ อย่างอ่ืน เช่น ผสมในอาหาร หรือผลิตเพื่อการค้า เน่ืองจากสถานการณ์ ในขณะนีมีผู้ใช้กัญชาเพ่ือ บาบัดรักษาอยู่ท่ีประมาณ 1 แสนคน แต่เป็นผู้ที่มีความรู้ในการใช้กัญชาอย่างถูกต้องเพียง 200 คน เท่านัน และยังมองวา่ “เป็นบทบาทของกระทรวงสาธารณสุขท่ีจะต้องเร่งผลิตแพทย์ และเภสชั กรท่ีมี องค์ความรู้ในการใช้กัญชาเป็นยารักษา รวมทังเร่งวิจัยและผลิตยาจากกัญชาให้เพียงพอต่อความ ต้องการของประชาชน” ส่ิงที่พึงกระทาในปัจจุบันจึงควรเป็นการให้ความรู้อย่างรอบด้านเรื่องกัญชา กับทุกภาคส่วน รวมถึงประชาชนท่ีต้องการใช้กัญชาให้เข้าใจถูกต้องก่อน เพราะหากผิดพลาดไป อาจยากตอ่ การควบคุมจัดการ “เราจะเร่ิมแล้ววิ่งเลยคงไม่ได้” ต้องดูด้วยว่า “วุฒิภาวะของสังคมไทย พรอ้ มแล้วหรอื ยงั หากจะให้กญั ชาไปไกลกวา่ นี” 48 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวิต เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

49 นอกจากนีราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย แถลงเรื่องการใช้กัญชาทางการแพทย์ ว่าอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดอาการทางจิตเวชได้ ในมุมมองของจิตแพทย์ สรุปการแถลง 8 ประการ คือ ประการท่ี 1 กัญชา (Marijuana) มีฤทธ์ิเสพติด เป็นพืชท่ีมีช่ือเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า “Cannabis” มีหลายสายพันธ์ุ ไม่ใช่เฉพาะแต่เพียงกัญชาเท่านัน (เช่น กัญชง ซ่ึงเป็นพืชที่มีการนา ลาต้นมาใชป้ ระโยชน์ได้) ประการที่ 2 สารสกัดหลักจากกัญชา คือ “สาร Cannabinoid” มีอยู่หลายชนิด เช่น แคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) โดย ปริมาณของสาร แคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) ท่ีมีอยู่ในพืชตระกูลนี จะมีปริมาณที่แตกต่างกันไป ตามสายพันธ์ุ และวธิ ีการปลกู ประการที่ 3 กัญชามีฤทธ์ิทาให้เสพติดได้จริง โดยเกิดจากฤทธ์ิของ สารเตตราไฮโดร แคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ที่ในเบืองต้นจะทาให้ผู้ใช้เกิดความรื่นเริง ผ่อนคลาย ดึงดูดให้ใช้ติดตอ่ กันเรื่อย ๆ และกลายเป็นการเสพตดิ ในที่สุด โดยผู้เสพอาจนาส่วนต่าง ๆ ของกัญชา มาทาให้แห้งเพ่ือสบู หรืออาจใช้ในรูปแบบนามนั ประการท่ี 4 กัญชามีฤทธ์ิรบกวนการทางานของเซลล์สมอง และสามารถเพ่ิมความเสี่ยง ต่อการเกิดอาการหรือโรคทางจิตเวชได้ เช่น วิตกกังวล ยาคิด หลงผิด หวาดระแวง หูแว่ว ประสาท หลอน อารมณ์แปรปรวน ก้าวร้าว ซึมเศร้า ฆ่าตัวตาย หลงลืม ไม่มีสมาธิ สมองเส่ือม โดยเฉพาะผู้ท่ี ใชต้ งั แตว่ ยั เด็กและวัยรนุ่ ประการที่ 5 กญั ชาไมว่ า่ ในรปู แบบใดกต็ าม ปจั จุบนั ยงั ไมม่ ที ใี่ ช้ในการรักษา โรคทางจิตเวช ประการที่ 6 บุคคลท่ัวไปไม่ควรใชก้ ญั ชา โดยเฉพาะเด็กเยาวชนและผูป้ ่วยเปน็ โรคทางจติ เวช ประการที่ 7 การให้ขอ้ มูลเก่ยี วกบั ผลของกัญชา (ทงั ประโยชน์และโทษ) ควรระบใุ ห้ชัดเจน วา่ เปน็ ผลของ “ต้นกัญชา” จาก “สารสกดั ” หรือจาก “สารสังเคราะห์” ประการท่ี 8 สารสกัดจากพืชตระกูลกัญชาในบางรูปแบบ สามารถนามาใช้ประโยชน์ ทางการแพทย์ได้ แตจ่ ะต้องเป็นไปตามข้อบ่งชีมีหลักฐานทางการแพทย์ที่ได้มาตรฐานรองรับเท่านัน กล่าวโดยสรปุ บุคลากรทางการแพทย์ มีความคดิ เห็นว่าหากจะใช้กัญชาและกัญชงในทาง การแพทย์ต้องแจ้งให้ชัดเจน ว่าใช้ได้กับโรคใดท่ีได้ผลชัดเจน มีความปลอดภัยทางวิชาการ คุณภาพ ของสารสกัดจากกญั ชาและกญั ชง ตอ้ งระบุวิธีการสกดั หรือมสี ารปนเปอื้ นหรอื ไม่ การเข้าถึงอย่างเป็น ระบบ ทังระยะสันและระยะยาว รวมถึงมีการศึกษาเร่ืองความปลอดภัยการใช้ในคน และในมิตติ ่าง ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าใชแ้ ล้วไม่เกิดการเสพติด หรอื มีการนาไปใช้ในทางที่ผิด ซ่ึงในการผลิตยานันไม่ต้องการ เพียงยาที่รักษาโรคเท่านัน แต่ยังต้องการยาท่ีมีความปลอดภัย มีมาตรฐาน และมีคุณภาพ แม้กัญชา รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพือ่ ใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 49 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

5500 แแลละะกกััญญชชงงจจะะมมีีสสรรรรพพคคุุณณเเปป็็นนยยาาทท่่ีีเเปป็็นนปปรระะโโยยชชนน์์ตต่่ออผผูู้้ปป่่ววยยใในนบบาางงโโรรคค แแตต่่ถถ้้าาใใชช้้กกััญญชชาาออยย่่าางงไไมม่่ถถููกกตต้้อองง แแลละะไไมมมม่่ ีกกี าารรคคววบบคคุมมุ กกจ็จ็ ะะเเปปน็็นออันันตตรราายยททังงั ตตอ่อ่ ผผูู้้ใใชชแ้แ้ ลละะสสงงัั คคมม เเรร่ออ่ืื งงทท่ี่ี 77เรือ่มมงุมมุ ทมม่ี ออ7งงกกมาาุมรรใใมชชอ้ก้กงญญัักาชชราาใแแชลล้กะะญั กกชัญัญาชชแงงลขขะออกงงญั ผผชปปูู้้ งวว่่ ขยยองผู้ปว่ ย กกาารรดดแูแู ลลดดา้้านนสสขุขุ ภภาาพพขขอองงผผปูู้้ปว่ว่ ยยขขึนึนออยยู่กู่กัับบกกาารรททาาคคววาามมเเขข้าา้ ใใจจแแลละะกกาารรตตออบบสสนนอองงคคววาามมจจาาเเปป็็นน แแลละะคคววาามมตต้้อองงกกาารรขขอองงผผูู้้ปป่่ววยย โโดดยยเเฉฉพพาาะะคคววาามมพพึึงงพพออใใจจทท่ีี่ผผูู้้ปป่่ววยยมมีีตต่่ออกกาารรใใชช้้ยยาาถถืืออวว่่าาเเปป็็นนสส่ิิ่งง ทท่่ีีสสาาคคััญญออยย่่าางงยย่่ิิงง ออาาจจรรววมมถถึึงงกกาารรททาาคคววาามมเเขข้้าาใใจจวว่่าารรููปปแแบบบบกกาารรใใหห้้ยยาาเเปป็็นนทท่ีี่ยยออมมรรัับบไไดด้้หหรรืืออไไมม่่ แแลละะ สสาามมาารรถถพพััฒฒนนาาคคุุณณภภาาพพชชีีววิิตตไไดด้้ออยย่่าางงแแทท้้จจรริิงงหหรรืืออไไมม่่ ผผูู้้ปป่่ววยยใใชช้้กกััญญชชาาททาางงกกาารรแแพพททยย์์ดด้้ววยยเเหหตตุุผผลลหหลลาายย ปปรระะกกาารร รรววมมถถึงึงเเหหตตุผผุ ลลดดงงัั ตตอ่อ่ ไไปปนนีี ปปรระะกกาารรททีี่่ 11 ผผูู้้ปป่่ววยยมมอองงวว่่าากกััญญชชาามมีีปปรระะสสิิททธธิิภภาาพพมมาากกกกวว่่าายยาาตตััววออ่ื่ืนน หหรรืืออเเปป็็นนยยาาตตััววเเดดีียยววทที่ี่มมีี ปปรระะสสิิททธธิิภภาาพพสสาาหหรรัับบบบาางงออาากกาารร เเชช่่นน ตตะะคครริิวว ออาากกาารรปปววดด กกาารรออัักกเเสสบบ ออาากกาารรคคลลื่ื่นนไไสส้้แแลละะออาาเเจจีียยนนทท่่ีีมมีี สสาาเเหหตตมมุุ าาจจาากกเเคคมมบีีบาาบบดัดั ปปรระะกกาารรทท่ีี่ 22 ผผูปู้้ป่่ววยยพพจิิจาารรณณาากกััญญชชาาววา่่าดดตีีต่่ออสสุุขขภภาาพพมมาากกกกวว่าา่ ยยาารรักกั ษษาาโโรรคคชชนนดดิิ ออื่นืน่ เเนนื่ื่อองงจจาากกมมีี คคววาามมเเปป็็นนธธรรรรมมชชาาตติิ เเพพรราาะะกกััญญชชาาเเปป็็นนยยาารรัักกษษาาโโรรคคททีี่่เเปป็็นนสสมมุุนนไไพพรร เเปป็็นนออัันนตตรราายยนน้้ออยยกกวว่่าายยาารรัักกษษาาโโรรคค ชชนนิดดิ ออื่่นืนทท่ีเี่เปป็นน็ สสาารรเเคคมมีี ปปรระะกกาารรทท่่ีี 33 ผผูู้้ปป่่ววยยหหาาททาางงเเลลืืออกกออื่่ืนนสสาาหหรรัับบยยาารรัักกษษาาโโรรคคทท่ี่ีตตนนใใชช้้ตตาามมปปกกตติิ เเนน่ื่ือองงจจาากก ไไมม่่สสาามมาารรถถททนนออาากกาารรขข้้าางงเเคคีียยงงไไดด้้ เเชช่่นน ปปััญญหหาาเเกก่ี่ียยววกกัับบกกรระะเเพพาาะะออาาหหาารรแแลละะลลาาไไสส้้ ออาากกาารรงง่่ววงงซซึึมม ออาากกาารร ชชาา แแลละะออาากกาารรภภูมูมแิแิ พพ้้ เเปปน็น็ ตต้นน้ ปปรระะกกาารรททีี่่ 44 ผผูู้้ปป่่ววยยพพิิจจาารรณณาาวว่่าายยาารรัักกษษาาโโรรคคแแผผนนปปััจจจจุุบบัันนมมีีผผลลขข้้าางงเเคคีียยงงทท่่ีีสสรร้้าางงปปััญญหหาา เเชช่่นน ไไรร้้คคววาามมรรูู้้สสึึกก หหดดหหูู่่ หหรรืืออเเฉฉ่ื่ืออยยชชาา เเปป็็นนตต้้นน เเปป็็นนออาากกาารรไไมม่่พพึึงงปปรระะสสงงคค์์ทท่ีี่สสาาคคััญญซซ่ึ่ึงงเเปป็็นนผผลลมมาาจจาากกยยาารรัักกษษาา โโรรคคแแผผนนปปััจจจจบุุบนััน ผผููปป้้ ่่ววยยสส่่ววนนมมาากกพพบบวว่่าากกััญญชชาาททาางงกกาารรแแพพททยย์์เเปป็็นนววิธธิ ีีกกาารรรรัักกษษาาทท่ีมีม่ ีีปปรระะสสิิททธธภิภิ าาพพสสาาหหรรบัับออาากกาารร ขขอองงตตนน แแลละะผผูู้้ออื่ื่นนกก็็สสัังงเเกกตตเเหห็็นนคคววาามมเเปปลลีี่่ยยนนแแปปลลงงใในนททาางงทท่ีี่ดดีีขขึึนน โโดดยยใใชช้้กกััญญชชาาสสาาหหรรัับบกกาารรรรัักกษษาาออาากกาารร เเพพ่ืื่ออบบรรรรเเททาาออาากกาารรตต่่าางง ๆๆ ขขอองงโโรรคค ชช่่ววยยใในนกกาารรรระะงงัับบออาากกาารร แแตต่่ไไมม่่ไไดด้้สส่่งงผผลลใใหห้้ออาากกาารรดดัังงกกลล่่าาววหหาายยไไปป จจึึงงไไมม่่ไไดด้้มมอองงวว่่าาเเปป็็นนททาางงออออกกสสาาหหรรัับบททุุกกออยย่่าางงแแลละะโโดดยยทท่ัั่ววไไปปไไมม่่ถถืืออเเปป็็นนกกาารรรรัักกษษาา บบาางงรราายยบบาาบบััดดดด้้ววยย กกััญญชชาาททาางงกกาารรแแพพททยย์์สสาาหหรรัับบบบรรรรเเททาาออาากกาารร ซซึึ่่งงสสุุดดทท้้าายยแแลล้้ววกก็็ไไมม่่ปปรระะสสบบผผลลสสาาเเรร็็จจหหรรืืออปปรระะสสบบผผลลสสาาเเรร็็จจ แแคค่่เเพพีียยงงบบาางงสส่่ววนน เเชช่่นน ปปััญญหหาาเเกก่ี่ียยววกกัับบกกรระะเเพพาาะะปปััสสสสาาววะะเเนน่ืื่อองงจจาากกโโรรคคปปลลออกกปปรระะสสาาททเเสสื่่ืออมม ((MMuullttiippllee SScclleerroossiiss)) แแลละะออาากกาารรปปววดดศศรีีรษษะะเเฉฉีียยบบพพลลนนัั เเปป็น็นตตนน้้ กกััญญชชาาททาางงกกาารรแแพพททยย์ถ์ถููกกนนาาไไปปใใชช้้ เเพพ่อ่อืื รรกัักษษาาออาากกาารร ปปววดดเเปป็็นนหหลลัักก แแมม้้วว่่าาออาากกาารรปปววดดจจะะไไมม่่ไไดด้้หหาายยไไปปโโดดยยสสิินนเเชชิิงง แแตต่่ผผลลจจาากกกกาารรใใชช้้กกััญญชชาาททาางงกกาารรแแพพททยย์์กก็็ลลดด ออาากกาารรปปววดดลลงงจจนนพพออททนนไไดด้้ บบาางงรราายยมมอองงวว่่าาปปรริิมมาาณณยยาายย่่ิิงงสสููงงยยิ่่ิงงมมีีปปรระะสสิิททธธิิภภาาพพมมาากกขขึึนนใในนกกาารรบบรรรรเเททาา ออาากกาารรปปววดด แแตต่่กก็็ปปรรัับบใใหห้้สสมมดดุุลลเเพพ่ืื่ออปป้้อองงกกัันนออาากกาารรขข้้าางงเเคคีียยงงทท่่ีีออาาจจเเกกิิดดขขึึนนไไดด้้ซซึ่่ึงงรรววมมถถึึงงออาากกาารรเเปป็็นนพพิิษษ 50 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวิต เพือ่ ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

51 ไม่รุนแรง แม้ยารักษาโรคตามปกติจะมีประสิทธิภาพในการระงับปวดมากกว่า แต่ผู้ป่วยก็เลือกใช้ กัญชาทางการแพทย์ ถึงแม้จะเกิดอาการข้างเคียงที่เป็นผลลบ ได้แก่ ปากแห้ง รู้สึกเมา ปัญหา เกี่ยวกับความทรงจา การรับรสไม่ดี เป็นลม และอัตราการเต้นของหัวใจท่ีสูงขึน แต่อาการข้างเคียง ดังกล่าวขึนอยู่กับปริมาณการใช้ยาท่ีมีกัญชาและกัญชงและความแตกต่างของแต่ละบุคคล ผู้ป่วย หลายรายท่ีนอนไม่หลับไม่ได้มองว่าอาการง่วงซึมเป็นอาการที่ไม่พึงประสงค์ ความอยากของหวาน จะเป็นปัญหาสาหรับผู้ปว่ ยท่ีใส่ใจกบั การรักษานาหนักของตนให้คงท่ี แต่ผ้ปู ่วยรายอื่นกลับมองว่าเป็น สิ่งสาคญั เนอ่ื งจากอาการสง่ ผลให้ตอ้ งรับมอื กับนาหนักท่ลี ดลง นอกจากนี เด็กหญิงชาร์ล็อต ฟีกี (Charllotte Figi) วัย 5 ขวบ ที่ปว่ ยเป็นโรคลมชักอย่าง รุนแรง (Dravet Syndrome) โดยมีอาการชักมากถึง 300 ครังต่อสัปดาห์ และได้ลองใช้วิธีการรักษา ทุกรูปแบบแต่อาการไม่ดีขึน จนกระท่ังได้ใช้นามันสกัดจากกัญชา ตัวอย่างการรักษา ชาร์ล็อต ฟีกี นกี ลายเป็นตัวอย่างที่โด่งดงั ไปทั่วโลก ทาให้คนทั่วโลกสนใจมหัศจรรย์กัญชารักษาโรค และความหวัง สุดท้ายจากกัญชา ครังแรกของการใช้นามันกัญชา พบว่าอาการชักลดลงจาก 400 - 500 ครังต่อสัปดาห์ เป็น 0 - 1 ครังตอ่ สปั ดาห์ และทาใหเ้ ธอสามารถกลบั มาเดนิ พดู เตน้ รา รา่ เรงิ และใชช้ วี ติ ไดอ้ ย่างปกติ รวมทัง ผู้ป่วยท่ีเคยใช้กัญชาเป็นยาในการรักษาคือ นายวิชัย ทองสวัสดิ์ ได้เล่า ประสบการณ์ว่า “เม่ือ 4 ปีก่อน มอี าการผิวหนังพุพองท่ัวรา่ งกาย เมือ่ เรมิ่ มีอาการอักเสบจึงไปตรวจท่ี โรงพยาบาล พบว่าเป็นมะเร็งผิวหนังระยะที่ 4 หมอบอกให้ทาใจเพราะเป็นระยะสุดท้ายแล้ว อยู่ ในชว่ งลุกลามหมดทางรักษา ให้ได้แต่ยาแก้ปวดมากิน ผมก็ทาใจเพราะคดิ ว่าอายุขนาดนแี ล้ว ต่อให้ไม่ ป่วยก็คงอยู่อีกไม่นาน แต่ตอนนันลูกสาวหากัญชามาให้ใช้ ทาทังตัวเหมือนทาโลช่ัน ทาเช้าทาเย็น แล้วก็กินและหยดใต้ลินเพื่อให้หลับ จากที่เคยปวดแสบปวดร้อนก็ค่อย ๆ หาย เม่ือก่อนผิวหนังมีกลิ่น เหม็นและเต็มไปด้วยนาเหลือง แต่พอทาไปได้สัก 6 เดือน แผลก็เริ่มแห้งลง จากท่ีลุกเดินไม่ไหวก็เดิน ไดป้ กติ สาหรบั ผมการมชี วี ิตอย่จู นถงึ ทุกวนั นถี ือว่าเป็นเร่ืองเหลอื เช่อื แล้ว” กล่าวโดยสรุป ผู้ป่วยมีความเห็นว่าการใช้กัญชาและกัญชงต้องคานึงถึงความจาเป็นและ ความต้องการของผู้ป่วย โดยเฉพาะความพึงพอใจท่ีมีต่อการใช้ยา ในการจัดการอาการ เพื่อบรรเทา อาการต่าง ๆ ของโรค ถึงแม้จะเกิดอาการข้างเคียงที่เป็นผลลบบ้าง แต่อาการข้างเคียงดังกล่าว ก็ขนึ อย่กู บั ปรมิ าณการใชย้ าทีม่ ีกัญชาและกญั ชง และความแตกตา่ งของแตล่ ะบุคคล รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 51 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

5522 ถถาามม กกญัญั ชชาาชชวว่่ ยยใใหห้เเ้ จจรริญญิ ออาาหหาารร จจรรงิิงหหรรอืือไไมม่่ ตตออบบ เกจเจกนนรราาื่ออ่ืงิิงรรงงใใเเชชจจพพเ้เ้าาปรปรกกาาน็็นสสะะยยาาสสมมาาาาสสาารราารรใใหหถถนนไไรรกกปปบัับัญญั จจกกชชบับั รราากกะะมมบัับตตคีีคุนุ้้นตตณุุณกกวัวั สสรราาับบัมมรรออคบคบยยววัตตั าาาาิกกิ กกมมรรออรระะาูส้าสู้ ตตหหกึกึ ุ้นุน้ าาบบกกรรรราาใใเิิเนนรรววออผผณณยยู้ปู้ปททาา่ว่วกกาายยงงออเเเเออาาดดหหดดินินาาสสออรร์อ์อาาไไกีกีหหดดดดาาจ้้จว้้วรรรรยยิงิงแแลละะมมีี ปทคเเแแเแแทเทอชชจจปคชทชอออรรงงััลลุ่จุ่จขูู่่ขวหหนวนรรี่ี่ี่ี่โโมมเเืื่่ออหหรรยยะจะจะะนนชชิิ่่ดดีีงงอองงงงเววเสสาพพาแแีียยาาหาาหจจพพททดัดัรราานนรรตตาากกรรนนะะททยยนนรรกก่ี่ีกกิิะะญญาาทท่ึ่ึงง88าาก์์กเเคคขขบัรับรเววสสททออรบบี่แีแ่ ิินนรรเเัันนออกกื่อ่อืกกาาี่่ีอ่ืเเขขรราาสสแแแแแแแแแแแแกปปกปกกปสสอองงกกาาหหมมรราาง็็งลลงนัันปปหหหหหหหหหหหหรรลลลลััออจจิิดดรรภภ็็งมงมชชาาแแทเเแแุุ่่่ง่่งงงง่ง่่่งง่่่ง่งงงุุ่่่จจรรมมกกขะมะขมรรจจจจสสขขาาาาโโททททททพททพทททท่ีะะุุบบเเอเเอดด้้โโกกาาาาโโง็็งีมมีพพผผ8ฉฉททรร่ีีี่่่่ีีี่่ี่ี่ี่ีี่่ีทเเทรรกกพพัังนงน))ยยาา532461123564ททูู้้ปปีียยลลคคคคกกกกศศยยกกแแปปมรรมงงศศ่่มมววใใททททลาาแ์ลสแ์ไไาาพพะะีีคคนนใใววโโโโโโโโโโโโยยชชไไทท่ี่ีผรรผ้้ตตาารรี่่ีรรรรรรรรรรรรยยภดดททลททลรรทท22กััก11มมมมณณนงงงงงงนงงงงงง้้ยยาาเเะะิาินนยยยยี่ี่มมตตททพพพพพพพพพพพพมมีีเเออออปปเเยยพ์์แแนนิิกกแ์แ์ี่่ีออรรออกก่ดี่ดี่ือื่อยยยยยยยยยยยยกกาาภภััจจะะททลลิ่ิ่กกืืออมมามมาลลกอือืยยลลาาาาาาาาาาาาหหลลจแแจััยยััะะงงกกััญญบบบบบบบบบบบบาาทตทตใใุุ่่มมาะะาาุบุบรรุุ่่มมนนภภแแเเาาหหววาาาาาาาาาาาาอ่อ่ภภรรรกก่วััว่ขขชชโโนัันขรขรีีโโููยยเเัันนลลลลลลลลลลลล้้รรบบรคครยยณจจบบาสสารรจจันันนสนสัังงททคครมรลพอรอมพลรา่่าาา่ัั่ททงงะะคคชชััรรุุกกศศถถ่ัง่ังขขาะตตะางง์แาดุาุดแแหหคคยยีีุ่่ทุทเเิิกกาากกจจททเเืืรรกกออชช11ปปยยปาาปสสผผรออร้้าาาาลาางงธธ่า่ารราาี่่ีาาบ77บอใอใเเออิดดิธธาีาีรยรยตนตนกกงงจจชชนนยยปปะชชรรยย่่ออางางงงรุุราาททออใใดดาาััาางงปปนิินสสตตขคค้้็็นนกกนนหหนนีีชชนนรรหหยยทท่ีี่ผผรรขขิิงงจััจาารรลลั้นคคาา้บบ้นนีีาาแแัับบแู่แู่ภภ่่าาหหับับรร้้ววาาออจจิิมมรรนนลลรรคพพคตนนบัับชรรชััดดแแงงาาาาบุบุลลใใิกิกััิิิินนนนรรงงแแกกกกททคคยยอยยปปผผมมนัันหหจจาารรขขิิกกาากกกกมามาใใยยนผผนนรรรรงัางัา้บ้บนนผผรร็็งงัักกปปััญญ์์ญญแแาาูู้้หปหปผผชชไไก11เเฝฝพพปู้ปู้ททรรััจจญญทกทกววผผู้ปปู้สสว่ว่วว66ชชชชาึึกก..่วว่กิกิีี้้ดดนนออรรนนดััดยยศศีมมียยวว่่ชชราาออาายย็็งงปปงงาาบบพพไไยย..ทาทาตาตาใเบบเคคททไไททรรรรปปไไใใุุรร22หษิเเิษ่ี่ีททมมาาดดรรรรดดีม่ีม่นนพพะะคคยยีี็็55นนรรณีีณออ้้มมััาา้บแแงงเเ้้สสีอีอแแใใื่ื่ออบับัลล66พพเเใใแแาา22นนกกถาถาาาุรุโโกกหห22รรแแิินนกกืื่่ออลลรรทท่่กกโโาาจจกิ่่ัักกกกลล้้เเผผรราากกกกดดใใิกกิเเาากกาากกาลลษษปปะะหหงงรรูู้้ออปปรราานนกกลลิิดดรพุ่ม่มพุยยททิิดดเเาาลลาา้้นนกก่่วววว้้าามมญัญัออคััโงงโกกททยย้้มมททออาายยนนรรมมเเ่ื่ืาาเเออลาาาารรจจงาางปป่่ีีโโสสคคโโชชกกเเรรบรรบผผววรรงงร1ร1นิุกุกีีนน็็ยยนนาาคคาางงัักกัักกููคคนนดดกก44าาเเงงืืกิคคออพพรรใใลลสสลลาาษษงังัแแเเพพททนนททลลแแกรรหหืน่นื่ยีียยยนนรรศศหหาารรีี่่ืืิินนหห้้ออออดดปปแแัญาาไไดดีีููนนพพบบรร22สสบบิกกิ่ง่งปปรรงงพพเรรเดดยย44ยยช้อ้อผผัักกงงเเาาผผววะะปททปึึ์์กกพพาาาาททููลลกการรแดดแูู้้มมปปเเรรบบยยเเ่ื่ืออ็็ี่ี่มมททงงใออมมลทลท((จจิิ่่ะถถะวว์์ลลโโาารรนใใหหยยีีะะียียออยยอ้้อศศกรกรุุนนนนลลัักกาา่่โปโาานนคาาคออาางงออไไดดษษาารรผผงงรรมมกกััททททจจผผมมบบรัังงยยบบูู้้แาาแปปาาววาาาาูู้้พพปปะพพาดาดยยททชชนนรรททนน่่กกรรววงงเ่่ฤฤว้ว้ววยยงงนนาาี่ี่นนทเเททยแยแยยกกยยคคงงาพพา22คคผผผผโโอออ้้อศกกษษโโบบมมรร..รรรรูู้้นนปปงงนนขขศศาาไ์์าาีบบีคครรคคทออโโ่่รรออววลลไไ..าาาาปปบบมมลลแแััมยมยงงชชททยบบ22รรมม่ล่ลพพหหททจจพพสสั่่ัวว55ัดดั าาชชออะะลลททววีีมมไไาา66ณณปปัักกีีมมััปปกกบบตตยย22าาีี์์ 52 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ เพื่อใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

53 แหง่ ที่ 7 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จงั หวัดนครสรรค์ แหง่ ท่ี 8 โรงพยาบาลสระบรุ ี แห่งท่ี 9 โรงพยาบาลขอนแก่น แหง่ ที่ 10 โรงพยาบาลบุรรี ัมย์ แห่งที่ 11 โรงพยาบาลสรรพสทิ ธปิ ระสงค์ จงั หวดั อุบลราชธานี แหง่ ท่ี 12 โรงพยาบาลสุราษฎรธ์ านี แหง่ ท่ี 13 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา แห่งที่ 14 โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี ในโรงพยาบาลชุมชนมีคลินิกกัญชาการแพทย์แผนไทยที่เปิดบริการในโรงพยาบาลอาเภอ ส่ังจ่ายยาตารับ 16 ตารับ จานวน 12 แห่ง และโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ผสมผสาน ประกอบด้วย แห่งที่ 1 โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเด่นชยั จังหวดั แพร่ แหง่ ที่ 2 โรงพยาบาลบางกระทุม่ จงั หวดั พิษณุโลก แห่งท่ี 3 โรงพยาบาลหนองฉาง จังหวดั อุทยั ธานี แห่งที่ 4 โรงพยาบาลเสาไห้เฉลมิ พระเกียรติ 80 พรรษา จังหวัดสระบุรี แหง่ ท่ี 5 โรงพยาบาลดอนตูม จังหวัดนครปฐม แหง่ ท่ี 6 โรงพยาบาลพระอาจารย์ฝ้นั อาจาโร จังหวดั สกลนคร แหง่ ท่ี 7 โรงพยาบาลพล จงั หวดั ขอนแก่น แห่งที่ 8 โรงพยาบาลคเู มอื ง จงั หวัดบุรรี มั ย์ แห่งท่ี 9 โรงพยาบาลพนา จงั หวัดอานาจเจรญิ แหง่ ท่ี 10 โรงพยาบาลท่าฉาง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี แห่งที่ 11 โรงพยาบาลปา่ บอน จงั หวัดพัทลุง แหง่ ท่ี 12 โรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน (ยศเส) กรงุ เทพมหานคร สาหรับคลินิกวิจัยนามันกัญชาทางการแพทย์แผนไทยตารับหมอเดชา จานวน 22 แห่ง ประกอบด้วย แห่งท่ี 1 โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเด่นชัย จังหวัดแพร่ แห่งท่ี 2 โรงพยาบาลเถิน จังหวัดลาปาง แห่งท่ี 3 โรงพยาบาลบางกระทมุ่ จังหวดั พิษณุโลก แหง่ ที่ 4 โรงพยาบาลพระยุพราชนครไทย จงั หวัดพษิ ณุโลก แหง่ ที่ 5 โรงพยาบาลดอนตูม จงั หวัดนครปฐม รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต 53 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

54 แห่งที่ 6 โรงพยาบาลสวนผงึ จังหวดั ราชบุรี แห่งที่ 7 โรงพยาบาลศรปี ระจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี แหง่ ที่ 8 โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จงั หวัดระยอง แห่งท่ี 9 โรงพยาบาลพล จงั หวดั ขอนแกน่ แหง่ ที่ 10 โรงพยาบาลพระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร จังหวัดสกลนคร แหง่ ที่ 11 โรงพยาบาลวานรนวิ าส จังหวัดสกลนคร แหง่ ที่ 12 โรงพยาบาลสวา่ งแดนดนิ จงั หวัดสกลนคร แหง่ ท่ี 13 โรงพยาบาลห้วยเกิง จังหวัดอดุ รธานี แห่งท่ี 14 โรงพยาบาลหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบวั ลาภู แหง่ ที่ 15 โรงพยาบาลคูเมือง จังหวดั บรุ รี ัมย์ แห่งท่ี 16 โรงพยาบาลพนา จงั หวดั อานาจเจริญ แหง่ ที่ 17 โรงพยาบาลพระยุพราชเดชอุดม จังหวัดอบุ ลราชธานี แหง่ ที่ 18 โรงพยาบาลทา่ ฉาง จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี แห่งที่ 19 โรงพยาบาลป่าบอน จงั หวัดพัทลงุ แห่งที่ 20 โรงพยาบาลหนองฉาง จงั หวัดอุทยั ธานี แหง่ ท่ี 21 โรงพยาบาลตากฟ้า จงั หวดั นครสวรรค์ แหง่ ท่ี 22 โรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน (ยศเส) กรงุ เทพมหานคร นอกจากนี วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 กระทรวงสาธารณสุขได้ขยายบริการคลินิก กัญชาทางการแพทย์ ทังแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึงยากัญชาทาง การแพทย์อย่างปลอดภัย มีโรงพยาบาลที่ให้บริการทุกเขตสุขภาพแผนปัจจุบัน จานวน 110 แห่ง สาหรับคลินิกกัญชาการแพทย์แผนไทยเปิดบริการแล้ว 24 แห่ง ให้บริการตารับยาศุขไสยาศน์ ในกลุ่มอาการนอนไม่หลับ และตารับทาลายพระสุเมรุในผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต บรรเทาอาการเกร็ง กล้ามเนือ แขนขาอ่อนแรง ชา ซ่ึงขณะนีได้ผลิตเพิ่มอีก 2 ตารับ ได้แก่ ตารับแก้ลม แก้เส้น และตารับ ริดสีดวงทวาร เปิดให้บริการท่ี โรงพยาบาลมหาสารคาม โรงพยาบาลบรบือ จังหวัดมหาสารคาม โรงพยาบาลร้อยเอ็ด โรงพยาบาลทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงพยาบาลเลย โรงพยาบาลอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ซึ่งผู้ป่วยสามารถติดตามข่าว ขอคาปรึกษาว่าผ่านเกณฑ์การได้รับยากัญชาหรือไม่ ในเขตโรงพยาบาลใกลเ้ คียง 54 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต เพื่อใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

55 ภาพท่ี 5 โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภูเบศร ภาพท่ี 6 ป้ายชื่อโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร ภาพท่ี 7 ป้ายชือ่ คลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชีวติ 55 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

56 คลินิกกญั ชาทางการแพทย์แผนไทยทกุ แห่งตอ้ งมี 4 องค์ประกอบ ดงั นี องคป์ ระกอบท่ี 1 มีแพทย์แผนไทยทส่ี ั่งการรักษาผ่านการอบรมและไดร้ ับอนญุ าตจาก สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ภาพที่ 8 แพทย์ผเู้ ช่ยี วชาญ ภาพที่ 9 แพทยใ์ หค้ าปรึกษาคนไข้ ภาพที่ 10 คณะแพทย์และเภสชั กรผ้ใู หก้ ารรกั ษา ภาพที่ 11 ผปู้ ่วยที่เขา้ รบั การรักษา 56 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต เพ่ือใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

57 องค์ประกอบท่ี 2 สถานท่ีได้รับอนุญาตตามกฎหมายจากสานกั งานคณะกรรมการอาหาร และยา (อย.) ภาพผู้ ไดร้ บั อนญุ าต ชือ่ ผูไ้ ด้รบั อนุญาต ชอ่ื ตาแหน่ง ผู้อนญุ าต ภาพที่ 12 ตวั อย่างหนังสือสาคญั ผลิต ซง่ึ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต 57 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

58 องค์ประกอบที่ 3 เวชภัณฑ์ได้รับอนญุ าตผลิตตามมาตรฐานองค์การอนามัยโลก (WHO) – องคก์ ารเภสชั กรรม (GMP) ผ่านการตรวจวเิ คราะห์ คุณภาพจากกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ และ ไดร้ บั การอนญุ าตจาหน่ายยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท 5 ภาพ ผ้ไู ด้รบั อนญุ าต ชอ่ื ผไู้ ดร้ ับอนญุ าต ชอื่ QR ตาแหนง่ code ผ้อู นุญาต ภาพที่ 13 ตวั อยา่ งหนังสอื สาคัญ จาหน่ายซงึ่ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 58 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

59 ภาพท่ี 14 ตารับยากัญชาแผนปัจจบุ นั ยานามันหยดใต้ลิน ภาพท่ี 15 ผลิตภณั ฑ์นามนั กัญชา โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภเู บศร รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพื่อใช้เปน็ ยา หนงั สือเรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ 59 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

60 องค์ประกอบที่ 4 มีแนวเวชปฏิบัติ (CPG) ตามเกณฑ์การรกั ษาในคลินกิ กัญชาโดยการ ให้บรกิ าร จะมีการคัดกรองอย่างเป็นระบบ กกกกกกก เกณฑ์ทรี่ บั ผูป้ ว่ ยเข้ารบั การรักษาในคลนิ กิ กญั ชาในสถานบรกิ ารสุขภาพ กกกกกกก ข้อ 1 เป็นผู้ป่วยทีม่ อี าการหรือเป็นโรคที่เข้าเกณฑ์ตามแนวเวชปฏิบัตใิ นการเขา้ รบั การ รักษาดว้ ยตารับยาแผนไทยท่ีมีกญั ชาปรุงผสมอยู่ กกกกกกก ข้อ 2 ภาวะท่แี พทย์/แพทย์แผนไทย แพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ เห็นสมควรไดร้ บั การ รักษาด้วยตารบั ยาแผนไทยท่ีมกี ญั ชาปรุงผสมอยู่ กกกกกกก ข้อ 3 เพศชาย หรอื เพศหญิง มอี ายตุ ังแต่ 18 ปีขนึ ไป กกกกกกก ข้อ 4 ไดร้ บั การรกั ษาด้วยยาขนานแรกและวธิ ีการมาตรฐานทางการแพทย์แผนไทยแลว้ อาการไม่ดีขึน กกกกกกก ข้อ 5 ผ้ปู ว่ ยมสี ัญญาณชีพและอาการทางคลินกิ คงที่ (Vital Signs Stable & Clinically Stable) กกกกกกก ข้อ 6 มกี ารรับรู้และสติสมั ปชัญญะดี สามารถสอื่ ความหมายเข้าใจ กกกกกกก เกณฑ์ที่ไมร่ ับผู้ป่วยเขา้ รับการรกั ษาในคลินิกกัญชาในสถานบรกิ ารสุขภาพ กกกกกกก ข้อ 1 ผปู้ ่วยทีม่ ีประวัตแิ พ้กัญชาและสว่ นประกอบอืน่ ๆ ในตารบั ยาแผนไทยทมี่ กี ญั ชา ปรงุ ผสมอยู่ กกกกกกก ข้อ 2 ผปู้ ่วยทไ่ี มไ่ ด้รับการวนิ ิจฉัยตรงตามอาการหรือโรคตามแนวเวชปฏิบตั กิ ารใช้ตารบั ยาแผนไทยท่ีมกี ญั ชาปรุงผสมอยู่ ในสถานบริการสขุ ภาพ กกกกกกก ข้อ 3 ผูป้ ว่ ยโรคเรอื รงั ขนั รนุ แรงหรือไมส่ ามารถคมุ อาการได้ เช่น โรคหัวใจ ยังมีอาการ กาเรบิ บอ่ ย ๆ โรคความดันโลหติ สูงทคี่ มุ ความดนั ไม่ได้ เปน็ ตน้ กกกกกกก ข้อ 4 ผู้ปว่ ยทมี่ ีภาวะการทางานของตับและไตผดิ ปกติ กกกกกกก ข้อ 5 ผปู้ ว่ ยที่มีภาวะทางคลินกิ อน่ื ๆ ซ่ึงแพทยใ์ หค้ วามเหน็ วา่ จะเปน็ อันตรายต่อผู้ป่วย กกกกกกก ข้อ 6 อยูใ่ นระหวา่ งการตงั ครรภ์ วางแผนการตังครรภ์ หรือใหน้ มบตุ ร กกกกกกก ข้อ 7 ผปู้ ว่ ยโรคตดิ ต่อรา้ ยแรง หรือผปู้ ว่ ยโรคติดเชือในระยะแพรก่ ระจาย กกกกกกก ข้อ 8 ผูป้ ว่ ยท่ีเป็นโรคทางจิตเวช หรือมีอาการของโรคอารมณ์แปรปรวน หรือโรควิตกกังวล กกกกกกก ข้อ 9 ผู้ป่วยท่ีติดสารเสพติด รวมถงึ นิโคติน หรอื เป็นผดู้ ืม่ สุราอย่างหนกั 60 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

61 ขันตอนการให้บริการคลินกิ กัญชา มี 2 ขนั ตอนสาคัญ ขันตอนการใหบ้ ริการผู้ปว่ ยใหม่ และขนั ตอนการให้บรกิ ารผูป้ ่วยเก่า ดังภาพ ภาพท่ี 16 ขนั ตอนการใหบ้ ริการคลนิ ิกกญั ชา กล่าวโดยสรุป ประเทศไทยเริ่มให้บริการคลินกิ กัญชาครังแรก เมอื่ วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ท่ีโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี ต่อมาวันท่ี 17 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เปดิ ทีโ่ รงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จงั หวดั นครราชสีมา และวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2562 ได้เปิด คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลศูนย์ จานวน 14 แห่ง ตลอดจนภายในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยเพ่ิมเติมในโรงพยาบาลชุมชน จานวน 12 แห่ง รวมทังเปิดคลินิกวิจัยนามันกัญชาตารับหมอเดชา จานวน 22 แห่งอีกด้วย นอกจากนวี ันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 กระทรวงสาธารณสุขเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผน รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 61 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

62 ปัจจุบัน 110 แห่ง และคลินกิ กญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทย 24 แหง่ เพอ่ื เพิ่มการเข้าถึงยากัญชาอยา่ ง ปลอดภัยของผู้ปว่ ย เม่อื สภาพการณ์เปลยี่ นแปลงไปผูป้ ่วย ผู้รับบริการ หรอื ผู้เรยี น ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดกระบวนการเรียนรู้ (Learning Process) ในศตวรรษที่ 21 ใหม่ เนื่องจากความรู้ (Knowledge) มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ความรู้ไม่คงที่ ความรู้วันนีอาจไม่ใช่ความรู้วันพรุ่งนีอีกต่อไป กระบวนการเรียนรูจ้ งึ เปน็ ไปตามวัฏจักรของการสร้างปัญญา (Wisdom) อย่างไมส่ ินสุด ดงั ตอ่ ไปนี Learn > Relearn > Unlearn > Learn > Relearn > Unlearn เรียน > เรยี นรู้ > ไม่ยึดตดิ > เรยี น > มุมมองใหม่ > ไมย่ ดึ ตดิ ส่ิงจาเป็นและเร่งด่วนในตอนนี คือ เราต้องเรียนรู้ที่จะ Learn Unlearn และ Relearn ในความเป็นจริง การเรียนรู้นันไม่ใช่เพียงแค่การใส่ข้อมูลความรู้เข้าไปเพียงอย่างเดียว หากแต่การ เรียนรู้ท่ีถูกต้องประกอบไปด้วย การเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ (Learn) การไม่ยึดติดกับสิ่งท่ีเคยเรียนรู้มา หรือ กล้าลบสิ่งเดิม ๆ ทิงไป (Unlearn) และการเรียนรู้สิ่งที่เคยรู้ด้วยมุมมองใหม่ ๆ (Relearn) ทังนี ขนั ตอน Unlearn และ Relearn มักจะเกิดขึนพร้อม ๆ กัน เพราะการเรียนรู้ท่ีจะมีประสิทธิภาพมาก ท่ีสดุ คือ การเตม็ ใจและยนิ ดีทจี่ ะยอมละทิงสิ่งท่ีเคยเรยี นรู้มา แล้วลองค้นหาวิธกี ารใหม่ ๆ มาทดแทน แมว้ า่ วธิ กี ารนันจะเคยนามาซ่งึ ผลลัพธ์ท่ดี ีกต็ าม Explain > Experiments > Experience > Exchanges > Explain อธิบาย > การทดลอง > ประสบการณ์ > แลกเปลยี่ น > อธิบาย 62 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต เพื่อใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

63 กจิ กกรจิ รกมรทร้ามยทบ้าทยบท 1. กิจกรรมท่ี 1 คาชีแจง : โปรดเลือกตัวอักษรหนา้ ข้อที่ผู้เรยี นคิดว่าขอ้ นันเป็นคาตอบท่ีถูกตอ้ งท่ีสดุ เพียงข้อเดียว แลว้ เขียนคาตอบลงในกระดาษของผู้เรียน ข้อ 1 ปัจจุบันมีข่าวการจับกุมผู้ลักลอบผลิต และผู้ขายนามันกัญชาออกตามส่ือต่าง ๆ อยู่เปน็ ประจาทา่ นคิดวา่ เกิดจากสาเหตใุ ด ก. ผลติ ภณั ฑ์นามนั กัญชาใช้รักษาโรครา้ ยแรงได้ ข. การนาเขา้ นามนั กญั ชาจากต่างประเทศมีราคาสูง ค. กฎหมายเปิดเสรใี ห้สามารถใชน้ ามันกญั ชาในการรกั ษาโรคได้ ง. เกดิ จากความต้องการใช้นามันกัญชาของประชาชนในการรักษาโรค ข้อ 2 ผู้ป่วยในข้อใดไม่สามารถเข้ารับการบริการจากคลินิกกัญชา โดยมีแพทย์ หรือ เภสชั กรท่ไี ดร้ บั ใบอนุญาตให้รักษาโรคด้วยนามนั กญั ชาเป็นผดู้ แู ล ก. ชมพู เปน็ โรคอลั ไซเมอร์ ข. สม้ โอ เป็นโรคพาร์กนิ สนั ค. มะนาว เป็นโรคพิษสุราเรือรงั ง. องุ่น เป็นโรคปลอกประสาทเสอ่ื มแขง็ ขอ้ 3 ถา้ นักศึกษาจาเป็นต้องใช้นามันกญั ชาเพ่ือใช้ในการบรรเทาอาการปวดของโรคท่ี ตนเองเปน็ อยู่ ควรปฏบิ ัตอิ ย่างไร ก. พบแพทย์ หรอื เภสัชกรขอยานามันกญั ชามาหยอดใต้ลิน ข. พบแพทย์ หรอื เภสชั กรเพือ่ ขอใบอนญุ าตซือยานามนั กัญชาเองได้ ค. พบแพทย์ หรอื เภสชั กรท่ีได้รบั อนญุ าตให้รกั ษาโรคดว้ ยนามันกัญชา เพ่ือทา การรกั ษาตามอาการ ง. พบแพทย์ หรือเภสัชกรทไ่ี ดร้ ับอนุญาตใหร้ กั ษาโรคดว้ ยนามนั กัญชา ออกใบอนญุ าตเพื่อซือยานามันกญั ชาเองได้ ขอ้ 4 ขอ้ ใดตอ่ ไปนี มภี ูมิค้มุ กันในการคน้ หาขอ้ มูลผา่ นสือ่ สังคมออนไลน์ทถ่ี กู ต้องทสี่ ดุ ก. นาย ก ค้นหาข้อมูลจากส่ือออนไลน์ เพ่ือการเรียนรู้ ข. นาย ข ค้นหาข้อมลู จากสื่อออนไลน์ เพ่อื ส่งต่อให้เพอ่ื น ค. นาย ค คน้ หาขอ้ มูลจากส่ือออนไลน์ เพ่ือรวบรวม และเผยแพร่ความรู้ ง. นาย ง ค้นหาข้อมลู จากส่อื ออนไลน์ เพอ่ื วิเคราะหค์ วามน่าเชื่อถือของ ข้อมูล รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 63 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

64 ข้อ 5 นาย ก เป็นคนมีความวิตกกังวล หลงลืม นอนไม่หลับ ญาติจึงแนะนาให้เข้ารับ การรกั ษาท่ีคลินิกกญั ชาทางการแพทย์แผนไทย นาย ก จะสามารถเข้ารับการรกั ษาทค่ี ลินิกกัญชาทาง การแพทย์แผนไทยได้หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ก. ไม่ได้ เพราะคลินิกกญั ชาทางการแพทย์แผนไทยรักษาโรคท่วั ไปเท่านัน ข. ได้ เพราะคลินิกกญั ชาทางการแพทย์แผนไทยสามารถรักษาโรคทางจิตได้ ค. ไม่ได้ เพราะคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทยรักษาเฉพาะโรครา้ ยแรง เท่านัน ง. ได้ เพราะคลนิ กิ กญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทยสามารถรกั ษาอาการ หลงลมื ได้ 2. กจิ กรรมที่ 2 คาชีแจง : โปรดจบั คขู่ ้อมลู ท่ีอยู่หลังตวั อักษรทตี่ รงกับตัวเลขของขอ้ นัน ๆ หรือมี ความสัมพันธต์ รงกบั หัวขอ้ เลขนนั ๆ ใหถ้ ูกต้อง แลว้ นาตวั อกั ษรของหนา้ ข้อมลู มาใส่หน้าตัวเลข ตรงกับข้อนนั ๆ ........... 1. คลินิกกญั ชาการแพทยแ์ ผนไทยในโรงพยาบาลศูนย์ ก. ประเทศไทย ........... 2. คลินิกกญั ชาทางการแพทย์แห่งแรกของประเทศไทย ข. ประเทศแม็กซิโก ........... 3. ประเทศท่ี 2 ทอ่ี นุญาตให้ประชาชนใช้กัญชาได้อย่างเสรี ค. ประเทศแคนาดา ........... 4. อนญุ าตให้ประชาชนใชก้ ัญชาได้อย่างเสรี ในปี พ.ศ. 2556 ง. ประเทศอุรกุ วยั ........... 5. ประเทศแรกในภูมิภาคอาเซยี นทีอ่ นุญาตใหใ้ ชก้ ัญชาเพ่ือ จ. ประเทศมาเลเซยี ประโยชน์ทางการแพทย์และการวิจยั ฉ. โรงพยาบาลพล ช. โรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา ซ. โรงพยาบาลเจ้าพระยา อภยั ภูเบศร 3. กจิ กรรมที่ 3 คาชแี จง : โปรดทาเคร่ืองหมายถกู () หรอื เคร่ืองหมายผดิ () ลงหน้าขอ้ ตัวเลขท่ี ผเู้ รยี นอ่านข้อมลู แล้วคดิ ว่าคาตอบนีถูก ใหท้ าเคร่ืองหมาย () ถ้าคดิ วา่ ขอ้ มลู ทีอ่ ่านเป็นคาตอบทีผ่ ิด ให้ทาเคร่ืองหมายผิด () ........... 1. ประเทศอุรกุ วัย เปน็ ประเทศแรกทีเ่ ปิดใหใ้ ช้กัญชาไดอ้ ยา่ งกว้างขวางขึน และใน เดอื นสิงหาคม ค.ศ. 2014 (พ.ศ. 2557) อนุญาตให้ประชาชนปลูกกัญชาทบ่ี ้านได้ บ้านละ 6 ตน้ 64 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ เพื่อใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

65 ........... 2. หมอยาพนื บา้ นภาคใต้มีความเชื่อว่า นาใบกัญชาตาละเอยี ดผสมนาตม้ สกุ และพอกหนังศรี ษะประมาณครึ่งชั่วโมงแก้อาการผมรว่ ง คนั หนังศรี ษะได้ ........... 3. ประเทศมาเลเซยี เป็นประเทศแรกในภมู ิภาคอาเซยี น ทีอ่ นุญาตใหใ้ ชก้ ัญชาเพ่ือ ประโยชน์ทางการแพทยแ์ ละการวจิ ยั ........... 4. โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร ได้เปดิ คลนิ ิกกัญชาทางการแพทย์ เพือ่ ให้การ รกั ษาพยาบาล ผู้ปว่ ยโรคลมชักและพาร์กินสัน โดยแพทย์และเภสัชกร ท่ผี ่านการ ฝึกอบรม และยงั เปน็ คลินิกเพื่อรักษาทางการแพทย์ แห่งแรกของประเทศไทย ........... 5. เกณฑ์ในการรับผปู้ ว่ ยเขา้ รับการรกั ษาในคลนิ ิกกัญชาในสถานบริการสุขภาพ มีอายุ ตังแต่ 20 ปีขึนไป รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพอ่ื ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 65 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

66 2บทที่ บทท่ี 2 กญั ชากแัญลชะาแกลญั ะกชัญงชงพพชื ืชยยาาทท่คี วคี่ รวรู้ รรู้ สาระสาคสญั าระสำ�คญั 1. ประวัตคิ วามเป็นมาของพืชกญั ชาและกัญชง ประวัติพืชกัญชาในต่างประเทศมีการนามาใชต้ ั้งแต่ 10,000 ปี มาแล้ว นามาใช้ในการ สูดดมควัน ใช้เส้นใยทาเส้ือผ้า ทาใบเรือและเชือกในการสร้างเรือ ใช้เป็นส่วนผสมในอาหาร ใช้ใน พิธีกรรมเก่ียวกับศาสนา และการใช้เสพเพื่อนันทนาการ จนกระท่ังจดสิทธิบัตรรักษาโรคทางระบบ ประสาท สว่ นประเทศไทยใช้เปน็ ตารับยาในการรักษาโรค 2. ความรเู้ บอ้ื งต้นเกยี่ วกับพชื กัญชาและกญั ชง 2.1 พฤกษศาสตร์ของพืชกญั ชาและกัญชง พืชกัญชา มีช่ือวิทยาศาสตร์ คือ Cannabis sativa L. เป็นพืชในว งศ์ Cannabaceae มีชื่อสามัญหลากหลายตามแต่ละท้องถิ่น เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ลาต้นตั้งตรง สูงประมาณ 1-5 เมตรใบเดีย่ ว มี 3 – 9 แฉก รูปฝ่ามือ เรียงสลบั ดอกแยกเพศผูแ้ ละเพศเมยี อยตู่ ่างต้นกัน (Dioecious Species) และมีแบบต้นกะเทย คือ เพศผู้ และเพศเมียในต้นเดียวกัน (Monoecious Species) ออกดอกเปน็ ช่อตามง่ามใบและปลายยอด ช่อดอกเพศเมยี เรยี กว่า “กะหลี่กัญชา” ผลแห้ง เมลด็ ลอ่ น เล็ก เรียบ สีน้าตาล 2.2 ชนิด (Species) ของกัญชาและกัญชง กัญชาและกัญชง นักพฤกษศาสตร์จัดว่าเป็นพืชในสปีชีส์ (Species) เดียวกัน คือ Cannabis sativa L. ซึ่งจัดอยู่ในสกุล (Genus) Cannabis และเป็นพืชในวงศ์ (Family) Cannabaceae แต่ในสว่ นขององคก์ ารอนามัยโลก (WHO) ได้แบง่ ยอ่ ยเป็น 2 ซบั สปีชีส์ (Subspecies) ได้แก่ Cannabis sativa L. Subsp. sativa (กัญชง, Hemp) ซึ่งมักจะมีปริมาณ THC น้อยกว่าร้อยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง (แต่ในบางครั้งอาจจะสูงถึงร้อยละ 1) และ Cannabis sativa L. Subsp. indica (กัญชา, Cannabis) ซ่ึงมักจะพบปริมาณ THC มากกว่าร้อยละ 1 ในใบและช่อดอกแห้ง การ จาแนกพืชกัญชาและกญั ชง โดยสังเกตจากลกั ษณะทางสณั ฐานวทิ ยาทาได้ยาก เนือ่ งจากสาร THC ใน กัญชาเปล่ียนแปลงได้ง่ายจากปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม นักวิชาการเกษตรด้านการปรับปรุงสายพันธุ์ มักจะจาแนกพืชกัญชาและกัญชงออกเป็น 3 สายพันธ์ุ ได้แก่ ซาติว่า (Cannabis sativa L.) อินดิก้า (Cannabis indica Lam.) และรูเดอลาลิส (Cannabis Ruderalis Janishch.) ซ่ึงจาแนกตาม ลักษณะทางกายภาพของพชื เชน่ ลักษณะใบ ความสงู ถิ่นกาเนดิ ทีพ่ บ เปน็ ตน้ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพื่อใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต 67 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

67 2.3 องคป์ ระกอบทางเคมี และสารสาคัญที่พบในพืชกญั ชาและกัญชง 2.3.1 องคป์ ระกอบทางเคมีท่ีพบในพชื กญั ชาและกัญชง องค์ประกอบทางเคมีท่ีพบในพืชกัญชาและกัญชงมีมากกว่า 500 ชนิด และมีอยู่หลายกลุ่ม แต่สารท่ีมีความสาคัญทางยา คือ สารในกลุ่มแคนนาบินอยด์ (Cannabinoids/ Phytocannabinoids) พบมากบริเวณยางในไทรโครมของดอกเพศเมียที่ยังไม่ได้รับการผสมพันธ์ุ (Resin Glandular Trichomes) 2.3.2 สารสาคัญที่พบในพชื กัญชาและกญั ชง 1) สารแคนนาบเิ จอรอล (Cannabigerol, CBG) เป็นอนุพันธ์ของสาร CBGA เม่ือสาร CBGA ถูกความร้อนจะเปล่ียน สภาพเป็นสาร CBG ดังนั้น สาร CBG จึงสามารถตรวจพบได้ในพืชกัญชาและกัญชง สาร CBGA เปน็ สารตน้ กาเนิดของสารทงั้ หมดที่พบในพชื กัญชาและกญั ชง เม่อื พชื โตข้นึ สาร CBGA นี้ จะถูกเปล่ียนเปน็ THCA, CBDA และสาร อื่น ๆ เมือ่ สารถูกความร้อน หรอื ออกซิไดซ์ สาร CBGA, THCA และสาร CBDA จะเปลี่ยนสภาพเปน็ สาร CBG สาร THC และสาร CBD 2) สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) เป็นสารที่มีฤทธิ์ทาให้มึนเมาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง (Psychoactive Effect) ปริมาณ ของ THC ในแต่ละส่วนของพืชมีปริมาณไม่เท่ากัน จะออกฤทธ์ิกระตุ้นประสาททาให้ผู้เสพต่ืนเต้น ช่างพูด หัวเราะอารมณ์ดี ต่อมาจะกดประสาทมีอาการคล้ายเมาเหล้าอย่างอ่อน ๆ เซื่องซึม ง่วงนอน และหลอนประสาท โดยขึ้นอยู่กับปริมาณท่ีได้รับ 3) สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) สารน้ีไม่มีผลต่อจิตและ ประสาท (Non-Psychoactive) และช่วยลดผลข้างเคียงจาก THC ซ่ึงเป็นสารที่มีคุณสมบัติมีขั้วต่า ละลาย ได้ดีในน้ามัน ดังนั้นการสกัดสารสาคัญจากกัญชา จึงมักนิยมใช้ตัวทาละลายที่มีขั้วต่า หรือน้ามัน ในการสกัด เพราะจะสามารถละลายเอาสารแคนนาบนิ อยด์ออกมาไดด้ ี 4) สารออกฤทธ์ิท่ีร่วมกับแคนนาบินอยด์ เช่น สารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ และเทอร์ปนี เปน็ สารทชี่ ว่ ยเสรมิ การออกฤทธ์ิทางยาแกส่ ารกลุม่ แคนนาบินอยด์ 3. พืชกญั ชาและกญั ชงคืออะไร แตกต่างกันอย่างไร พืชกัญชาและกัญชงมีชื่อวิทยาศาสตร์เดียวกันคือ Canabis sativa L. มีถิ่นกาเนิด มาจากพชื เดิมชนิดเดยี วกนั ลกั ษณะภายนอก หรอื สณั ฐานวทิ ยาของพืชทง้ั สองชนดิ จึงมีความแตกตาง กันนอย การแยกโดยสัณฐานวิทยาทาได้ค่อนข้างยาก ปัจจุบันพืชกัญชาและกัญชงแยกจากกัน โดย ตัดสินจากปริมาณสาร THC ซึ่งข้อกาหนดขององค์การอนามัยโลก (WHO) กาหนดกัญชงให้มี ปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง ส่วนกฎหมายของประเทศไทยกาหนดให้ กัญชงให้มีปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 1.0 ในใบและช่อดอกแห้ง 68 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

6688 ใแแใโโบบขขเแเแปปคคเเอปปสสอคคปปดดนนณณหหนนลลววกกรราารรรร็็ยยนนปปะะาางงะะัังง้้ญุุญดดะะอืื่่อะะปปปปเเมมสสเเรรสสโโททกกททงงพพาากกยยาาะะรรรรสสุุขขััญญตตใใี่ี่ศศื่ออ่ืรรูู้้สสะะเเตตชชชชาาภภใใแแททสสใใชชเเึึออกกิิตต้้หหนนหหาาททคคแแศศกกาาาาเเ้้ออ้ใใ้์์พพททนน้สส้ปปศศตตงงััดดททจจชชงง44้ั้ับูบูงงาามม่เ่เ็็นนเเะะ้้ี่ี่ไไออ..รรนนนนขขดดททมมหหีีกกใใสสววนนา้้า่่ืืออ้้มมาาหหาากก่่เเาารรุุมมขข44มม44ุุญญงงกก4444ขขงงรรอืือ้้าาสส..แแ..จจไไนนัั11....ิินนกก22้้นนออรราาใใเเปป4433าาลลาาจจพพนนใใตตาานนรรกกะะผผถถชชาา11((ื่อือ่บบรรผผใใแแุุญญใใกกCCลลึึกกงงกกกกมมกก้้พพ00หหนนแแกกลลาาคคออัญัญิิตตooเเาาาาััาาญญีีืชืชกก้้บบใใมมงงพพาาิิตตมมภภุุนนตตรรรรnnตตชชชชปปกกรรลลาาชชาาภภททนนบบิิลลสสััณณccนนใใาา้้กกรรัญัญงงรร็ด็ดรราาััณณหหeeัันนลลรรยยยยาากักัรราาััญญะะฑฑเเใใชชิโโิปป้้nnหหใใิิกกงังั์์ฐััฐททษษบบซซฑฑเเชชภภ์์พพชชชชมมาาแแททขขttรร็็นนกก่ึงงึ่นนาาิินน์์พพ้้พพคคrr้้กกแแชืืชาาสสีีััออมมลลมมศศไไพพรรaaาาออืืชชแแททลลััญญกกืืดดาาชชงงตตคีคีะะรรttออกกืืชชกกยยรรลลสสะะeeญััญ้้าามมเเุุ่่ณณออกกชชนนาาททททัักกพพหหญญะะดดงงssรรชชสสหหััาาญญุุญญคค))่่ีีมมกก่ีทท่ีออญััญ์์รรทท่ืื่ออาาชชใใิิ่่งงนนาา่่ซซีีาาสสััปุุปฐฐนนาาแแาาชช่ี่ีททเเาากกชชทท่่ววรรออใใขขตต่่ึึาางงลลโโแแออาางงออาาหหยยแแาาภภมมรรเเ้้ะะมมใใลลใใาาหหรรมมงงออหห้ต้ตบบพพกกนนีีหหคคมมหหขขะะโโนนรรรรออิิดด้้ใใญญััรรภภชชททลลกก้้ีีนนกกาาิิกกััชชืืนนกกออิิไไโโีีววชชาาััรรญญชชยยาาาากกดดภภ้้พพฤฤททกกิติตยยนนซซงงรร์์้้ววชชเเคคททืืไไชชััปปรรนนผผใใญญึ่่ึจจงงาานน่่มมาางงชชธธููปปจจกกกกูู้้ึงงึปปรราาือ่ื่อแแใใแแแแ่่ชชิ์์ิตต้้ปปไไะะาาััะะญญแแนนกก่่งงววปปปปมมตตรร่่อองงตตจจรรจจบบยยรราาชชรรรรคค่่่่ใใสสเเจจะะาา้้าาออููปปรรนนบบรรรรจจาาปปววงูงูกกววิิตตโโงงไไูููปูปปปะะเเออพพรรยยัั็็นนผผนนดดแแรรพพแแกกใใสสุุตตืืชชชชเเะะูู้้ใใชชขขลล้้คคตตาาลลสสื่่ืออชชาาชชสสนนแแบบรร้้กกออะะืืออะะาา่่น่่นกกมมวว้กก้าาททหห์์ปปอองงัญญัุุปปมมมมาานนาาหหััญญผผคคดดาายย้้รรงงรรีีชชรรกกชชรรลลกกเเปปออนนะะชช่่ิิาามมนนคคถถืื่่ออาาฎฎแแิิตตกกรรสสงงาาใใรรตตาารรัันนนนเเนนรรหหตตกกภภรรมมาารรณณือื่่อะะอ่อ่ าาททมมูู้้สสทท่่ญัญัโโีียยททมมาาััณณงงเเกกใใลลสสนนออึึนนกกกกกกแแ้ัั้งงาาชชบบฑฑกกออททาาเเาาาามมตต่่ืืสสออแแยยาากกสสรร์์จจหหบบาากกแแงง่่ตตงงาาออขขิิ่่ััดดงงใใาาแแกกหหาาาายยกกใใงงหหซซออTTกกกกลลรราารรนนง้ง้ขขรรตต้ืื้ออHH้้งงเเาาพพยยไไะะููปปกกออ่่((าาออรรแแดดออจจCCใใCCืืชชิิดดงงผผงงแแเเชชุุ้้ตตุุาาตตตตaaสสกกกกกกคค่่ออบบแแเเ้้ใใกก่่สสnnลลสสือ้ื้อััชชญญนนัันนััญญววนนลลแแบบnnาาะะกก่่าานนาาปปไไชชคคะะหหพพชชaaสสปปปปนันัมมหหรราาลลbbงงปปกกททาาผผกกรรCCิิกกมมกกาาiiมมรรผผรระะรรยย่่เเออBBาาััญญDDยยรรชชรระะะะลลาาณณ์์นนเเไไDDrrมมชชรร่่นนททสสปปเเiiรริิแแตตeeคคททสสงงมมคคถถุุนนลลศศซซใใภภssลลททกกููงงศศหหววนนะะออื้ื้ออททััณณFFาาเเาาี่่ีแแออาาเเ้้ชชปปาายยาาllกกี่ี่ปปมมรรปปooมมุุฑฑรรััดดไไหหััญญน็็นผผีี็็นนกกุุwwกกปปรรแแงง์์สสเเตตลลาาจจาาสสชชรราาววลลeeใใาาน้น้ิิตตมมนนููรรปปชชััรรุุขขยยาาะะrrรร))้้ ผผพกพกเเบบญัญัชืชืลลื้อ้ือยยชชกกงงาาาาตตาาททแแน้น้รร่คีีค่ลลเเเเกกรรววะะผ113232รรยียีีย่่ยีกก..ล....รรววัญัญนนูู้้กกกเเเเเเชชรรพพพพพพบัับาูู้ทท้งงื่อื่อ่ือ่อื่อื่อืรพพใใี่คค่ีใใใในนใใเชืชืหหหหหหราาชชกกียต้้ต้มม้ม้้มดดวีวี ัญัญรรนคีีคีทีทิติตหหะะววชชกักัปปรหหาาววาาษษูท้รรนนมมแแังงั ะะะะ่ีครรกักัลลจจกกูู้้ถถาะะคคาาาางึงึดกกววววรรกกาาัญญัันนัหแแญัญัมมสสขขชชวเเชชขขออววงงงัาางง้าา้งงแแพพหหใใคคลลจจชืืชาานนะะคคเเกกกกใใกกนนววัญัญัญัญยี่ย่ี าาโโววชชชชลลมมกกาางงกกรรบัับแแูู้้พพแแลลปปชืืชลละะรรยยะะะะกกาาววททญัญัททตัตั ัักก่ี่ีคคชชิคคิ ษษววงงววรระะาาคครรกกมมูู้้ืออื าาเเปปออรระะคคน็น็ ไไิดิดมมรรววาาขขเิิเแแคคออตตรรงงกกาาพพตตะะืชืช่่าาหหกกงงเ์์เัญัญกกกกันนัย่ี่ียชชออววาาแแกกยยลลับับา่า่ ะะงงกกกกไไญัญัรรญัญั ชชกกชชาาาางงแแรรคคลลใใชชววะะาาพ้พ้กกมมชืืชัญัญรรชชูู้้ งง รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 69 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

666999 ขขขอออบบบขขข่่่าาายยยขเเเบบบนนนอทททบ้ือ้ื้อือทททหหหข่ีี่ี่ 222าาา่ายกกกเเเเเเเเเเเเเรรรรรรรรรนรรรััญญัญ่่่ือืออืืือ่ื่ออ่ื่อ่อืื่อ่ือ่ื่ออื ื้อชชชงงงงงงงงงงงงหทททททททททาาาทททแแแ่ีีี่่่่่ีีีาีี่่ี่ี่่ีี่ 444111222333ลลละะะกกกปปปคคคพพพกกกาาาวววรรรชืชืืชญัญััญรรราาาะะะกกกใใใมมมวววชชชัญััญญชชชตััตัตรรรงงง้พ้พพ้ ชชชูู้้เ้เูเคคคิิิ บบบพพพืืชชืชาาาวววื้อื้้อือแแแืืชชชืกกกาาางงงลลลยยยญญัญััมมมตตตะะะาาาเเเชชชปปป้้น้นนทททกกกาาาเเเ็น็น็นญญัญัั่ีคค่ีีค่แแแกกกมมมวววลลลชชชียยีี่ย่่ รรราาาะะะงงงวววรรรขขขกกกกกกููู้้้คคคอออัััญญญบััับบืืืออองงงพพพชชชพพพอออชืืืชชงงงะะะชืชชืื ใใใกกกไไไกกกนนนรรรัััญญญัััญญญชชชแแแชชชีวีววีชชชตตตาาาิิติตตาาากกกแแแปปปแแแตตตลลลลลลรรราา่่่าะะะะะะะะะงงงกกกจจจกกกกกกััญัญญาาาญญญััั ันัันนวววชชชชชชอออนัันนั งงงงงงยยยขขข่่่าาาออองงงงงงไไไคคครรรนนนใใในนนโโโลลลกกก กแกแกแกแกแชชกกกแชกกกจจบบกจบกกhกไกกไhกกกhกกกไสสสกกกบบบกซซซาาาขขขขขข่ืืออ่อ่ืกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกtttรรรรรรอ่ืออ่่ืื เเเtttกกกผผผววษิษิวษิวววิษษิษิกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกบบบpppปปปงงงงงงเเููู้้้เกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกััทททัััททัทอออsssขขขhhhสสสบบบรรรกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก:::กกกรรรยีียียttt///าาาะะะาาาโโโโโโกกกtttกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกบบ์์์บ///นนนมมมกกกกกกงงงกกกpppwwwกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกุุุคคครรรกกกกกกสวววsssออออออ999777666554454333112221ะะะ888wwwสสสาาา:::รรรรรรื่อััังงง///.........บบบ...............มมม...ตตตนีีนนี์์์ีนีนนีกกกwww///ปแแแาาาะะะกกกwwwาาาหหหชชชหหหชชชชชชชชชชชชชชชหหหอออ...โโโดดโโดโบบบรวววdddอ่ือ่ืือ่ื่ื่อื่อื่ออื่อื่ออ่ื่ือือ่ื่่ื่ือออาาาอ้อ้้อออ้้อ้ซซซwwซซwซ่ออืื่่อื้้้อออนนนันันนัดดดะบบบหหหบบบmmmบบบหหหงงงรรรงงงหหหเเเเเเเเเงงงwwwดดดอออกสสสขขขซซซซซซอออสสสนนนทททเเเทททนนนทททสสสนนนยยยhhhรรร์์์มมมตตตียียยีออีียยอีย...มมมอคคคังงัังคคคััังงงปปปคคคมมมpppััังงง...ยยีีียลลลลลลุุดดุดตตตกกกสสสสสสุดุดดุสสสgggบวววสสสววววววุุุดดดรรรhhhนนนปปปลลลอืือือoooืืืาาาอออืืบบืบมมมาาาืืือออาาานนิ้้ินิ้เเเเเเปปปกaaaเเเมมมมมมิ่ิง่ง่งิรรรววว...วววขขขคคคมมมหหหกกกrททrrทtttรรรรรราชชชกกกะะะกกกนนนนนนกกกmmmตตตhhh้้นน้นกกกาาาััักกกัญญัญัะะะ์์์ชชชรรรรนนัันัญััญัญัััญญญเเเเเเคคคววว///จจจจจจััญญัญษษษชชชะะะจจจจจจaaaาาาเชชชnnnททิิิทาาาาาาลลลชชชรชชชทททชชชกกกาาาออออออาาาcccชชชาาากกกeeeกกกาาายยยอออยีโโโาาานนนชชชyyyสสสรรรรรรรรรอ่อ่อ่าาารรรwwwดััดดักกกาาาhhhงงง...งงุุงุน์์์์์์นนนเเเเเเvvดุดุvดุมมมคคคmmmฉฉฉจจจจจจพพพสสสลลลเเเtttบบัับัssssssยยยแแแเเเชชชทททดดดtttลลลาาาาาา///าาาัยยััยฉฉฉ่อ่ืือ่ือpppกกกaaaอออลลลกกกอือื่่่ือ้ว้ว้วvvvพพพกกกกกกมมมิิิมมมตตตsssลลลกกกาาาhhhดดดะะะยยยัััญญญiiiโโโััดดดััดดััด:::วววรรรมมมeee่่าา่ารรร///ิิิาาามมมรรรiiiยยยกกกกกกdddาาา///าาารรรงงงชชชwwwหหหรรรงงงาาารรรัััwwwญญญปปปปปปชชััชัญญญััักกกoooงงงแแแพพพวววาาาาาากกกๆๆๆ...กกกทีีททีีีทททีwwwษษชชษชAAAlllชชชพพพิิเเเินนนชชชมิมิมิปปปรรร...ศศศุุุมมมาาาี่ี่ี่ี่่ีี่พพพพพพaaaงงงSSSาาาwwwทททงงุุุงคคททคทกกกพพพรรรษษษทททาาาแแแโโโcccPPPเเเมิิมมิมิมิิมะะะีตี่ต่่ีต...รรรุุุมมมยยยรรรรรร์์์ทททbbbลลล...าาา???วววบบบศศศพพพพพพtttั้้ังงั้งคคคีีี์์์าาางงงaaaะะะiiiพพพ111hhhเเเััตตัตอออdddาาารรรรรกกรก์์์์์์ขขขaaaกกกชชช000ชชช///สสสมมม222222ิิิคคคยยยษษิิษิีีี===nnnาาาตตตััญญญัtttออืื่่่อื111่ื่ื่ือออตตตเเเ555555หหหวววู่ใใู่่ใูรรรlllhhh222ัััทททคคคขขขaaaผผผ777นนนผผผรรรแแแาาา66666ชช6ชาาา222///ลลลeeeตตต000เ้เูู้เู้มมม์์์จจจพพพ22เูเู้้2้เู222าาานนkkนkเเเ666ขขขแแแอออsssขขขตตตอออเเเังังังnnnทททuuuคคค222ปปปหหหชชชเเเียียียงงงียยียีหหหลลลกกกบบบoooaaaสสสยยยรรรนนน่ื่ื่ือออลลลน็็น็นนนน่ิ่ิ่ิงงงพพพวววnnnอออwwwาาา์์์ผผผงงง่่่มมมชชช111ชชชััดดัด...มมมิมมิิมรรรnnnกกกดดดcccแู้แู้แู้lllาาาััันนน000่อื่ือื่อกกกวววโ์์โ์โooeeoeพพพาาาiiiรรรตตตแแแtttททท555ผผผาาารรรรรรmmmddd...aaa์ไไ์ไ์ลลลง่ง่ง่ซซซ111รรรรรงุุงรงุแูู้้แ้แูทททภภภgggyyyเเเะะะ///อออเเเกกััักศศศลลล000นนนตตตeeeaaaญญญททท111คคคษษษยยยขขขพััพจจัพจพพพ่่่งงง///ppp444เเเพพพววว...ทททโโโaaaาาาาาาบบบ555ททท...oooาาานนนชชชสสสผผผมมมโโโกกกrrr555่ี่ี่ีมมมอออรรร์์์rrrtttพพพ111มมมคคคกกกหหหดดัััด666000nnniiiคคคตตตรรรccc666ยยย...สสสาาา333222าาาสสส...ยยย์์โโโ์่่่าาาlll888mmmทททไไไศศศ///มมมทททนนนeee-มมมงงงคคุุุคมมมppp444ิิิพพพใใใบบบ///ถถถคคครรรยยยใใใlllร่่ร่รนนน444กกกaaaสสสหหห444ศศศยยยนนนัััรรรตตตศศศะะะ888nnnคคค555ิิิตตตืืบบบืมมม์์์ัััพพพนนนิิิบบบรรร-tttวววกกก333ตตตถถถ...คค่่ค่666-พพพทททุปุปุปชชช่ืื่ื่นนนาาาsssิตติิตมมิิิมนนน้นน้้น000มมมcccรรร์์์ืือ่่อ่ือรรรีีีทททตตต000ั่ั่่ันนน222oooนนนะะะจจจเเเะะะผผผพี่พ่ีีพ่ิิิมมมหหห222888ยยคคยคoooาาาพพพเเเแููแ้้้แู รรรััน่น่่ันิิิมมมมมม-กกกาาาpppงงงตตตุุุททท111ิิิงงงสสสคคคพพพ//ืื/ือออชชชงง่่่งศศศ777mmmธธธุเุเเุงงงนนน์์์รรร่ืออื่่ือััักกก111มมมบบบนนนaaaชชชโโโดดด---ลลลรรรrrrรรร000ทททื่อ่ือ่ือiii์ิิ์ิ์ิษิษิษฑฑฑjjjงงง000สสสuuuโโโรรรพพพทััทัทรรรลลล000aaaืืบบืบ์์์ งงงnnnมิมิมิ222สสสคคคพพพaaaพพพาาาน้้น้นมิิมิมยยย์์์ พพพ111์์์ เเเทททรรรี่่ี่ีหหหออ่อืื่ื่ ลลลงงงงงงทททเเเหหหีีี่่่ 111ลลลเืืือออรจจจ111ื่อปปปาาา...งรรรกกกทะะะปปปกกกปปปวววี่รรราาารรร1ตตตัััะะะรรระะะวววเเเิคิคิคมมมผผผัตตัตัปวววาาาาาาิคิคิคณณณาาารไไไวววหหหมมมะาาา111มมมวเเเมมมปปป000้้้ขขขตัเเเ,,,ปปปอออน็น็น็000คิ งงง็น็็นน000มมมวกกก000มมมาาาอออาาาขขขปปปมงงงขขขอออไไไีีีเอออฟฟฟมมมปงงงงงงีกกีกีพพพพพพน็แแแาาาืืืชชชืชืชชืลลลมรรรกกกะะะขขขกกกาเเเัััญญญดุดดุุ ญญัััญขคคคคคคชชชรรรอชชชน้้้นนาาาื่่ืื่ออองพพพาาางงงพแแแปปปบบบชื้ัั้ั้นนนลลลโโโคคคกดดดะะะรรริิินนนญักกกงงงเเเญัััญญกกกผผผชรรราาาชชชาะะะแดดดทททงงงูููกกกล่ีี่ี่บบบมมมะรรรนนนรรรกจจจษุุุษษญั ุุุเเเยยยมมมช์์์อออลลลงยยย็็็ดดดููู่่่คคคพพพกู่่่กกูู ืืืชชชบัับบั กกกเเเัััญญญศศศษษษชชชเเเาาารรรบบบซซซรรริ่นิิน่่นิิิเเเขขขวววณณณออองงงดดดพพพ้้้าาาชืืชชื นนนกกกใใใััันนนญญญสสสชชชดุุุดดาาา 70 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ เพ่ือใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

70 ของถ้าในประเทศอินเดียและจีน ซ่ึงสันนิษฐานว่ามนุษย์ในยุคน้ันใช้พืชกัญชาเผาไฟด้านในสุดของถ้า เพ่ือสูดดมควัน ระหว่าง 8,000 - 2,000 ปี ก่อนคริสตกาล (Before Common Era หรือ BCE) กัญชา ถูกบันทึกว่าเป็นพืชไร่ที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่ง มีการใช้ประโยชน์จากเส้นใย มีการปลูกพืชกัญชาแบบ แปลงเกษตรในแถบพ้ืนท่ี ซึ่งปัจจุบันคือประเทศไต้หวัน มีการใช้พืชกัญชาในตารับยาโบราณของ ประเทศอินเดีย และประเทศจีนมีการนาเมล็ดกัญชามาผลิตน้ามันเพื่อใช้เป็นอาหาร นาเส้นใยมาทา เป็นเสือ้ ผ้า ในสมัยจักรพรรดิ เซน็ หนิง (Shen Nung) พบว่ามีการใชเ้ ปน็ ยาด้วย ระหวา่ ง 1,999 - 1,500 ปี กอ่ นคริสตกาล พชื กัญชาเข้าไปเกีย่ วข้องกับศาสนาท่ีเกิดใน แถบทวีปเอเชีย ในฐานะโอสถชโลมใจ เครื่องชาระล้างจิตใจ ส่ือกลางในการเข้าถึงพระเจ้า ยารักษาโรค เคร่ืองสักการะพระเจ้า และใช้เป็นส่วนสาคัญในพิธีกรรมทางศาสนา ในประเทศอินเดียถูกกล่าวถึงใน บันทึกลบั ของศาสนาฮินดูว่าเป็นพชื ศักด์ิสิทธ์ิ ซงึ่ สามารถใชเ้ ปน็ ยา และใชส้ าหรับถวายแด่พระศวิ ะ ระหว่าง 1,499 ปี ก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 69 มีเคร่ืองนุ่งห่ม ซ่ึงเป็นผลผลิตจากเส้นใย พืชกัญชา รวมถึงการเกษตร กระจายอยู่ในแถบทวีปเอเชีย และตอนใต้ของรัสเซีย ชาวไซเทียน (Scythians) ชนเผา่ บนหลงั มา้ มรี กรากการเดินทางอย่ใู นแถบประเทศฮังการี มองโกเลีย มีการบันทึก วา่ ใชพ้ ืชกัญชาเพื่อผลิตเชือก ใช้เสพเพ่ือความบนั เทิง ใชใ้ นพิธีกรรมทางความเชื่อต่าง ๆ และนาการใช้ พืชกญั ชาในดา้ นต่าง ๆ เขา้ สู่ยุโรป และชาวจนี คน้ พบวิธีการทากระดาษจากใยพชื กญั ชาเปน็ คร้งั แรกของโลก ค.ศ. 70 – ค.ศ. 199 ไดออสคอรีตส์ (Dioscorides) แพทย์ทหาร ผู้เขียนหนังสือเรื่อง De Materia Medica ตาราพืชสมุนไพรในแถบเมดิเตอร์เรเนียนที่ถือเป็นตาราทางด้านสมุนไพรรักษา โรคท่ีดีท่ีสุดในยุคนั้น ได้บรรจุพืชกัญชาเป็นส่วนหนึ่งในตารับยา และประเทศอังกฤษ มีการนาเข้า เชอื กจากใยพชื กัญชามาใช้ประโยชน์ ค.ศ. 200 - ค.ศ. 1299 มีการบันทึกว่าศัลยแพทย์ชาวจีนได้ใช้พืชกัญชาเป็นยาชา ยาแก้ปวด ชาวไวกิงได้เริ่มใช้เชือก และใบเรือท่ีผลิตจากใยพืชกัญชา ทาให้เรือของชาวไวกิงแข็งแรง และเดินทางได้ไกลกว่าเรือของประเทศในแถบเมดิเตอร์เรเนียน เชือกและใบเรือจากใยพืชกัญชา แข็งแรงทนทานต่อการกัดกร่อนของเกลือจากทะเลเป็นเบื้องหลังความสาเร็จท่ีทาให้ชาวไวกิงเข้าสู่ ความยิ่งใหญ่ในยคุ สมยั น้นั ค.ศ. 1300 – ค.ศ.1532 พ่อค้าชาวอาหรับได้นากัญชาไปเผยแพร่ ทาการค้าขาย แลกเปล่ียนกับประเทศโมซัมบิกซ่ึงเป็นชายฝั่งของทวีปแอฟริกา และมีการห้ามไม่ให้บริโภคพืชกัญชา เกิดขึ้นครั้งแรกของโลกท่ีจักรวรรดิออตโตมัน หรือท่ีรู้จักกันในนามประเทศตุรกีปัจจุบันเป็นการ ประกาศห้ามการรบั ประทาน ยางพืชกญั ชา (Hashish) รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่ือใช้เป็นยา หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ 71 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

71 ค.ศ. 1533 - ค.ศ. 1699 กษตั ริย์เฮนรี่ ท่ี 8 (King Henry VIII) แหง่ ประเทศอังกฤษต้องการ ยกระดับกองทัพเรือด้วยการสร้างเรือเพิ่มมากขึ้น จึงประกาศให้เกษตรกรปลูกพืชกัญชา เพ่ือใช้เส้นใยใน การสร้างเรือ ซ่ึงใครขดั ขืนคาส่ังไม่ยอมปลูกจะมีโทษปรับ ค.ศ. 1700 - ค.ศ. 1940 เริ่มมีการแบ่งแยกสายพันธ์ุพืชกัญชากับการใช้ประโยชน์ใน อุตสาหกรรมมีการพัฒนาสายพันธุ์ เพื่อหลีกเลี่ยงสารเมา โดยเรียกพืชกัญชาที่ใช้ประโยชน์จาก เส้นใยว่า Hemp มีการใช้พืชกัญชาทางการแพทย์ในรัฐนิวอิงแลนด์ (New England) เป็นครั้งแรก ในประเทศสหรัฐอเมริกา ต่อมา พระราชินีแห่งประเทศอังกฤษ ได้รับยาจากพืชกัญชาโดยแพทย์ ประจาตัว เซอร์ เจมส์ เรยโ์ นลด์ (Sir James Reynolds) เพอื่ บรรเทาอาการปวดประจาเดือน และใน ยุคนั้นยาจากพืชกัญชาสามารถใช้ได้ และหาซื้อได้ท่ัวไปในเกาะอังกฤษ ค.ศ. 1941 - ค.ศ. 1998 ประเทศสหรฐั อเมรกิ าไดล้ บขอ้ มูลพชื กัญชาออกจากตารับยา และระบุว่าพืชกัญชาไม่มีคุณสมบัติทางยาใด ๆ จัดอยู่ในบัญชีที่ 1 คือ ยาเสพติดท่ีรุนแรงท่ีสุด และ เพ่มิ ความรนุ แรงในการลงโทษ นอกจากนี้ มนี ักพฤกษศาสตรชาวอเมริกัน ไดจาแนกพชื กัญชาและพชื กัญชงออกจากกัน โดยลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Morphology) และพฤกษเคมี (Phytochemistry) โดยให้ช่ือวิทยาศาสตร ของพืชกัญชง คือ Cannabis sativa L. Subsp. sativa และพืชกัญชา คือ Canabis sativa L. Subsp. indica (Lam.) E.Small & Cronquist ค.ศ. 1999 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้มีการจดสิทธิบัตรพืชกัญชา หมายเลข US6630507 B1 อ้างสิทธิในการใช้พชื กญั ชารกั ษาโรคทางระบบประสาท เชน่ อัลไซเมอร์ พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง โรคที่เกิดจากเซลล์ถูกทาลายโดยอนุมูลอิสระ (Oxidative Stress) เช่น โรคหัวใจ โรคปลายปลอก ประสาทเส่ือม โรคเบาหวาน เปน็ ตน้ สาหรับประเทศไทยมีการใช้พืชกัญชาเป็นยาต้ังแต่สมัยพระนารายณ์มหาราช จานวน 81 ตารบั และสังคมไทยมีการใช้พชื กัญชาเพื่อการรกั ษาโรคมาเปน็ เวลานาน ปจั จบุ นั มีหลกั ฐานการใช้ พชื กัญชาในตารับ จานวน 90 ตารบั ต่อมาในปี พ.ศ. 2477 มีการตราพระราชบัญญัติกัญชา พ.ศ. 2477 ขึ้น ห้ามให้ผู้ใด ปลูก นาเข้า ซื้อขาย หรือเสพพืชกัญชาเด็ดขาด หากฝ่าฝืนจะได้รับโทษท้ังจาและปรับอย่างรุนแรง และในปี พ.ศ. 2522 รัฐบาลไทยได้ตราพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 จัดพืชกัญชา เป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 รวมท้ังปัจจุบันมีกฎหมายให้ใช้พืชกัญชาในทางการแพทย์หรือศึกษาวิจัย ได้ตามเกณฑท์ ี่กาหนด (รายละเอียดศกึ ษาได้จากหัวเรื่องท่ี 4 กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้องกับกัญชาและกัญชง) 2. ประวตั คิ วามเปน็ มาของพชื กญั ชง พืชกัญชงมีถิ่นกาเนิดมาจากประเทศอินเดีย ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของ เทือกเขาหิมาลัย เป็นพืชตระกูลเดียวกับพืชกัญชา แต่มีความแตกต่างด้านปริมาณสารเสพติด 72 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพอื่ ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

72 72 โดยเฉพาะเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) มีปริมาณน้อยกว่าพืชกัญชามาก โปดลยกู เเฉพพื่อาใะชเ้ผตลติตรเาสไ้นฮโใดยรเปแ็นคหนลนักาบใินนปอลระ(เTทeศtไrทahยyพdชืroกcญั aชnงnอaยbู่ใiนnoวิถl,ชี Tวี HิตCแ) ลมะีปปริรมะาณเพนณ้อีขยอกงวช่าุมพชืชนกัญชาชวาไมทายก ปภลูเขูกาเพตื่อั้งใแชต้ผ่เลกิติดเจส้นนใกยรเปะท็นัห่งเลสักียชในีวปิตระโดเทยศเไฉทพยาพะอชื กยัญ่างชยงิ่งอยคู่ใือนวชิถนีชเวี ผิต่ามแล้งะซปึ่งรใะชเ้เพสณ้นใีขยอพงืชชกุมัญชนชชงาถวักไททยอ ภเปูเ็นขเาสตื้อั้งผแ้าตเ่เพกื่อิดใจชน้ในกชรวีะิตทปั่งรเสะียจชาวีวันิต นโดอยกเจฉาพกานะี้ ตอายม่าคงยวิ่างมคเืชอ่ือชดนั้งเเดผิม่ามช้งาวซมึ่ง้งใชจ้เะสใ้นช้เใสยน้ พดืชา้ กยัญทช่ีทงามถาักจทาอก เเปส้น็นใเยสืพ้อผืช้ากเัญพืช่องใชม้ใัดนมชือวี ใิตหป้ทราะรจกาทว่ีเันกิดนใอหกมจ่ กาการนถี้ ตักาทมอคเควารม่ือเงชแื่อตด่งั้งกเาดยิมรชอางวเมท้ง้าจแะลใชะ้เเสชน้ือดกา้มยัดทศ่ีทพาสมาาหจราับก เสสว้นมใใยสพต่ อืชนกัเญสชียงชมีวัดิตมือให้ทารกท่ีเกิดใหม่ การถักทอเคร่ืองแต่งกาย รองเท้า และเชือกมัดศพสาหรับ สวมใส่ตอนเสยี ชกวี ลติ ่าวโดยสรุป ประวัติพืชกัญชาในต่างประเทศมีการนามาใช้ต้ังแต่ 10,000 ปี มาแลว้ นามาใช้ในการสกูดลด่ามวคโดวยันสใรชุป้เสป้นรใะยวทัตาิพเืชสก้ือัญผ้าชาทใานใตบ่าเงรปือรแะลเะทเศชมือีกกาในรนกาามรสาใรช้า้ตง้ังเรแือต่ใ1ช0้เป,0็น0ส0่วปนี ผมสามแใลน้ว อนาาหมาารใชใ้ใชนใ้ กนาพริธสกี ูดรดรมมเคกวี่ยันวกใชับ้เศสา้นสในยาทาแเลสะ้ือกผา้ารใทชาเ้ สใบพเเรพือื่อแนลันะทเชนือากกใานรกจานรสกรร้ะางทเง้ัรจือดใสชิท้เธปิบ็นตั สร่วรนักผษสามโรในค ทอาาหงราะรบใบชปใ้ นรพะสธิ ากี ทรรสม่วเกน่ียปวรกะับเทศศาไสทนยาใชแ้เปละ็นกตาารรใับชย้เสาใพนเกพาื่อรนรันักทษานโารกคาร จนกระท้งั จดสทิ ธิบัตรรักษาโรค ทางระบบประสาท สว่ นประเทศไทยใชเ้ ปน็ ตารับยาในการรักษาโรค เร่อื งที่ 22เร่อื1คค.งววทาาพี่มมฤ2กรรูู้้เเษบบคศวื้อ้ือาาสงงมตตตรร้นน้ ์ข้เู เเบอกกงื้อย่ีีย่ พงววืชตกกก้นัับบัญเพพชกาชชืืยี่ แวกกลกญญััะับกชชญัพาาชืชแแงกลลัญะะกกชััญญาชชแลงงะกัญชง เรื่องที่ 1. พพฤืชกกษัญศชาสาตมรีช์ข่ืออวงิทพยืชากศัญาสชตารแ์คลือะกCญั aชnnงabis sativa L. เป็นพืชในวงศ์ Cannabaceae มีช่ือ สามัญหลากหลาพยืชชก่ือัญตชาามมแีชต่ือ่ลวะิททยา้อศงาถสิ่นตรเ์คชือ่น CCaannnnaabbisiss.aGtivaanjLa..เKปa็นnพcืชhใaน.วBงhศa์ Cnagn. nHaebmacpe.aIendมiีชa่ืnอ สHาeมmัญpห. ลMาaกrหihลuาaยnชa่ื.อMตaาrมijuแaตn่ลaะ.ทD้อoงpถe่ิน. เGชa่นgeC. aGnrnaasbs.isH. aGsahn.jaH.aKsahnischh.a. KBuhfa.nMg.aHryemJapn.eI.ndPioatn. HSeenmsp. .SeMsasr.ihSukuannak.. SMmaroijkuea.nRa.eeDfoepr.eW. Geaegde.. คGุนrเaชsาs.ตH้าaหsมhา. ปHาaงshยiาsนhอ. ยKาuพfี้. Mary Jane. Pot. Sens. Sess. Skuกnัญkช. าSเmป็นoพkeืช.ลR้มeลeุกfeมrีล.าWต้นeeตd้ังต. รคงุน1เช-า5ตเ้ามหตมราใปบาเงด่ียยวานเอรียยงาสพลี้ ับ ใบเป็นแบบฝ่ามือ มใี บย่อยเว้าถึงโคนกใัญบชมาเี ป3็น-พ9ืชแลฉ้มกลุกขอมบีลใบาตข้นอตงใ้ังบตยร่องย1เป-็น5แบเมบตฟรันใเบลื่อเดย่ียโวคเนรแียลงะสปลลับายใบใบเปย็น่อแยบสอบบฝ่าเปม็นือ มพใีืชบแยบอ่ บยเแวย้าถกึงเโพคศนผใบู้ แมลี ะ3เพ- 9ศเแมฉียกอขยอู่ตบ่าใงบตข้นอกงใันบย(D่อยioเปe็นciแoบuบsฟSันpเลeื่อcยieโsค)นแแลละะมปีแลบายบใบต้ยน่อกยะสเทอบยเปค็ืนอ พมีเืชพแศบผบู้ แแลยะกเพเพศศเมผียู้ แในลตะ้นเพเดศียเวมกียันอย(Mู่ต่าoงnตo้นecกiัoนus(DSiopeecciieosu) sออSกpดeอcกieเปs)็นดแอลกะเมดีแ่ียบวบตาตม้นซกอะกเใทบยแคลือะ มปีเลพาศยยผอู้ แดลชะอ่เพดศอกเมเพียศในเมตยี ้นเรเดียียกววก่าัน“ก(Mะหoลnก่ี oัญecชiาo”usมีผSpลแeบciบesผ)ลอแอหก้งดเอมกล็ดเปล็น่อดนอเกลเ็กด่ียเรวยี ตบามสซีนอา้ ตกาใบล และ ปลายยอด ชอ่ ดอกตเาพมศปเมรยี ะเรกียากศวค่าณ“ะกกะหรลร่กีมัญกาชรา”ควมบีผคลแุมบยบาผเสลแพหตง้ ิดเใมหล้โ็ดทลษ่อนเรเลื่อ็กง เรกียาบหนสีนด้าพตืชาลกัญชา (Cannabis sativตaามLป.)รใะนกมาิตศิกคฎหณมะากยรหรมมากยาถรึงคกวัญบชคาุมแยลาะเกสัญพชตงิดให้โทษ เร่ือง กาหนดพืชกัญชา (Cannabis sativกaัญชL.า) ใ(Cนaมnติ nกิ aฎbหisม)าเยป็นหมพาืชยใถนึงตรกะญั กชูลาแCลaะnกnัญabชiงs ท้ังน้ีหมายรวมถึง ทุกส่วนของพืช กัญชา เช่น ใบ กดัญอชกาย(อCดanผnลabลisา)ตเ้ปน็นวพัตืชถใุหนตรือระสกาูลรตC่าaงnnๆaทbี่iมsีอทยั้งู่ในนี้หพมืชากยัญรวชมาถึงเชท่นุกสย่วานงขนอ้างมพันืช กกััญญชชงา (เHชe่นmใpบ) มดีชอื่อกทายงอวดิทยผาลศาลสาตตร้น์ว่าวCัตaถnุหnรaือbสisารsaตt่าivงaๆL.ทS่ีมuีอbยsู่ใpน. พsaืชtกivัญaชอาันเเปช็่นนชยนาิดงย่อนย้าขมอันง กพัญืชกชัญง ช(Hาe(mCapn)nมaีชb่ือisทาsงaวtิทivยaาLศ.า)สทต้ังรน์วี้ใ่าหC้หaมnายnคaวbาisมsรaวมtivถaึง ทL.ุกSสu่วbนsขpอ.งsพaืชtกivัญaชองันเเชป่น็นชใบนิดดยอ่อกยยขออดง พผลืชกลัญาตช้นา (ทCี่มaีปnรnิมaาbณisสาsรaเtตivตaราLไฮ.)โดทรั้งแนค้ีใหนน้หามบาินยคอลวา(มTรeวtrมaถhึงydทroุกcสa่วnนnขaอbงinพoืชlก, ัญTHชCง) เใชน่นใบใบแลดะอชก่อยดออดก ผไมล่เกลนิ ารตอ้้นยทละี่มีป1ร.0ิมาตณอ่ สนาา้ รหเตนตักรแาหไฮง้ โดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบ และช่อดอก ไม่เกนิ ร้อยละ 1.0 ตอ่ น้าหนักแหง้ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เปน็ ยา หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวติ 73 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

73 ภาพท่ี 17 พืชกญั ชา (Cannabis sativa L.) 74 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวติ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

74 ส่วนตา่ ง ๆ ของพืชกัญชา A. ต้นกญั ชาตวั ผูข้ ณะออกดอก (Flowering Male Staminate) B. ตน้ กัญชาตวั เมียขณะตดิ ผล (Fruiting Female Pistillate Plant) 1. ดอกกญั ชาเพศผู้ (Male Staminate Flower) 2. อบั เรณูและก้านชอู บั เรณู (Stamen Anther and Short Filament) 3. เกสรตวั ผู้ (Stamen) 4. ละอองเรณู (Pollen Grains) 5. ดอกตวั เมยี และกลบี ประดับ (Female Pistillate Flower with Bract) 6. ดอกตัวเมยี ไมม่ ีกลบี ประดับ (Female Flower without Bract) 7. ดอกตัวเมียและรงั ไข่ (Female Flower Showing Ovary) 8. ผลและกลีบเลีย้ ง (Fruit with Bract) 9. ผลท่ีไม่มีกลีบเลย้ี ง (Fruit without Bract) 10. ผลด้านขา้ ง (Fruit Side View) 11. ผลผ่าตามขวาง (Cross-Section) 12. ผลผ่าตามยาว (Longitudinal Section) 13. ผลทไ่ี มม่ ีเปลอื กหุม้ หรือเมลด็ Fruit without Pericarp (Hulled) กล่าวโดยสรุป พืชกัญชา มีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Cannabis sativa L. เป็นพืชในวงศ์ Cannabaceae มีช่ือสามัญหลากหลายตามแต่ละท้องถ่ิน เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ลาต้นตั้งตรง สูงประมาณ 1-5 เมตร ใบเด่ียว มี 3 – 9 แฉก รูปฝ่ามือ เรียงสลับ ดอกแยกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน (Dioecious Species) และมีแบบต้นกะเทย คือ เพศผู้ และเพศเมียในต้นเดียวกัน (Monoecious Species) ออกดอกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายยอด ช่อดอกเพศเมีย เรียกว่า “กะหล่ีกัญชา” ผลแห้ง เมล็ดลอ่ น เลก็ เรียบ สนี า้ ตาล 2. ชนดิ (Species) ของกัญชาและกัญชง พืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ในปัจจุบันตามการยอมรับของนักพฤกษศาสตร์ จัดว่ามีเพียงสปีชีส์ (Species) เดียว คือ Cannabis sativa L. ซึ่งจัดอยู่ในสกุล (Genus) Cannabis และเป็นพืชในวงศ์ (Family) Cannabaceae ช่ืออ่ืนที่มีการใช้ถือว่าเป็นชื่อพ้อง (Synonym) ของพืช นี้ทั้งสิ้น จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าพืชนี้ถูกแบ่งย่อยออกเป็น 2 ซับสปีชีส์ (Subspecies) ได้แก่ Cannabis sativa L. Subsp. sativa (กญั ชง, Hemp) ซึ่งมักจะ มีปรมิ าณ THC รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 75 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

75 น้อยกวา่ ร้อยละ 0.3 ในชอ่ ดอกแหง้ (แตใ่ นบางครั้งอาจจะสงู ถงึ รอ้ ยละ 1) และ Cannabis sativa L. Subsp. indica (พืชกัญชา) ท่ีมีปริมาณ THC มากกว่าร้อยละ 1 ในช่อดอกแห้ง แต่อย่างไรก็ตามการจาแนก กัญชาและกัญชงออกจากกันตามลักษณะทางสัณฐานวิทยาค่อนข้างแยกได้ยาก เน่ืองจากกัญชาเป็น พชื ท่ีเปลีย่ นแปลงได้ง่ายจากปัจจยั ดา้ นส่งิ แวดล้อม กัญชาตามทอ้ งตลาดทีซ่ ือ้ ขายกนั ในปัจจบุ ันมักเป็น ลูกผสมของ Sativa และ Indica บางแหล่งข้อมูลของนักพัฒนาสายพันธุ์มีการจาแนกกัญชาออกเป็น 3 ชนิดย่อย ตามถน่ิ กาเนดิ และลกั ษณะทางกายภาพ ได้แก่ Sativa, Indica และ Ruderalis ภาพท่ี 18 การจาแนกกัญชาออกเป็น 3 ชนดิ ยอ่ ย ตามถ่ินกาเนิดและลกั ษณะทางกายภาพ 76 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวิต เพอ่ื ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

76 ตารางท่ี 1 แสดงสายพนั ธ์ขุ องกัญชา สายพนั ธ์ุ Cannabis Sativa L. Cannabis Indica Lam. Cannabis Ruderalis Janishch. ลักษณะใบ ลักษณะต้น รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวิต 77 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

77 สายพนั ธุ์ Cannabis sativa L. Cannabis indica Lam. Cannabis ruderalis Janishch. ลกั ษณะ ดอก ลกั ษะเดน่ ตน้ : สูงโปรง่ ช่วงโตเต็มวยั ตน้ : เป็นพุ่ม ลาต้นปอ้ มเตย้ี ตน้ : มลี าต้นทีเ่ ล็กและเต้ีย ถิน่ กาเนิด อยู่ที่ 1.5 - 2.5 เมตร มกี ิ่ง ช่วงโตเต็มวัยอยู่ที่ 1.0 - 1.5 ใบ : มขี นาดกว้างและเล็ก ผสมกนั ปจั จุบันมกั ก้านทแ่ี ผ่ขยาย ชอ่ งหา่ ง เมตร เป็นสายพนั ธุ์ ดอก : ออกดอกไดเ้ ร็ว ลูกผสม ระหว่างกง่ิ มาก ใบ : มีขนาดกว้าง ใหญ่ และมี เนอ่ื งจากมีการปรบั ตวั ให้ (Hybrid) ใบ : ลีบเล็กเรยี ว และมี จานวนแฉกน้อยกว่า Sativa เขา้ กบั สภาพอากาศหนาว จานวนแฉกมาก เยน็ และมแี สงแดด ดอก : หนาแน่น น้าหนกั มาก ตลอดเวลาเกือบท้ังวัน ดอก : ยาว ไม่แนน่ ประเทศหนาวเย็น และมแี สงสวา่ งเกอื บตลอด เวน้ ระยะหา่ งพอสมควร ตดิ กนั เป็นช่อเน่อื งจากมกี าร ทัง้ วนั ในทุกฤดู อย่ใู กล้ข้ัว โลกบรเิ วณ 50 องศาเหนอื เนอื่ งจากมกี ารปรบั ตัวใหเ้ ข้า ปรบั ตัวให้เข้ากับสภาพอากาศ ขนึ้ ไป และ 50 องศาใต้ลง มา กับสภาพอากาศร้อนชืน้ หนาวเย็นและแหง้ เพื่อหลีกเล่ยี งการเกดิ เชื้อรา ประเทศเขตรอ้ นชืน้ ประเทศหนาวเยน็ บริเวณใกล้เส้นศนู ย์สตู รตง้ั แต่ หา่ งจากเส้นศูนยส์ ูตรออกไปใน 30 องศาเหนือ ถงึ 30 องศา บริเวณ 30-50 องศาเหนือและ ใต้ เชน่ ประเทศไทย เมก็ ซิโก 30-50 องศาใตพ้ บครั้งแรกใน โคลมั เบีย จาไมกา้ ภมู ภิ าคตะวันออกกลาง คือ อัฟกานสิ ถาน ยังพบอกี ใน ปากีสถาน จนี ธิเบต อนิ เดยี เนปาล ในบรเิ วณที่มีอากาศแหง้ จะถอื เปน็ สายพนั ธุ์ Sativa จะถอื เป็นสายพนั ธุ์ Indica หากมสี ดั สว่ น Sativa หากมีสดั ส่วน Indica มากกว่า มากกวา่ ร้อยละ 80 ในตน้ รอ้ ยละ 80 ในต้น 78 หนังสอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

78 ภาพที่ 19 ภาพแสดงถิ่นกาเนิด สาหรับประเทศไทย พืชกัญชา เช่น พันธ์ุหางกระรอก และภูพาน เป็นสายพันธุ์ที่มี ปริมาณสาร THC มากกว่า สาร CBD เน่อื งจากมสี ภาพแวดล้อมตั้งอย่ใู กลบ้ ริเวณเสน้ ศูนย์สูตร ทาให้มี อากาศร้อนส่งผลตอ่ การผลติ ปริมาณสาร THC สูงกวา่ สาร CBD ในกญั ชาท่ีพบในประเทศไทย ภาพที่ 20 ต้นตัวผู้ ออกดอกเปน็ ช่อดอกเลก็ ๆ สีขาว ตรงซอกใบ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต 79 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

79 ภาพท่ี 21 ต้นตัวเมีย ดอกออกเป็นกระจกุ แน่นเปน็ ชนั้ ๆ มีขนสีขาว ๆ (หมอยกัญชา) มีสาร THCA เยอะทส่ี ุดในส่วนชอ่ ดอกตวั เมยี ท่ยี งั ไม่ผสมพันธ์ุ “ระยะเกบ็ เกยี่ ว” ภาพท่ี 22 ต้นกะเทย มีท้ังดอกตัวเมียและตัวผู้อยู่ในต้นเดียวกัน กล่าวโดยสรุป กัญชาและกัญชง นักพฤกษศาสตร์จัดว่าเป็นพืชในสปีชีส์ (Species) เดียวกัน คือ Cannabis sativa L. ซึ่งจัดอยู่ในสกุล (Genus) Cannabis และเป็นพืชในวงศ์ (Family) 80 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ เพ่ือใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

80 Cannabaceae แตใ่ นสว่ นขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้แบ่งย่อยเป็น 2 ซบั สปีชีส์ (Subspecies) ได้แก่ Cannabis sativa L. Subsp. sativa (กัญชง, Hemp) ซึ่งมักจะมีปริมาณ THC น้อยกว่าร้อยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง (แต่ในบางครั้งอาจจะสูงถึงร้อยละ 1) และ Cannabis sativa L. Subsp. indica (กัญชา, Cannabis) ซึ่งมักจะพบปริมาณ THC มากกว่าร้อยละ 1 ในใบและช่อดอกแห้ง การจาแนกพืช กัญชาและกัญชง โดยสังเกตจากลักษณะทางสัณฐานวิทยาทาได้ยาก เนื่องจากสาร THC ในกัญชา เปลี่ยนแปลงได้ง่ายจากปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม นักวิชาการเกษตรด้านการปรับปรุงสายพันธุ์มักจะ จาแนกกัญชาและกัญชงออกเป็น 3 สายพันธ์ุ ได้แก่ ซาติว่า (Cannabis sativa L.) อินดิก้า (Cannabis indica Lam.) และรูเดอลาลิส (Cannabis ruderalis Janishch.) ซ่ึงจาแนกตามลักษณะทางกายภาพของพืช เช่น ลักษณะใบ ความสูง ถ่ินกาเนิดทีพ่ บเป็นต้น ถาม กญั ชาและกญั ชงอย่ใู นสปชี สี เ์ ดียวกัน จริงหรือไม่ ตอบ จรงิ กญั ชาและกัญชงจัดเปน็ พืชทอ่ี ยู่ในสปีชีสเ์ ดยี วกนั มชี ื่อทาง วทิ ยาศาสตร์ คือ Cannabis sativa L. แตแ่ ตกตา่ งกันท่ีปรมิ าณ THC ถาม จรงิ หรอื ไม่ กญั ชาและกญั ชงเปน็ พชื ท่ีมีเพศ ตอบ จริง กญั ชาและกญั ชงเปน็ พชื ทม่ี ตี น้ ตัวผู้ ตน้ ตัวเมยี และต้นกระเทย (ต้นที่มีดอกเพศผูแ้ ละเพศเมยี อยู่ในต้นเดยี วกัน) ถาม กญั ชาสายพนั ธข์ุ องไทยมักเป็นสายพนั ธทุ์ ่มี สี าร THC สูงจริงหรือไม่ ตอบ จรงิ สายพันธพ์ุ ้นื เมืองของไทยส่วนใหญ่เปน็ สายพันธทุ์ ี่มีปริมาณสาร THC สูงกวา่ สาร CBD รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ 81 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

81 ถาม กัญชากนิ สดไมเ่ มา จรงิ หรอื ไม่ ตอบ จริง ในพชื สดของกญั ชาและกัญชงไมม่ สี ารเมา (THC) แต่จะมสี าร THCA จึงสามารถทานสดได้โดยไมเ่ มา แต่เมือ่ THCA ถูกความร้อนจะกลายเป็น สาร THC ดังนน้ั การนากญั ชาไปสบู จงึ ทาให้เกดิ การเมาได้ 3. องคป์ ระกอบทางเคมี และสารสาคัญทพ่ี บในพืชกญั ชาและกญั ชง 3.1 องคป์ ระกอบทางเคมที ่ีพบในพชื กัญชาและกัญชง องค์ประกอบทางเคมีที่มีการรายงานว่าพบในกัญชามีมากกว่า 500 ชนิด และมี อยู่หลายกลุ่ม ได้แก่ เทอร์ปีน (Terpenes) ไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbons) ฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) นา้ ตาล (Sugars) เปน็ ตน้ แตส่ ารทม่ี ีความสาคญั ทางยาของกญั ชามากทสี่ ุด คือ สารใน กลุ่มแคนนาบินอยด์ (Cannabinoids/ Phytocannabinoids) ซ่ึงพบมากท่ีไทรโครมของดอกเพศเมีย ทยี่ งั ไม่ได้รบั การผสมพนั ธุ์ (Resin Glandular Trichomes) สารออกฤทธ์ิแคนนาบินอยด์ พบมากที่ไทรโครม (Trichome) ซงึ่ เปน็ เซลล์ขนของพืช มีลักษณะคล้ายต่อมน้ารูปทรงคล้ายเห็ดมีมากในกลีบเลี้ยงดอกตัวเมียท่ียังไม่ผสมพันธ์ุแคนนาบินอยด์ จะถกู สรา้ งข้นึ และนามาเกบ็ สะสมบริเวณนี้ เพื่อป้องกันพืชต่อแสงยูวี แมลง และการสญู เสียน้า กลา่ วโดยสรุป องค์ประกอบทางเคมีท่ีพบในพืชกัญชาและกัญชงมีมากกว่า 500 ชนิด และมีอยู่หลายกลุ่ม แต่สารที่มีความสาคัญทางยา คือ สารในกลุ่มแคนนาบินอยด์ (Cannabinoids/ Phytocannabinoids) พบมากบริเวณในยางไทรโครมของดอกเพศเมียท่ียังไม่ได้รับการผสมพันธ์ุ (Resin Glandular Trichomes) 82 หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต เพอื่ ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา

82 ภาพท่ี 23 ชอ่ ดอกของกัญชาเพศเมยี เมื่อส่องดว้ ยกล้องขยายจะเหน็ ไทรโครมอยบู่ นช่อดอก 3.2 สารสาคัญท่พี บในพืชกญั ชาและกัญชง สารสาคัญต่าง ๆ ท่ีออกฤทธ์ิในพืชกัญชานั้นเรียกว่า แคนนาบินอยด์ (Cannabinoids) คือ THC และ CBD รวมอยู่ด้วยกันกับแคนนาบินอยด์ อื่น ๆ โดยธรรมชาติ แต่ด้วย นวัตกรรมการปลูกสมัยใหม่จึงสามารถเจาะจงการปลูกเพื่อเพิ่มระดับสารแคนนาบินอยด์ และความ เด่นของการออกฤทธต์ิ ่อร่างกายได้ สาร THC คือ สารท่อี อกฤทธ์สิ ่งผลให้มีอาการมนึ เมา หากมกี ารใช้ ต่อเนื่อง ทาให้เกิดการเสพติดได้ สารแคนนาบินอยด์ มากกว่า 120 ชนิด เคยมีการบันทึกไว้วา่ ถูกพบ ในพืชกญั ชา ซึ่งสารแคนนาบนิ อยดท์ ีม่ ีการศึกษา และมีความสาคัญ คือ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยา หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต 83 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

83 ภาพที่ 24 ภาพแสดงชวี ะสงั เคราะหข์ องสารแคนนาบินอยด์ โดยมี CBGA เป็นสารตง้ั ต้นและไดเ้ ป็น สาร THCA, CBDA และ CBCA และเม่ือถูกความร้อนจะเปลย่ี นรูปเปน็ สาร THC, CBD และ CBC 3.2.1 สารแคนนาบิเจอรอล (Cannabigerol, CBG) เป็นอนุพันธ์ของสาร CBGA เม่ือสาร CBGA โดนความร้อนจะเปล่ียนสภาพเปน็ สาร CBG ดังน้ัน สาร CBG จึงสามารถตรวจพบได้ในพืชกัญชาและกัญชง สาร Cannabigerolic Acid (CBGA) เป็นสารต้นกาเนิดของสารทั้งหมดที่มีในต้นกัญชาและกัญชง คือ เม่ือต้นพืชกัญชาและกัญชง ยังเล็ก จะมีสาร CBGA เท่าน้ัน เมื่อต้นพืชกัญชงและกัญชาเริ่มโตขึ้น สาร CBGA น้ี จะถูกเปลี่ยนเป็น THCA, CBDA และสารอ่ืน ๆ ในพืชสด เราจะพบสารแคนนาบินอยด์ในรูปของกรดเท่านั้น (THCA, CBDA) ซ่ึงสารทุกตัวไม่มีฤทธ์ิต่อจิตประสาท ไม่ก่อให้เกิดอาการเมากัญชา แต่เมื่อสารเหล่านี้ถูกความ ร้อนจะเปลี่ยนรูปและเกิดการดีคาบอกซิเลช่ัน (Decarboxylation) สาร CBGA จะเปลี่ยนเป็น CBG 84 หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

84 สาร THCA จะเปล่ียนเป็น THC และสาร CBDA จะเปล่ียนเป็น CBD ซ่ึงสาร THC จะเป็นตัวท่ี กอ่ ให้เกดิ อาการเมาขณะท่ีสาร CBD จะชว่ ยลดผลขา้ งเคียงของ THC ทาใหล้ ดอาการมึนเมาลงได้ กล่าวโดยสรุป สารแคนนาบิเจอรอล เป็นอนุพันธ์ของสาร CBGA เมื่อสาร CBGA ถูกความร้อนจะเปลี่ยนสภาพเป็นสาร CBG ดังน้ัน สาร CBG จึงสามารถตรวจพบได้ในพืช กัญชาและกัญชง สาร CBGA เป็นสารต้นกาเนิดของสารทั้งหมดที่พบในพืชกัญชาและกัญชง เม่ือพืชโตข้ึน สาร CBGA นี้ จะถูกเปลี่ยนเป็น THCA, CBDA และสาร อ่ืน ๆ เม่ือสารถูกความร้อนหรือออกซิไดซ์ สาร CBGA, THCA และสาร CBDA จะเปลยี่ นสภาพเป็นสาร CBG สาร THC และสาร CBD 3.2.2 สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) เป็นสารท่ีมีฤทธิ์ทาให้มึนเมา ออกฤทธ์ิต่อระบบประสาทส่วนกลาง (Psychoactive Effects) เม่ือเสพเข้าไปจะออกฤทธ์ิ กระตุ้นประสาท ทาให้ผู้เสพต่ืนเต้น ช่างพูด และหัวเราะ อารมณ์ดี กระตุ้นอารมณ์ความรู้สึกให้มากขึ้น เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ กระวนกระวาย หวาดวิตก ต่อมาจะกดประสาททาให้ผูเ้ สพมีอาการคลา้ ยเมาเหล้าอย่างอ่อน ๆ เซ่ืองซึม และง่วงนอน ผ่อนคลาย นอนหลับ หลงลืมระยะสั้น มึนงง และหลอนประสาทร่วมด้วย โดยข้ึนอยู่กับปริมาณ ที่ได้รับ มีการใช้เพ่ือกระตุ้นการอยากอาหาร ต้านการอักเสบ ลดการปวด และต้านการอาเจียน ปริมาณของสาร THC ในแต่ละส่วนของพืชจะแตกต่างกันออกไป ดังน้ี สาร THC จะพบมากที่สดุ ในช่อดอกตวั เมีย มีปริมาณสูงร้อยละ 10 - 12 และพบในสว่ นอนื่ ๆ ของพืช เช่น ในใบร้อยละ 1 - 2 ในลาต้นร้อยละ 0.1 - 0.3 และในรากน้อยกว่าร้อยละ 0.03 แต่ขึ้นอยู่กับสายพันธ์ุ และสภาวะแวดล้อม มีการรายงานว่าในสารสกัดเข้มข้น หรือเรซิ่นจากดอกกัญชา มีปริมาณ THC สูงกว่าร้อยละ 60 - 90 โดยขนึ้ อย่กู ับกรรมวิธีการสกดั กล่าวโดยสรุป THC เป็นสารที่มีฤทธิ์ทาให้มึนเมาออกฤทธิ์ต่อระบบ ประสาทส่วนกลาง (Psychoactive Effects) ปริมาณของ THC ในแต่ละส่วนของพืชมีปริมาณไม่เท่ากัน จะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาททาให้ผู้เสพต่ืนเต้น ช่างพูด หัวเราะอารมณ์ดี ต่อมาจะกดประสาทมีอาการ คล้ายเมาเหล้าอย่างอ่อน ๆ เซ่ืองซึม ง่วงนอน และหลอนประสาท โดยข้ึนอยู่กับปริมาณที่ได้รับ 3.2.3 สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) ไมม่ ีผลตอ่ จติ และประสาท (Non-Psychoactive) และช่วยลดผลข้างเคยี ง จาก THC ท่ีทาให้วิตกกังวล มีการใช้ในการรักษาโรคลมชักในเด็ก มีฤทธิ์ในการต้าน การอักเสบ ต้าน อาการปวด และลดอาการอาเจียน ตามกฎหมายไทยเป็นสารท่ีสกัดจากกัญชา ซ่ึงมีความบริสุทธ์ิ มากกวา่ หรือเทา่ กบั ร้อยละ 99 โดยมีปริมาณสาร THC ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 0.01 โดยน้าหนกั สาร THC และ CBD ไม่ใช่สารที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยเอนไซม์ในพืช (Enzymatically Synthesized) พืชกัญชาจะสร้างสารสองตัวนี้ในรูปของกรด ซึ่งไม่มีผลต่อจิต และประสาท คือ เตตราไฮโดรแคนนาบิโนลิค แอซิด (Tetrahydrocannabinoli Acid, THCA) รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพื่อใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต 85 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

85 และแคนนาบิไดโอลิค แอซิด (Cannabidiolic Acid,CBDA) แต่ถูกความร้อนหรือออกซิไดซ์จะ กลายเป็น THC (มีผลต่อจิตและประสาท) และ CBD ตามลาดับ ดังน้ันในพืชกัญชาสดเราจะพบในรปู ของ THCA และ CBDA สาร THC และ CBD เป็นสารในกลุ่มแคนนาบินอยด์ ซึ่งเป็นสารที่มี คุณสมบัติมีข้ัวต่า ไม่ชอบละลายในนา้ ละลายได้ดีในนา้ มัน ดังนั้น วิธีการสกัดเอาสารสาคัญจากพชื กัญชา จึงมักนิยมใช้ตัวทาละลายที่มีข้ัวตา่ หรือนา้ มันในการสกัด เพราะจะสามารถละลายสารแคน นาบนิ อยด์ออกมาได้ดี สาร CBD เป็นสารที่ไม่ออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท ไม่ทาให้เกิดอาการ มึนเมาในตัวมันเอง และมีคุณสมบัติในการต้านผลข้างเคียงของการใช้สาร THC ซึ่งทาให้เกิด ความรู้สึกหวาดระแวงและวิตกกังวล สาร CBD จึงมีประโยชน์ทางการแพทย์อย่างมากมีการลด ผลขา้ งเคียง ดังนน้ั ตารับยาทม่ี ีการใช้สาร THC มกั มี CBD ร่วมอยู่ด้วย กล่าวโดยสรุป สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) สารน้ีไม่มีผลต่อจิต และประสาท (Non-Psychoactive) และช่วยลดผลข้างเคียงจาก THC ซึ่งเป็นสารที่มีคุณสมบัติมีข้ัวต่า ละลายได้ดีในน้ามัน ดังนั้นการสกัดสารสาคัญจากกัญชา จึงมักนิยมใช้ตัวทาละลายที่มีขั้วต่า หรือน้ามัน ในการสกดั เพราะจะสามารถละลายเอาสารแคนนาบินอยดอ์ อกมาได้ดี 3.2.4 สารออกฤทธทิ์ ่รี ว่ มกบั แคนนาบินอยด์ เนื่องจากในกัญชามีสารมากกว่า 500 ชนิด บางรายงานการศึกษาพบว่า นอกจากสารสาคัญ THC และ CBD แล้วนั้น คาดว่าสารในกลุ่มอื่นท่ีพบในกัญชา เช่น สารในกลุ่ม ฟลาโวนอยด์ และเทอร์ปีน เป็นตัวทช่ี ่วยเสริมการออกฤทธิ์ทางยากับสารกลุ่มแคนนาบินอยด์ อีกด้วย ซงึ่ เรียกการเสรมิ ฤทธิ์นีว้ า่ “Entourage Effect” กล่าวโดยสรุป สารออกฤทธิ์ที่ร่วมกับแคนนาบินอยด์ เช่น สารในกลุ่ม ฟลาโวนอยด์ และเทอร์ปีน เปน็ สารท่ชี ่วยเสรมิ การออกฤทธ์ิทางยาแก่สารกลุ่มแคนนาบนิ อยด์ ถาม ปรมิ าณสารแคนนาบนิ อยด์ จะมากทส่ี ุดในชอ่ ดอกตัวเมยี ท่ีไมผ่ สมพันธุ์ จรงิ หรอื ไม่ ตอบ จริง พชื จะสรา้ งสารแคนนาบนิ อยด์มากท่ีสุดในชอ่ ดอกตวั เมยี ทไ่ี ม่ผสมพนั ธ์ุ เม่อื เทยี บกบั สว่ นอนื่ ๆ ของพชื 86 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ เพ่ือใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

86 เร่ืองที่ 3เรพื่องชื ทก่ี ัญ3ชพาแืชลกะญั กชัญาชแงลคะอื กอญั ะชไรงคแือตอกะตไ่ารงแกตันกอตยา่า่ งงกไรันอย่างไร พืชกัญชา หรือแคนนาบิส (Cannabis) และพืชกัญชง หรือเฮมพ์ (Hemp) มีช่ือทาง วิทยาศาสตร์เดียวกันคือ Cannabis sativa L. เพราะมีต้นกาหนดมาจากพืชเดิมชนิดเดียวกัน ลักษณะภายนอกหรือสัณฐานวิทยาของพืชทั้งสองชนิดน้ันจึงไมแตกต่างกัน หรือมีความแตกต่างกันน้อย จนยากในการจาแนก แต่เดิมนักพฤษศาสตร์ได้จัดให้อยู่ในวงศ์ตาแย (Urticaceae) ต่อมาภายหลัง พบว่ามีคุณสมบัติ และลักษณะเฉพาะหลายประการท่ีต่างออกไปจากพืชในกลุ่มตาแยมาก จึงไดรับ การจาแนกออกเปน็ วงศเ์ ฉพาะ คอื แคนนาบิซีอี (Cannabaceae) ในปจั จบุ ันพืชกัญชาและกญั ชงแยกจากกนั โดยตัดสินจากปริมาณสาร THC ซ่ึงอ้างอิงตาม ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เรื่อง กาหนดลักษณะพืชกัญชง (Hemp) พ.ศ. 2562 (ประกาศ ณ วันท่ี 24 ตุลาคม พ.ศ. 2562) ระบุว่า พืชกัญชง (Hemp) มีลักษณะเป็นพืชซ่ึงมีช่ือทาง วิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. Subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ที่มีปริมาณสาร THC ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้ง ในขณะท่ีข้อกาหนดของ องค์การอนามัยโลก รวมไปถึงอเมริกา แคนาดา และยุโรป ณ ขณะนี้กาหนดให้กัญชงมีปริมาณ THC ไม่เกินรอ้ ยละ 0.3 ในช่อดอกและใบแหง้ ในปัจจุบนั มีการพัฒนาสายพันธ์ุกัญชง เพอื่ นามาใช้ประโยชน์ ทางด้านอุตสาหกรรมอยา่ งหลากหลาย สามารถแบง่ พืชกญั ชงออกได้เป็น 3 ประเภท ดงั นี้ ประเภทที่ 1 พืชกัญชงสายพันธ์ุท่ีเน้นการใช้ประโยชน์จากเส้นใย (Hemp Fiber) เป็น สายพนั ธ์ุทเี่ น้นการให้เสน้ ใยทีด่ ี ลาตน้ ตรงและสงู มปี ริมาณสารแคนนาบินอยดต์ ่า ทั้ง CBD และ THC นิยมนามาปลูกเพ่ือนาเส้นใยจากเปลือกลาต้นกัญชงมาทาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า หมวก เชอื ก กระดาษ และอัดเป็นแทง่ คล้ายคอนกรตี สาหรับใชใ้ นงานกอ่ สร้าง เป็นต้น ประเภทที่ 2 พืชกัญชงสายพันธุ์ท่ีพัฒนาเพื่อให้คุณค่าทางโภชนาการในเมล็ดสูง (Hemp Seed Oil) นิยมปลูกเพ่ือนาเมล็ดมาหีบเอาน้ามันจากเมล็ด ซึ่งมีโอเมก้า 3 - 6 - 9 ปริมาณสูง นามาใช้ใน อสุ าหกรรมเครื่องสาอาง และผลติ ภัณฑ์เพ่ือสุขภาพอยา่ งกว้างขวาง มีปริมาณสารแคนนาบนิ อยด์ต่า ประเภทที่ 3 พืชกญั ชงสายพันธุ์ทีใ่ ห้ปรมิ าณ CBD สงู (Hemp CBD) เปน็ สายพนั ธ์ุท่พี ัฒนา เพ่ือให้ปริมาณสารแคนนาบิไดอออลล (C(Caannnnaabbididioiol,l,CBCDB)Dใ)นใชน่อชด่ออดกอตกัวตเมัวียเมียปมรีปิมราิมณาสณูงสูง นิยมปลูก เฉพาาะะตตน้ ้นตตัวัวเมเมยี ีโยดโยดไยมไ่ใมห่ใเ้ กหดิ้เกิดารกผาสรมผพสันมธพุ์กัน่อนธุ์ก่อารนเก็บารเกเยี่กว็บมเกีกี่ยาวรนม�ำมีกาใรชนป้ ารมะาโยใชน้ปท์ร้งัะทโยางชกนา์ทรแั้งพททายง์ แกลาระแอพุตทสายห์แกลระรอมุตอส่ืนาหเกชร่นรมออา่ืนหาเรช่นเคอราื่อหงาดร่ืมเคแรลื่อะงอดุต่ืมสาแหลกะรอรุตมสเคาหร่ือกงรสร�มำอเคางรื่อเงปส็นาตอ้นางจเปึงเ็นปต็น้นสาจยึงพเปันน็ ธุ์ ทสาีม่ ยีคพวนัามธต์ทุ อ้่ีมงคี กวาารมสตูงอ้แงลกะามรีมสูลงแคลา่ ทะมางมี เูลศคร่าษทฐากงจิ เศรษฐกิจ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่อื ใช้เป็นยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ 87 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

8877 ตตาารราางงททีี่่ 22 เเปปรรียียบบเเททียยี บบคคววาามมแแตตกกตตาา่่ งงกกััญญชชาาแแลละะกกญญัั ชชงง 1856256772931493ห81ห14..............00....ญญ..ลใใปใลเเใเใปแใแอเอ้าา้ปมปมหบหบบบใใตตาาออลลแแบบือื่อ่ลล้้เเสใใสตตกกกก้้ออสสหหหหออออืืแแเีเีน้น้กกดดงง้นน้ขข้้งงญญออกกลลหหสสิงง่่ิออียยีใใกกไไะะกกูู่่งงรรยยกกววมมกกดดกกนน้าา้ือือยยเเถถเ่่เาามมออะะนนอ้อ้หหขขาางึงึรรหหกือก่อื่มมววยยออ้้เเนนเเขขออรรลลาากกไไีียยมมคคีียยียยีมมกกาานี่่ีนววววณุณุยียีววยยงง่่ยย่า่าาาตตจจาาปปุุาาบบลลมมภภกกงงัดัดัวัวววออรราาาาาาททญัญัขขะะสสงงกกพพชี่่ชีออชชมมชชบููบยยตตอ่่องงนนาาาาาามมาา่่ใใมมณณดิดิกกบบีกกี าาออลลจจกก33ออะะ่่ินนิ กกชชหหเเดดเเดิิดออปปือือกกมม็น็นนนนันั คคพพลล่มุุ่ม้า้าเเยยตต้ีีย้ย 99867844แ251335271611แ............0..0....ลล..ลลใใใปแเเใใเอแปใอเะะบบปมมปหบบหใใททตตาาออลลเเ่ืออื่บบลล้เเ้มมตตลลกกกกาาออ้้สสออืืออีสสีน้น้แแใใก็็กกกดดงงนน้้ หหออกกเีีเหหลลสส่ิ่งงิออแแขขใใกก้ผผ้เเกกูงงูะะรรยยกกคคหหยยีี ดดู้เู้เมมา้้าือือกกยยเเบบสสววนนมมออนนาาขขาาะะออพพีียยยยกก่ืออื่กกนนววอ้้อหหมมมมววาากกออ้ออ้ยยววเเมมคคลลีอีอววาาหหยยาาลลี่่ีุณุณยีียกกนนาายยา่า่ววออลลาากกาาุมุมาาภภกกออืื22รรกกงงาามมาาเเาางงททงงััญญรรรรกกเเาาา่่าพพียียปปมมีีชช่่ กกชชยยสสงงสสอ่่อตตววววตตููงงบบููงงดดไไรร่าา่วััวมมจจศศขขม่่ม44ะะรีีรออาาษษมมงงเเกกใใดดีีะะกกบบืืออคคลลนน่ิิ่่่ออนนนนหหขขออ้้าางงมมหหนน่า่า้้อองงยย กกแมจมแกกจงึึงาายยััญญีีถถมมหหกกิิ่่นนชชคีคี นนจจกกงงววาาดดใใาาาากกหหใใเเมมหหกกนน้้มมแแ้้ัันนิิดดีีปปตตกกกกมมรรกกโโลลัญัญดดิิมมาาตต่่าาจจยยาชาช่่าาววณณงงตตาางงโโกกใใกกััดดดดหหัันนพพสสTTยย้้มมนนิินนืืHHชชสสีีปป้้ออจจเเCCรรรรดดยยุุาปปาิิมมิิไไมมกกมมกกาาพพชชปปณณาา่่เเนนืืรชชรกกรริิมมิิกกดดิินนแแTTาาััยยญญเเรรHHณณดดกก้้ออCชชCีียยโโสสยยาาดดววไาไาลลแแยยกกมมรระะลลสสัั่่เนเนกกTTะะััณณ00ินินHHกกลล..ฐฐ33รััรญญััCCกกาา้้ออษษใในนชชซซยยนนณณงงววึึ่่งงลลใใมมิิททขขบบะะะะีีชชยย้้ออภภแแืื่่11ออาากกลลาาทท..ววาา00ยยะะิิททาาหหนนชชไไใใยยนนดดนน่่ออออาาดด้้คคใใดดกกศศบบขข่่ออออาาออแแหหนนกกสสลงงลรรขขแแตตออะะืืออ้้าาหหรรงงชชงงสส์์คค้เเ้งง่ยย่ออดดััณณ์์กกาาดดสสีียยาากกฐฐออ่่ววววรราากกนนกกออปปนนแแัักนนกนนััจจววหหฎฎคคาาจจิิทท้้งงมมืืุุหบบหออยยััยยัันนมมาาCCโโพพาาขขลลaaยยืืชชออกกnnขขกกงงaa((ออพพััญญWWbbงงืืชชชชปปiiHHssททาารรOOแแั้ั้งงssะะลลสส))aaเเะะททออกกttiiกกงงาาศศvvััญญชชหหaaไไททนนนนชชLLิิดดยยดดงง.. ทกผเซ(ขเขซกเผเ(ทVVพพรรื้ื้ออาาลลอ้้อออaaืื่ออ่่อื่ือรรงงิิงงตตหหppกกงงสสพพตตภภooรรททาากกลลืืชชืืััณณออrrรรััดดาาี่่ีiiกกผผzz44ไไดดมมฑฑััญญเeeอ่อ่ดดราา์์rrโโนน้้ชชรรื่อใใ))แแปปดดกกััคคบบนนาาลลงไไยยััจจาาแแลลดดหหกก้้ทววผผจจรรหหาา้้ััววาาลลุุบบ่ีใใหหยยซซ้้งง4ขขรรติติชชัันนไไรรททึ่่ึงง้้สสดดออภภพพ้้ืืออใใจจี่ี่ไไั่่ันน้้งงนนณัณัมมใใกะะืชืชจจนนตตี้ี้จจ่่ผผมมาฑฑกก่่าาปป่่าาะะ่่าาีีชชรท์ท์งงยยััญญรรนนแแื่่ืใออปปัง้ัง้ะะโโชสสกกเเสสชชดดรรเเรร้พดดาาททออะะีีาายยยยรรงงงงเเศศชืแแกกแแแแททใใรรททกสสหหลลปปพพปูปูศศี่ี่ออาาญั้้เเะะรรแแผผททหหรรนนรรกกบบลลยยสสช็็ุุนนููญญปปญััญิิบบตต์์กกาถถาาเเภภนนหหััดดแชชพพึึงงตตััณณ้ีี้ เเรรชชลมมงงเเ่ืื่ออขขืืออพพื่ื่ฑฑออใใีใีใะ้้มมนนกกนนนน่ื่ืออทท์์จจกขขาาาาปปกกชชาาี่่ีใใญั้้นนรรไไาาชชกกรรีวีวปปจจนนรระะ้้ชกกเเิตติาาใใรรนน้ีี้เเแแััญญงททหหชชีียยปปัันนตตใ้้ศศชชนนสสกกกกททนรรททาาูู่่าาบบผผะะตตนนชแแยยีอ่อี่ลลจจ่่าาาาลลวีใในน((ิิตตงงกกาาSSนนะะติุญญุกกภภาาววmmกกรรัันนปรราาััููณณนันัปปััญญooตตออรขขผผขขฑฑkkชชใใออะออูู้้ททหหeeอองง์์กกกกจงง))มมใ้ใ้ี่ี่บบงงััญญไไ�ำสสชชหีีหมมปปรรคควเ้เ้าาชชรราาพพรรตตนนรรันลลาากกืืออื่ออ่ืาาสสใใแแุุนนมมขมมใใกกกนนกลลิิตตาาชชอลลาาััดดโโยยะะิิภภ้้รรกกัังกกลลเเสสแแขขาาััคบบษษมมกกพพววาา้้มมนีีณณกกเเะะรรททคคขขาาใสสจจะะยย้้นนรรรรนะะกกทท่ืื่์์จจออหหสสโซซััดดาาาางงลรราาง่ึง่ึงงกกหหสสืืออมมผผกกกััญญนนููผผบบ้ปูปู้าาาา่่าา่่รราาชช่วย่วยผผยยถถนนาายยภภ่่าาททซซกทกทสสนนาาั้้ังงื้้ืออรราา่ี่ีพพพพไไใใมมรรไไนนออบบขขปปมมาานนรรออใใรรใใววููปปนนชช้้าาถถงงิิธธ้้ีี 88 หนังสือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต เพ่ือใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

88 1. ผลติ ภัณฑพ์ ชื กัญชาและกญั ชงไมแ่ ปรรูป บบางประเทศศทท่ีอ่ีอนนุญุญาาตตใหให้ใช้ใช้ก้กัญัญชาชทาาทงากงากราแรพแทพยท์ จยะ์ มจีผะลมิตีผภลัณิตฑภัณ์พืชฑก์พัญืชชกาัญไมช่แาปไมรร่แูปปรเชร่นูป ดเชอน่ กดกอัญกชกาญั แชหา้งแห(Cง้ a(CnannanbaisbiDsrDierisesFFlolowweer)r)ซซ่ึงงึ่ ผผู้ปู้ ่วยจะสาามมาารรถถนน�ำใาบใบสง่ัสซ่ังอ้ืซจ้ือาจกาแกพแทพยทไ์ ปยซ์ไปอ้ื กซญัื้อกชาัญแชหาง้ แมหาเ้งพมอ่ื าใเชพส้ ่ือบู ใชห้สรูบอื ใหช้เรพือื่อใชก้าเพรรื่อักกษาารไรดัก้ ษในาปไดร้ะใเนทปศทระ่มี เกี ทาศรทอี่มนีกุญาารตอในหุญใ้ ชาเ้ พตือ่ใหก้ใาชร้เนพัน่ือทกนาารกนาันรทเชน่นากแาครนเาชด่นา แผคเู้ สนพาจดะาสผาู้เมสาพรจถะหสาาซมอื้ ากรญั ถชหาแซห้ือง้กทญั จี่ ช�ำาหแนหา่ ้งยทแจี่ บาบหถนกู า่ ตยอ้ แงบตบาถมูกตฎ้อหงมตาายมใกนฎรา้หนมทาม่ียใกี นารา้ขนอทอี่มนกีญุ าารตจ�ำหนขา่ อย อกญันุญชาา ตซจ่ึงกาหญั นช่ายทก่ีจัญ�ำหชนาา่ ซย่ึงจกะัญถูกชคาวทบี่จคามุหคนุณ่ายภจาะพถโูกดคยวมบีกคาุมรรคะุณบภุปารพิมาโณดสยามรีกสา�ำรครญั ะบTุปHรCิม,าCณBสDาเรทสอารค์ปัญีน TหHรือCร,ะCบBสุ Dายเทพอันรธ์ป์ุ ตนี ดิ หบรือเิ วรณะบสุรารยจพภุ ันณธฑ์ุ ต์ ดิ บริเวณบรรจุภัณฑ์ ภาพท่ี 25 ดอกกัญชาแหง้ กล่าวโดยสรุป ผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงไม่แปรรูป เช่น ดอกกัญชาแห้งในประเทศที่ อนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ ผู้ป่วยจะสามารถนาใบส่ังซื้อจากแพทย์ไปซ้ือกัญชาแห้งมาเพื่อสูบหรือใช้ เพือ่ การรักษาได้ 2. ผลติ ภัณฑ์พชื กัญชาและกญั ชงแปรรูป การแปรรูปจากกัญชาและกัญชง เป็นสารสกัดเข้มข้น (Concentrates) ซ่ึงมีการนาไปใช้ ประโยชน์ท้ังทางการแพทย์และเพื่อการนันทนาการ การสกัดมีหลากหลายวิธีเพ่ือให้ได้สารแคนนาบินอยด์ ที่เข้มข้น และเนื่องจากกรรมวิธีที่แตกต่างกันจึงทาให้ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์แตกต่างกัน ดังนั้นเพื่อให้ผู้บริโภคเข้าใจได้ง่ายขึ้นจึงมีการใช้ชื่อเรียกตามลักษณะทางก ายภาพของสารสกัด น้ัน ๆ เช่น รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต 89 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

89 รูปแบบท่ี 1 ครสิ ตลั ไลน์ (Crystalline) เป็นลักษณะของแข็ง คอ่ นข้างใสเหมือนก้อยครสิ ตลั ภาพท่ี 26 Crystalline รปู แบบที่ 2 ดิสทิลเลท (Distillate) เปน็ สารสกัดกัญชาท่ไี ด้จากการกล่นั ลักษณะท่ีไดเ้ ป็นของเหลว สเี หลืองใส ภาพท่ี 27 (Distillate) รูปแบบท่ี 3 ไลว์ เรซ่ิน (Live Resin) ส่วนใหญไ่ ด้จากการสกดั โดยใชบ้ ิวเทน (Butane) ลกั ษณะ คลา้ ยเรซิ่น สีเหลอื ง ภาพที่ 28 Live Resin (BHO) 90 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ เพื่อใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

90 รปู แบบที่ 4 เชทเทอร์ (shatter) ลักษณะแข็งเป็นแผ่นสีเหลอื งนา้ ตาล กรอบ แตกหักได้ ภาพที่ 29 Shatter รปู แบบที่ 5 บดั เดอร์ (Budder) จะมีลกั ษณะเป็นกอ้ นสีเหลอื งคลา้ ยเนย ภาพท่ี 30 Budder รูปแบบที่ 6 สเน็ป (Snap) เปน็ สารสกดั เข้มข้นทีม่ ีความเหนยี วยดื แต่ไม่กรอบ แตกได้ ภาพที่ 31 Snap รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพอ่ื ใช้เป็นยา หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวติ 91 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

91 รปู แบบที่ 7 ฮนั นโ่ี คม (Honey Comb) สารสกัดที่มลี ักษณะคล้ายกับรวงผึ้ง มรี ูพรุน ด้านในเป็นก้อนแข็ง ภาพท่ี 32 Honeycomb รปู แบบท่ี 8 ครมั เบิล (Crumble) ลกั ษณะเปน็ ชน้ิ เล็ก ๆ ปน่ ๆ คลา้ ยกับขนม ภาพท่ี 33 Crumble รูปแบบท่ี 9 เซฟ็ (Sap) มลี กั ษณะค่อยขา้ งเหลว สีเหลอื ง หรอื สนี า้ ตาล ภาพที่ 34 Sap 92 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวิต เพ่อื ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

92 รปู แบบที่ 10 โพเพน เอ็กซ์แทร็ก (Propane Extract, PHO) จะมีลักษณะคล้ายก้อนแว็กซ์แขง็ สีเหลือง ภาพที่ 35 PHO รูปแบบที่ 11 แฮช ออยล์ (Hash Oil) เปน็ การสกัดเข้มขน้ ของกญั ชา ทร่ี ะเหยตวั ทาละลายออกแล้วจะไดส้ ารแคน นาบนิ อยด์เข้มขน้ ลักษณะเป็นยาง เหนยี ว ๆ สี ภาพท่ี 36 Hash oil รปู แบบท่ี 12 เซเรซ (Charas) มกั ใช้วิธกี ารราดดว้ ยน้าแข็งแห้ง หรอื ไนโตรเจนเหลว แลว้ เคาะไทรโครม ออกมาจากดอกเพศเมีย ซึง่ มแี คนนาบินอยด์เรซ่ินอยมู่ าก ภาพท่ี 37 Charas รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ 93 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

93 กล่าวโดยสรุป ผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงแปรรูป คือ ผลิตภัณฑ์จากพืชกัญชา และกัญชงที่ แปรรูปเป็นสารสกัดเข้มข้น (Concentrates) ซ่ึงมีหลายรูปแบบ และมีชื่อเรียกแตกต่าง กันไป ผลติ ภณั ฑ์สารสกัดกัญชาจะให้สารแคนนาบินอยด์ที่เข้มข้นกวา่ ในรูปพชื แห้ง แตท่ ัง้ สองรูปแบบ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ทั้งทางการแพทย์ และเพ่ือการนันทนาการได้ตามกฎหมายของแต่ละ ประเทศท่มี กี ารอนญุ าตให้ใช้ 3. การบรโิ ภคและอปุ โภค กัญชาในอาหาร มีหลักฐานบันทึกไว้ว่า คร้ังหนึ่ง มีการใช้กัญชาเป็นสมุนไพร คู่ครัวไทย เพ่ือปรุงรสอาหาร และนิยมใช้เพ่ือการเข้ายาตามตารบั ยาไทยโบราณ ในปัจจุบันประเทศที่อนุญาตให้ ใช้กัญชาและกัญชงในอาหารมีการนามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑเ์ พ่ือการบริโภคและอุปโภคมากมาย เช่น 3.1 ผลติ ภณั ฑเ์ พ่อื การบริโภค ในประเทศท่ีมีการอนุญาตให้ใช้กัญชาได้ มีการใช้กัญชาหรือกันชงเป็น ส่วนประกอบในอุตสาหกรรมอาหารมากมาย เช่น เคร่ืองด่ืมชูกาลังหรือเครื่องดื่มไร้แอลกอฮอล์ เพ่ือ ด่ืมแทนเบียร์ ในอาหารหรือขนมคุกกี้ ไอศกรีม เย็นล่ี หมากฝรั่ง ลูกอม เป็นต้น โดยจะมีการระบุ ปริมาณสาร THC และCBD ไว้อย่างชัดเจนซ่ึงปกติจะไม่เกิน 10 บริกรรมต่อ 1 หน่วยบริโภคและมี การกาหนดอายขุ องผู้ซอ้ื เพอ่ื จากัดการเข้าถงึ ของผู้บรโิ ภคทสี่ ุ่มเสี่ยงให้ไม่ปลอดภัยได้ ภาพท่ี 38 อาหารทีม่ ีส่วนผสมของกญั ชา 94 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

94 มีการใช้น้ามันจากเมล็ดกัญชง (Hemp Seed Oil) ในการประกอบอาหาร โดยไม่ผ่านความร้อน เช่น ในการใช้ในการปรุงน้าสลัด เพ่ือได้รับคุณค่าทางด้านโภชนาการ เนื่องจาก น้ามนั เมลด็ กันชงอุดมไปด้วย โอเมกา้ 3 โอเมกา้ 6 และ Gamma Linolenic Acid (GLA) ซ่ึงเปน็ กรด ไขมันทม่ี ปี ระโยชน์ตอ่ ร่างกาย มผี ลติ ภณั ฑป์ ระเภทชงดื่มที่ผลติ จากเสน้ ใยกญั ชง (Hemp Fiber) ใช้ใน การบรโิ ภคเพ่อื ชว่ ยเพมิ่ เสน้ ใยช่วยให้ระบบลาไส้และการขับถ่ายดีขน้ึ ภาพที่ 39 Hemp Seed Oil นอกจากน้ี การใชก้ ัญชาในการบรโิ ภคในประเทศไทย ก็มีใหเ้ ห็นมาอยา่ งช้านาน ภญ.ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร เลขาธิการมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร โพสต์ข้อความ ผ่าน โซเซียลเฟสบกุ๊ สใ์ นหัวข้อเรื่อง “กญั ชากอ่ นภูมิปัญญาจะหายไป” โดยมเี นอื้ หาดังนี้ “จากการ ลงพื้นที่ สารวจความรู้ของมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพ้ืนท่ีภาคใต้พบว่า ชาวบ้าน มีการใช้ กัญชาปรุงอาหาร นาใบอ่อนมาใช้เป็นอาหาร ใส่แกงส้ม แกงกะทิ แกงมัสมั่น เมนูผัดหรือรับประทาน สด เปน็ ผกั จมิ้ น้าพรกิ น้าบูดู แตจ่ ะใช้ปรมิ าณน้อย 1 - 2 ใบ (ใช้มากจะทาให้เมาได้) กญั ชาเพิม่ รสชาติ อาหาร ทาให้กินข้าวได้มาก นอนหลับสบาย ในใบกัญชามีสารเมาน้อย และละลายน้าได้น้อย การนามาใส่แกง ในปรมิ าณจากัด เชน่ 1 - 2 ใบ จึงไมท่ าใหเ้ มา สารเมาในกญั ชา ละลายในน้ามันได้ดี นาไปชบุ แป้งทอด สารเมาจะถูกสกดั ใหอ้ อกไปกับน้ามนั ทใี่ ชท้ อด” 3.2 ผลิตภัณฑ์เพื่อความงาม และสุขภาพ กัญชงนิยมนามาใช้ทาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมความงามและสุขภาพ มักใช้ ส่วนของน้ามันที่ได้จากเมล็ด (Seed Oil) และ น้ามัน CBD (CBD Oil) จากชอ่ ดอกตัวเมยี ของกญั ชง นา้ มนั เมล็ดกัญชงอุดมไปดว้ ยสารอาหารท่ีมีคุณค่าต่อผิวและเส้นผม มีการนามาใชท้ ้ังในผลิตภัณฑ์สาหรับ ผิวกาย เพื่อช่วยเพ่ิมความชุ่มชื้นแก่ผิว ใช้ทาเป็นผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าและกาย สบู ่ และ ผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางอีกหลากหลายชนิด ส่วนน้ามัน CBD มีการนามาใช้ในการเป็นสารสาคัญที่ช่วย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวติ 95 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

95 ในเรื่องตา้ นอนุมลู อสิ ระแกผ่ ิว ผลติ ภัณฑ์รปู แบบ เชน่ ครีมเพ่อื ใช้ในการบารุงผวิ หนา้ เป็นผลติ ภณั ฑใ์ น การชว่ ยให้ผอ่ นคลาย เปน็ บาลม์ ทาเพื่อบรรเทาอาการเมือ่ ยลา้ เป็นตน้ 3.3 ผลติ ภัณฑ์เพ่อื การอปุ โภค การใช้ประโยชน์จากเส้นใย ส่วนใหญ่เป็นการใช้ประโยชน์จากกัญชงชนิดท่ีให้ เส้นใยสูง (Hemp Fiber Type) ซ่ึงจะมีลักษณะเส้นใยที่เหนียว ทน ขาดยาก มีอายุการใช้งานนาน นอกจากการนามาใช้ในอตุ สาหกรรมสิ่งทอเครื่องนงุ่ ห่ม หรือใชท้ าเชือกที่เรารจู้ ักกันดีแล้วน้ัน เส้นใยกัญชง ยังสามารถนาไปใช้ในอุตสาหกรรมอื่น ๆ ได้อีกด้วย เช่น ทาเสื้อเกราะกันกระสุนช้ันดีที่มีน้าหนักเบา ทาเยื่อกระดาษ (โดยเฉพาะกระดาษพิมพ์ธนบัตร) วัสดุหีบห่อ ฉนวนกันความร้อน ไบโอพลาสติก มีการ นามาข้ึนรูปใช้เป็นจานอาหารแทนการใช้โฟมและพลาสติก ทาอิฐ (Hemp Crete) หรือคอนกรีต สาหรบั งานกอ่ สร้าง ทาส่วนประกอบรถยนต์ เฟอร์นิเจอร์ เชน่ พรม เก้าอ้ี เป็นตน้ กล่าวโดยสรุป มีการใช้พืชกัญชาหรือกัญชงเป็นส่วนประกอบในอุตสาหกรรม อาหาร บางประเทศมีการอนุญาตให้ใชก้ ัญชาในอาหารซึ่งจะต้องระบุปริมาณสาร THC และ CBD ให้ ชัดเจน โดยปกติต้องไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อหน่วยบริโภค แต่ในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรม ความงามและสุขภาพ รวมไปถึงอุตสาหกรรมส่ิงทอ มีการใช้ประโยชน์อย่างมากมายของกัญชง เช่น การผลิตเคร่ืองสาอาง น้ามันจากเมล็ด ซึ่งมีคุณค่าทางโภชนาการสูง การทาเครื่องแต่งกาย เส้ือกัน กระสนุ เปน็ ตน้ 4. การนนั ทนาการ นนั ทนาการ คือ กจิ กรรมทท่ี าในยามว่าง เพือ่ ใหเ้ กดิ ความเพลดิ เพลนิ ผอ่ นคลายความ ตึงเครียดทั้งร่างกายและจิตใจ กิจกรรมนันทนาการ มักเกิดขึ้นในช่วงสุดสัปดาห์ และวันหยุด ประกอบด้วย ดนตรี การเต้นรา กีฬา งานอดิเรก เกม และการท่องเท่ียว การดูโทรทัศน์ และฟังเพลง เป็นรปู แบบสามัญของนันทนาการ แตใ่ นบุคคลบางกลุ่มมีการใชก้ ญั ชาเพ่อื นันทนาการ กญั ชาเป็นพชื ท่ีมีสาร THC ซึ่งมฤี ทธิต์ อ่ จิตประสาท การใชก้ ัญชาในปรมิ าณนอ้ ย ๆ จะ ทาให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลายและเป็นสุข อาจจะทาให้รู้สึกเคลิบเคลิ้ม อารมณ์ดี หัวเราะง่ายขึ้น แต่หากใช้ในปริมาณที่มากจะก่อให้เกิดอาการเมา เกิดความเปลี่ยนแปลงสติสัมปชัญญะ มีความ ผิดเพ้ียนในการรับรู้เร่ืองเวลา และสถานท่ี อาจทาให้เกิดภาพลวงตา หูแว่ว อาการประสาทหลอนเทียม (Pseudo Hallucination) และการสูญเสียสมรรถนะในการควบคุมการเคล่ือนไหว เนื่องจากเสีย ปฏิกิริยาสะท้อนทางระบบประสาท (Impairment of Polysynaptic Reflexes) ในบางรายอาจทา ให้เกิดภาวะแยกตัว (Dissociative States) เช่น การลืมตัว (Depersonalization) และการสูญเสีย การตระหนักรู้ (Derealization) และก่อให้เกิดการเสพติดได้ ในบางประเทศอนุญาตให้ใช้พืชกัญชาเพ่ือการผ่อนคลาย เช่น ประเทศอุรุกวัย เป็น ประเทศแรกของโลกที่อนุญาตให้ใช้กัญชาเพื่อนันทนาการ แต่ทั้งนี้ อุรุกวัยมีระบบควบคุมการ 96 หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ เพอื่ ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

96 96 ซื้อขายกัญชาอย่างเข้มงวด ผู้เสพจะต้องลงทะเบียนกับเจ้าหน้าท่ี โดยมีข้อแม้ว่าสามารถซ้ือได้ 10 กรัม ตซ้ือ่ ขสาปั ยดกาัญหชเ์ ทา่าอนยั้น่างนเขอ้มกงจวาดกนผ้ีูเยสงัพจจาะกตัด้อในงลเรง่ือทงะรเะบดียับนคกวับามเจแ้ารหงขนอ้างทกี่ ัญโดชยามดีขว้ ้อยแเชมน่ ้วก่านัสาโมดายรปถรซิมื้อาไณดส้ า1ร0 TกHรัมC ซต่ึงอมสีผปั ลดใานหทเ์ ทาง่าปนรน้ั ะสนาอทกจใาหก้คนวี้ ยามังจราู้สกึกัดผใ่อนนเรคื่อลงราะยดเับคคลวิบาเมคแลร้ิมงขนอ้ันงจกะัญตช้อางดส้วมยดเชุล่นกกับันปรโดิมยาปณรสิมารณสCาBรDTทHี่มCี ฤซท่ึงมธีผท์ิ ลาในหท้ผ้ใูาชง้อปยร่ใูะนสอาาทกาใรหส้คงวบามรู้สึกผ่อนคลาย เคลิบเคล้ิมนั้นจะต้องสมดุลกับปริมาณสาร CBD ที่มี ฤทธทิ์ าใหผ้ ู้ใชอ้ ยใใู่นนปอราะกเทารศสแงคบนาดา เปิดให้ใช้กัญชาเพ่ือนันทนาการ โดยอนุญาตให้ผู้ที่บรรลุนิติภาวะ แล้วสามารถซ้อื นใน้ามปันระกเญั ทชศาแคเนมาลด็ าตเ้นปกิดญัใหช้ใาช้กแัญละชกาเัญพชื่อานตันาทกนแหาก้งาจรากโรด้ายนอคนา้ ุญแลาตะผใหู้ผ้ผลู้ิตทท่ีบ่ีไรดรร้ ลับุนอิตนิภุญาาวตะ แเทล่า้วนสั้นามสาารหถซรัื้อบนก้ามรซัน้ือกกัญัญชชาาเจมาลกด็ ร้าตน้ คก้าัญทชี่ไาม่ไแดล้ระับกอัญนชุญาตาตากนแ้ันหถ้งือจเาปก็นรก้านารคก้ารแะลทะาผทผู้ ี่ลผิตดทกฎี่ไดห้รมับาอยนุญแลาะต หเทา่ากนรั้นานสคา้ หขราัยบกญัารชซา้ือใหกเ้ัญยาชวาชจนาอการย้านตุ า่คก้าวทา่ ่ีไม1่ไ8ด้ปรับี (อในนบุญาางตรฐันกั้นาถหือนเดปท็นี่ก1า9รกปรี)ะจทะามทโี ท่ีผษิดจกาฎคหุกมถางึ ย14แลปะี หากร้านค้าขายกหญั ลชาายใรหัฐเ้ ยใานวสชหนรอัฐาอยตุเมา่ กริวก่าาไ1ด8้อปนี ุญ(ในาบตาใงหร้ใฐั ชก้กาัหญนชดาทเพี่ 1่ือ9กปาี)รจนะันมทีโทนษาจกาาครกุ ไถดงึ้ แ1ต4่กป็มี ี ข้อกาหนดท่ีคล้าหยลคาลยึงรกัฐับใทนาสงหแครัฐนอาดเมารคิกือาไรดะ้อบนุอุญายาุแตลใะหก้ใาชห้กนัญดชปาริเมพาื่อณกการนคัรนอทบนคารกอางรกไัญดช้ าแตแ่กล็ะมี ขต้องกซาื้อหขนาดยทใน่ีครลา้ ้านยทคี่ไลดึงร้ กับับอทนาญุ งแาตคจนาากดทาาคงรือฐั บระาบลแุอลาย้วเุแทล่าะนกัน้ าหในสดหปรรฐั ิมอาเณมรกิกาารนค้ันรอเบนคื่องรจอางกขัญ้อชกาาหแนลดะ ตท้อางซก้อืฎขหามยาในยรขา้ อนงทก่ีไัญดร้ชบั าอในนแุญตา่ลตะจราัฐกท่ีแางตรกฐั ตบ่าางลกแันล้วขเ้ทอ่าคนว้ันรรใะนวสังหขรอัฐงอกเามรพิกากนพ้ันากเนัญือ่ ชงาจทาก่ีซข้ือ้อกยา่าหงนถูกด ทกฎางหกมฎายหขม้าามยผข่าอนงไกปัญยงั ชราัฐใทน่ไี แมตอ่ ่นลุญะราัฐตทให่ีแ้ใตชกก้ ตญั ่าชงากถันือวข่า้อเปคน็วรครวะามวังผขดิ องการพกพากัญชาที่ซ้ืออย่างถูก กฎหมายข้ามผ่ากนลไป่ายวโังดรัฐยทส่ไีรมุปอ่ กนัญุ ชาาตเใปห็น้ใชพ้กืชญั ทช่ีมาีสถาือรวอ่าอเกปฤ็นทคธว์ิตาม่อผจิดตและประสาท ทาให้เกิดความผ่อน คลาย และควากมลร่าู้สวึกโเดปย็นสสรุปข กในัญบชางเป็นรพะเืชททศ่ีมอีสนาุรญอาอตกใฤหท้ใธชิ์ต้พ่อืชจกิตัญแลชะาปเพร่ือะสกาทรนทันาทใหน้เากกิดาครวไาดม้ ผเช่อ่น คปลระาเยทแศลอุะรุกควัยามปรรู้สะึกเเทปศ็นแสคุขนาใดนาบแาลงปะใรนะบเทางศรอัฐนขุญองาสตหใรหัฐ้ใอชเ้พมืชริกัาญเชนา่ือเพงจื่อากกาผรู้ในช้ักนัญทนชารกู้สาึกรเไกดิด้ กเชา่นร ผป่อรนะเคทลศายอุรแุกลวะัยเปป็นรสะุขเทขณศแะคทน่ีใชาด้ แาตแ่เนลื่อะใงนจบากางกรัญัฐชขาอยงังสมหีสราัฐรอทเมี่ทราิกใหา้ตเินดไ่ือดง้จจาึงกไมผู้่ใคชว้กรัญใชช้กาัญรู้สชึกาตเก่อิดเนกื่อางร แผล่อะนใคชลใ้ านยปรแิมลาะณเปส็นูงสุขขณะที่ใช้ แต่เนื่องจากกัญชายังมีสารที่ทาให้ติดได้ จึงไม่ควรใช้กัญชาต่อเนื่อง และใชใ้ นปรมิ าณสูง กกิจิจกกรรกรรมมิจททก1า้า้ร. ยยรกมบบิจทททก้ารรยมบทที่ 1 1. กคจิากชแ้ีรรจมงท:่ี โ1ปรดเลอื กตวั อักษรหนา้ ขอ้ ทผี่ ู้เรียนคิดว่าข้อน้ันเป็นคาตอบที่ถูกต้องที่สุด เพียงข้อเดียว แคลา้วชเแ้ีขจยี งนค: าโปตอรดบเลลงือใกนตกัวรอะักดษาษรหคนาตา้ อขบอ้ ทขอีผ่ งู้เรผียู้เรนยี คนดิ วา่ ข้อนัน้ เป็นคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุด เพยี งข้อเดียว แขลอ้ ว้ เ1ข.ยี นขคอ้ าใดตคอือบลกังษในณกะรขะอดงาษกคญั าชตาอตบ้นขตอวั งเผมเู้ ียรยี น ขอ้ 1. ขก้อ. ใดมคีดือลกกั ตษัวณเมะียขแอลงะตกวัญผชูอ้ ายตู่ใน้ ตวั้นเเมดียียวกนั กข. มีดอกเตปวั ็นเมชยีอ่ แดลอะกตเลัวผ็กู้อๆยู่ใสนขี ตา้นวเตดรียงวซกอันกใบ ขค. มีดอกเหปนน็ าชแอ่ นด่นอกนเ้าลห็กนๆักมสาขี กาตวดิ ตกรันงซเปอน็กชใบ่อ ๆ งค. มดี อกหออนกาแเปน็น่นกนระา้ จหุกนแักนมน่ าเกปต็นดิ ชกน้ั ันเๆปน็มชีขอ่นสๆขี าว ๆ ขอ้ 2. ขงอ้. ใดมกีดลอา่ กวอไมอกถ่ เกู ปต็นอ้ กงรเะกจยี่ กุ วแกนับน่ ปเประ็นโชยนั้ชนๆ์ขอมงขี พนชืสกีขัญาวชาๆและกญั ชง ขอ้ 2. ขก้อ.ใดกกาลรใา่ ชวป้ไมร่ถะโูกยตชอ้ นง์จเากกีย่ เสวกน้ บัใยปรสะ่วโนยใชหนญ์ข่เอปง็นพกืชากรญัใชชป้ ารแะลโะยกชัญนจ์ชางกกญั ชาชนดิ ท่ี ให้เสน้ ใยสงู (Hemp Fiกb.erกTาyรpใชe้ป) รเะหโนยยี ชวนจ์ทานกเขสาน้ ดใยยากส่วนใหญ่เปน็ การใชป้ ระโยชน์จากกัญชาชนดิ ที่ ใหเ้ สน้ ใยสงู (Hemp Fiber Type) เหนียว ทน ขาดยาก รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวิต 97 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

97 ข. น้ามนั เมลด็ กัญชงอุดมไปด้วย โอเมก้า 3 โอเมก้า 6 และ Gamma Linolenic Acid (GLA) ซึง่ เป็นกรดไขมนั ทมี่ ีประโยชนต์ ่อร่างกาย กกกกก ค. นา้ มันเมลด็ กญั ชงอดุ มไปดว้ ยสารอาหารทมี่ ีคุณคา่ ต่อผวิ และเสน้ ผม มีการ นามาใช้ท้งั ในผลติ ภัณฑ์สาหรับผิวกาย เพอ่ื ช่วยในการเพ่ิมความช่มุ ชื้นแก่ผิว ง. ภาคใต้พบวา่ ชาวบ้านมีการใช้กัญชาปรงุ อาหาร นาใบอ่อนมาใชเ้ ปน็ อาหาร ใส่แกงสม้ แกงกะทิ แกงมัสม่ัน เมนูผัดหรือรับประทานสด เป็นผักจม้ิ น้าพริก น้าบดู ู ขอ้ 3. สาร CBD และ THC ทนี่ ามาใชท้ างการแพทย์มฤี ทธิ์ต่างกนั อยา่ งไร ก. THC เปน็ สารทีม่ ปี ระโยชน์ CBD เปน็ สารทม่ี ีโทษ ข. CBD มผี ลต่อระบบประสาท THC ไม่มีผลตอ่ ระบบประสาท ค. CBD ไม่มีผลต่อระบบประสาท THC มีผลตอ่ ระบบประสาท ง. THC เปน็ สารทใ่ี ชใ้ นการรักษาโรคลมชักในเด็กมากกวา่ CBD ข้อ 4. สารเทอร์ปนี และสารฟลาโวนอยด์ มคี วามสมั พนั ธ์อย่างไรกบั สาร THC และ สาร CBD ก. เปน็ สารท่ีลดการออกฤทธิ์ทางยาของสาร THC และ สาร CBD ข. เปน็ สารทช่ี ่วยเสรมิ การออกฤทธิ์ทางยาของสาร THC และ สาร CBD ค. สารฟลาโวนอยด์เสริมการออกฤทธิ์ทางยา แตส่ ารเทอร์ปีนลดการฤทธ์ิทางยา ง. สารเทอร์ปีนเสริมการออกฤทธิท์ างยา แตส่ ารฟลาโวนอยด์ลดการออกฤทธท์ิ างยา ข้อ 5. เพราะเหตุใด ทางการแพทย์ จึงไม่ใช้สาร CBD ผ่านทางชอ่ งปากโดยตรง ก. มีรสชาติขมเกินไป และไม่เหมาะทีจ่ ะผา่ นช่องปาก ข. การซมึ เข้ากระแสเลือดช้า กลายสภาพเปน็ THC ได้ ค. การละลายทาปฏิกริ ยิ ากับนา้ ลาย กลายสภาพเปน็ THC ได้ ง. การทาปฏิกิริยากับกรดในกระเพาะกลายสภาพเป็น THC ได้ 2. กิจกรรมท่ี 2 คาช้แี จง : โปรดจับคขู่ ้อมูลที่อยู่หลงั ตวั อักษรท่ีตรงกับตวั เลขของข้อน้ัน ๆ หรือมีความสัมพันธ์ ตรงกับหวั เร่อื งน้นั ๆ ให้ถูกต้อง แลว้ นาตัวอกั ษรของหน้าขอ้ มลู มาใสห่ น้าตวั เลขตรงกับข้อนัน้ ๆ ........... 1. กญั ชา 2,000 ปี ก่อนครสิ ตกาล ก. สาร CBGA เป็นสารตน้ กาเนดิ ของสาร ........... 2. ซับสปชี ีส์ (Subspecies) ท้ังหมดท่ีมีในตน้ พชื กัญชงและพืชกัญชา กัญชาและกญั ชงของ WHO เมอื่ ตน้ พชื กัญชงและพชื กัญชาโตขนึ้ ........... 3. สารสาคญั ทพ่ี บในพชื กัญชา ข. พบมากทใ่ี นยางไทรโครมของดอกเพศเมียที่ และพชื กญั ชง ยงั ไม่ไดร้ บั การผสมพนั ธ์ุ 98 หนงั สือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวิต เพ่ือใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

98 ........... 4. “กะหรี่กัญชา” ค. เปน็ สารท่ีมฤี ทธิ์ทาใหม้ นึ เมา นอนหลบั ........... 5. สารในกลมุ่ แคนนาบนิ อยด์ ผอ่ นคลายหรอื สนุกสนานได้ (Cannabinoids) ง. ช่อดอกเพศเมีย มผี ลแบบผลแหง้ จ. พืชกญั ชาจะเก่ียวขอ้ งกับศาสนา เปน็ ส่ิงชาระลา้ งจติ ใจ สอ่ื กลางในการเขา้ ถึงพระเจ้า ฉ. พชื กัญชงสายพนั ธทุ์ ี่เน้นการใช้ประโยชนจ์ าก เสน้ ใย (Hemp Fiber) ช. เชอื่ วา่ กญั ชาเป็นพชื ให้โทษมากกวา่ คณุ ซ. แบ่งยอ่ ยเปน็ Cannabis sativa L. subsp. sativa กญั ชง และ Cannabis sativa L. Subsp. indica กัญชา 3. กจิ กรรมที่ 3 คาชีแ้ จง : โปรดทาเคร่ืองหมายถกู () หรือทาเครอื่ งหมายผดิ () ลงหนา้ ข้อตัว เลขทีผ่ ู้เรียนอา่ นข้อมูลแล้วคิดวา่ คาตอบน้ีถกู ให้ทาเคร่ืองหมายถกู () ถ้าคดิ วา่ ข้อมลู ที่อา่ นเปน็ คาตอบท่ีผิด ใหท้ าเครื่องหมายผิด () ........... 1. กัญชาและกัญชงเป็นพชื ล้มลกุ ตระกลู เดยี วกนั ต่างกันท่ีพืชกัญชงมีปริมาณของสารเตตรา ไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) นอ้ ยกวา่ พืชกัญชา ........... 2. กัญชง (hemp) มีชอื่ ทางวทิ ยาศาสตรว์ ่า Cannabis sativa L. Subsp. sativa ........... 3. กญั ชามลี กั ษณะใบลีบเล็กเรยี วมีจานวนแฉกมากกัญชง และลาตน้ เป็นพุ่ม ลาต้นปอ้ มเต้ีย ........... 4. การใชก้ ัญชาหรือกญั ชงเปน็ สว่ นประกอบในอุตสาหกรรมอาหาร จะไม่ระบุปรมิ าณ ..…………… สาร THC และสาร CBD ไว้ .......... 5. ประเทศอุรุกวัย เป็นประเทศแรกของโลกที่อนุญาตให้การใช้กัญชาเพื่อนันทนาการ ซ่ึงบังคับใช้เมอ่ื ปี ค.ศ. 2013 รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ 99 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

99 3บทที่ รูจ้ กั โทษและปรบะทโทยี่ ช3 นข์ องกัญชา แลระู้จักกโญัทษชแงละประโยชนข์ องกญั ชาและกัญชง สาระสาคสญั าระส�ำ คญั กกกกกกก1. โทษของกัญชาและกญั ชง 1.1 ผลกระทบต่อร่างกายและผลข้างเคียง ผู้เช่ียวชาญเกี่ยวกับสารเสพติดจากสาขาต่าง ๆ และรายงานทางวิชาการ พบว่า กัญชามีผลกระทบต่อร่างกายเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือด ผลต่ออาการติดยา นอกจากกระทบต่อการใช้ชีวิตตามปกติแล้ว กัญชายังมีโทษต่อทุกส่วน ของร่างกาย ผู้เสพกัญชา ร่างกายจะเส่ือมโทรม ทาลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย และทาลายสมอง ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปอด ทาร้ายทารกในครรภ์ มีผลกระทบต่อทางเดินหายใจ หัวใจ และหลอดเลือด กัญชาจะเพ่ิมอตั ราการเต้นของหัวใจเร็ว เมือ่ ใชก้ ัญชาในปริมาณมาก และยาวนานต่อเนื่อง ไม่สามารถควบคุมอาการติดยาได้ 1.2 ผลกระทบต่อจติ ใจ ฤทธิข์ องกัญชาและกัญชงทาให้ผู้เสพมีความผิดปกติทางความรู้สึก ความคิด อาการ หรือพฤติกรรมต่าง ๆ จิตฟ่ันเฟือน มีอาการประสาทหลอน ความคิดสับสนนาไปสู่ โรคจติ เวช หรอื ภาวะซึมเศร้าได้ 1.3 ผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม การเสพกัญชาและกัญชงทาให้มี ผลกระทบต่อครอบครัวทาลายความสุขในบ้าน เป็นท่ีรังเกียจของชุมชน ทาลายช่ือเสียงวงศ์ตระกูล อาจเพม่ิ ความรนุ แรงถึงข้นั เกดิ ปญั หาอาชญากรรมต่าง ๆ ในชุมชน และสังคมตามมาได้ 1.4 ผลกระทบต่อประเทศชาติ เมื่อประชากรเสพติดกัญชามาก ส่งผลให้ทาลาย เศรษฐกิจ สูญเสียงบประมาณในการดูแลรักษาผู้ท่ีเสพติดกัญชา ทาลายความม่ันคงของประเทศ ต้องสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีคุณภาพในการพัฒนาประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศก็จะ เป็นไปอย่างเช่ืองช้า เกิดข้อขัดแย้งทางการเมือง หรือความไม่สงบระหว่างประเทศ ทาให้เสื่อมเสีย ชอ่ื เสียง และเกียรตภิ มู ใิ นสายตาของชาวตา่ งชาติได้ กกกกกกก2. ประโยชน์ของกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ สารสกัดจากกัญชาที่นามาใช้ประโยชน์ ทางการแพทย์ มีสารกลุ่ม แคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) ท่ีมีสารออกฤทธ์ิสาคัญ 2 ชนิด คือ แคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) มีคุณสมบัติลดอาการเจ็บปวด อักเสบ ชักเกร็ง คลื่นไส้ และสาร เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) มีคุณสมบัติต่อจิตประสาททาให้ ผ่อนคลาย ลดอาการตึงเครียด สารสกัดจากกัญชาทางการแพทย์แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม (1) สารสกัด กัญชาท่ีมีข้อมูลทางวิชาการท่ีสนับสนุนชัดเจน (2) สารสกัดกัญชาช่วยในการควบคุมอาการ ควรมีข้อมูล รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอ่ื ใช้เปน็ ยา หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ 101 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

111100000000 ททททคคเเคเคเเเเเกกกกสสสสปปปปพพพพูงููงงูงััััญญญญววววาาาา็็็็นนนนสสสสีีีียยยยงงงงาาาาชชชชววววดุุดดดุุสสสสมมมมงงงงาาาาิิิชชชิช่่่่พพพพววววปปปปตตตตาาาานนนนออออลลลล้้้้ออออกกกกปปปปออออาาาางงงงดดดดรรรรออออรรรรดดดดััััะะะะงงงงททททยยยยภภภภกกกกนนนนีสี่สส่ีส่ีูููู่่่่่ภภภภััััยยยยออออัั้ั้ั้้นนนนนนนนาาาาเเเเบบบบบับบััับยยยยปปปปกกกกใใใใสสสส็็็็นนนนททททตตตตาาาานนนนสสสส่่ีี่ีี่ไไไไ้้้้รรรรกกกกุุุนุนนนดดดดาาาานนนนาาาา้้้้เเเเมมมมคคคครรรรพพพพาาาาีีีีกกกกััััญญญญคคคคสสสสิ่่่ิิ่ิมมมมาาาาววววาาาาเเเเรรรรตตตตบบบบแแแแรรรรคคคคิิิิมมมมลลลลคคคคสสสสััััดดดดุุุุะะะะมมมมกกกกเเเเแแแแใใใใลลลลััััดดดดลลลลนนนนดดดดืืืืออออกกกกะะะะููููททททแแแแกกกกััััญญญญลลลล((((าาาา3333แแแแขขขขงงงงชชชช))))ลลลลกกกกออออาาาาสสสสะะะะาาาางงงงมมมมาาาารรรรรรรรแแแแาาาารรรรัััับบบบแแแแพพพพใใใใสสสสพพพพรรรรชชชชททททกกกกออออ้้้้ใใใใททททยยยยดััดดดัั งงงงนนนน์์์์ยยยยกกกกโโโโแแแแทททท์์์์ดดดดัญัััญญญแแแแลลลลาาาายยยยผผผผชชชชะะะะงงงงกกกกนนนนาาาาแแแแกกกกรรรรททททไไไไพพพพาาาาะะะะททททยี่ย่ี่ยีีย่ รรรรททททททททังััังงงยยยยแแแแขขขขรรรรยยยยพพพพววววาาาา์์์์แแแแมมมมดดดดงงงงผผผผททททีีีีกกกกสสสสขขขขนนนนยยยยาาาาาาาา้อ้อ้อ้อรรรรไไไไ์์์์จจจจธธธธมมมมททททออออาาาาาาาาลลูลูลููยยยยนนนนรรรรเเเเจจจจปปปปณณณณุุุุญญญญาาาาเเเเ็็็็นนนนพพพพสสสสกกกกาาาาตตตตุุุุขขขข่่ื่่ืืืกกกกออออตตตต้้้้ออออาาาาใใใใใใใใ1111หหหหหหหหรรรรงงงง6666วววว้้้้ผผผผคคคค้้้้ใใใใิิิิจจจจชชชชูููู้้้้ปปปปตตตตาาาาััััยยยย้้้้ตตตตนนนน่่่่ววววาาาาสสสสาาาารรรรยยยยึึึึงงงงนนนนรรรรัััับบบบไไไไถถถถบบัับับัััััดดดดบบบบึึึึงงงงกกกก้้้้สสสสรรรรยยยยปปปปััััาาาาบบบบนนนนาาาารรรรรรรรปปปปุุุุนนนนททททะะะะใใใใททททรรรร่่ีี่ีี่ชชชชมมมมสสสสะะะะ้้้้ยยยย่ช่ชชีช่ี่ีีีีีีกกกกิิิิททททโโโโััััาาาาดดดดััััญญญญยยยยธธธธจจจจเเเเิิิิผผผผชชชชจจจจชชชชาาาาลลลลนนนนนนนนกกกกาาาา์์์์ กขขขกกขกกแกกแกผผแผแกกผกกลลลลออออกกกกกกกกกกกกลลลละะะะงงงงกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกาาาาัญญัญัญััญัััญญญกกกกกกกกกกกกรรรรกกกกกกกกกกกกชชชชชชชชเเเเกกกกกกกกกกกกาาาารรรรงงงงผแแแแ22221111ทททท3333ียยยีีียล....ลลลล........าาาานนนนะะะะกงงงงเเเเรรรรเเเเเเเเกกกกกกกกพพพพพพพพาพพพพท้ทู้ทู้้ทูู าาาาญญัญัญััรืื่่่ื่ออออืื่่่่อืออือืืออือ่ื่อื่่ รรรรค่ี่คี่ีีค่คเใใใใชชชชใใใใใใใใแแแแรหหหหหหหหหหหหาาาางงงงพพพพีย้มมม้ม้้ดดดดม้ม้้ม้ม้้้้ตตตตททททนทททีทีีีคคีีคีคีรรรรหหหหยยยยะะะะรักักกัักวววววววว์์์์หหหหาาาาู้ทษษษษงัังงัังมมมมนนนนะะะะคี่ รรรรกัักกัักกกกกาูููู้้้้ าาาาถถถถคคคคดรรรรึึงงงึงึววววหแแแแโโโโาาาาททททสสสสวมมมมษษษษววววเเเเังงงงงขขขขแแแแหหหหา้้าา้า้ลลลลใใใใาาาาะะะะจจจจคคคคปปปปววววเเเเรรรรกกกกาาาาะะะะมมมมยย่ีี่ยี่่ียโโโโรรรรววววยยยยูููู้้้้กกกกชชชชแแแแบัับบบัันนนนลลลลโโโโข์ข์ข์์ขะะะะททททออออททททษษษษงงงงกกักกััั ขขขขกกกกษษษษออออญััญญััญะะะะงงงงชชชชกกกกกกกกาาาาาาาาัญญัญัญั แแแแรรรรชชชชคคคคลลลลาาาาิิิิดดดดะะะะแแแแววววกกกกลลลลเิิิเิเเัญัญััญญคคคคะะะะชชชชรรรรกกกกาาาางงงงััญัญญญั ะะะะหหหหชชชชงงงง์์์์เเเเกกกกแแแแยี่ยย่่ีี่ยี ลลลลววววะะะะกกกกปปปปับับับับรรรรโโโโททททะะะะโโโโษษษษยยยยแแแแชชชชลลลลนนนนะะะะ์์ขขขข์์ ปปปปออออรรรรงงงงะะะะกกกกโโโโญััญญัญัยยยยชชชชชชชชนนนนาาาา์์์์ ขขขขกกกกกกกกออออกกกกบบบบกกกกขขขขกกกก่า่่า่าากกกกยยยยกกกกขบบบบเเเเนนนนอทททท้ืื้อ้ื้อืออบททททหหหหขี่ี่่ี่ี 3333าาาา่ ยเเเเเเเเรรรรรรรรรรรรจู้จููู้้้จจเอ่อ่ออ่ืออ่อืืื่ือ่ืื่่ื นักัักักกงงงงงงงงโโโโือ้ททททททททททททห่่ี่่ีี่่ีีีีี่่ ษษษษ11112222าแแแแปโปโโปปโลลลลททททรรรระะะะษษษษะะะะปปปปขขขขโโโโรรรรยยยยออออะะะะชชชชงงงงโโโโนนนนกกกกยยยย์์ขข์ขข์ญัญัญััญชชชชออออนนนนชชชชงงงงขข์ขข์์์าาาากกกกแแแแออออญัญััญญั ลลลลงงงงกกกกชชชชะะะะญญััญญััาาาากกกกแแแแญญััญัญัชชชชลลลลาาาาชชชชะะะะแแแแงงงงกกกกลลลลญัญัญััญะะะะกกกกชชชชัญัญญัญังงงงททททชชชชาาาางงงงงงงงกกกกมมมมาาาาขขีีขีีขรรรรออออแแแแบบบบพพพพขขขขทททท่าา่า่า่ ยยยยยยยย์์์์เเเเนนนนอือ้ื้้ื้ออื หหหหาาาา ดดดดงังังังั นนนนีีี้้ี้้ ชชชชกกกสกสกสกสสสสกสกกกกกssssiiiiบืบืบืืบอื่อ่่ืืือ่อกกกกกกกกกกกกttttออื่่ืื่ออ่ื eeeeโโโโกกกกกกกกกกกกคคคคปปปปรรรร////กกกกกกกกกกกกน้นน้น้้ ttttงงงงรรรรกกกกกกกกกกกกhhhhจจจจพพพพะะะะาาาากกกกกกกกกกกกeeeeมิิิิมมมกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกppppพพพพสออออ333322121112eeeehhhh์์์์อื่บบบบ............nnnnttttบบบบttttปaaaaกกกกรรรรppppชชชชชชชชชชชชllllิษิษิษิษราาาา::::ttttื่ืื่ื่่่ือ่ื่ออือื่ออออื่อื่ื่ออื่อ////yyyyะททััััททรรรรห//ห/ห/หบบบบบบบบffffกwwwwเเเเooooนนนนททททททททรรรรเเเเอออออwwwwrrrrงังงงัััคคคคีียยียียคคคคddddสสสสบกกกกววววwwwwววววนนนนrrrrืืืืออออพพพพาาาาuuuuกาาาา....มมมมppppมิมมมิิิมมมมggggากกกกโโโโnnnnhhhhพพพพกกกกรััััญญญญททททaaaaaaaaััััญญญญเไ์ไไไ์์์ ชชชชษษษษร////ททททrrrrmmmmาาาาttttชชชชียขขขขhhhhสสสสจจจจาาาาออออนaaaaooooุุุดดุดดกกกกาาาางงงงccccssssยยยยกกกกัััับบบบกกกกyyyy--ออออดััดัดัดัััญัญญญkkkkกกกก....ดดดดmmmmhhhhาาาาชชชชไไไไยยยยxxxxรรรรมมมมaaaaาาาาาาาาnnnnรรรรร่่รร่่รhhhhววววััััggggกกกกไไไไะะะะเเเเิิิิiiiiมมมมdddd--ศศศศษษษษบบบบkkkkร่ร่่่รรษษษษooooaaaaุุปุปปุปาาาาะะะะllllโโโโyyyyีีีีทททท....ศศศศบบบบรรรรaaaaาาาาี่่พี่ีพพพ่ีผผุุุผุผคคคคccccสสสส....แูู้แู้้้แแูมมิิมิมิ ttttตตตตชชชชตตตตhhhhพพพพรรรรืื่ื่ื่่ออออง่ง่ง่ง่////แ์์แ์แแ์์์์์ ผผผผttttหหหหสสสสhhhhูููู้้้้เเเเ่ง่่งง่งขขขขืืบืืบบบ////กกกกkkkkีีีียยยยคคคคาาาาnnnnนนนน้น้น้นน้รรรรooooรรรรจจจจwwwwดดดดักกกัักั าาาารรรรษษษษllllกกกกeeee....าาาาภภภภddddhhhhโโโโญญญญรรรรggggttttคคคคeeeetttt....ppppยยยยผผผผ////aaaassssคุคุคุคุกกกก::::rrrrใใใใ////าาาาttttหหหห////ททททiiiiccccssssมมมมิิิิพพพพiiiillll่่่่tttteeeeไไไไeeeeยยยยมมมม////ssss์์์์4444ร่รร่ร่่....gggg5555ะะะะรรรรoooo3333บบบบ่ืื่่ื่ืนนนนoooo////ผุผุผผุุรรรรกกกกggggะะะะแแ้แููู้แู้้ ััญญัญัญllllเเเเตตตตeeeeรรรร่่งงง่ง่ชชชช....ิิิิงงงงccccาาาาศศศศooooัััักกกกmmmmดดดด////ิิิิ์์์์ 102 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต เพอ่ื ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

101 เร่ืองที่ 1เรโือ่ ทงษทข่ี 1องโกทัญษขชอาแงกลัญะกชัญาแชลงะกญั ชง กกกกกกกผู้เช่ียวชาญเก่ียวกับสารเสพติด จากสาขาต่าง ๆ ได้แก่ จิตเวชศาสตร์ เคมี เภสัชวิทยา นิติวิทยาศาสตร์ ระบาดวิทยา ตารวจ และนักกฎหมาย ร่วมกันวิเคราะห์ โดยการใช้เทคนิคเดลไฟล์ ในการจัดลาดับ ไดข้ อ้ มูลว่า กญั ชาอยู่ในลาดับท่ี 15 ใน 20 ชนิด ของสาร “โอสถลวงจิต” (Psychotropic Drugs) ท่ีสง่ ผลต่อร่างกาย จติ ใจ พฤติกรรม สังคม และสัมพนั ธ์กบั โรคตบั ปอด หัวใจ และหลอดเลือด ไม่ควรเสพกัญชาท้ังก่อน และระหว่างการตั้งครรภ์ เพราะอาจมีผลเสียต่อมารดา และทารกในครรภ์ นอกจากนี้ควันของกัญชามีสารประกอบทางเคมี ทั้งอินทรีย์และอนินทรีย์จานวนมาก น้ามันดิบ (Tar) ควนั จากกัญชา มีคุณสมบตั ิใกลเ้ คียงกบั ควันบหุ ร่ี ที่เป็นสารกอ่ มะเร็ง และมกี ารศึกษาทบทวนรายงาน ทางวิชาการในปี พ.ศ. 2558 พบว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างการเสพกัญชากับการเกิดเน้ืองอกในลูกอัณฑะ ของเพศชาย โดยกัญชามผี ลกระทบตอ่ รา่ งกาย จิตใจ สงั คม และประเทศชาติ ดังนี้ กกกกกกก1. ผลกระทบต่อรา่ งกายและผลข้างเคียง 1.1. ทาลายสมรรถภาพร่างกาย ผู้เสพกัญชาในปริมาณมาก เป็นระยะเวลานาน ๆ จะทาให้ ร่างกายเส่ือมโทรม จนไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิงานใด ๆ ได้ โดยเฉพาะการทางานที่ต้องใชแ้ รง ความคิด และ การตัดสินใจ รวมท้ังขาดแรงจูงใจ (Amotivation Syndrome) คือ การขาดแรงจูงใจของชีวิต ไม่คิด ทาอะไรอยากอยู่เฉย ๆ ไปวัน ๆ ซึ่งมีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตและการทางานเป็นอย่างมาก ผลกระทบเฉียบพลัน ทาให้เกิดอาการกระวนกระวาย ต่ืนกลัว เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ การเสพติด กัญชามีผลร้ายคล้ายกับการติดยาเสพติดชนิดอื่น ๆ การใช้กัญชาระยะส้ันเพ่ิมความเสี่ยงต่อผล ไม่พึงประสงค์ท้ังแบบไม่รุนแรงและรุนแรง (Minor And Major Adverse Effects) ผลข้างเคียง (Side Effects) ทพ่ี บบอ่ ย ได้แก่ อาการมึนงง (Dizziness) เหน่ือยลา้ (Tired) เสย่ี งตอ่ การเสพตดิ และ อันตรายจากการบรโิ ภคเกนิ ขนาด อาจทาให้เกิดโรคจติ เภทในเยาวชน 1.2 ทาลายสมอง การเสพกัญชาแม้เพียงในระยะสั้นทาให้ผู้เสพบางราย สูญเสียสมาธิ ความทรงจา เพราะฤทธิ์ของกัญชาจะทาให้สมอง และความจาเส่ือม เกิดความสับสน วิตกกังวล หากผู้เสพเป็นผู้มีอาการของโรคจิตเภท หรือป่วยเป็นโรคซึมเศร้า มีความเส่ียงทาให้เกิดอาการรุนแรง มากกว่าคนปกติท่ัวไป มีผลต่อระบบประสาท เลือดไปเล้ียงสมองเพ่ิมมากขึ้น ทาให้ควบคุมการ เคลอ่ื นไหวของร่างกายลดลง เกิดอาการตกสูง ตกตา่ กะระยะผิด มือไมม่ แี รง อาจทาให้งว่ งซึม ไม่มีสมาธิ พูดไม่ชัด การตอบสนองส่ิงต่าง ๆ ช้าลง การใช้กัญชาติดต่อกันเป็นเวลานานอาจจะส่งผลกระทบ ต่อความจาท้ังชนิดที่ผ่านมาไม่นาน (Recent Memory) และที่ผ่านมานาน (Remote Memory) เนื่องจากการเสพติดกัญชาจะทาให้ขนาดของสมองส่วนฮิปโปแคมคัส (Hippocampus) ลดลง และ บางครั้งพบความผิดปกติของสมองส่วนอะมิกดาลา (Amygdala) ซึ่งสมองทั้งสองส่วนนี้ทาหน้าที่ เกยี่ วกับความจา รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 103 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

102 1.3 เพิ่มความเสี่ยงทาให้เกิดมะเร็งปอด เน่ืองจากผู้เสพจะสูบควันกัญชาเข้าไปในปอด ลกึ นานหลายวนิ าที การสบู บหุ ร่ีทนี่ ากัญชามาทาเป็นไส้ จานวน 4 มวน จะมผี ลเทา่ กบั สบู บุหร่ี 1 ซอง หรือ 20 มวน สามารถทาลายการทางานของระบบทางเดินหายใจ ทาให้มีความเส่ียงต่อการเกิด โรคมะเรง็ ได้มากกว่าคนสูบบหุ รธ่ี รรมดาถึง 5 เทา่ และในกญั ชายังมีสารเคมที ่ีเป็นอันตรายสามารถเกิด โรคมะเร็งได้ 1.4 ทาร้ายทารกในครรภ์ ฉะน้ันหญิงที่เสพกัญชาในระยะต้ังครรภ์ ทารกท่ีคลอด มีความเส่ียงต่อการผิดปกติทางร่างกาย และสติปัญญามากกว่าปกติ ควรหยุดเสพกัญชาท้ังก่อน และ ระหว่างตั้งครรภ์ เพราะอาจมีผลกระทบต่อมารดา และทารกในครรภ์ รวมไปถึงหญิงที่กาลังให้นมบุตร เน่ืองจากมีรายงานการศึกษาพบว่า มีทารกคลอดก่อนกาหนด ทารกน้าหนักตัวน้อย และพบสาร แคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) ในน้านมมารดาท่เี สพกัญชา 1.5 ผลกระทบต่อทางเดินหายใจ (Respiratory Tract System) ทาให้หลอดลมขยาย เฉียบพลัน การสูบต่อเน่ืองจะเกิดปัญหาต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น ไอเร้ือรัง เสมหะมาก และเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดหลอดลมอักแสบ เป็นต้น การสูบกัญชาอาจมีผลทาให้เป็นมะเร็งจาก สารก่อมะเร็ง และการสูบบุหรผ่ี สมกญั ชาจะเพิ่มความเสี่ยงการเปน็ มะเรง็ ได้ 1.6 ผลกระทบต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System) คนท่ีไม่เคย เสพกัญชามาก่อนจะมีชีพจรเต้นเร็วมากขึ้นได้ 20 เปอร์เซ็นต์ ในช่วง 2 - 3 ช่ัวโมงแรก นอกจากน้ี ทาให้หลอดเลือดส่วนปลายคลายตัว ความดันโลหิตต่าลงขณะเปล่ียนท่านั่งหรือนอนมาเป็นยืนได้ (Postural Hypotension) กล้ามเน้ือหัวใจบีบตัวทางานมากข้ึน มีความต้องการออกซิเจนมากข้ึน แต่ร่างกายจะปรับตัวใหม้ ีความทนต่อภาวะนี้ ในเวลา 2 - 3 วนั คนทไี่ ม่เคยเสพบางราย หรอื คนท่ีไม่มี โรคเกี่ยวกับหลอดเลือด อาจทาให้มีอาการเจบ็ แน่นหน้าอกจากกล้ามเน้อื หวั ใจขาดเลอื ด กัญชาจะเพิ่ม อัตราการเต้นของหัวใจ อีกทั้งมีผลกระทบต่อโรคต่าง ๆ มีสารระคายเคืองต่อหลอดลม สารก่อมะเร็ง ทาใหไ้ อ หรืออาจถงึ ขน้ั ป่วยเปน็ โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) และภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายฉับพลัน (Heart Attack) 1.7 ภาวะติดยา (Dependence Syndrome) การใช้กัญชาเป็นระยะเวลานาน ๆ จะทาให้เกิดอาการติดยาประมาณ 1 ใน 10 ของผู้เสพกัญชา ท้ังน้ี อัตราส่วนจะเพิ่มข้ึนเป็น 1 ใน 6 ของจานวนผู้เสพ หากเริ่มเสพตั้งแต่วัยรุ่น ซ่ึงผู้เสพกัญชาจะมีความต้องการอย่างมากท่ีจะเสพ ไม่สามารถท่ีจะลดการเสพได้ เกิดภาวะการหยุดยา และเกิดพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม (Withdrawal Symptoms and Behavioral Systems) มีการรายงานวา่ กัญชาเปน็ ยาเสพติดตวั เริ่มตน้ ทน่ี าไปสู่การ เสพยาเสพตดิ ชนิดท่ีรา้ ยแรงขึน้ อีกด้วย กกกกกกก นอกจากผลร้ายท่ีมีต่อร่างกายของผู้เสพแล้ว การขับรถขณะเมากัญชายังก่อให้เกิด อันตรายได้มาก เพราะฤทธ์ิของกัญชาจะทาให้เสียสมาธิ ทาให้การตัดสินใจผิดพลาด การตอบสนองช้าลง 104 หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

103 การรับรู้ทางสายตาบิดเบือน ความสามารถในการมองเห็นส่ิงเคลื่อนที่ลดลงจึงเป็นอันตรายอย่างยิ่ง ต่อผู้ขบั รถยนต์ หรือแมแ้ ต่เดินบนท้องถนนกต็ าม ถาม สบู กญั ชาทาให้หัวใจเตน้ เรว็ จริงหรอื ไม่ ตอบ จริง เนื่องจากสารในกญั ชาทาใหห้ ลอดเลือดขยายตวั จงึ ทาใหห้ ัวใจ ต้องเร่งการสูบฉีดเลือด หวั ใจจึงเต้นเร็วขึ้น กกกกกกกนอกจากนี้ ผลข้างเคียงของการใชก้ ัญชาและกัญชง ทั้งในระยะส้ัน ระยะกลาง ถึงระยะยาว มีดังน้ี กกกกกกกผลข้างเคยี งระยะสัน้ กกกกกกกข้อ 1 ผลข้างเคยี งท่พี บบอ่ ย คอื ปากแห้ง ตาแหง้ ตาแดง มนึ งง ตอบสนองต่อสิ่งรอบตัวช้า มีอาการวติ กจริต กกกกกกกข้อ 2 ผลข้างเคยี งทพี่ บไม่บ่อยนกั คือ ตาพรา่ มัว ปวดหวั เคลิ้ม กกกกกกกข้อ 3 ผลข้างเคียงที่พบได้ยาก ควบคุมการทรงตัวร่างกายได้ไม่ดี จานวนสเปิร์มลดลง ภาวะความดนั ตา่ หัวใจเต้นเรว็ ภาวะซมึ เศร้า ทอ้ งเสีย ตบั อกั เสบ กัญชาอาจจะทาให้มีภาวะง่วงซึม ดังน้ัน ควรหลีกเล่ยี งการขับขี่ยานพาหนะหลังจาก การใช้กัญชา กัญชาอาจจะทาให้รู้สึกคอแห้ง เนื่องจากสารสาคัญในกัญชาจะไปปิดกั้นต่อมน้าลาย ให้ต่อมน้าลายไม่สามารถหล่ังได้ตามปกติ ผู้ใช้กัญชาอาจจะมีภาวะตาแดง หัวใจเต้นเร็ว ความดันต่า เน่ืองจากสารสาคัญในกัญชามีฤทธิ์ในการขยายหลอดเลือด ผู้ป่วยท่ีมีภาวะโรคหัวใจและความดัน ควรระวงั ในการใช้กญั ชา และควรอยภู่ ายใตก้ ารดูแลของแพทย์ กกกกกกกผลขา้ งเคียงระยะกลางถงึ ระยะยาว กกกกกกกภาวะเสพติดกัญชาจะทาให้ผู้ใช้ยาเกิดการเสพติดได้ยากกว่าบุหรี่ แต่การใช้อย่างต่อเน่ือง ทุกวัน พบว่าประมาณร้อยละ 10 มีโอกาสเสพติดได้ และเม่ือหยุดใช้ยาจะมีอาการถอนยาได้ เช่น หงุดหงดิ อยากกลบั ไปใช้ยา แตไ่ ม่กอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายอน่ื ๆ ดงั นนั้ ในการใช้ยารกั ษาโรค เพ่อื ลดการเกิด ภาวะถอนยา ควรลดขนาดยาลงอย่างช้า ๆ จะช่วยให้ลดการเกิดภาวะถอนยา และการใช้อย่าง ต่อเนื่อง มีผลต่อการทางานของสมอง หลังใช้กัญชาพบว่าผู้ป่วยอาจมีปัญหาเรื่องความจาในระยะส้นั เชน่ หลงลืมได้ง่าย หรือมีอาการปวดศีรษะ แต่เม่ือหยดุ การใช้ประมาณ 20 วันจะกลบั ส่ภู าวะปกติ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพอื่ ใช้เป็นยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต 105 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

104 กกกก การทางานของปอดและหัวใจ พบว่าไม่เพ่ิมความเส่ียงต่อการเป็นโรคถุงลมโป่งพอง หรือ มะเร็งปอด ทั้งนี้เฉพาะในกลุ่มคนที่สูบกัญชาชนิดเดียว การสูบกัญชา และบุหรี่ร่วมกัน จะทาให้ ความเสีย่ งเพมิ่ ข้นึ ได้ กกกกกกก ในช่วง 2 เดือนแรกหลังการเริ่มใช้ยากัญชา เม่ือตรวจการทางานของตับ (ALT) จะพบการ เกิดตับอักเสบ ในกรณีหากอาการตับอักเสบไม่รุนแรง สามารถใช้ยาต่อได้ แต่ถ้ามีอาการตับอักเสบ รนุ แรง แนะนาใหห้ ยดุ ยา หรือลดขนาดยา เพอื่ ปอ้ งกันการเกิดตบั อกั เสบในระยะยาว กกกกกกกจะเห็นได้ว่า ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับสารเสพติดจากสาขาต่าง ๆ และรายงานทางวิชาการ พบว่า กัญชามีผลกระทบต่อร่างกายเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือด ผลต่ออาการติดยา นอกจาก กระทบต่อการใช้ชีวิตตามปกติแล้ว กัญชายังมีโทษต่อทุกส่วนของร่างกาย ผู้เสพกัญชา ร่างกาย จะเสื่อมโทรม ทาลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย และทาลายสมอง ก่อให้เกิดความเส่ียงต่อโรคมะเรง็ ปอด ทาร้ายทารกในครรภ์ มีผลกระทบต่อทางเดินหายใจ หัวใจ และหลอดเลือด กัญชาจะเพ่ิมอัตรา การเต้นของหัวใจเร็ว เมื่อใช้กัญชาในปริมาณมาก และยาวนานต่อเน่ืองไม่สามารถควบคุมอาการ ติดยาได้ ถาม สบู กัญชาแล้วทาใหป้ ากแหง้ จริงหรอื ไม่ ตอบ จริง เนื่องจากสารในกญั ชาสามารถไปบลอ็ กตอ่ มน้าลาย ทาให้การสร้างนา้ ลายลดลง เราจงึ รู้สกึ คอแห้ง ถาม สบู กญั ชาแลว้ ทาใหต้ าแดง คนสูบกัญชาจงึ ชอบใส่แวน่ ดา จรงิ หรอื ไม่ ตอบ จรงิ เนื่องจากสารในกญั ชาทาใหห้ ลอดเลอื ดขยายตวั เลือดไปเล้ยี งได้มากขน้ึ จึงทาให้ตาแดง 106 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ เพ่ือใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

105 กกกกกกก2. ผลกระทบตอ่ จิตใจ 2.1 ผลต่อเชาว์ปัญญา ทาให้มีความบกพร่องเกี่ยวกับความทรงจา ทั้งผู้เสพระยะสั้น หรือ ระยะยาว ทาให้สติปัญญาลดลง หรือสูญเสียสมาธิ มีการเรียนรู้ที่ลดลง ความจาช่วงสั้น หลงลืมง่าย และมีอาการปวดศีรษะ 2.2 ผลต่อความผิดปกติของจิตใจ การใช้กัญชามีความสัมพันธ์กับโรคทางจิตที่มี ความผิดปกตขิ องความรสู้ ึก ความคดิ อาการหรือพฤติกรรมโรคทางจิต ซง่ึ อาจทาให้มีอาการมากขน้ึ 2.3 ทาลายสุขภาพจิต ฤทธ์ิของกัญชาจะทาให้ผู้เสพมีอาการเลื่อนลอย ฝันเฟื่อง ความคิดสับสน และมีอาการประสาทหลอนจนควบคุมตัวเองไม่ได้ ซ่ึงถ้าเสพเป็นระยะเวลานานจะทาให้มี อาการจิตเสื่อม ผลระยะส้ันของกัญชาอาจเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการใช้ยากลุ่มโอปิออยด์ร่วมด้วย เช่น เฮโรอีน หรือเฟนตานิล เป็นต้น การใช้ยาอ่ืนเพ่ิมเข้าไปเพื่อเพิ่มผลทางจิตประสาท หรือ เพ่ิม “ฤทธ์ิลวงจิ” (Psychotropic Action) ขณะเดียวกันเพ่ิม อนั ตรายจากการใช้ยาเกินขนาด 2.4 มผี ลตอ่ ระบบจิตประสาท ถ้าไดร้ ับกัญชาในขนาดท่สี ูงในระยะส้นั ๆ ทาใหม้ ีอาการ กระวนกระวาย อาการหลอน มีความหลงผดิ ความจาเสอื่ ม วิตกกงั วล ในระยะยาวทาใหเ้ กิดกลุ่มอาการ ที่เรียกว่า (Apathetic Syndrome) ประกอบด้วยอาการเฉยเมย รู้สึกไม่ประสบความสาเร็จ ท้อแท้ นาไป สู่ภาวะซึมเศรา้ เกดิ โรคจิตเวชในผู้ปว่ ยทเ่ี สพกัญชาได้ จะเห็นได้ว่า ฤทธ์ิของกัญชาและกัญชงทาให้ผู้เสพมีความผิดปกติทางความรู้สึก ความคิด อาการ หรือพฤติกรรมต่าง ๆ จิตฟั่นเฟือน มีอาการประสาทหลอน ความคิดสับสนนาไปสู่ โรคจติ เวช หรือภาวะซมึ เศรา้ ได้ กกกกกกก3. ผลกระทบต่อครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม 3.1 ผลกระทบต่อครอบครัว 3..1.1 ทาลายความสุขภายในบ้าน ส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของสมาชิก ในครอบครวั เป็นเหตุให้เกิดปัญหาตา่ ง ๆ ตามมา อาจทวคี วามรนุ แรงทาใหค้ รอบครวั แตกแยก 3..1.2 สูญเสียรายได้ของครอบครัว เนื่องจากมีรายจ่ายเพิ่มข้ึน จากการซ้ือยาเสพติด หรอื บาบดั รักษาผทู้ ต่ี ดิ ยาเสพติด 3..1.3 พ่อ แม่ ผ้ปู กครอง ขาดท่พี ึง่ ในยามเจบ็ ปว่ ย หรือชราภาพ 3..1.4 ทาลายช่ือเสยี งวงศต์ ระกูล และเป็นที่รงั เกียจของสงั คม 3..1.5 ทาให้ครอบครัวเดือดร้อน เพราะคนในครอบครัวที่มีปัญหายาเสพติด มักจะก่ออาชญากรรม 3..1.6 ครอบครัวที่มีผู้เสพกัญชา มักได้รับความเดือดร้อนในทุกด้าน เช่น การ ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าทีน่ าไปสคู่ วามขัดแย้ง ทะเลาะวิวาท กอ่ ให้เกิดความเครียด และตอ้ งแก้ไข ปัญหาบ่อย ๆ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต 107 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

106 3..1.7 ทาให้สูญเสียสมรรถภาพการทางาน การเสพกัญชามีโอกาสถูกปลดออก จากงานมากกว่าปกติ ทาใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ ครอบครัว ทั้งทางเศรษฐกิจ และสังคม เสยี ทรัพยส์ นิ รายได้ ของครอบครวั เนอ่ื งจากต้องซื้อกญั ชามาเสพ และรักษาโรคทเ่ี กิดจากกญั ชา 3.2 ผลกระทบต่อชุมชน และสงั คม 3.2.1 กอ่ ใหเ้ กิดปัญหาอาชญากรรมต่าง ๆ ในชมุ ชน 3.2.2 เปน็ บอ่ เกดิ ให้ชุมชนเส่ือมโทรม สังคมถูกทาลาย 3.2.3 ทาลายเยาวชน อนั เป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาชุมชน และสังคม 3.2.4 สญู เสียรายได้ ทาให้การพัฒนาชุมชน และสงั คมในด้านต่าง ๆ เปน็ ไปอย่าง เช่อื งช้า 3.2.5 ทรัพย์สินของคนในชุมชน และสังคมเสียหาย เนื่องจากพฤติกรรมทางจิต ประสาท 3.2.6 กอ่ ใหเ้ กิดปญั หาอบุ ัติเหตเุ นื่องจากฤทธ์ิของกัญชา 3.2.7 ปัญหาการเสพกัญชา ก่อให้เกิดความหวาดระแวงจากประชาชน และสังคม เป็นวงกว้าง เน่ืองจากเกรงว่าบุตรหลานจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับกัญชา หรือถูกประทุษร้ายจากผู้เมากัญชา หรือมคี วามผดิ ปกตทิ างจติ จากการใช้สารเสพติดกัญชา กกกกกกก จะเห็นได้ว่า การเสพกัญชาและกัญชงทาให้มีผลกระทบต่อครอบครัว ทาลายความสุขในบ้าน เป็นท่ีรังเกียจของชุมชน ทาลายชื่อเสียงวงศ์ตระกูล อาจเพ่ิมความรุนแรงถึงขั้น เกดิ ปญั หาอาชญากรรมตา่ ง ๆ ในชมุ ชน และสังคมตามมาได้ กกกกกกก4. ผลกระทบต่อประเทศชาติ 4.1 ด้านเศรษฐกิจ 4.1.1 ทาลายเศรษฐกจิ และความมัน่ คงของประเทศชาติ 4.1.2 เพิ่มภาระการเสียภาษีของประชาชน เพราะรัฐบาลต้องนาภาษีของ ประชาชนไปใช้จ่ายในการแก้ไขปญั หายาเสพติด 4.1.3 การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นไปอย่างเช่ืองช้า ส่งผลต่อการพัฒนา ประเทศในภาพรวม 4.1.4 สญู เสียแรงงานในการปฏบิ ตั งิ านทาใหป้ ระเทศขาดรายได้ 4.2 ด้านสังคม ประเทศชาติต้องเส่ือมเสียช่ือเสียง และเกียรติภูมิในสายตาของชาว ต่างประเทศ 4.3 ด้านความม่นั คง 4.3.1 รัฐบาลต้องสูญเสียกาลังเจ้าหน้าที่ และค่าใช้จ่ายในการป้องกันปราบปราม และรกั ษา ผู้ตดิ ยาเสพติดจานวนมาก 108 หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต เพ่ือใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

110077 มเงกงกมเใกใกขขขขตตรรหหหหททใใคคททกกนนนนบบะะออออกก่่ววออนนกกรราาาารริิดดสสยยกกงงาาปปใใงงืืลลออืืกกออททกกุุษษหหปปขขรราามมะะาาาาพพรรกกออกกาายย่่ยยาา้้ออรร้้สสสสไไรรยยะะกกงงฤฤาากกงง์์ททมมะะตตขขูู้ัั้ญญพพนนเเมมเเจจกกกกตตเเศศกก่สส่ดดี่ี่าามมััดดททััฒฒาาเเาาเเกกิิกกขขรรรรงงกกสสิินนีีคคแแพพณณศศยยบบะะรรษษนนออีียยยยุุหหณณชช่่ิิมมรรยยใใรรงงแแฐฐททาา้้งงาานนาามมคคชชะะภภะะกกปปลลททตตั้ั้งง44ยยกกตตกกววหหาาาาสสิิะะจจ..ิิาารรใใ44ววาาาา่่ลลาาพพววททมมจจงงะะรรตตงงมมสสาา่าา่กกรรใใาาเเดดดด่าา่งงหหููงงญญ44กกนนรรทท44รราาลลๆๆจจงงููปปแแา้้าุุ..นนถถัั..รรววลลกกาาศศถถเเ33ะะชช33นนลลรรสสเเภภใใยยมมแแ่่าาาาึึ..งงเเ..าามมจจะะกก33รร22ีียยสสาาหหกกววีีรรรรออรรตตืืออัักกเเาาพพงงมมพพะะสสงงาาาาทท็็นนแแิไไิรรงงษษบบผผถถดดยยสสใใกกรรออรรััฒฒเเศศลลไไนนมมทูู้้ทาาปปึึพพงงุุญญูู้้ะะงงหหาาปปดดะะนนผผกกือือขขไี่ไี่รรททยยรรััฒฒรร้้โโววหหกกเเมมูู้้งงททาาปป้ัั้นนาาะะสสดดาาืืออาา่่าา่่ออลลรรปป่่นนปปมมีี่่เเววรรยียีใใใใออยยคคททใใสสออหหรรหหะะาาเเรราาททาาหหรรววฤฤมมพพะะาาดด้เเ้เเสสณณจจะะ้้คคววาารร้้เเสสศศงงสสททืื่่ออตตกกเเททเเาามมพััพมมรราาใใือ่่อืลลททรรงงธธททปปิิดดิิดดาานนนนออไไยยคคมมืืออษษ์์ิิศศขขใใมมกกกกคคหหรรบบกกาาหหด์์ดเเดดฐฐออแแ่่สสััววััญญญญะะสสกกลลาาคคอีีอเ้เ้กกกกลลงงาางงกกชชยยีีรรรรออนนชชชชาารราากกมมิิบบะะจจดดมมิิดดชชาานนจจััออววาารราารรััเเญญรรขขููขขแแกกนนื่ือ่อสสใใแแพพกกมมาาะะททชชนนออ้้ออลลเเชชรรุษุษ่ี่ียยยยตตจจีีััโโฒฒสสหห้้กกขขาางงรรเเาาาางงไไททยยกกาายียีสสดดลลัญัญววปปัักกไไััตตดดนนทททท์์กกษษแแปปงงพพ่่าา้้าาขขษษแแ่่ออรราาชชาานน่ีมี่มยยงงตตยยสสออยยะะตตโโเเแแาาใใาาปปีี้้ีคคีกกศศรรูู่่่่ออโโหหคคงง้้งงผผเเแแิิลลดดผผรรคคุณุณรรททททคครรไไททววูู้้้้ททผผลละะลลกกคคดดะะมมษษรราาาาศศภภเเูู้้ะะุุเเกกีี่่เเขขััญญจจเเ้้อองงะะกกสสมมสสฐฐเเกกททเเาาสส้้าากกิิตตเเบบปปียียมมพพพพกกมมชชพพััรรญญศศงง่่าาววเเรรคค็็่ื่ืนนออิิจจ่ัั่นน็็งงาามมตตเเววรรสสนนชชตตคครรปปขขมมททปปเเชชไไคคิิีีดดคคาามมงงขขััภภิิววีียยปปออออาาาาหหงงรรววเเืืออออูมมูหหปปสสงงดดขขใใออกกงงะะปปาารรงงขขหหงงููิิใใญญปป็็นนรรออมมชชยยบบััััญญนนททรรออสส้้ืืเเออหหงงเเรร่่าาผผาาเเกกสส่่าาคคสสหหาางง่่สสปปภภงงะะรรงงกกิิดดาา่ื่ือองงรรกกรราาผผาาีียยออืืเเเเรราารรรรกกปป้้าามมยย่ืื่ออชชททออาาคคลลททะะววพพเเยยาาตตรรงงกกเเืื่่าาออสสศศะะววเเททรรสสททัฒฒัมมยยชชใใททาาตตาางงพพซซกกััพพชชีียยาาืืาาออญญขขมมชชศศิิททนนึึมม็็จจททตต้้กกลลยยรรชชบบออไไ้้าาาาาาาาเเะะกกมมิิดดาาััาาญญื่่ืออาาตตงงศศ่่ออกกปปงงเเกกใใลล่่สสยยชชกกเเเเ้้ออปปนนรรคครรชชนนรรสสกกรรงงาาาาเเััญญงงรร้้าาววาาะะทท็็นนคคบบีีศศยยิิมมดดววยยสสมมไไแแาาเเชชรราางงไไรรตตรรดดนนขขททรรููญญตตมมลลปปลลรระะาาษษ่าา่้้้้ะะออุุษษศศ่่าาภภแแรรเเะะาาหหกกมมอองงบบฐฐงงสสขขยยูู้้ยยสสลลกก์์ชชววาายยาากกีียยมมััดดบบ์์ททคคึึกกะะๆๆรรััญญ่่าาาากก่่าาิิททจจีีผผแแงงววเเตตเเภภ่ี่ีมมงงสสชชกกคคปปใใลลาารรสสยยิไไิเเีีคคููมมนนพพสสีีงงยยชชมมดดววััพพรรกก่่้้งงงงุุณณิิคคชชููะะกกรราาญญืื่่้้มมออผผรรยยททุุ้้มมเเตตมมุุมมหหภภััะะญญ่ั่ันนงงลลททาา้ั้ัเเงงิิภภกกททคคชชชชสสรราากกใใคคใใชชศศััพพนนืืนนหหิินนออูู้้ดดบบมมีีาายยรรงงาา้้ิิ ใเกกเใเเรรมใมใSSมมพพนนรรนนัฐฐัyyกกีีีีกกกก่อ่ือื่ืออ่ืmmกกใใาากกาา22นนใใงงาารรรร44กกชชppปปรรนนททนนใ้้ใกกttรรรรปปนนาาooี่ี่าากกัักกะะสส22รรmmททกกกกษษเเาาะะเาาััญญททรssรรใใปปาาเเงง))นนศศททสสอื่โโชชกกรรกกรรกกสสปปศศงาาาาะะคคาาหหััรรดดมมทััจจโโรรเเปปแแจจรราาชชจจยย่ีรรพพลลาาัฐัฐสส2ุุน่่นบบัักกชชกกออออททกกัันนษษกกนนกกเเออปยยััดดมมกกาาััญญปปออ์์์ขข์รรรออเเััญญเเสสรรชชชชะออิิกกพพาาะะเเาานน่่ชชโาากกตตงงื่่ืออสสยาามมกกาารรแแผผเเาาชรรปปาาเเคคญัญัททเเลลลลใใไไปปน็น็นนนชชิิตตแแมมียยี ชช็็นนตตาาข์้้ใใขขตต่่ออดดนนออาา้น้นพพ็็งงอาายยาากกแแออืืชชรราาง((าาสสออััลลบบททMMกกกรรเเสิิสะะสสออี่่ีบบยยตตญัuuรรกก่่ววาาออรราาllาาttหหนนชยียีบบญญััมมเเiippออาาผผััาดดรรเเllลลชชรรััeeสสบบนนรรแใใัักกงงมมเเเเกกลนนSSนนธธททษษขขัันนccะผผออเเาาธธออาาllววกูู้้ปปรรeeอออองงงง่่าาแ์์แัญrr่่ววาารรสสกกooมมลลกกยยแแ์์ ssาาชีีาาปปนนาามมลลiiรรssรรรรงรรดดนนะะ))กกจจแแะะท์์เเดดซซลลิิตตสสรรโโพพ์์า่่ึึุุ่่งงมมยย็็งงเเหหสสววตตงททแแชชหหรรชชกบบาาคคนนาายยรรรราาาแแชชาานน์์ทท์์ัับบงงรชชลลออนนาาปปนนแออะะาางงาารรรราา้ีี้ณณเเพกกบบปปะะณณะะาาาาทเเิิบบนน็็นนาาททรรจจบบออททจจยแแัักกศศปปััยยกกีี่่ยย์พพรรจจรรดดรรออึึงงททสสะะ์์มมยยสส((ยยสสเเCCรรววปปออาา์์ ัับบิิสสaaมมนนใใททเเnnนนใใใใซซหห((หหเเnnสสออNNปป้้ใใaa้้มมหหรรชชeeนน็็ bbีี์์แแกกรรuu้้ททตตiiลลาาาาnnrrาานน้้ooนนชชรรooงงppปปดดออกกiiนนddssลล์์าาาาออyyแแ))ณณููรรกกccกกลลเเแแhhกกาาพพจจะะพพiiััญญจจaาaา่ืื่ออบบททกกttัักกชชใใาาrrนนยยiiชชรรccาางง์์้้ี้ี้ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพื่อใช้เปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ 109 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

108 กกกกกกกการใช้กัญชาทางการแพทย์เพ่ือรักษาโรค และบรรเทาอาการมีมายาวนาน ปรากฏในตารา ต่าง ๆ จานวนมาก กญั ชาถอื เป็นยาเสพตดิ ทาให้เป็นอุปสรรคในการผลติ และการศกึ ษาวจิ ัยทางการแพทย์ อย่างมาก มีงานวิจัยท่ีระบุว่า กัญชาสามารถลดอาการคล่ืนไส้อาเจยี นในผู้ที่รับยาเคมีบาบดั หรือเพิ่ม ความอยากอาหารในผู้ติดเช้ือ และผู้ป่วยเอดส์ รวมทั้งรักษาอาการปวดเร้ือรัง และการหดเกร็ง ของกล้ามเนื้อ การใช้ทางการแพทย์อื่น ๆ ยังไม่มีข้อมูลเพียงพอเร่ืองความปลอดภัย และประสิทธิผล ของกัญชา กกกกกกกกัญชาทางการแพทย์ถือเป็นยาประเภทใหม่ เน่ืองจากกัญชาไม่ใช่ยาครอบจักรวาล หรือยา รักษาโรค ปัจจุบันทั่วโลกไม่ได้เลือกให้ใช้กัญชาเป็นการรักษาลาดับแรก ในทางกลับกันผู้ป่วยท่ีมีสิทธ์ิ ได้รบั กัญชา คือผู้ทไ่ี มต่ อบสนองต่อยาอื่น ๆ หรือได้รบั ผลข้างเคยี งจากการใช้ยา ในขณะท่ีมผี ลิตภัณฑ์ กัญชาทางการแพทย์เพียงบางส่วนเท่านั้น ท่ีได้รับการขึ้นทะเบียนอย่างเป็นทางการ และเป็นไปตาม คุณภาพมาตรฐาน ด้วยเหตุนี้ผู้ควบคุมเกี่ยวกับการใช้กัญชาทางการแพทย์ของผู้ป่วย แพทย์ต้องมี ขอ้ กาหนดดา้ นความปลอดภัย คณุ ภาพ และประสิทธิภาพของผลติ ภัณฑ์ กกกกกกกสรรพคุณกัญชาทางการแพทย์ จากการศึกษาพบว่า ในกัญชามีสารออกฤทธ์ิ ที่สาคัญ 2 ชนิด ซ่ึงสามารถนามาใช้บาบัดหรือรักษาโรค ได้แก่ สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) มีคุณสมบัติ ลดอาการเจ็บปวด ลดการอักเสบของแผล ลดอาการชักเกร็ง และลดอาการคลื่นไส้ และสาร เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) มีคุณสมบัติต่อจิตประสาท ทาให้เกิด ความผ่อนคลาย และเคลบิ เคลิ้ม หากไดร้ ับปริมาณทเี่ หมาะสม จะชว่ ยลดอาการตึงเครยี ดได้ กกกกกกกรวมถึงกัญชาจาเป็นต้องมีการศึกษาถึงฤทธิ์ของกัญชาเพ่ิมเติม เพื่อความปลอดภัยในการใช้ กัญชาทางการแพทย์ และเลี่ยงผลข้างเคียงของกัญชาท่ีอาจเกิดขึ้นได้ สาหรับผู้ป่วยท่ีไม่ตอบสนอง ตอ่ ยา สารสกัดกญั ชาเปน็ ทางเลอื กท่ีมีประโยชนต์ อ่ ผู้ป่วยช่วยใหแ้ พทย์หาวิธกี ารรักษาทเ่ี หมาะสมที่สุด ซง่ึ การใชส้ ารสกัดกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบันแนะนาการใชร้ ักษา ควบคุมอาการ โดยกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ประกาศเมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เก่ียวกับประโยชน์ของสารสกัด จากกญั ชาทางการแพทย์ สามารถแบง่ ได้เป็น 3 กล่มุ ดังนี้ กกกกกกก1. กลุ่มโรคหรอื ภาวะทีไ่ ดป้ ระโยชน์ มผี ลการศึกษาวิจัยสนับสนุนชดั เจน 1.1 โรคลมชักท่ีรกั ษายาก และโรคลมชักทีด่ ื้อตอ่ ยารักษา 1.2 ภาวะคล่นื ไส้ และอาเจียนจากยาเคมีบาบัดที่รักษาดว้ ยวิธมี าตรฐานไม่ได้ผล 1.3 ภาวะกล้ามเน้ือหดเกร็ง (Spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง (Multiple Sclerosis) 1.4 ภาวะปวดประสาทที่รักษาดว้ ยวิธีอ่ืน ๆ แลว้ ไมไ่ ดผ้ ล (Intractable Neuropathic Pain) กกกกกกก2. กลมุ่ โรคหรอื ภาวะทีน่ ่าจะได้ประโยชน์ ในการควบคมุ อาการ ตอ้ งการขอ้ มูลวิชาการและ ศกึ ษาวิจัยสนับสนนุ เพม่ิ เติม 110 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชีวิต เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา

109 2.1 โรคพาร์กินสัน 2.2 โรคอัลไซเมอร์ 2.3 โรคปลอกประสาทอกั เสบ (Demyelinating Disease) 2.4 โรควิตกกังวล (Generalized Anxiety Disorder) 2.5 ผ้ปู ว่ ยทตี่ ้องดูแลแบบประคับประคอง 2.6 ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย 3. กลุ่มโรคหรือภาวะท่ีอาจจะได้ประโยชน์ในอนาคต ซ่ึงต้องการการศึกษาวิจัยในหลอดทดลอง และสัตว์ทดลองก่อนนามาศึกษาวิจัยในมนุษย์ เช่น การรักษามะเร็งชนิดต่าง ๆ สารสกัดกัญชาอาจมี ประโยชน์ในการรักษา แต่ยังขาดข้อมูลจากการวิจัยสนับสนุนที่ชัดเจนเพียงพอในด้านความปลอดภัย และประสิทธิผล ในทางการแพทย์แผนไทยมีการอนุญาตให้ใช้ตารับยาท่ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบ ทไ่ี ดม้ ีการคัดเลอื ก และรบั รองโดยกระทรวงสาธารณสุข 16 ตารับ ดังน้ี ยาอัคคินวี คณะ ยาศขุ ไสยาศน์ ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย ยาน้ามันสนั่นไตรภพ ยาแก้ลมข้ึนเบื้องสูง ยาไฟอาวุธ ยาแก้นอนไม่หลับ/ยาแก้ไข้ ผอมเหลือง ยาแก้สัณฑฆาตกล่อนแห้ง ยาอัมฤตย์โอสถ ยาอไภยสาลี ยาแก้ลมแก้เส้น ยาแก้โรคจิต ยาไพสาลี ยาทารดิ สีดวงทวารหนักและโรคผวิ หนงั ยาทาลายพระสเุ มรุ และยาทัพยาธิคุณ กล่าวโดยสรุป สารสกัดจากกัญชาที่นามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ มีสารกลุ่ม แคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) ที่มีสารออกฤทธ์ิสาคัญ 2 ชนิด คือ แคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) มีคุณสมบัติลดอาการเจ็บปวด อักเสบ ชักเกร็ง คล่ืนไส้ และสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) มีคุณสมบัติต่อจิตประสาททาให้ผ่อนคลาย ลดอาการตึงเครียด สารสกัดจากกัญชาทางการแพทย์แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม (1) สารสกัดกัญชาท่ีมีข้อมูลทางวิชาการ ท่ีสนับสนุนชัดเจน (2) สารสกัดกัญชาช่วยในการควบคุมอาการ ควรมีข้อมูลทางวิชาการท่ีสนับสนุน เพ่มิ เตมิ และ (3) สารสกัดกญั ชาทีย่ ังขาดข้อมูลจากการวจิ ัยสนบั สนุนท่ีชัดเจนเพียงพอ ดังนน้ั การนา สารสกัดกัญชามาใช้ในทางการแพทย์จาเป็นต้องคานึงถึงประสิทธิผล และความปลอดภัยเป็นสาคัญ และในทางการแพทย์แผนไทย มีการอนุญาตให้ใช้ตารับยาที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ ท่ีได้มีการ คัดเลือก และรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข 16 ตารับ การใช้ยาจากกัญชาต้องอยู่ภายใต้การ ควบคมุ ดูแลของแพทย์ และแพทย์แผนไทย เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ว่ ยได้รับประโยชนส์ งู สุด รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ติ 111 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

110 กจิ กกรริจมกทรา้รยมบททา้ ยบท 1. กิจกรรมที่ 1 คาช้ีแจง : โปรดเลือกตัวอักษรหน้าข้อที่ผู้เรียนคิดว่าข้อน้ันเป็นคาตอบที่ถูกต้องที่สุด เพียงขอ้ เดยี ว แลว้ เขียนคาตอบลงในกระดาษของผู้เรียน ข้อ 1 หญิงสูงวัย ป่วยเป็นโรคมะเร็งตับมานาน และรักษาอาการมาอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ น้ามันกัญชาควบคู่ไปกับยารักษาโรคมะเร็งแบบออกฤทธ์ิจาเพาะของแพทย์แผนปัจจุบันท่ีต้องได้รับ ทุกเดือน ภายใต้ความดูแลของแพทย์ เม่ือตรวจเลือดปรากฏว่าค่าการอักเสบของตับลดลง กรณีดังกล่าว นา้ มันกญั ชามปี ระโยชน์ทางการแพทยด์ ้านใด ก. หยดุ อาการของโรค ข. ควบคมุ ไมใ่ หเ้ กดิ โรค ค. รกั ษาสาเหตุของโรค ง .ควบคมุ อาการของโรค ข้อ 2 นายทอง ซื้อผลิตภัณฑ์น้ามันกัญชาจากการหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตมาให้แม่ ที่ปว่ ยเปน็ โรคลมชัก และมกี ารใช้นา้ มันกญั ชาอย่างตอ่ เน่อื ง จะทาให้เกดิ ผลขา้ งเคยี งตอ่ ผู้ปว่ ยตามอาการใด ก. เสีย่ งตอ่ การเกิดโรคหัวใจ ข. เส่ยี งตอ่ การเกิดโรคชนิดอนื่ ค. เสยี่ งต่อการตดิ นา้ มันกัญชา ง. เสยี่ งต่อการแพน้ ้ามันกัญชา ข้อ 3 ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ งทสี่ ุด เกีย่ วกับการใช้ประโยชน์จากสารสกัดจากกัญชา ก. การใชป้ ระโยชน์ของสารสกดั กญั ชาทางการแพทย์ใชร้ ักษากลุ่มโรค ท่ีมีผลการศกึ ษาวจิ ัยสนบั สนุนวา่ สามารถใชไ้ ด้ ข. การใชป้ ระโยชนข์ องสารสกัดกัญชาทางการแพทย์ใชร้ ักษากลุม่ โรค ท่มี ีผลการศึกษาวิจยั สนบั สนุนว่าไม่เป็นอนั ตรายต่อตบั ค. การใช้ประโยชน์ของสารสกัดกัญชาทางการแพทย์ใชร้ กั ษากลุ่มโรค ทมี่ ผี ลการศกึ ษาวจิ ัยสนับสนุนว่าไม่เปน็ อนั ตรายต่อหวั ใจ ง. การใช้ประโยชนข์ องสารสกดั กัญชาทางการแพทย์ใช้ควบคมุ อาการ กลุ่มโรคทม่ี ผี ลการศกึ ษาวิจยั วา่ สามารถใชไ้ ดเ้ ฉพาะผู้ปว่ ยที่ไมแ่ พเ้ ท่านนั้ 112 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

111 ขอ้ 4 สารท่ีมีฤทธกิ์ ระตุ้นประสาทในกัญชาจะก่อให้เกดิ อาการต่อผู้เสพในข้อใด ก. มีความคดิ สรา้ งสรรค์ ข. มีสมาธิ และตดั สนิ ใจไดด้ ี ค. ความคดิ สบั สน ควบคมุ ตนเองได้ ง. ความคิดสบั สน ควบคมุ ตนเองไม่ได้ ข้อ 5 ข้อใดไมใ่ ชฤ่ ทธข์ิ องกญั ชาทีก่ ่อให้เกดิ ผลข้างเคยี งในขณะขับรถ ก. ทาให้ตัดสินใจชา้ ลง ข. ทาให้กะระยะได้แม่นยา ค. ทาใหเ้ ห็นภาพตา่ ง ๆ ใหญข่ ้ึน ง. ทาใหเ้ สียสมาธิ ตัดสนิ ใจผดิ พลาด 2. กจิ กรรมที่ 2 คาชี้แจง : โปรดจับคู่ข้อมูลท่ีอยู่หลังตัวอักษรท่ีตรงกับตัวเลขของข้อน้ัน ๆ หรือมี ความสัมพันธ์ตรงกับหัวข้อเลขนั้น ๆ ให้ถูกต้อง แล้วนาตัวอักษรของหน้าข้อมูล มาใส่หน้าตัวเลข ตรงกับข้อน้นั ๆ .......... 1. โทษของกญั ชาและกัญชงที่มีผลต่อรา่ งกาย ก. เป็นท่ีรังเกียจ .......... 2. โทษของกญั ชาและกัญชงทีม่ ีผลต่อจติ ใจ ข. ชมุ ชนเส่อื มโทรม .......... 3. โทษของกญั ชาและกญั ชงท่มี ีผลต่อสังคม ค. เกดิ อาการตกสงู ตกตา่ กะระยะผิด .......... 4. โทษของกัญชาและกัญชงท่ีมผี ลประเทศชาติ ง. ทาให้ประสาทหลอน จิตเส่อื ม .......... 5. ประโยชน์สารสกดั กญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์ ควบคุมตนเองไม่ได้ จ. กอ่ ใหเ้ กิดอาชญากรรม ฉ. ทาลายเศรษฐกิจ ช. สารสกดั กญั ชาและกญั ชง ท่ีมีผลการวิจัยรับรองวา่ ใชไ้ ด้ ซ. ชว่ ยลดอาการตึงเครียด รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยา หนังสือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต 113 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

112 3. กจิ กรรมท่ี 3 คาชี้แจง : โปรดทาเครื่องหมายถูก () หรือเครื่องหมายผิด () ลงหน้าข้อตัวเลขท่ี ผู้เรียนอ่านข้อมูลแล้วคิดว่าคาตอบนี้ถูกให้ทาเครื่องหมายถูก () ถ้าคิดว่าข้อมูลท่ีอ่านเป็นคาตอบท่ี ผิดให้ทาเคร่ืองหมายผดิ () .........1. สาร Cannabidiol : CBD มีคุณสมบัติต่อจิตประสาท ลดอาการเจ็บปวด ลดอาการเกร็ง และอาการคลนื่ ไส้ .......... 2. สารสกัดกญั ชาและกัญชงเพื่อใชท้ างการแพทย์รกั ษาไดท้ กุ โรค .......... 3. ฤทธข์ิ องกญั ชาและกัญชงทาใหผ้ ู้เสพมคี วามผดิ ปกตทิ างความรู้สกึ ความคิด มีอาการประสาทหลอน .......... 4. การเสพกัญชามโี อกาสถูกปลดออกจากงานมากกว่าปกติ .......... 5. กัญชาสามารถลดอาการคลื่นไส้อาเจียนในผู้ที่รบั ยาเคมีบาบัด 114 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพ่ือใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

113 4บทที่ กฎหมายท่ีเกี่ยวขบ้อทงทก่ี 4บั กัญชา และกกญั ฎหชมงายท่เี กี่ยวข้องกับกัญชาและกญั ชง สาระสาสคาัญระส�ำ คัญ กกกกกกก1. พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ให้ความหมายคาว่า “ยาเสพติดให้โทษ” หมายถงึ สารเคมหี รือวัตถุชนิดใด ๆ ซงึ่ เมื่อเสพเข้าสู่รา่ งกายไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สบู ฉีด หรือ ดว้ ยประการใด ๆ แล้วทาใหเ้ กิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสาคัญ เช่น ตอ้ งเพ่ิมขนาดการเสพ ข้ึนเป็นลาดับ มีอาการถอนยาเม่ือขาดยา มีความต้องการเสพ ท้ังร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรง ตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรดุ โทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืชหรอื ส่วนของพืชท่ีเป็นหรือให้ ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษและสารเคมีท่ี ใช้ในการผลิต ยาเสพติดให้โทษด้วย นอกจากน้ียังแบ่งยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท โดยกัญชาถูกบัญญัติไว้ ในกฎหมายว่าเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามมาตรา 7 โดยกาหนดไว้ว่าห้ามปลูก ห้ามเสพ ห้ามจาหนา่ ยและมีไว้ครอบครอง กกกกกกก2. พระราชบญั ญัติวตั ถุออกฤทธต์ิ ่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 กกก พระราชบัญญัติวัตถุเพื่อออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 มีเหตุผลในการ ประกาศใช้เพ่ือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซ่ึงมีสภาพปัญหาเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ท่ีทวีความ รนุ แรงยิง่ ข้ึน สมควรปรับปรุงบทบญั ญัติเกย่ี วกบั องค์ประกอบของคณะกรรมการวตั ถุท่ีออกฤทธิ์ต่อจิต และประสาท การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธิ์ หน้าท่ีของผู้รับอนุญาต หน้าท่ีของเภสัชกร การโฆษณาและอานาจหน้าท่ีของพนักงานเจ้าหน้าท่ี รวมท้ังเพ่ิมเติมบทบัญญัติ เกี่ยวกับด้านตรวจสอบวัตถุออกฤทธิ์ และการให้โอกาสแก่ผู้เสพ หรือเสพและมีไว้ในครอบครอง หรือ เสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อขาย หรือเสพและขายซึ่งวัตถุออกฤทธ์ิ ได้สมัครใจเข้ารับการ บาบัดรักษาในสถานพยาบาล ตลอดจนปรับปรุงบทกาหนดโทษ และอัตราค่าธรรมเนียมให้เหมาะสม ยิ่งข้ึน ท้ังน้ีกัญชามีสารวัตถุออกฤทธ์ิช่ือว่า “เตตราไฮโดรแคนนาบินอล” (Tetrahydrocannabinol, THC) และถูกบญั ญตั ไิ ว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอ่ื งระบุชื่อวัตถอุ อกฤทธิใ์ นประเภท 1 กกกกกกก3. พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 เป็นฉบับท่ีแก้ไขเพ่ิมเติมจาก พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 เปิดโอกาสให้สามารถนากัญชาและพืชกระท่อมไป รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 115 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

114 ทาการศึกษาวิจัย เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์และสามารถนาไปใช้ในการรักษาภายใต้การดูแลและ ควบคุมของแพทย์ผู้ได้รับอนุญาตได้ เพื่อให้ถูกต้องตามหลักวิชาการให้ทาได้โดยชอบด้วยกฎหมาย เพ่ือสร้างความมั่นคงทางด้านยาของประเทศ และป้องกันไม่ให้เกิดการผูกขาดทางด้านยา นอกจากน้ี ส่งผลให้อนาคตผู้ป่วยในประเทศ ลดภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพได้อย่างมาก และส่งผลทางด้าน เศรษฐกิจของประเทศ เปิดทางให้ใช้ในอุตสาหกรรมยา สมุนไพร อาหารและเคร่ืองสาอาง เพ่ือประโยชนข์ องประเทศชาติ พร้อมสนับสนุนผปู้ ระกอบการภายในประเทศ ใช้ประโยชน์จากกัญชง นอกเหนือจากเสน้ ใย หวงั เพ่มิ มูลค่าทางเศรษฐกิจ นารายได้เข้าประเทศ กกกกกกก พระราชบัญญัติฉบับนี้ กัญชา ยังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ห้ามมิให้ ผู้ใดเสพ เว้นแต่เสพเพ่ือรักษาโรคตามคาส่ังของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือเป็นการเสพ เพื่อศึกษาวิจัย และยังสามารถใช้ประโยชน์ได้ ตามวัตถุประสงค์ในกรณีจาเป็น คือ ประโยชน์ของทาง ราชการ ประโยชน์ทางการแพทย์ ประโยชน์ในการรักษาผปู้ ่วย ประโยชนใ์ นการศึกษาวิจยั และพัฒนา และประโยชน์ในการเกษตรกรรม พาณิชยกรรม วิทยาศาสตร์ หรืออุตสาหกรรม อีกท้ังในมาตรา 26/5 ยังกาหนดผู้มีสิทธิ์ที่จะขอออกใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้ครอบครอง ผู้ขออนุญาตต้องเป็นหน่วยงานของรัฐ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สถาบันอุดมศึกษาตาม กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมท่ีรวมกลมุ่ เป็นวิสาหกิจ ชุมชน ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ ผู้ป่วยเดินทางระหว่างประเทศ และผู้ขอ อนุญาตอ่ืนตามที่รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกาหนดในกฎกระทรวง ซึ่งในวาระ เร่ิมแรกภายในระยะเวลา 5 ปี การขอรับใบอนุญาตสาหรับวัตถุประสงค์ผลิต นาเข้า ส่งออก เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์หรือการรักษาผู้ป่วย ให้อนุญาตได้ คือ ให้อนุญาตได้เฉพาะกรณีท่ีผู้ขอ อนุญาตเป็นหน่วยงานของรัฐ หรือเป็นผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 ซ่ึงดาเนินการร่วมกับ ผ้ขู ออนญุ าตทีเ่ ปน็ หนว่ ยงานของรฐั กกกกกกก4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ท่เี กย่ี วขอ้ งกับกัญชาและกัญชง ประกาศ และระเบียบของกระทรวงสาธารณสุขท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชงทาให้ เกิดความชัดเจนตามกฎหมายสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยทุกด้าน ทั้งน้ีเพื่อใช้ ประโยชน์จากสารสาคญั ในกัญชา และกญั ชง มีจานวน 5 ฉบบั ดังนี้ (1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กาหนดตารับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ ท่ีให้เสพเพื่อรักษาโรคหรือ การศึกษาวิจัยได้ (2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กาหนดผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผน ไทยและหมอ พื้นบ้านตามกฎหมายว่าด้ว ยวิช าชีพการแพทย์แผนไทย ท่ีจะสามารถ ปรุง หรือส่ังจ่ายตารับยาท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้ (3) ประกาศกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก เรื่อง กาหนดแบบตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการรับรองหมอพ้ืนบ้าน พ.ศ. 2562 (4) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง ระบุช่ือยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2561 116 หนังสอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

115 มีสาระสาคัญโดยกาหนดให้ กัญชา (Cannabis) เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ลาดับท่ี 1 ซึ่งมี ช่ือพฤกษศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. และ Cannabis indica Lam. ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น และ วัตถุหรือสารต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในพืชกัญชา เช่น ยาง น้ามัน ยกเว้นเปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง และผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากเปลือกแห้ง แกน ลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง และ (5) ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง ระบุช่ือยาเสพติดให้โทษประเภท 5 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มีสาระสาคัญคือ กาหนดยกเลิกและแก้ไขเพิ่มเติม ลาดับ 1 กัญชา (Cannabis) ซ่ึงเป็นพืชในสกุล Cannabis ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น และวัตถุหรือสารต่าง ๆ ที่มีอยู่ในพืชกัญชา เช่น ยาง น้ามัน และ ลาดับที่ 5 คือ กัญชง (hemp) ซึ่งมีช่ือทางวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. Subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อย ของพืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ท้ังน้ีให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชง เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) และ ลกั ษณะเป็นไปตามท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนด กกกกกกก5. ประกาศคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพติดให้โทษ กกกกกก ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษที่เกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชง ที่สาคัญมีจานวน 6 ฉบับ ได้แก่ (1) ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เรื่อง การแสดง ความจานงและการตรวจสอบผู้แสดงความจานงเป็นผู้รับอนุญาตต้ังแต่วันท่ีผู้รับอนุญาตตาย (2) เร่ือง กาหนดแบบการจัดทาบัญชีรับจ่ายและรายงานเก่ียวกับการผลิต การนาเข้า การส่งออก การจาหน่าย การมีไว้ในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา (3) เร่ือง กาหนดฉลากและเอกสารกากับยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5 หรือคาเตอื นหรือข้อควรระวัง การใช้ท่ีภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่ผลิต นาเข้า หรือส่งออก สาหรับยาแผนปัจจุบันซึ่งมีกัญชาปรุงผสมอยู่ (4) เร่ือง กาหนดเมล็ดพันธุ์เฮมพ์เป็นเมล็ดพันธ์ุรับรอง ตามกฎกระทรวง การขออนุญาตและการอนุญาตผลิต จาหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติด ให้โทษประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ พ.ศ. 2559 (5) เรื่อง กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) ประกาศเม่ือวันท่ี 27 สิงหาคม พ.ศ. 2562 โดยกาหนดลักษณะกัญชง เพื่อเป็นประโยชน์ในการควบคุมการผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้ครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชง ที่มีปริมาณสาร เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.5 ต่อ น้าหนักแห้ง และเมลด็ พันธุร์ ับรองมีลักษณะเป็นเมลด็ พันธกุ์ ัญชงท่ีมปี รมิ าณสารเตตราไฮโดรแคนนาบนิ อล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.3 ต่อน้าหนักแห้ง และ (6) เร่ือง กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2562 โดย กาหนดให้มีการยกเลิกประกาศฉบับเดมิ ซึ่งสาระสาคัญของประกาศฉบับน้ี คอื กาหนดลกั ษณะกัญชง (Hemp) มีลักษณะเป็นพืชซ่ึงมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ ว่า Cannabis sativa L. Subsp. sativa อันเป็น รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ิต 117 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

116 ชนิดย่อยของพืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอก ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้งโดยตรวจ วเิ คราะห์ ตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารท่คี ณะกรรมการประกาศกาหนด และ เมล็ดพนั ธุร์ บั รองมลี กั ษณะ เป็นเมล็ดพันธ์ุกัญชง (Hemp) ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบ และช่อดอก ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้ง ทั้งน้ี ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด โดยการตรวจวิเคราะห์ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนด และเป็นพันธุ์พืช ข้ึนทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยพันธ์ุพืช โดยประกาศฉบับน้ีจะไม่มีผลบังคับใช้กับกรณีกัญชงที่ปลูก อยู่ก่อนประกาศดังกล่าวมีผลบังคับใช้ รวมถึงเมล็ดพันธ์ุท่ีรับรองแล้วก่อนประกาศมีผลบังคับใช้ เพื่อส่งเสริม การพัฒนาสายพนั ธกุ์ ญั ชง โดยเฉพาะพนั ธ์ุพน้ื เมอื ง เปดิ กว้างให้เกิดการใช้ประโยชนก์ ัญชงอย่างค้มุ คา่ กกกกกกก6. พระราชบัญญตั สิ ิทธบิ ัตรกับกัญชาและกัญชง ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2542 ให้ความหมาย “สิทธิบัตร” หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อ คุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกาหนด ท้ังน้ี ขั้นตอนการยื่นคาขอจดสิทธิบัตรท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชง มี 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนท่ี 1 กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะพิจารณาว่าขัดต่อพระราชบัญญัติสิทธิบัตรในมาตรา 9 (1) ซึ่งกาหนดว่า สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืชไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติหรือ หากขัดกับ มาตราดังกล่าวจะไม่สามารถยื่นจดสิทธิบัตรได้ เช่น สารสกัดจากกัญชาไม่สามารถจดได้.ขั้นตอนที่ 2 หากการยื่นคาขอไม่ขัดกับมาตรา 9 (1) เช่น ตารับยาจากกัญชาสาหรับใช้รักษาโรคต่าง ๆ กรม ทรัพย์สินทางปัญญาจะเป็นผู้ตรวจสอบว่าสามารถจดได้หรือไม่ โดยพิจารณาตามหลักการ คือ ต้อง เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ มีข้ันตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิต อุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้ และข้ันตอนที่ 3 เม่ือผ่านการพิจารณา ในขั้นตอนท่ี 2 จะประกาศโฆษณาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถคัดค้านหรือให้ข้อเสนอแนะได้ เม่ือประกาศโฆษณาแล้วผู้ขอต้องยื่นขอให้ตรวจสอบการประดิษฐ์ เจ้าหน้าที่จะนาข้อคัดค้านหรือ ข้อเสนอแนะมาประกอบการพิจารณาร่วมกับการตรวจสอบการประดิษฐ์อีกครั้ง ก่อนจะพิจารณาว่า สามารถจดสิทธิบัตรได้หรือไม่ ปัจจุบันนี้มีผู้ขอจดสิทธิบัตรท่ีเก่ียวข้องกับกัญชากับกรมทรัพย์สินทาง ปัญญา มีจานวน 3 บริษัท โดยมีจานวน 10 คาขอ ซ่ึงอยู่ในข้ันตอนการดาเนินการ และการขอจด สทิ ธิบัตร กกกกกกก7. ข้อปฏบิ ัติที่ต้องทาตามกฎหมายทีเ่ ก่ียวข้องกับกัญชาและกญั ชง กกกกกกกกก ขอ้ ปฏบิ ตั ิที่สาคญั ตามกฎหมายกญั ชาและกญั ชง มขี อ้ ท่คี วรปฏิบตั ิดงั นี้ กกกกกกกก ข้อ 1 โพสต์ภาพ หรือข้อความ เพ่ือโฆษณายาเสพติด มีโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี ปรบั ไมเ่ กิน 200,000 บาท 118 หนังสอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ เพ่อื ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

117 กกกกกกกก ข้อ 2 ใช้อุบายหลอกลวง ขูเ่ ขญ็ ใชก้ าลงั ประทุษรา้ ย ข่มขืนใจให้ผู้อ่นื เสพ มโี ทษดังนี้ กกกกกกกกกกก 2.1 จาคกุ 1 - 10 ปี และปรับตง้ั แต่ 100,000 - 1,000,000 บาท กกกกกกกกกกก 2.2 ถ้าทาโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนขึ้นไป จาคุก 2 - 15 ปี และปรับตั้งแต่ 200,000 - 1,500,000 บาท กกกกกกกกกกก 2.3 ถา้ กระทาต่อหญงิ หรอื ผ้ยู งั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ หรอื เพื่อจงู ใจใหผ้ ู้อ่ืนทาผิดอาญา หรือเพ่ือประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อ่ืนในการทาผิดอาญา จาคกุ 3 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรบั 300,000 - 5,000,000 บาท กกกกกกกก ข้อ 3 ยุยงส่งเสริมให้ผู้อื่นเสพ มีโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรอื ท้ังจาทง้ั ปรบั กกกกกกกก ข้อ 4 ใช้อุบายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กาลังประทุษร้าย ข่มขืนใจให้ผู้อื่นผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย ครอบครองเพื่อจาหน่าย มีโทษเป็นสองเท่าของโทษที่กฎหมายบัญญัติไว้สาหรับ ความผดิ นัน้ ๆ กกกกกกกก ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเป็นจานวนมาก ซ่ึงกระทรวง ยุติธรรม ได้กาหนดแนวทางการช่วยเหลือผู้เสพยาเสพติดแนวใหม่ ภายใต้กรอบความคิด “ผู้เสพ คือ ผู้ป่วย” ที่จะต้องได้รับการบาบัดรักษาอย่างถูกต้อง โดยแพทย์และพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ ทุกแห่งท่ัวประเทศ และหลังจากที่ผู้เสพได้รับการบาบัดรักษาแล้ว ก็สามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคม อย่างปกติสขุ โดยรัฐบาลจะให้การติดตามชว่ ยเหลือส่งเสริมการประกอบอาชพี เพ่ือใหผ้ ู้เสพได้เริ่มต้น ชวี ติ ใหม่ “เปล่ียนเพือ่ ครอบครัว เพ่อื อนาคตทด่ี ีกวา่ ” กกกกกกก8. โทษของการฝ่าฝนื กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั กัญชาและกัญชง บทลงโทษของการฝา่ ฝนื กฎหมายทเี่ กยี่ วข้องกญั ชาและกัญชง มี 5 กล่มุ ดงั น้ี 8.1 กลุ่มผู้เสพ (นอกเหนือเพ่ือรักษาตามคาสั่งแพทย์) มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรอื ปรบั ไม่เกิน 20,000 บาท หรือทงั้ จาทัง้ ปรบั 8.2 กลุ่มครอบครอง หรือจาหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต (ไม่ถึง 10 กิโลกรัม) มีบทลงโทษ จาคกุ ไมเ่ กิน 5 ปี หรอื ปรับไมเ่ กนิ 100,000 บาท หรือท้งั จาทงั้ ปรับ 8.3 กลุ่มจาหน่ายโดยไม่ได้รบั อนุญาต (ปริมาณ 10 กิโลกรัมข้ึนไป) มีบทลงโทษ จาคุก ต้งั แต่ 1 – 15 ปี และปรบั 100,000 – 1,500,000 บาท 8.4 กลุ่มผู้ฝ่าฝืนผลิต นาเข้า หรือส่งออก มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับ ไมเ่ กิน 500,000 บาท 8.5 กลุ่มกรณีเพื่อจาหน่าย มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 - 15 ปี และปรับ 100,000 – 1,500,000 บาท รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพอ่ื ใช้เป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 119 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

118 ในส่วนผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 มีสิทธิที่จะขอใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่ายหรอื มไี ว้ในครอบครองซึง่ ผ้ขู ออนุญาตตามขอ้ 2,3,4 และ 7 มีบคุ คลอยู่ 2 กล่มุ ดังน้ี กลมุ่ ท่ี 1 กรณีบุคคลธรรมดา สญั ชาติไทย มีถิ่นทอี่ ยู่ในไทย กลุ่มท่ี 2 กรณีนิติบุคคล จดทะเบียนตามกฎหมายไทย 2 ใน 3 กรรมการ หุ้นส่วน ผ้ถู ือหุน้ มสี ญั ชาติไทย มสี านักงานในไทย นอกจากนี้การนากัญชามาโฆษณาชวนเชือ่ บิดเบอื นฉลากอาหาร – ฉลากยา มคี วามผดิ ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 30,000 บาท หากเข้าข่ายเป็นอาหารท่ีมีการแสดงฉลากเพ่ือลวง หรือ พยายามลวงให้เข้าใจผิดเร่ืองคุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ สถานที่ผลิต จัดเป็นอาหารปลอม ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ต้ังแต่ 6 เดอื น – 10 ปี และปรับต้ังแต่ 5,000 – 100,000 บาท ต่อมาไดม้ ีการนิรโทษกรรม โดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข 3 ฉบับ ซ่ึงประกาศใช้ใน ราชกิจจานเุ บกษา ลงวันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ดงั นี้ ฉบับท่ี 1 เรอื่ ง การกาหนดให้ยาเสพติดให้ โทษในประเภท 5 เฉพาะกญั ชาตกเปน็ ของกระทรวงสาธารณสุข หรือใหท้ าลายกญั ชาท่ีได้รับมอบจาก บคุ คล ซงึ่ ไม่ต้องรับโทษ ตามมาตรา 22 แหง่ พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 โดยรายละเอียดผู้ที่ได้รบั การนิรโทษกรรม หรือการครอบครองก่อนหน้าน้ีไม่ผิด และให้มาแจ้งภายใน 90 วัน ฉบับที่ 2 เร่ืองการครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา สาหรับผู้ป่วยที่มี ความจาเป็นต้องใช้เพ่ือรักษาโรคเฉพาะตัว ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ ซึ่งในกรณีน้ีผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้กัญชารักษาตัว และมี ครอบครองก่อนกฎหมายใช้บงั คบั และฉบบั ท่ี 3 เร่ือง การแจง้ การมไี ว้ในครอบครองกัญชา สาหรบั ผมู้ ี คุณสมบัติตามมาตรา 26/5 และบุคคลอื่นท่ีมิใช่ผู้ป่วยตามมาตรา 22 (2) ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพ ติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ กล่าวคือ บุคคลท่ีไม่ใช่กลุ่มที่ 1 และ กลุ่มท่ี 2 โดยในฉบับน้ี ให้หน่วยงานหรือบุคคลผู้ครอบครองกัญชาก่อนกฎหมายมีผลใช้บังคับเพ่ือ ประโยชน์ทางการแพทยก์ ารรักษาผู้ป่วย การใช้รักษาโรคเฉพาะตวั หรือการศกึ ษาวิจัย กกกกกกก9. กฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับกัญชาและกญั ชง กกกกกกกกก บทลงโทษของการฝา่ ฝืนกฎหมายที่เกยี่ วข้องกัญชาและกญั ชง มี 5 กลมุ่ ดังน้ี กกกกกกกกก กลุ่มท่ี 1 กล่มุ ผเู้ สพ (นอกเหนอื เพอ่ื รักษาตามคาส่ังแพทย)์ มีบทลงโทษ จาคกุ ไม่เกิน 1 ปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ 20,000 บาท หรือท้งั จาทัง้ ปรับ กกกกกกกกกกลุ่มท่ี 2 กลุ่มครอบครอง หรือจาหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต (ไม่ถึง 10 กิโลกรัม) มีบทลงโทษ จาคุกไมเ่ กิน 5 ปี หรือปรบั ไมเ่ กนิ 100,000 บาท หรือท้งั จาทงั้ ปรบั กกกกกกกกก กลุ่มท่ี 3 กลุ่มจาหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต (ปริมาณ 10 กิโลกรัมข้ึนไป) มีบทลงโทษ จาคกุ ต้ังแต่ 1 - 15 ปี และปรบั 100,000 - 1,500,000 บาท 120 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพื่อใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

111199 กกกกกกกกกกกกกกกกกก กกลลมุุ่่มทท่ีี่ 44 กกลล่มุุ่มผผฝูู้ฝ้ ่าา่ ฝฝืืนนผผลลิติต นนาาเเขข้้าา หหรรอือื สส่งง่ ออออกก มมบีีบททลลงงโโททษษ จจาาคคุกกุ ไไมม่เ่เกกิินน 55 ปปีี แแลละะปปรรัับบ ไไมมเ่่เกกนิิน 550000,,000000 บบาาทท กกกกกกกกกกกกกกกกกก กกลลุุ่่มมทท่่ีี 55 กกลลุุ่่มมกกรรณณีีเเพพืื่่ออจจาาหหนน่่าายย มมีีบบททลลงงโโททษษ จจาาคคุุกกไไมม่่เเกกิินน 11 1155 ปปีี แแลละะปปรรัับบ 110000,,000000 11,,550000,,000000 บบาาทท กกกกกกกกกกกกกกกกกก ใในนสส่่ววนนผผูู้้ขขออออนนุุญญาาตตตตาามมมมาาตตรราา 2266//55 มมีีสสิิททธธิิทที่่ีจจะะขขออใใบบออนนุุญญาาตตใใหห้้ผผลลิิตต นนาาเเขข้้าา สส่่งงออออกก จจาาหหนน่่าายยหหรรือือมมไีไี ววใ้ใ้ นนคครรออบบคครรอองงซซึ่งึง่ ผผ้้ขููขออออนนุุญญาาตตตตาามมขขอ้อ้ 22,,33,,44 แแลละะ 77 มมีีออยยูู่่ 22 กกลล่มุ่มุ ดดงัังนนีี้้ กกกกกกกกกกกกกกกกกก กกลล่มุุ่มทท่ีี่ 11 กกรรณณบีบี คคุุ คคลลธธรรรรมมดดาา สสัญญั ชชาาตติิไไททยย มมถีถี ินิ่่นททีอ่อี่ ยยใููใ่่ นนไไททยย กกกกกกกกกกกกกกกก กกลลุุ่่มมททีี่่ 22 กกรรณณีีนนิิตติิบบุุคคคคลล จจดดททะะเเบบีียยนนตตาามมกกฎฎหหมมาายยไไททยย 22 ใในน 33 กกรรรรมมกกาารร หหุุ้้นนสส่่ววนน ผผูู้ถถ้ ืืออหหนุนุ้้ มมีสสี ญญัั ชชาาตติไิไททยย มมสีีสาานนักกั งงาานนใในนไไททยย กกกกกกกกกกกกกกกกกก นนออกกจจาากกนนก้ีก้ี าารรนนาากกััญญชชาามมาาโโฆฆษษณณาาชชววนนเเชช่ื่ืออ บบิดิดเเบบืืออนนฉฉลลาากกออาาหหาารร ฉฉลลาากกยยาา มมคคีี ววาามมผผิิดด ตต้้อองงรระะววาางงโโททษษ ปปรรัับบไไมม่่เเกกิินน 3300,,000000 บบาาทท หหาากกเเขข้้าาขข่่าายยเเปป็็นนออาาหหาารรทท่ีี่มมีีกกาารรแแสสดดงงฉฉลลาากกเเพพื่่ืออลลววงง หหรรืืออ พพยยาายยาามมลลววงงใใหห้้เเขข้้าาใใจจผผิิดดเเรร่ืื่อองงคคุุณณภภาาพพ ปปรริิมมาาณณ ปปรระะโโยยชชนน์์ สสถถาานนททีี่่ผผลลิิตต จจััดดเเปป็็นนออาาหหาารรปปลลออมม ตตอ้อ้ งงรระะววาางงโโททษษจจาาคคกุุกตต้้งังั แแตต่่ 66 เเดดืออื นน 1100 ปปีี แแลละะปปรรับบั ตตงัั้ง้ แแตต่่ 55,,000000 -- 110000,,000000 บบาาทท กกกกกกกกกกกกกกกกกก ตตออ่่ มมาาไไดดมม้้ ีีกกาารรนนิริรโโททษษกกรรรรมม โโดดยยปปรระะกกาาศศกกรระะททรรววงงสสาาธธาารรณณสสุุขข 33 ฉฉบบบบัั ซซ่่ึงึงปปรระะกกาาศศใใชช้้ใในน รราาชชกกิจิจจจาานนเุเุ บบกกษษาา ลลงงววันนั ทท่ี่ี 2266 กกุมมุ ภภาาพพนัันธธ์์ พพ..ศศ.. 22556622 ดดังังนนี้้ี ฉฉบบบัับทท่ี่ี 11 เเรรือ่ื่องง กกาารรกกาาหหนนดดใใหห้ยย้ าาเเสสพพตติิดดใใหห้้ โโททษษใในนปปรระะเเภภทท 55 เเฉฉพพาาะะกกัญญั ชชาาตตกกเเปปน็น็ ขขอองงกกรระะททรรววงงสสาาธธาารรณณสสุุขข หหรรือือใใหหท้้ทาาลลาายยกกญัญั ชชาาททไี่ไี่ ดด้รร้ ับับมมออบบจจาากก บบุคคุ คคลล ซซ่งึ่ึงไไมมต่่ต้อ้องงรรัับบโโททษษ ตตาามมมมาาตตรราา 2222 แแหห่งง่ พพรระะรราาชชบบััญญญญตัตั ิิยยาาเเสสพพตติดดิ ใใหหโ้้โททษษ ((ฉฉบบับับทที่่ี 77)) พพ..ศศ.. 22556622 โโดดยยรราายยลละะเเออีียยดดผผูู้้ทท่ี่ีไไดด้้รรับับกกาารรนนิิรรโโททษษกกรรรรมม หหรรืืออกกาารรคครรออบบคครรอองงกก่่ออนนหหนน้้าานนี้ไไ้ี มม่่ผผิิดด แแลละะใใหห้้มมาาแแจจ้้งงภภาายยใในน 9900 ววัันน ฉฉบบัับบทท่ี่ี 22 เเรร่ืื่อองงกกาารรคครรออบบคครรอองงยยาาเเสสพพตติิดดใใหห้้โโททษษใในนปปรระะเเภภทท 55 เเฉฉพพาาะะกกััญญชชาา สสาาหหรรัับบผผูู้้ปป่่ววยยทท่ีี่มมีี คคววาามมจจาาเเปป็็นนตต้้อองงใใชช้้เเพพื่ื่ออรรัักกษษาาโโรรคคเเฉฉพพาาะะตตััวว กก่่ออนนพพรระะรราาชชบบััญญญญััตติิยยาาเเสสพพตติิดดใใหห้้โโททษษ ((ฉฉบบัับบทท่ีี่ 77)) พพ..ศศ.. 22556622 ใใชช้้บบัังงคคัับบใใหห้้ไไมม่่ตต้้อองงรรัับบโโททษษ ซซ่ึ่ึงงใในนกกรรณณีีนน้ี้ีผผูู้้ปป่่ววยยทท่ีี่มมีีคคววาามมจจาาเเปป็็นนตต้้อองงใใชช้้กกััญญชชาารรัักกษษาาตตััวว แแลละะ มมีีคครรออบบคครรอองงกก่่ออนนกกฎฎหหมมาายยใใชช้้บบัังงคคัับบ แแลละะฉฉบบัับบทท่ีี่ 33 เเรร่ืื่อองง กกาารรแแจจ้้งงกกาารรมมีีไไวว้้ใในนคครรออบบคครรอองงกกััญญชชาา สสาาหหรรัับบ ผผูู้้มมีีคคุุณณสสมมบบััตติิตตาามมมมาาตตรราา 2266//55 แแลละะบบุุคคคคลลออ่ื่ืนนทท่ี่ีมมิิใใชช่่ผผูู้้ปป่่ววยยตตาามมมมาาตตรราา 2222 ((22)) กก่่ออนนพพรระะรราาชชบบััญญญญััตติิ ยยาาเเสสพพตติิดดใใหห้้โโททษษ ((ฉฉบบัับบทท่ี่ี 77)) พพ..ศศ.. 22556622 ใใชช้้บบัังงคคัับบใใหห้้ไไมม่่ตต้้อองงรรัับบโโททษษ กกลล่่าาววคคืืออ บบุุคคคคลลทท่ี่ีไไมม่่ใใชช่่กกลลุุ่่มมทที่่ี 11 แแลละะกกลล่มุมุ่ ทท่ี่ี 22 โโดดยยใในนฉฉบบับบั นนี้้ี ใใหหห้้หนนว่่วยยงงาานนหหรรอืือบบุคคุ คคลลผผูู้้คครรออบบคครรอองงกกััญญชชาากก่่ออนนกกฎฎหหมมาายยมมผีผี ลลใใชช้้บบงัังคคัับบเเพพ่ืื่ออ ปปรระะโโยยชชนน์ท์ทาางงกกาารรแแพพททยยก์ก์ าารรรรกัักษษาาผผปูู้้ป่ว่วยย กกาารรใใชชร้้รกัักษษาาโโรรคคเเฉฉพพาาะะตตัวัวหหรรอืือกกาารรศศึกึกษษาาววิจิจัยัย ผผลลกกาารรเเรรผียียลนนกรราททูู้้ ร่ี่คีคเราายี ดดนหหรววทู้ งัังี่คาดหวงั กกกกกกกกกกกกกก11.. เเพพ่่ืืออใใหหผ้้ผูเู้้เรรยยีี นนมมีคีคววาามมรรูู้้ คคววาามมเเขข้า้าใใจจเเกกยีย่ี่ ววกกบับั พพรระะรราาชชบบญญัั ญญตัตั ิยิยาาเเสสพพตติิดดใใหห้โโ้ ททษษ พพ..ศศ.. 22552222 พพรระะรราาชชบบััญญญญััตติิววััตตถถุุออออกกฤฤททธธิิ์์ตต่่ออจจิิตตแแลละะปปรระะสสาาทท พพ..ศศ.. 22555599 พพรระะรราาชชบบััญญญญััตติิยยาาเเสสพพตติิดดใใหห้้โโททษษ ((ฉฉบบัับบทท่ี่ี 77)) พพ..ศศ.. 22556622 ปปรระะกกาาศศกกรระะททรรววงงสสาาธธาารรณณสสุุขขทท่ี่ีเเกก่่ีียยววขข้้อองงกกัับบกกััญญชชาาแแลละะกกััญญชชงง ขข้้ออปปฏฏิิบบััตติิททีี่่ตต้้อองง รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพื่อใช้เป็นยา หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 121 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

120 120 ทาตามกฎทหาตมาามยกทฎี่เกหี่ยมวาขย้อทง่ีเกกับ่ียกวัญข้อชงากแับลกะัญกัญชาชแงลโะทกษัญขชองงกโทารษฝข่าอฝงืนกกาฎรฝห่ามฝาืนยกทฎ่ีเกหี่ยมวาขย้อทงี่เกกับ่ียกวัญข้อชงากแับลกะัญชาและ กัญชง แลกะัญกชฎงหแมลาะยกระฎหหวมา่ างยปรระะหเทว่าศงเปกีย่ระวเกทบั ศกเญัก่ยี ชวากแับลกะญักญั ชาชแงละกัญชง กกกกกกกกก2ก. กกเพกื่อกใ2ห.้ผู้เเรพีย่ือนใหมี้ทผู้ัเกรษียะนกมาีทรักแษสะวงกหาราแคสวาวมงหรู้าแคลวะาทมักรู้ษแะลกะาทรักคษิดะวิกเคารราคะิดหว์ใิเนคกราฎะหหม์ใานยกฎหมาย ทีเ่ กี่ยวข้อทงเี่กกับยี่ กวญัข้อชงากแบัลกะัญกัญชาชแงละกัญชง กกกกกกกกก3.กกเกพกื่อกให3้ต. รเะพหอ่ื นใหกั ้ตถึงรโะทหษนขกั อถงึงกโทารษฝขา่ อฝงืนกกาฎรฝหา่มฝานืยกทฎเ่ี กหย่ี มวาขย้อทงีเ่กกบั ี่ยกวญัข้อชงากแบั ลกะญักญั ชาชแงลกะกกกญักกชกงกกกกกกกก ขอบขา่ ยขขเอนอบ้อืบขหข่าา่ายยเเนนอ้ื อ้ื หหาา กกกกกกกกกบกทกทก่ี 4กกกบฎทหทม่ี 4ายกทฎีเ่ กห่ยี มวาขย้อทง่เีกกับี่ยกวัญข้อชงากแับลกะัญกญั ชาชแงละกัญชง กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกเรกื่อกงกทกี่ 1กเรพ่ือรงะทร่ี า1ชบพญั ระญรตั าิยชาบเญัสพญตตั ิดิยใาหเ้โสทพษตดิพใ.หศโ้.ท2ษ52พ2.ศ. 2522 กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกเรกื่อกงกทกี่ 2กเรพ่ือรงะทรี่ า2ชบพัญระญรัตาิวชัตบถญั อุ ญอกัตฤวิ ัตทถธิ์อุตอ่อกจติฤทแลธะิ์ตป่อจระติ สแาลทะปพร.ะศส. า2ท55พ9.ศ. 2559 กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกเรกื่อกงกทกี่ 3กเรพ่ือรงะทร่ี า3ชบพญั ระญรัตาิยชาบเัญสพญตัตดิ ิยใาหเโ้สทพษติด(ฉใหบ้โับททษ่ี 7()ฉพบ.บั ศท. ่ี275)6พ2.ศ. 2562 กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกเรก่ือกงกทกี่ 4กเรปื่อรงะทกี่ า4ศกปรระะทกราวศงกสราะธทารรณวงสสุขาทธาี่เกรณย่ี วสขขุ ้อทง่ีเกกบั ย่ี กวัญข้อชงากแับลกะญักญัชาชแงละกัญชง กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกเรก่ือกงกทก่ี 5กเรปื่อรงะทกี่ า5ศคปณระะกการศรคมณกาะรกครวรบมคกุมายรคาเวสบพคตุมดิ ยใาหเโ้สทพษตดิ ใหโ้ ทษ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกเรกื่อกงกทก่ี 6กเรพ่ือรงะทร่ี า6ชบพญั ระญรัตาสิชิทบธัญบิ ญัตัตรกสิ ับิทกธิบัญัตชรากแับลกะัญกญั ชาชแงละกัญชง กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกเรก่ือกงกทก่ี 7กเรขื่ออ้ งปทฏ่ี 7บิ ัตขิทอ้ ีต่ ป้อฏงบิทัตาติทาต่ี ม้อกงฎทหาตมาามยกทฎีเ่ กหี่ยมวาขย้อทง่เีกกับ่ียกวัญข้อชงากแับลกะัญกัญชาชแงละกัญชง กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกเรกื่อกงกทก่ี 8กเรโื่อทงษทข่ี อ8งกโทารษฝข่าอฝงนื กกาฎรฝหา่มฝาืนยกทฎ่ีเกห่ยี มวาขย้อทงเ่ีกกับย่ี กวัญขอ้ชงากแบั ลกะัญกัญชาชแงละกัญชง กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกเรก่ือกงกทก่ี 9กเรกื่อฎงหทมี่ 9ายกระฎหหวม่าางยปรระะหเทวา่ศงเปก่ียระวเกทับศกเญัก่ยี ชวากแบัลกะัญกัญชาชแงละกัญชง สอ่ื ประกสสอ่อื อื่บปปกรราะะรกกเอรอยีบบนกกาารรเเรรียียนน กกกกกกกกก1.กกชกอื่ กหกน1ัง.สอืชก่ือญัหนชงัาสสือดุ กยญัอดชยาาสวดุ ิเยศอษดผยู้แาวตเิ ่งศษบรผษิ ู้แัทตง่ไซบเบรษิอรัทบ์ ไคุ ซสเบ์ แออรน์บดุค์ สป์ รแนิ้ อทน์ดจ์ าปกรัด้นิ ท์ จากัด สานกั พมิ สพา์ นบกัรษิพัทมิ เพอ์ กบพริมิษพัท์ไเอทกจพาิมกพัด์ไทไมจร่ ะากบัดปุ ีทไม่ีพ่รมิ ะพบ์ ปุ ีที่พมิ พ์ กกกกกกกกก2.กกชกือ่ กหกน2ัง.สือชก่ือัญหนชงัาสยือาวกเิัญศชษาผยู้แาวตเิง่ ศษสมผยู้แศตศ่งุภสกมจิ ยไศพบศลูุภยก์ิจสไาพนบักลู พยมิ ์ สพาป์ นญั ักญพมิาชพน์ปัญญาชน ปี พ.ศ. 2ป5ี6พ2.ศ. 2562 กกกกกกกกก3.กกชกอ่ื กบกท3ค. วชามือ่ บสทิทคธวบิ าัตมรกสับิทกธบิัญตั ชรากผับ้เู กขญัยี นชาดผร.ูเ้ รขจุยี ริ นะดบรนุ .รนุจาริ คะลบงุนพนิมาพคใ์ นลเงดพลิมนิ พิวใ์สน์ เดลินิวส์ เมอื่ 10 ธเันมว่ือา1ค0ม ธ2นั 5ว6า1คสมืบ2ค5้น6จ1ากสบื mค้นarจtาbกunmnaargt.bcuonmn/aagr.tcidoem/6/a0r7t/ide/607/ กกกกกกกกก4.กกชกื่อกบกท4ค. วชามื่อบกทฎคหวมาามยกเกฎย่ี หวมกาบั ยกเัญกี่ยชวากผับเู้ กขัญยี นชาสผานเู้ ขักียงนานสคาณนกัะงการนรคมณกาะรกปร้อรงมกกันาแรลปะ้องกนั และ ปราบปราปมรยาาบเปสรพาตมิดยาสเบื สคพ้นตจิดาสกืบhคtน้tpจsา:ก//mhtetpdsia:/.o/mncebd.igao.o.tnhc/bin.dgoe.xt.hp/hinpd/ethx/.p2h3-p2/0th1/82-032-2-2001-80-70-2-20-07- 04-07/200148-0-072/2-2001-80-70-20-52-00-10/76-40-5c-o0n1/te64n-tc5o-2n1te-5n-t651--211-5-61-1 122 หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

121 กกกกกกก5. ช่ือบทความ กฎหมายสาคญั /กฎหมายออกใหม่ ผูเ้ ขยี น กองควบคุมวัตถุเสพตดิ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา สืบค้นจาก http://www.fda.moph.go.th/sites/Narcotics /SitePages/AllNewlaw.aspx# กกกกกกก6. ชอื่ บทความ กฎหมายทรัพย์สนิ ทางปญั ญาไทย ผู้เขียน กรมทรัพยท์ างปญั ญา สบื ค้นจาก https://www.ipthailand.go.th/th/dip-law-2/category/acts.html กกกกกกก7. สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ ที่อยู่ 88/24 ถนนติวานนท์ ตาบลตลาดขวัญ จังหวดั นนทบุรี 11100 โทรศัพท์ 0-2590 7000 กกกกกกก8. กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ท่ี 88/23 หมู่ 4 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข ตาบลตลาดขวัญ จงั หวัดนนทบรุ ี 11100 โทรศัพท์ 0-2591 7007 กกกกกกก9. สานกั งานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) กระทรวงยตุ ธิ รรม ที่อยู่ 213 ซอยวภิ าวดี 25 แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ 0-98985 2262 กกกกกกก10. แหลง่ เรยี นรู้ใกล้บา้ นผู้เรยี น เรอื่ งท่ี 1เรือ่ พงรทะี่ ร1าชพบรัญะรญาัตชยิบาัญเสญพัตตยิ ดิ าใเหส้โพทตษิดใพห.โ้ศท. ษ25พ2.2ศ. 2522 กกกกกกกกฎหมายฉบับนี้ได้ให้ความหมายคาว่า “ยาเสพติดให้โทษ” หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุ ชนิดใด ๆ ซ่ึงเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้วทา ให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสาคัญ เช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพข้ึนเป็นลาดับ มีอาการ ถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพ ทั้งร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพ โดยทว่ั ไปจะทรุดโทรมลง กบั ใหร้ วมตลอดถึงพืชหรือส่วนของพืชที่เป็นหรือใหผ้ ลผลิตเป็นยาเสพติดให้ โทษหรืออาจใชผ้ ลิตเป็นยาเสพตดิ ให้โทษและสารเคมีทีใ่ ชใ้ นการผลิตยาเสพติดใหโ้ ทษด้วย ภาพท่ี 40 ความหมายของยาเสพติด รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพื่อใชเ้ ป็นยา หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวิต 123 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

122 กกกกกกกกก นอกจากนี้ยังได้แบ่งยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท เพ่ือประโยชน์ในการกาหนด วิธีการควบคุมท่ีแตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสม เน่ืองจากแต่ละประเภทมีอันตราย และความ จาเปน็ ในทางการแพทย์ไม่เหมอื นกนั ประเภทยาเสพติดให้โทษและรายชอื่ ยาเสพติดที่สาคัญ มดี ังน้ี กกกกกกกกก ประเภท 1 ยาเสพตดิ ให้โทษชนดิ ร้ายแรง เชน่ เฮโรอีน ยาบ้า ยาอี ยาเลฟิ กกกกกกกก ประเภท 2 ยาเสพตดิ ให้โทษทั่วไป เชน่ ใบโคคา โคคาอีน ยาสกัดเขม้ ข้นของต้นฝนิ่ แหง้ เมทาโดน มอร์ฟนี ฝนิ่ ยา (ฝ่ินที่ผา่ นกรรมวธิ ีปรงุ แตง่ เพ่อื ใช้ในทางยา) ฝิ่น (ฝิน่ ดิบ ฝิ่นสกุ มลู ฝ่ิน) กกกกกกกกก ประเภท 3 ยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเปน็ ต้นตารับยาและมยี าเสพตดิ ให้โทษประเภท 2 ผสมอยู่ เชน่ ยาแก้ไอ ยาแกท้ ้องเสยี กกกกกกกกก ประเภท 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือ 2 เช่น อาเซติค แอนไฮโดรด์ อาเซตลิ คลอไรด์ กกกกกกกกก ประเภท 5 ยาเสพตดิ ให้โทษที่ไม่เขา้ อยใู่ นประเภท 1 ถงึ 4 เช่น กัญชา (ทุกส่วนของพืช กัญชา) พืชกระท่อม (ทกุ ส่วนของพชื กระทอ่ ม) และพชื เห็ดข้คี วาย กกกกกกกกก กัญชาถูกบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามมาตรา 7 แห่ง พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 โดยกาหนดไว้ว่าห้ามปลูก ห้ามเสพ ห้ามจาหน่ายและมี ไว้ครอบครอง กกกกกกกกก กล่าวโดยสรุป พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ให้ความหมายคาว่า “ยาเสพติดให้โทษ” หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเม่ือเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดย รบั ประทาน ดม สบู ฉดี หรอื ด้วยประการใด ๆ แลว้ ทาให้เกดิ ผลตอ่ รา่ งกายและจิตใจในลกั ษณะสาคัญ เช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพข้ึนเป็นลาดับ มีอาการถอนยาเม่ือขาดยา มีความต้องการเสพ ท้ังร่างกาย และจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยท่ัวไปจะทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืชหรือ ส่วนของพืชที่เป็นหรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษและ สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษด้วย นอกจากนี้ยังแบ่งยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท โดยกัญชาถูกบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามมาตรา 7 โดยกาหนดไว้ว่า หา้ มปลูก หา้ มเสพ หา้ มจาหน่ายและมีไวค้ รอบครอง เรอ่ื งท่ี 2เรพอ่ื งรทะรี่ 2าชบพญัระญราตั ชวิ บัตญัถุอญอตั กวิ ฤัตทถธุอ์ติ ออ่ กจฤติ ทแธล์ิตะ่อปจริตะแสลาทะปพร.ะศส.า2ท55พ9.ศ. 2559 กกกกกกจากสภาวการณ์ ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงท้ังทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม ตลอดจนความก้าวหน้าของเทคโนโลยีท่ีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ บทบัญญัติบางประการในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2518 ซ่ึงได้ใช้ บังคับมาเป็นเวลานานแล้วไม่เหมาะสมกับสภาพปัญหาการระบาดและการนาวัตถุที่ออกฤทธ์ิต่อจิต และประสาทไปใชใ้ นทางทีผ่ ดิ 124 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวิต เพื่อใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

123 กกกกกกกสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซึ่งเป็นหน่วยงานท่ีรับผิดชอบพระราชบัญญัติวัตถุ ออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท จึงได้มีการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติดังกล่าวอยู่เป็นระยะ ๆ ต่อมา ในปี พ.ศ. 2554 ไดม้ ีการแก้ไขเพิ่มเติมบทบญั ญัตใิ นหลายมาตรา ซ่งึ หากประกาศเปน็ พระราชบัญญัติ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมเช่นท่ีผ่านมา อาจทาให้ผู้ใช้กฎหมายเกิดความสับสนหรือมีโอกาสที่จะใช้กฎหมาย ผิดได้ ดังน้ัน จึงได้ดาเนินการปรับปรุงใหม่ท้ังฉบับและมีการประกาศ “พระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559” ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีผลให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนด 180 วันนับแต่วันประกาศ คือวันท่ี 18 มิถุนายน พ.ศ. 2560 เป็นตน้ ไป โดยให้ยกเลกิ พระราชบญั ญัตวิ ัตถทุ ่ีออกฤทธติ์ ่อจติ และประสาท ทัง้ 4 ฉบบั คือ พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2528 พ.ศ. 2535 และ พ.ศ. 2543 และปรับปรุงบทบัญญัติเก่ียวกับองค์ประกอบของ คณะกรรมการวัตถุท่ีออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุ ออกฤทธิ์ หน้าที่ของผู้รับอนุญาต หน้าท่ีของเภสัชกร การโฆษณาและอานาจหน้าที่ของพนักงาน เจ้าหน้าท่ี รวมทั้งเพิ่มเติมบทบัญญัติเก่ียวกับด้านตรวจสอบวัตถุออกฤทธ์ิ และการให้โอกาสแก่ผู้เสพ หรือเสพและมีไว้ในครอบครอง หรือเสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อขาย หรือเสพและขายซึ่งวัตถุ ออกฤทธ์ิ ได้สมัครใจเข้ารับการบาบัดรักษาในสถานพยาบาล ตลอดจนปรับปรุงบทกาหนดโทษ และอตั ราค่าธรรมเนยี มใหเ้ หมาะสมย่งิ ขน้ึ ภาพท่ี 41 พระราชบญั ญัตวิ ตั ถอุ อกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวิต 125 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

124 กกกกกกกโดยมาตรา 7 ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการมีอานาจประกาศกาหนด ระบุช่ือและจัดแบ่งประเภทวัตถุออกฤทธ์ิว่าวัตถุออกฤทธิ์อยู่ในประเภทใดประเภทหน่ึง โดยแบ่ง ประเภทวัตถอุ อกฤทธ์ิทไี่ ม่ใช้ในทางการแพทย์ ก ภาพที่ 42 ประเภทของวตั ถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท กกกกกกกทั้งนี้ กัญชาถูกบัญญัติไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องระบุชื่อวัตถุออกฤทธ์ิ ในประเภท 1 พ.ศ. 2561 ในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ในลาดับที่ 22 ชือ่ วตั ถุออกฤทธว์ิ า่ เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) กกกกกกกกล่าวโดยสรุป พระราชบัญญัติวัตถุเพ่ือออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 มีเหตุผลในการประกาศใช้เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งมีสภาพปัญหาเกี่ยวกับ วัตถุออกฤทธิ์ท่ีทวีความรุนแรงย่ิงข้ึน สมควรปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับองค์ประกอบของ คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกีย่ วกับวัตถุ ออกฤทธ์ิ หน้าท่ีของผู้รับอนุญาต หน้าท่ีของเภสัชกร การโฆษณาและอานาจหน้าท่ีของพนักงาน เจ้าหน้าท่ี รวมท้ังเพิ่มเติมบทบัญญัติเก่ียวกับด้านตรวจสอบวัตถุออกฤทธ์ิ และการให้โอกาสแก่ผู้เสพ 126 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ เพือ่ ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

112255 หหรรืืออเเสสพพแแลละะมมีีไไวว้้ใในนคครรออบบคครรอองง หหรรืืออเเสสพพแแลละะมมีีไไวว้้ใในนคครรออบบคครรอองงเเพพ่่ืืออขขาายย หหรรืืออเเสสพพแแลละะขขาายยซซ่ึ่ึงงววััตตถถุุ ออออกกฤฤททธธ์ิ์ิ ไไดด้้สสมมััคครรใใจจเเขข้้าารรัับบกกาารรบบาาบบััดดรรัักกษษาาใในนสสถถาานนพพยยาาบบาาลล ตตลลออดดจจนนปปรรัับบปปรรุุงงบบททกกาาหหนนดดโโททษษ แแลละะ ออััตตรราาคค่่าาธธรรรรมมเเนนีียยมมใใหห้้เเหหมมาาะะสสมมยยิิ่่งงขข้้ึึนน ทท้ั้ังงนน้้ีีกกััญญชชาามมีีสสาารรววััตตถถุุออออกกฤฤททธธ์ิิ์ชช่ืื่ออวว่่าา ““เเตตตตรราาไไฮฮโโดดรรแแคคนนนนาาบบิิ นนออลล”” ((TTeettrraahhyyddrrooccaannnnaabbiinnooll,, TTHHCC)) แแลละะถถููกกบบััญญญญััตติิไไวว้้ใในนปปรระะกกาาศศกกรระะททรรววงงสสาาธธาารรณณสสุุขข เเรรื่ื่อองงรระะบบุุ ชชืออื่่ ววตัตั ถถุุออออกกฤฤททธธใใ์์ิิ นนปปรระะเเภภทท 11 เเรร่ืือ่องงททีี่่ 33เรือ่ พพงรรทะะ่ี รร3าาชชพบบรัญญั ะรญญาัตตัชิยยิบาาัญเเสสญพพัตตติยดิิดาใใเหหสโ้โ้พททตษษดิ ใ((ฉฉหบบโ้ ทบัับษทที่ี่(77ฉ))บพพับ..ทศศ่ี..722)55พ66.22ศ. 2562 กกกกกกกกกกกกกกกกกกญััญชชาาถถููกกใใชช้้มมาาออยย่่าางงยยาาววนนาานนตตัั้้งงแแตตใใ่่ นนออดดีีตตมมาาโโดดยยตตลลออดด ททงั้ง้ั ผผู้้ททู ใ่ใ่ีี ชช้ใ้ในนลลกกัั ษษณณะะขขอองงกกาารรแแพพททยย์์ แแลละะผผูู้้ทท่่ีีใใชช้้ใในนลลัักกษษณณะะขขอองงยยาารรัักกษษาาโโรรคคกกัันนออยย่่าางงลลัับบ ๆๆ ถถึึงงแแมม้้วว่่าาจจะะเเปป็็นนสส่ิ่ิงงผผิิดดกกฎฎหหมมาายยกก็็ตตาามม แแตต่่ใในน ปปััจจจจุุบบัันนนน้้ีีภภาาคครรััฐฐไไดด้้เเลลง็็งเเหห็็นนถถึึงงคคุุณณปปรระะโโยยชชนน์์ขขอองงกกาารรววจิจิ ััยยสสาารรสสกกััดดทท่่ีีไไดด้้จจาากกกกััญญชชาาเเพพื่่ืออมมาาใใชช้้เเปป็นน็ ยยาารรกักั ษษาา โโรรคคออีีกกทท้ัั้งงยยัังงพพบบวว่่าาใในนหหลลาายยปปรระะเเททศศไไดด้้มมีีกกาารรแแกก้้ไไขขกกฎฎหหมมาายยแแลละะนนาากกััญญชชาาเเพพ่ื่ืออมมาาใใชช้้ปปรระะโโยยชชนน์์ททาางง กกาารรแแพพททยย์์เเชช่่นนเเดดีียยววกกัันน ดดัังงนนั้ั้นน ปปรระะเเททศศไไททยยจจึึงงจจาาเเปป็็นนจจะะตต้้อองงพพััฒฒนนาากกฎฎหหมมาายยขขอองงปปรระะเเททศศเเพพ่่ืืออใใหห้้ ททนัันสสมมยัยั แแลละะสสออดดคคลล้อ้องงกกับบั สสภภาาววกกาารรณณ์ใ์ในนปปัจัจจจุบบุ ันนั ททม่ี่มี ีีคคววาามมตต้้อองงกกาารรนนาาคคุณณุ ปปรระะโโยยชชนนจ์จ์ าากกกกญัญั ชชาามมาาชช่่ววยยใในน กกาารรรรัักกษษาาโโรรคคตต่่าางง ๆๆ ทท่ี่ีนนัับบววัันนจจะะททววีีคคววาามมรรุุนนแแรรงง ซซึ่่ึงงยยาารรัักกษษาาโโรรคคตต่่าางง ๆๆ นน้ั้ันนลล้้ววนนมมีีรราาคคาาแแพพงงหหลลาายยชชนนิิดด ตต้้อองงนนาาเเขข้้าายยาาจจาากกตต่่าางงปปรระะเเททศศ ททาาใใหห้้ปปรระะเเททศศชชาาตติิตต้้อองงสสููญญเเสสีียยงงบบปปรระะมมาาณณใในนกกาารรนนาาเเขข้้าายยาาดดัังงกกลล่่าาวว ออีีกกททั้ั้งงยยัังงสส่่งงผผลลกกรระะททบบททาางงดด้้าานนสสัังงคคมมแแลละะเเศศรรษษฐฐกกิิจจใในนววงงกกวว้้าางงออีีกกดด้้ววยย จจึึงงนนัับบไไดด้้วว่่าานนี่่ีเเปป็็นนโโออกกาาสสแแลละะ จจุุดดเเรริ่ิ่มมตต้้นนขขอองงกกาารรพพััฒฒนนาากกาารรรรัักกษษาาโโรรคค เเพพื่ื่ออใใหห้้คคนนใในนปปรระะเเททศศมมีีสสุุขขภภาาพพทที่่ีแแขข็็งงแแรรงง มมีีททาางงรรออดดชชีีววิิตตจจาากก โโรรคครร้้าายยตต่่าางง ๆๆ มมาากกขขึ้ึ้นน ดดัังงนน้ัั้นนเเพพื่่ืออกกาาหหนนดดมมาาตตรรกกาารรใในนกกาารรคคววบบคคุุมมยยาาเเสสพพตติิดดใใหห้้โโททษษใในนปปรระะเเภภทท 55 ใใหห้้เเหหมมาาะะสสมมกกัับบสสถถาานนกกาารรณณ์์ปปััจจจจุุบบัันน แแลละะสสออดดคคลล้้อองงตตาามมหหลลัักกสสาากกลล จจึึงงไไดด้้มมีีปปรระะกกาาศศพพรระะรราาชชบบััญญญญััตติิยยาา เเสสพพตติิดดใใหห้้โโททษษ ((ฉฉบบัับบทท่ี่ี 77)) พพ..ศศ.. 22556622 ใในนววัันนทที่่ี 1188 กกุุมมภภาาพพัันนธธ์์ พพ..ศศ.. 22556622 โโดดยยมมีีรราายยลละะเเออีียยดดทท่ีี่สสาาคคััญญ ดดงังั นน้ี้ี ภภาาพพทท่ี่ี 4433 กกญัญั ชชาายยงังั คคงงเเปปน็น็ ยยาาเเสสพพตติิดด รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เป็นยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ 127 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

126 กกกกกก  กัญชา ยังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตาม พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2562 กกกกกก  ห้ามมิให้ผู้ใดเสพ ยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เว้นแต่เสพเพ่ือรักษาโรคตามคาส่ัง ของผปู้ ระกอบวิชาชพี เวชกรรม หรอื เปน็ การเสพเพอื่ ศกึ ษาวจิ ัยกกกกกก   สามารถนากัญชามาใช้ประโยชน์ได้ ตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดในมาตรา 26/2 ได้ ระบุไว้ว่า ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเสพติดให้โทษประเภท 5 เวน้ แต่ ไดร้ ับใบอนญุ าตในกรณจี าเปน็ เพอื่ ประโยชนด์ ังต่อไปน้ี กกกกกกก ขอ้ 1 ประโยชนข์ องทางราชการ กกกกกกก ข้อ 2 ประโยชน์ทางการแพทย์ ข้อ 3 ประโยชนก์ ารรักษาผู้ป่วย ขอ้ 4 ประโยชน์ในการศกึ ษาวจิ ัยและพัฒนา ขอ้ 5 ประโยชนใ์ นการเกษตรกรรม พาณชิ ยกรรม วิทยาศาสตร์ หรอื อตุ สาหกรรม เพือ่ ประโยชน์ทางการแพทย์ ซง่ึ จะต้องได้รบั อนุญาตจากผ้อู นุญาตโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการการยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ  มาตรา 26/5 กาหนดผมู้ ีสิทธ์ทิ ่จี ะขอออกใบอนญุ าตใหผ้ ลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรอื มีไวค้ รอบครองซ่ึงยาเสพติดใหโ้ ทษประเภท 5 ได้ กต็ ่อเม่อื ผู้ขออนญุ าตตอ้ งเป็น กกกกกกก ข้อ 1 หน่วยงานของรัฐ ท่ีมีหน้าท่ีศึกษาวิจัย หรือจัดการเรียนการสอนทาง การแพทย์ เภสัชศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือเกษตรศาสตร์ หรือมีหน้าท่ีให้บริการทางการแพทย์ เภสัชกร หรือวิทยาศาสตร์ หรือมีหน้าที่ให้บริการทางเกษตรกรรมเพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์หรือ เภสัชกรรม หรอื หน่วยงานของรัฐท่มี ีหนา้ ที่ในการปอ้ งกนั ปราบปราม และแก้ไขปญั หายาเสพติด หรือ สภากาชาดไทย ข้อ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพ ทันตกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหน่ึง ผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย ผู้ประกอบ วิชาชพี แพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือหมอพ้ืนบา้ นตามกฎหมายว่าดว้ ยวชิ าชีพการแพทย์แผนไทย ทง้ั น้ี ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้าน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข ทีร่ ัฐมนตรปี ระกาศกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ข้อ 3 สถาบันอุดมศึกษาตามกฎหมายวา่ ด้วยสถาบนั อุดมศึกษาเอกชน ท่ีมีหน้าท่ี ศึกษาวจิ ัยและจัดการเรยี นการสอนเกีย่ วกบั ทางการแพทยห์ รือเภสัชศาสตร์ ข้อ 4 ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมท่ีรวมกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชน ซ่ึงจดทะเบียน ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจเพื่อสังคมตามกฎหมายว่าด้วยการน้ัน หรือ สหกรณ์การเกษตรซึ่งจดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ซึ่งดาเนินการภายใต้ความร่วมมือและ 128 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ เพ่ือใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

127 กากับดูแลของผู้ขออนุญาต ตาม ข้อ 1 หรือ ข้อ 3 ท้ังนี้ ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ดังกล่าว สามารถร่วมผลิตและพัฒนาหลักสูตรตารับยาแผนโบราณหรือยาสมุนไพรได้เพ่ือประโยชน์ทาง การแพทย์ ภายใตค้ วามรว่ มมือและกากบั ดแู ลของผู้ขออนุญาตตาม ขอ้ 1 หรือ ข้อ 3 ด้วย ข้อ 5 ผปู้ ระกอบการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ ข้อ 6 ผู้ป่วยเดินทางระหว่างประเทศ ที่มีความจาเป็นต้องพกนายาเสพติดให้โทษ ประเภท 5 ตดิ ตัวเข้ามาในหรือออกไปนอกราชอาณาจกั รเพื่อใชร้ ักษาโรคเฉพาะตวั ข้อ 7 ผู้ขออนุญาตอื่น ตามท่ีรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ กาหนดในกฎกระทรวง ภาพท่ี 44 ใครปลูกกญั ชาได้บา้ ง รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพื่อใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ติ 129 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

128 ในวาระเร่ิมแรกภายในระยะเวลา 5 ปี การขอรับใบอนุญาตสาหรับวัตถุประสงค์ผลิต นาเข้า ส่งออก ยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เฉพาะกัญชา เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์หรือการรักษา ผูป้ ่วย ใหอ้ นุญาต ดังนี้ ขอ้ 1 ใหอ้ นญุ าตไดเ้ ฉพาะกรณที ผ่ี ขู้ ออนญุ าตเป็นหน่วยงานของรัฐ ข้อ 2 หรือเป็นผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 ซึ่งดาเนินการร่วมกับผู้ขออนุญาตที่เป็น หน่วยงานของรัฐ ถาม คนไทยสามารถปลกู กัญชาได้บา้ นละ 6 ต้น จริงหรอื ไม่ ตอบ ไม่จริง ยงั ไม่สามารถทาได้ ณ ขณะนี้ (พฤศจกิ ายน 2562) กฎหมายไทยยังไมอ่ นุญาตให้ประชาชนปลกู กัญชาอยา่ งเสรีได้ กกกกกกกกกกลา่ วโดยสรปุ พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 เปน็ ฉบบั ทแ่ี ก้ไข เพิ่มเติมจากพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 เปิดโอกาสให้สามารถนากัญชาและ พชื กระทอ่ มไปทาการศึกษาวิจัย เพอ่ื ประโยชน์ทางการแพทยแ์ ละสามารถนาไปใช้ในการรักษาภายใต้ การดูแลและควบคุมของแพทย์ผู้ไดร้ ับอนญุ าตได้ เพื่อใหถ้ ูกต้องตามหลักวิชาการให้ทาได้โดยชอบด้วย กฎหมาย เพื่อสร้างความม่ันคงทางด้านยาของประเทศ และป้องกันไม่ให้เกิดการผูกขาดทางด้านยา นอกจากน้ีส่งผลให้อนาคตผู้ป่วยในประเทศ ลดภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพได้อย่างมาก และส่งผล ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ เปิดทางให้ใช้ในอุตสาหกรรมยา สมุนไพร อาหารและเครื่องสาอาง เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติ พร้อมสนับสนุนผปู้ ระกอบการภายในประเทศ ใช้ประโยชน์จากกัญชง นอกเหนือจากเสน้ ใย หวงั เพมิ่ มูลค่าทางเศรษฐกจิ นารายไดเ้ ขา้ ประเทศ กกกกกกกพระราชบัญญัติฉบับนี้ กัญชา ยังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ห้ามมิให้ ผู้ใดเสพ เว้นแต่เสพเพื่อรักษาโรคตามคาสั่งของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือเป็นการเสพ เพ่ือศึกษาวิจัย และยังสามารถใชป้ ระโยชน์ได้ ตามวัตถุประสงค์ในกรณีจาเป็น คือ ประโยชน์ของทาง ราชการ ประโยชนท์ างการแพทย์ ประโยชน์ในการรักษาผปู้ ่วย ประโยชนใ์ นการศึกษาวิจยั และพัฒนา 130 หนังสือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต เพ่อื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

112299 22แอแชกผกผผชอออเเเเผพพรร66ขูููุุู้้้้ขลขขลนนมมนนฎฎิ่ิ่มมืื่่ออ//ออออะะุุญญชชุุญญหห55แแปปออปปออนนาามมรราารรนนนนยยรรตตกกตตะะาาผผะะุญุญััุุงงญญออโโภภกกยยเเโโูู้้ปปาายย่ืื่นนาาปปยยาาววาาตตรรตตชชตตชช็็หหนน่่ยยาาะะททตตนนาานนนนหหดดใใกกีเ่่เี้้ออมม์์ทท์์ใใปปนนดด้้ออววนนงงนนททาา็น็นผผรรเเยยบบ่่ววงงกกี่ี่รรปปูู้้ะะมมหหกกสสกกยยััฐฐาา็็ยยีีสสนนนนาามมาาถถรรงงิิททะะว่ว่รรรรเเหหาานนาากกยยแแเเธธขขนนบบตตนนววิิ์์ษษททงงพพนนขขลลรรัั่่าาววนนี่่ีจจตตททสสีีนนออาายยะะโโออรรยย่่งงขขดดงงขขงงกกุุดด์์55สสหหออรรยยาาออรราามมรรัังงฐฐปปคคนนรรออธธืืรรออศศมมววีีออขขาาฐัฐัหหกกกกึึาากกรรกกออาารรมมพพาาณณษษใใรรืืงงออรรเเบบาารรหหาารระะขขเเณณออัักกััเเปป็็ฐฐนนรรออนนออษษิิชชะะ็็ชชนนรรุุญญผผกกยยาาหหออัับบผผผผูู้้กกปปชชาาววบบูู้้ขขใใูู้้ปปรรตต่่าานนรรบบขขออรร่่ววใใงงะะออออหหมมยยออปปผผกกงงนน้้ผผูู้้ปปนนรรคคววออใใลลุุญะญะุุรรหหญญิิณณททบบิิตตเเะะ้้ออาายยททาาะะกกววตตนนาานนตตศศกกิิออชชศศสสุุญญาารรตตบบาาผผาาเเาารราาาาขขออชชสสูู้้ปปหหมมตตมม้้าาาาีีตตพพ่่กกววรรไไชชมมรรดดสสััยยาาเเบบีีพพ์์าาวว่่รร้้งงเเววหหเเคคตตดดออกกชชกกััตตรรืืออิิออนนรราากกษษืืออถถหหกกาาททรรตตใใุุออปปนนหหรราารรจจุุ22ตตรรดดงง้้ออกกมมาา66สสะะรรใในนรรหห//าานนสสะะรรสส55ุุญญนนหหหหงงกกมมถถ่่าากกาาคคซซฎฎททววยยาาตตรร์์่่ผผึึ่่าางงกก่่ีีรรบบรรไไงงดดววหหลลรรดดมมััปปนนมมิิะะาาตตรร้้เเรรฉฉกกททออืืออเเนนะะนนพพลลุุออมมรรดดเเิิมุุ่ม่นนีีววกกีีไไาาาามมททววงงะะเเเเททกกศศปปศศ้้คคขขกกัั้้งงาาซซึึ้้รร็็นนกกาารรใใแแรรึ่่ึงงออนนววณณษษรรใใลลสสบบิิสสมมนน่่าาววีีทท่่ะะงงาาคคาาววตตมมออผผ่่ีีผผหหรรตตาาาาูู้้กกขขออูู้้ขขกกออรรรรมมััออบบกกออิจิจงงะะาา เกเกเเททกกรรกกไไกกคเเคปปรรพพททบับักกัักกญญืืาาออ้ั้งงั ่ออื่ื็นน็ืื่่ยยออนนรรรรกกกกกกชชงงชชแแออททเ้ี้ีเกกกกาาาาพพผผทท่่ออพพงงรรกกกกาาปปูู้้จจปปออื่่ืแแี่ี่ททกกกกใใดดรราา44ใใรรกกหหกกกกยยุุงงชชออกกเะะ้้ไไ้้รผผเเ์์แแปป้้กกกกขขกกกกอ่ืสสปปผผปปรร11รรขขิิออดดใใมมงมมนนะะ..รรรร้้ออบบบบคคทออะะโโกกะะไไคคยยปปววววททกกยยเเาา่ีกกววพพชชิิชชาา4รรรราาูู่่ยยาาาานน่อื่อืททมมแแาาะะศศปปมมศศชชกก์จจ์นนพพกกีี่่ใใชชรรจจปกกหหีีาาพพาารราาััททดดุุงงาากกศศระะ้้เเไไรขขกกยยกกเเสสปปสสททะกกะจจึ้ึ้นนาาแ์แ์ปปพพใใาากรรททรรนนรรผผจจชชรรรรเเะะววาแแรรพพนนาาตตใใ้้ะะสสงงททนนศพพกกววกกไไาา่ื่ืออสสาารรททททออกททงงคคมมาาาารรววยยาาศศงงสสธธััญญััรกกยยกกงงงงคคแแาาฉฉะษษสสาา์์แแฎฎใใททรร์์คคลลบบทนนธธาาผผาาหหณณีผ่ี่ผะะววธธัับบโโกกาานนรดิิดมมกกาารราาสสัญัญรรแแวไไมมไไคครราาาาขขุุณณททรรดดงชชรรณณรรหหยยกก้้ยยสแแาาูู้้แแแแสสรรสสมมสสปปพพาลลลลืืออททแแาาาาขุุขุุขขธรรททะะะะกกเเหหลลี่่ียยททปปะะภภรรายยเเาาะะัังงรรรระะ็นน็ยยี่ีเ่เรท์์ทููรรมมรรกกัับบ่่ืืออกกเเุุกกณศศะะิิปปาาััญญบบ““งงผผีียย่่ตตบบึึงงกกััญญยยีีขขชชสูู้้ปปเเววกก์์ษษุุขขลลบบ้ออ้งงญญแแขุขาารร้้ออาาอือืขขหหลละะมมท55ววาาคคอ้้อกกออะะนนกกกกิิจจีีจจววี่เงง””งงตตหหกััาายยาาดดาาออกกกกาานนรรมมมมไไตต่ยีบบรรรรบับัดดแแววเเออะะาาวับับววรร้้กกพพนนรรททพพิิขยยืื่่ชชออ((ัับบัญญัททฉฉรรืื้้าานนงง55าา้อยยบบววยยททววชชบบชชงงงาาฉฉัั์์บบััแแตตผ่ีผี่ีีพพ้้สสกาาาาเเบบผผถถททูปปู้้สสนนาาแแับบบััุุนนดด่ี่ีพพรรธธกกตตลล22กิิบบะะไไาาตตาาดดาาทท))ะะกกรรัญกกรริิดดมมังงั ณณพพกกยยออััญญแแนนใใกกชททบบ..หหัญญัสสพพี้ี้ศศชชฎฎา่ีี่ววชช้้โโขุขุ..าาททชชหหททแชิชิััดดททตต22ยยงงาาษษมมลเเ่่ีีเเ้้ออ55จจชช์์แแกกาาใใะ66งงนนนนีีพพ่ี่ียยผผยยกไไ22ปปววกกมมววนนแแัญขข่่าาาาเเ่่รรสสไไลลนนรร้้ออดดะะททาาชะะแแื้ื้อองงเเ้้มมววยยงภภไไกกพพหหยยาาดดททททับบัททาารรวว้้รรุุกกสสถถกกิิชชยยัับบ55ดดาาััแแญญ์์แแาากกคค้้ยยชชาาททผผชชาาััญญนนีีพพกกนนีี่่มมรราาีี ภภาาพพทท่ี่ี 4455 กกาาหหนนดดตตาารรับับกกญัญั ชชาาทท่ใี่ใี หหเ้้เสสพพเเพพ่ื่อือรรัักกษษาาโโรรคคไไดด้้ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ 131 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

130 กกกกกกก 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง กาหนดผูป้ ระกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย และ หมอพื้นบ้านตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ที่จะสามารถปรุง หรือสั่งจ่าย ตารับยาท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 เนื้อหาสาคัญคือ การแก้ไขข้อความจาก ประกาศฉบับแรก ที่ห้ามแยก ช่อดอก ใบ ของกัญชาเช่นกัน มาเป็น “ข้อ 4 แนวทางการปรุงยา สาหรับผู้ป่วยของตนของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้าน ต้องมีการระบุองค์ ความรู้และภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยท่ีชัดเจนและได้รับการรับรองจากกรมการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลอื ก” ภาพท่ี 46 ผู้ประกอบวิชาชีพแผนไทยท่สี ามารถปรุงหรือสงั่ จา่ ยตารับยาท่มี ีกญั ชาผสมอยไู่ ด้ 132 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ เพื่อใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

131 กกกกกกก 3. ประกาศกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เร่ือง กาหนดแบบตาม ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการรับรองหมอพ้นื บ้าน พ.ศ. 2562 โดยประกาศจานวน 3 ฉบับข้างต้น เผยแพร่ประกาศและระเบียบของกระทรวง สาธารณสุข ในราชกจิ จานุเบกษา เมอ่ื วันท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2562 กกกกกกก 4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ระบุช่ือยาเสพติดให้โทษประเภท 5 พ.ศ. 2561 ประกาศ เมื่อวันท่ี 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 มีสาระสาคัญโดยกาหนดให้ กัญชา (Cannabis) เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ลาดับที่ 1 ซ่ึงมีช่ือพฤกษศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. และ Cannabis indica Lam. ท้ังนี้ให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น และ วัตถุหรือสารต่างๆ ที่มีอยู่ในพืชกัญชา เช่น ยาง น้ามัน ยกเว้นเปลือกแห้ง แกนลาต้นแหง้ เส้นใยแหง้ และผลติ ภณั ฑท์ ผ่ี ลิตจากเปลอื กแหง้ แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแหง้ เป็นตน้ กกกกกกก 5. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษประเภท 5 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เพ่ือปลดล็อก ใช้ประโยชน์จากสารสาคัญในกัญชา และกญั ชง โดยมกี ารยกเลกิ แก้ไขเพ่มิ เตมิ ดงั น้ี 5.1 ยกเลิกชื่อ ลาดับท่ี 1 ของประกาศ เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 และ กาหนดให้ กัญชา (Cannabis) ซ่ึงเป็นพืชในสกุล Cannabis ท้ังนี้ให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของ พืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น และวัตถุหรือสารต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในพืชกัญชา เช่น ยาง น้ามัน ยกเวน้ กกกกกกกกกกกกกกก 5.1.1 กญั ชง (Hemp) ทีไ่ ด้ประกาศเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ตาม กฎหมาย กกกกกกกกกกกกกกก 5.1.2 แคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) ท่ีสกดั จากกญั ชาซึง่ มคี วามบรสิ ุทธิ์ มากกวา่ หรือเท่ากับร้อยละ 99 โดยมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ไม่เกนิ ร้อยละ 0.01 โดยน้าหนกั กกกกกกกกกกกกกกก 5.1.3 สารสกัดหรือผลติ ภัณฑ์จากสารสกัดที่มีสารแคนนาบไิ ดออล (Cannabidiol, CBD) เป็นส่วนประกอบหลักและมีสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ไม่เกิน ร้อยละ 0.2 โดยน้าหนัก ซ่ึงเป็นยาหรือผลิตภัณฑ์สมุนไพรตามกฎหมายว่าด้วยยาหรือผลิตภัณฑ์ สมนุ ไพร และตอ้ งใชต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ทางยาหรือผลิตภณั ฑส์ มุนไพร เทา่ นน้ั กกกกกกกกกกกกกกกทั้งนี้ ภายในระยะเวลา 5 ปีแรก นับต้ังแต่วันที่ประกาศน้ีมีผลใช้บังคับ (วันท่ี 27 สิงหาคม 2562) การยกเว้นให้ใช้บังคับเฉพาะการผลิตในประเทศของผู้รับอนุญาตตาม กฎหมายนั้น ๆ 5.1.4 เปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นแห้ง และผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตจาก เปลือกแหง้ แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพื่อใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวิต 133 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

132 5.2 เพ่ิมช่ือยาเสพติดให้โทษ คือ ลาดับท่ี 5 กัญชง (Hemp) ซึ่งมีช่ือทาง วิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ท้ังนี้ให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชง เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น ท่ีมีปริมาณ สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) และลักษณะเป็นไปตามที่คณะกรรมการ ประกาศกาหนด ยกเวน้ 5.2.1 แคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) ซึ่งสกัดจากกัญชง ซ่ึงมี คว ามบริสุทธ์ิมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 99 โดยมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ไมเ่ กนิ ร้อยละ 0.01 โดยน้าหนกั 5.2.2 สารสกัดหรือผลิตภัณฑ์จากสารสกัดท่ีมีสารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) เป็นสว่ นประกอบหลักและมสี ารเตตราไฮโดรแคนนาบนิ อล (Tetrahydrocannabinol, THC) ไม่เกินร้อยละ 0.2 โดยน้าหนัก ซ่ึงเป็นยาหรือผลิตภัณฑ์สมุนไพรตามกฎหมายว่าด้วยยาหรือ ผลิตภัณฑ์สมนุ ไพร และต้องใช้ตามวัตถุประสงคท์ างยาหรือผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพรเท่านั้น 5.2.3 เมล็ดกัญชง (Hemp Seed) หรือน้ามันจากเมล็ดกัญชง (Hemp Seed Oil) ซ่ึงเปน็ อาหารตามกฎหมายวา่ ดว้ ยอาหารและต้องใช้ตามวัตถปุ ระสงค์ทางอาหารเท่านน้ั 5.2.4 น้ามันจากเมล็ดกัญชง (Hemp Seed Oil) หรือสารสกัดจากเมลด็ กัญชง ซึ่งเป็นเครื่องสาอางตามกฎหมายว่าด้วยเครื่องสาอางและต้องใช้ตามวัตถุประสงค์ทาง เครอื่ งสาอางเทา่ นนั้ ท้ังนี้เมล็ดกัญชงที่นาไปเป็นอาหาร หรือเครื่องสาอางต้องเป็นเมล็ดท่ีไม่สามารถ นาไปเพาะพันธ์ุได้ (Non - Viable Seed) หรือถูกทาให้ไม่มีชีวิต ซ่ึงเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขตามท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนด ภาพที่ 47 เงอ่ื นไขการยกเลิกกัญชาและกัญชง ออกจากกยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภท 5 134 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ิต เพือ่ ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

113333 ช((ชมพพมดดกกกกลลยยททขขปปแแยยกเเกสเสเททกกปปCCพพพพ่่ืืักักออัััักกญญออออญญออกกีีาาาาสสาาุุกกรรรร..าาaaศศ่ือื่อื่่ืออรรงงุุะะษษงงงงธธกกกกพพดดนนงงาาสสชชชชnn..รรพพใใแแเเเเรราากกณณ่่ววลลฤฤหหงงนนnงnงชชภภัักกลลยย22ผผะะพพรรืืชชนนกกททกกาา้้aaปปรร้้ษษืืะะ55าาททออออสสณณลล((กกททกกตตขขษษาาืืออbbHHเเมม66รรดดาากกาาััปปญญกกใใออ้้นนยย55สสสสiiศศ22โโะะeeััลลนนคคssหห็นน็รรกกงง์์ผผแแุุชช่่ัังงเเแแขขโโmm))าาาาััญญ((้้เเคคพพรร((กกยยจจไไลลผผฉฉาาสสหยยหกกตต44ซซปป่ืื่ออหหppืื่่โโชชเเาากกชชบบนนตต))ิิดดกก้้้้นนึ่่ึงงงงรรดดลล((ตตยยงงรร))กกลลนนCCเเัับบรรไไปปคคเเ่่ืืออยยาาืืออาาตตปปเเัั่่ญญซซววาาททกก์์์์จจววททaaววสสททรรตตมมงงกกกกาาวว้้็็นนนน่่ึึงง่่าาาาาายยาาะะnnี่่ีชชมม้้นน้้ี่่ีนนททรราาโโาามมกกหหพพมมเเ22กกกกแแnnาาดดีีปปัับบหหใใรรCCปปคี่ีค่ีีชชสส))ชชาาืืนนลลแแาาชชยยaaยยศศรรยยaaนนเเณณ่ื่ืลลออศศาาพพััหหดดลลใใะะแแชชbbสสดดิิึึกกมมาาnnดดืืททนนรรออกกะะเเะะหห่่..นนหหนนiiรรททษษแแาาnnจจศศssสสใใรรกกกกสสาาววุปปุ ้้มมณณงงหหดดบบ่ี่ีมมาานนaa..ะะาางงใใััรรssตตแแกกววออบบีีกก้้ตตววบบคคbbทท22aaตตแแปปรรสสถถุุลลหหกกจิิจพพิิััททญญ55มมััาาiiญญาาttลลรรตตรราาุุหหssัั้้ััยยญญดดงงii66มมรรืื้้ววนนกกยยvvะะรระะCCชชาาใใรรไไออssัั22งงบบชชaaกกาากกาาเเนนแแดดมมบบaaาาืืออaaกกสสตต((รรศศาาฎฎาายยปปnn้้กก55กกรร้้สสาามมttLLาาปปตต((ศศาาหหniinาายยะะนนรร))นนััญญาา22ีีสสธธ((..vvรรรรสส))CCเเุุงงaaรรออเเมม))าาตตaaปปาาลลแแะะสสชชาาตตบบผผaaททตตbbรรดดรราาปปาาลลาารรกกไไาาพพสสnnรรณณีีLLยย่่าาiiะะ้ัั้ยยงงมมฮฮตตะะssรระะาา์์ววผผมมnn..งงนนตตสสบบสสแแะะโโสสกกศศ้้รรกกนน่่าาททลลแแaaออี้ี้ดดิิใใาาดดาาๆๆกกะะลลกกุุขขกกฎฎาาแแหหbb้ั้ัคคงลลงยยหหรราเเาใใCCะะศศลลรราาหหนนหหบบ้้หหททiiััูู่่ญญะะไไหหแแเเศศรรssหหกกะะaaาากกรรดดมม้ีี้้้ใใีียยงง่ีี่มมััมม))บบคคกก้้โโตตคคััญญนนททnnือื่่อรรหหCC้้ าาททบบีีาาออรรผผนนเเ้้นนืืออ((ะะnnงงเเดดรรaa้้หหชชปปยยยย33ะะยยขขสสูู้้ษษปปนนททaaววnnรรงงวว))มมคค็็ททนนกกูู่่ใใออ้้แแนนรรใใbbาางงรระะnnนน่่าาววาาปปาารรยยงงนนลละะใใสสบบมมววiiบบดดaaยยาาพพหหววกกssยยาากกรระะปปงงาาีีจจิินน้้มมุชุชววbbงงคครรเเะะืืนนชชแแออssสสธธาารรสสสสยยววอ่ื่อืรรออะะiiววกกaaกกดดบบssหหาาาานนะะััาาตตพพววววยยททาาลลาาttััญญธธยยรร้้ววธธงงiiมมเเววิิถถชชiiาามมตตศศnnรรvvาาภภิิชชณณกกาาชชนนเเถถุุหห((าาววรริิกกดดแแddaaรรสสรราาTTเเททาาชชึึงงงงววสสรรลลรรณณใใลลiiณณพพชชee55ccสสีีLLพพหหืืออมมุุมมิิขขกกเเะะททีีพพaattตต55สสสสาาชช..สส้้ถถโโกกกกrrแแฉฉผผุุกกิิดดธธุุขขททุุaaขข่่นนSSาาววึึงงททาาLLาาลลบบกกลลาาสสใใhhuuรรษษ่่รราารรaaะะี่ี่หหรราามมัับบเเเเิิตตยย่่ววททyyตตbbแแดดรรแแmmรรใใแแรรณณ้โ้โีีนนกกาาddภภุุ่่าานนกกืออ่่ืื่่ืพพssออ้้ททววพพแแกกดดงงัั..ญญงงขขppสสrrััสสณณงงปปงงยยพพททษษ้้ไไooััททงงททออขขุุ..นน่่ขขววๆๆชชกกรรนนยยกกททccใใฑฑรรยยงงททss้ั้ังงนนเเ้้าานนะะaaาาาา์์ีี้้แแาาะะยยพพ์์aaพพแแ์์นนททททมม่่ีีเเ((เเขขnnปปรรหหปปผผบบกก์์แแ11ttภภผผิ่่ิมมืืชชี้้ีใใ่ีี่่่ีีมมัันนผผออรรnniiรรนนนนรร่ีี่ยยหหผผ))ุุvvชชนนกกเเททััีีออลลบบงงะะaaุุตตงงดดววไไaaนน่ืื่้้แแหหออปปััญญไไพพยยิิเเbbตตททผผรริิขขมมผผททภภ55ลลไไยยมมรรูู่่ใใืืออชชชชiiออจจยยททสส้้ออูปปู้้nnนนะะยยททะะาาาาลลััลลนนงงกกาาแแงงงงยยมมooรรเเกกยยพพาาหหลลกกกกาาััสสญญลลเเททะะทท55ออllเเาาคคปปดดืืชชดด,,ััชชบบาาเเพพะะกกมมี่่ีจจุุกกศศชชยยววปปัับบกก็็นนดดพพัับบTT่่นนกกกกออตตะะออดดูู่่กกาาาาััญญลลัับบHHชช..ททาาััญญบบททสสิิดด้้มมาาศศพพรร11ใใืืรรออนนททเเCCชชี่่ีนนวว่่ีีบบาาะะใใใใ..ชชรรชช้้ืืนนแแ11กกกกิิดดีี่่หหหห))ิิาาชชมมววทท22าา่่นน55พพบบััญญดดแแยยาาแแทท้้้้โโมมาาเเซซ55แแรรเเททสสททชช้้ออชช่่าาหหออรรคคลล66ั้้ั่ึึ่งงลลงงใใถถชชววีีพพบบพพนนษษถถกกนน่่นนยยมมืืยยออ้้11ะะะะงงึึงงาางง์์ีีี้้ี ตใใเเตอเอตตเเเกกพพรรนนิิรรดดนนยีย่่ี่อ่ือืิิกกปปววใใุุญญววงงถถหหจจรรขขททออสส้้ะะโโาาอ้อ้ททนนออเเ่ี่ีตตงงภภ55ษษใใบบกกใใเบบททรผผหหบบัั โโออ่อืปปูู้้แแดด้้กกผผพพ1144นนงสสยยญัญัรร..ลลรรุุญญทแแดดมมะะะะิิชชตตปปลลาาี่งงีีหหกกรราา5คคตตะะรราาแแนนาาจจะะววใใชชลลศศ้้าาววนนาากกาาบบปะะททคคาามมปปาาหหกกััญญงงี่ี่ตตรณณศศจจรรรรญญัันนะ่่าาญญคคาาะะะะ่่งงะะกาาชชนนณณเเเเััตตกกภภบบยยงงาๆๆงงิิยยะะรรศเเีีททยยมมาากกปปออรรนนบบคจีจีเเรร็็นนาามม55สสปปาาาาณรรททผผพพกกนนเเมมฏฏเเิิเเูู้้รรขขปปะตตาาววกกชชิิบบัับบ้้กาานน็็นนิิรรดด่่าานนััตตออคครรรใใตติิรร66สสหหนนคคใใรวว้้นนาาหหุุ่่้้ววโโมงงญญชชฉฉบบทท้้คคบบออททบบกกกาาคคษษววคคออาา้ัั้ตตับบังงาาาุมุมุุมมรรนนตตกกรพพมมดดยยยย้้ีีคั้ั้งงกกเเ..ปปงัังาาแแาาศศหหหหวัับบนนเเรรเเตต..็็นนสสบรรกกสสี้้ีะะ่่วว22ืืพพชชออรรคกกพพัันน55ออะะตตมมาาุม22ททตตททบบิิดดศศีีไไ22ย่ีี่ผผิดดิรรใใตตววคคหหาูู้้รรววกกใใ่่้้ออใใณณัับบเงง้้หหโโาานนผผสททะะออหห้โโูู้้้ออททคคพษษกกททนนนนนนบบรรรรตุุญญษษดดุุญญววเเออรรรรดิใใงงาามมาาื่่ืออบบหหกกตตใตตกกงง้้มมหรรคคตตใใาามมีีคคนนกกโ้าารรรรออทณณยยาากกออคคื่่ืนนรรษาาะะงงววพพแแรรกกบบใใสสสส..ซซหหรรศศคคดดั่่ังงึ่ึ่รร้้คคงง..ุุมมพพงงมมยยวว22คคยยัักกกกาา55าาววาาใใมมาา66าาเเชชเเรรเเสสสสมม22้้ใใหหคคบบพพจจพพ็็นนววปปออาาตตตตบบชชรรนนนนิิดดิิออดดคคะะงงุุญญใใบบกกุุแแมมใใหหาาหหาาลลใใยย้้โโตตนนศศะะ้้าาททโโหหกกเเเเกกททษษมมสสรราาาาษษืื่่พพออททืืออรรรร่ีี่ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพื่อใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชีวติ 135 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

134 วันท่ี 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 โดยกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการแสดงความจานงและการตรวจสอบผู้แสดงความ จานงเป็นผู้รับอนุญาตเพื่อประกอบกิจการของผู้รับอนุญาตที่ตายเพ่ือให้การควบคุมยาเสพติดให้ โทษ ในประเภท 5 เฉพาะกญั ชา เป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2. ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดใหโ้ ทษ เร่ือง กาหนดแบบการจดั ทาบัญชีรับ จ่ายและรายงานเกี่ยวกับการผลิต การนาเข้า การส่งออก การจาหน่าย การมีไว้ในครอบครอง ซึ่งยา เสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันท่ี 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 โดยประกาศฉบับน้ีเป็นการสมควรกาหนดแบบการจัดทาบัญชีรบั จา่ ยและรายงานเก่ียวกับ การผลิต การนาเข้า การส่งออก การจาหน่าย การมีไว้ครอบครอง ซ่ึงยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เฉพาะกญั ชา เพือ่ ใหก้ ารควบคมุ เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ป้องกันการรัว่ ไหลไปนอกระบบ 3. ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เรื่อง กาหนดฉลากและเอกสาร กากับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 หรือคาเตือนหรือข้อควรระวังการใช้ท่ีภาชนะบรรจุหรือหีบห่อ บรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่ผลิต นาเข้า หรือส่งออก สาหรับยาแผนปัจจุบันซ่ึงมีกัญชา ปรุงผสมอยู่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันท่ี 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 โดยประกาศฉบับนี้ กาหนดให้มีฉลากและเอกสารกากับยาเสพติดให้โทษ ในประเภท 5 โดยอยู่ในตาแหน่งท่ีเห็นได้ง่าย และชดั เจน 4. ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เรื่อง กาหนดเมล็ดพันธุ์เฮมพ์เป็น เมล็ดพันธุ์รับรองตามกฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตผลิต จาหน่าย หรือมีไว้ใน ครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ พ.ศ. 2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 โดยเป็นการกาหนดเมล็ดพันธ์ุเฮมพ์เป็นเมล็ดพันธ์ุรับรองตาม กฎกระทรวงการขออนุญาต และการอนญุ าตผลติ จาหนา่ ย หรือมีไวค้ รอบครองซงึ่ ยาเสพติดใหโ้ ทษใน ประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ พ.ศ. 2558 เพื่อเป็นประโยชน์ในการควบคุมการผลิต จาหน่าย หรือมีไว้ ครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรัดกุม มากยิ่งข้นึ 5. ประกาศคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพติดให้โทษ เร่ือง กาหนดลักษณะกญั ชง (Hemp) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562 โดยกาหนดลักษณะกัญชง เพื่อเป็น ประโยชน์ในการควบคุมการผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้ครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษใน ประเภท 5 เฉพาะกญั ชง ที่มปี รมิ าณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.5 ตอ่ นา้ หนักแหง้ และเมลด็ พนั ธ์รุ ับรองมีลักษณะเป็นเมล็ดพันธุ์กัญ ชงที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล ( Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและ ชอ่ ดอกไม่เกนิ ร้อยละ 0.3 ตอ่ น้าหนกั แหง้ 136 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ เพอ่ื ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

135 กก กกก ภาพท่ี 48 ลักษณะกัญชง 6. ประกาศคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพติดใหโ้ ทษ เรอื่ ง กาหนดลกั ษณะกัญชง (Hemp) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันท่ี 24 ตุลาคม พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใช้ ในวันท่ี 25 ตุลาคม 2562 โดยกาหนดให้มีการยกเลิกประกาศฉบับเดิม ซึ่งสาระสาคัญของประกาศฉบับน้ี คือ กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) มีลักษณะเป็นพืชซ่ึงมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. Subsp. sativa อันเปน็ ชนิดย่อยของพืชกญั ชา (Cannabis sativa L.) ทม่ี ปี ริมาณสารเตตราไฮโดร แคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอก ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้ง โดยตรวจวิเคราะห์ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนด และเมล็ดพันธุ์รับรอง มีลักษณะเป็นเมล็ดพันธ์ุกัญชง(Hemp)ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอก ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 1.0 ต่อน้าหนกั แห้ง ทง้ั นี้ ตามท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนด โดยการตรวจวิเคราะห์ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการประกาศกาหนด และเป็นพันธุ์พืช ข้ึนทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยพันธุ์พืช โดยประกาศฉบับนี้จะไม่มีผลบังคับใช้กับกรณีกัญชงท่ีปลูก รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพื่อใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวติ 137 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

136 อยู่ก่อนประกาศดังกล่าวมีผลบังคับใช้ รวมถึงเมล็ดพันธ์ุที่รับรองแล้วก่อนประกาศมีผลบังคับใช้ เพื่อ ส่งเสริมการพัฒนาสายพันธ์ุกัญชง โดยเฉพาะพันธุ์พื้นเมือง เปิดกว้างให้เกิดการใช้ประโยชน์กัญชง อยา่ งคุ้มค่า อน่ึง ก่อนหน้าน้ี คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ได้ประกาศกาหนดลักษณะ กัญชง (Hemp) พ.ศ. 2562 ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 30 สิงหาคม พ.ศ 2562 ซึ่งมี การกาหนดวา่ กัญชงท่ีไม่ถือเป็นยาเสพติดประเภท 5 ในใบและชอ่ ดอกมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคน นาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ไม่เกินร้อยละ 0.5 และเมล็ดพันธุ์รับรองที่จะใช้ในการ ปลูก ต้องเป็นเมล็ดพันธุ์ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ไม่เกินร้อยละ 0.3 แต่ถูกกระแสวิพากษ์วิจารณ์จากสังคมออนไลน์อย่างมาก จึงต้องให้มีการทบทวน ประกาศ เพ่ือให้มีการเปิดกว้างต่อการพัฒนาสายพันธ์ุกัญชงในประเทศไทยทาให้ออกประกาศ เป็น ฉบบั น้ี ลกั ษณะกญั ชง (Hemp) กาหนดลกั ษณะกัญชง (Hemp) THC ในใบและชอ่ ดอก ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 1.0 ตอ่ นา้ หนักแห้ง เมลด็ พันธ์ุรบั รอง THC ในใบและชอ่ ดอก ไมเ่ กิน ร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนกั แหง้ (ข้อมลู ณ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562) กล่าวโดยสรุป ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและ กญั ชง ทสี่ าคญั มจี านวน 6 ฉบับ ได้แก่ (1) ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ เรื่อง การ แสดงความจานงและการตรวจสอบผู้แสดงความจานงเป็นผู้รับอนุญาตต้ังแต่วันที่ผู้รับอนุญาตตาย (2) เร่ือง กาหนดแบบการจัดทาบัญชีรับจ่ายและรายงานเกี่ยวกับการผลิต การนาเข้า การส่งออก การจาหน่าย การมีไว้ในครอบครอง ซ่ึงยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา (3) เรื่อง กาหนด ฉลากและเอกสารกากับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 หรือคาเตือนหรือข้อควรระวังการใช้ที่ภาชนะ บรรจุหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ท่ีผลิต นาเข้า หรือส่งออก สาหรับยาแผน ปจั จุบนั ซ่ึงมีกัญชาปรงุ ผสมอยู่ (4) เรือ่ ง กาหนดเมล็ดพนั ธเ์ุ ฮมพเ์ ป็นเมล็ดพันธรุ์ ับรองตามกฎกระทรวง การขออนุญาตและการอนุญาตผลิต จาหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ พ.ศ. 2559 (5) เร่ือง กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) ประกาศเมื่อวันท่ี 27 สิงหาคม พ.ศ. 2562 โดยกาหนดลักษณะกัญชง เพื่อเป็นประโยชน์ในการควบคุมการผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชง ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดร 138 หนงั สือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

113377 กกวว(เยเย(เออเกTTกททแ(((เ(แเกกพพTHTHTTพพปปมมเิิเคค่่HHยยาาาาาาี่ป่ปีัันนออคคeeeeee็็นน่ออืื่ลลหหหหหหนน่่าาCCลลธธttttรรยยmmสส็็เเงงrrนนrrนนดดนนนน์์ุุพพ))กูกูาามมaaaaคคง่ง่ ขขดดดดาาะะพพดดppออhhใใhhืืชชลลเเุุมม้้ บบสสนนหหลลใใออyyยยyy))ัั ขข็็ดดนนคคหหโโิินนรรัักกdddd์์ใใูู่ก่กมมงง้ึ้ึนนดดพพา่า่ธธตต้มม้ิิมมบบออษษrrrr่่ออีีลลพพยยทท์ุ์ุooooัันนรราากีีกกกลลณณนนัักกกกมมccััืืccะะแแบบธธาาาาชชaaปปaaษษาาะะ((เเหหุุ์์กกรรรรลลรรTTบบกกnnnnรรกกณณรรยยพพััญญลละะeeออnnตตััnnีียยะะััญญญญกกััฒฒักักชชะะttชชaaงงaaรรนนกกrrเเเเเเชช่่ออbbaaมมbbววลลงงนนชชปปกกาาตตhhงงiiจจดดiiิิีีกกศศาาnnลลณณ็็นnnนาาาา((yyววHHสสปปออดด((ooััมมooพพกกddฑฑHHิิเเาาeeกกllััรรงงกกll((คคrrษษืืชช,,ee,,แแ์์ยยกกะะoommCCฎฎรรTTซซmmTTลลณณพพไไลลกกccaaาาHHหห่ึ่ึงงมมppHHะะaa่าา่าาัันนะะnnppมมะะCCมม่่เเ))nnววววCCศศหหnnธธ))กกีีชช))เเาาธธิิnnมมท))ทฉฉกก์ุุ์aaปป์์ตตปปิิ่ืื่ออนนยยกีกี aaผีีผบบ่ี่ีมมใใใใญัญัbb็็าาททนนรรววbbาารรนนนนลลบัับีีปปiiมมะะา่า่ssรรชช้้าาออiiเเใใบบnnใใเเหหรรดดททงงกกมมบบงงยยดดบบssooัังงววิิมม้้ววลลาาคี่่คี ลลaaแแลลิมมิคคllโโิิททแแาายยศศัั,,กกณณดดtt็็ลลดดัับบะะณณยยลลiiพพใใTTเเvvซซยยะะะะพพใใาากกนนะะaaHHัันนสส่งึงึ่11เเชชชชศศกกณณฉฉััรรสสนนชชCCาาธธ..่่้้ออาารราา00พพLLรราารร่่์ุุ์ออ)พ)พฑฑธธสสรรดดชช..ววรรเเาา))์ุุ์ใใมมตตดดกกืืชช์์แแตตตตออกกะะมมนนะะรรกกททััออลล่่ตตกกญญออสสิิจจพพถถใใโโ์์ าา่่ีีบบะะดดรรกกไไาานนจจววึงงึมมันันชชรรมมาาววคคเเแแยย่่าาาา้้าาีี ปปธธมมปปงง่่ไไิิธธไไเเััญญลลปปนนหห์พุ์พุกกฮฮCCททรรมมลลีีกกะะรรุุรรเเขขโโิินนะะนนaa้ืน้ืนด็็ด่่่ีี่าาเเบบชชมมิิ ดดะะมมออกกกกnnัักกรรรรเเพพ่่ออีีกกกกรรปปมมงงาาิิ้้nnททนนาาออแแันนัดดแแษษาาปปศศอืือรรaaยย่ี่ีคคณณรรหหออศศธธคคาาิิงงกกรรมมbb้้ลลณณออุ์ุ์กกทท้้ฉฉงงนนะะาาสสiiาาะะเเเเssไไยยบบีร่ี่รกกหหนนะะมมปปมมททณณาาัับบssลลััาาบบกกนนาาื่่ื00ออดดิิ่่เเaaั้้ังงรรศศรรกกะะบบสสรรนน..ดดววกกนนtt33ออเเฉฉิินนรรiiิิัันนาานน้ีี้จจววvvี้้ีตตงง11มมบบแแรรรรaaตตา้า้ะะตตออททแแ้้..ออกกตตลลัับบงงเเไไ่่ลลออาา00ีี่่ลลLLตตใใมมยยาาะะนน22รรมมนนหห..้วว้ รรลล่่มมตต((44ตต้้ีีาาSSทท้้กกเเาาTT้เเ้ปปะะคคีีผผมมรรกก่่uuออหหไไ่่ออ่ี่ีeeคคตตรรืืออลลลลาาิดิดbb00ฮฮนนนนนนttะะุุณณลลบบไได็็ดกกrrss..้้โโกก55ปปกกััาากกaaาาฮฮppพพัังงาาะะดดหหาาาาคคhhแแรร..โโคครรตตกกนัันหหศศะะyyดดมมหหssรรนนใใัับบ่่ออรรธธaaชชกกกกนนdd้้รรแแงงัั กกใในนรรร์ุรุ์ พพtt้้ปปาาาาrrดดชชแแiiบบััมมคคแแoo้้าาvvศศหหแแ..รรลล้ก้กคคหหศศaaรรccกกหหมมนนะะนนลลักักัับบออaaนน..นนาา้้โโผีีผงงออษษดดะะนนกกnnยยงง22ัักกรรนนโโลลัันนมมณณรรชชnnดด55ปปแแาา((แแบบาาเเณณลีีล66นนaaหห66ปปะะยยบบรรลลบบัังงัักกbb))์์22กกกกีีกก้้ะะงง็็นนตติิะะคคิินนษษนนiiััญญเเััญญัญญักกnnเเชชัับบรรแแโโรรปปณณออออนนาาดดooววชชลลืื่่ชชชชใใออ็็นนชชศศลลลลllยยจจิิะะดดะะงงงงงงงง,,้้ กกเเหหกก((ฉฉรรฎฎกกนนบบื่อือ่ กกหหัังงบับังงกกสสมมททททกกืืออาาี่่ีี่ี่ยยกกสส3366เกกกกาา))ราากกคคพพ่ือหหพพตตััญญ..งศศนนาารรททท..มมดดะะี่่ีรรี่22พพรร6ััฐฐ55รราาออ44ะะชชออ22พรรบบกกาาปปรชชใใัญัญะรรหหบบะะรญญ้้เเััญญกกพพาาาััตตญญช่ืื่ออศศสสิิบคคััตตเเทิทิุุ้้มมมมิิสสญั ่อืื่อิิททคคธธญววรรธธบิบิ ันนับิิบออตัตั ททงงััตติสรรกก่่ีีรร33กกิทาาพพ11รรับับธ..ปปมมบิศศกกรรีีนน..ญัญัตะะ22าารดดชชคค55กิิษษมม22าาับฐฐ22แแพพ์์หหกลลฉฉ..รรญัศศะะบบืืออ..กกัับบชกก22ญัญัแแาาา55กกรรแ44ชช้้ไไออ22ลขขงงออะเเใใพพกกหหกแแ่่ิิมมคค้้ัญบบเเววตตชาาบบิิมมมมงผผหห((ลลฉฉมมิิตตบบาาภภยยัับบััณณทท““ฑฑี่่ีสส22์์ททิทิท))ีี่่มมธธพพบิบิีีลล..ศศััตตัักก..รรษษ22””ณณ55หห33ะะมม55ตตาาาาแแยยมมลลถถททะะงึงึ ีี่่ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพื่อใช้เปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ 139 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

138 ภาพที่ 49 ความหมายของ สทิ ธิบัตร กกกกกกกกการที่รฐั ให้ความคมุ้ ครองการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลติ ภณั ฑใ์ ห้ผู้ทรงสิทธบิ ตั รมีสิทธิ เดด็ ขาด และไดก้ าหนดการประดิษฐท์ ขี่ อรับสิทธบิ ัตรได้และไม่ได้ ในกรณตี ่าง ๆ ดงั นี้ กกกกกกกกมาตรา 5 กกาหนดการประดษิ ฐ์ท่ขี อรบั สิทธิบตั รได้ ประกอบด้วยลักษณะดงั ตอ่ ไปน้ี กกกกกกกกข้อ 1 ต้องเป็นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ คือ เป็นการประดิษฐ์ที่แตกต่างไปจากเดิม ยังไม่เคย มีใช้ หรือแพร่หลายมากอ่ นหรือไม่เคยเปดิ เผยสาระสาคัญในเอกสาร หรอื ส่งิ พิมพม์ ากอ่ น กกกกกกกกข้อ 2 ต้องเป็นการประดิษฐ์ที่มีขั้นการประดิษฐ์สูงขึ้น คือ ไม่เป็นที่เข้าใจได้โดยง่ายแก่ บุคคลทม่ี ีความชานาญในระดับสามัญสาหรับงานประเภทนนั้ กกกกกกกกข้อ 3 ต้องเป็นการประดิษฐ์ท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ในทางอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณชิ ยกรรมหรือหัตถกรรม 140 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

139 กกกกกกกกการประดษิ ฐ์ทขี่ อรับสิทธบิ ตั รไมไ่ ด้ (ไม่ไดร้ บั การคมุ้ ครองตามมาตรา 9) กกกกกกกกข้อ 1 จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหน่ึงของจุลชีพท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติ สัตว์ พืช หรอื สารสกัดจากสตั ว์หรอื พชื กกกกกกกกขอ้ 2 กฎเกณฑ์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ กกกกกกกกข้อ 3 ระเบียบข้อมูลสาหรับการทางานของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ กกกกกกกกขอ้ 4 วธิ กี ารวนิ ิจฉัย บาบัด หรอื รักษาโรคมนษุ ย์ หรือสตั ว์ กกกกกกกกข้อ 5 การประดิษฐ์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดี อนามัยสวัสดภิ าพของ ประชาชน กก กก ภาพท่ี 50 ความหมายของ สิทธบิ ัตรการประดิษฐ์ กกกกกกกการจดสิทธิบัตรในตา่ งประเทศและในประเทศไทย จะใช้ข้อตกลงลงบนพ้ืนฐานเดยี วกันโดย ประเทศไทยยึดหลักการตามข้อตกลงทรัพย์สินทางปัญญาท่ีเก่ียวกับการค้าภายใต้องค์การค้าโลก (WTO) รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ติ 141 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

140 กกกกกกกกข้ันตอนการยื่นคาขอจดสทิ ธบิ ัตรทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั กัญชา มดี งั นี้ กกกกกกกกข้ันตอนท่ี 1 กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะพิจารณาว่าขัดต่อพระราชบัญญัติสิทธิบัตรใน มาตรา 9 (1) ซึ่งกาหนดว่า สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืชไม่ได้รับความคุ้มครองตาม พระราชบัญญตั ิหรอื หากขดั กบั มาตราดังกล่าวจะไม่สามารถย่ืนจดสิทธิบัตรได้ เชน่ สารสกดั จากกัญชา ไม่สามารถจดได้ก กกกกกกกกขั้นตอนที่ 2 หากการยื่นคาขอไม่ขัดกับมาตรา 9 (1) เช่น ตารับยาจากกัญชาสาหรับใช้ รกั ษาโรคต่าง ๆ กรมทรพั ย์สินทางปัญญาจะเป็นผตู้ รวจสอบว่าสามารถจดได้หรือไม่ โดยพิจารณาตาม หลักการ คือ ต้องเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงข้ึน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ ในการผลติ อุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้ กกกกกกกกขั้นตอนท่ี 3 เม่ือผ่านการพิจารณาในข้ันตอนท่ี 2 จะประกาศโฆษณาให้ผู้มีส่วนได้ส่วน เสียสามารถคัดค้านหรือให้ข้อเสนอแนะได้ เม่ือประกาศโฆษณาแล้วผู้ขอต้องย่ืนขอให้ตรวจสอบการ ประดิษฐ์ เจ้าหน้าที่จะนาข้อคัดค้านหรือข้อเสนอแนะมาประกอบการพิจารณาร่วมกับการตรวจสอบ การประดิษฐ์อีกครั้ง ก่อนจะพิจารณาวา่ สามารถจดสทิ ธิบตั รได้หรอื ไม่ ดังภาพ ภาพที่ 51 ขัน้ ตอนการดาเนินการขอรับสิทธบิ ตั ร 142 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ิต เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

141 ตัวอย่าง “สิทธิบัตร” กกกกกก ภาพท่ี 52 ตวั อย่างสิทธิบัตรการประดิษฐ์ กกกกกกกกปจั จุบันน้มี ีผู้ขอจดสทิ ธิบตั รท่ีเกย่ี วข้องกบั กัญชากับกรมทรพั ย์สินทางปญั ญา มีจานวน 3 บริษัท โดยมจี านวน 10 คาขอ ซ่งึ อยู่ในขน้ั ตอนการดาเนินการ และการขอจดสิทธิบตั ร ดังภาพ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต 143 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

142 ภาพที่ 53 คาขอสิทธบิ ตั รกัญชา ท่กี รมทรัพยส์ ินทางปญั ญายงั ไมย่ กเลิก กกกกกกกกกล่าวโดยสรุป ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2535 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2542 ให้ความหมาย “สิทธิบัตร” หมายถึง หนังสือสาคัญท่ีรัฐออก ให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ท่ีมีลักษณะตามท่ีกฎหมายกาหนด ทั้งนี้ ข้ันตอนการยื่นคาขอจดสิทธิบัตรท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชง มี 3 ข้ันตอน ได้แก่ ข้ันตอนท่ี 1 กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะพิจารณาว่าขัดต่อพระราชบัญญัติสิทธิบัตรในมาตรา 9 (1) ซ่ึงกาหนดว่า สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืชไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติหรือ หากขัดกับ มาตราดังกล่าวจะไม่สามารถยื่นจดสิทธิบัตรได้ เช่น สารสกัดจากกัญชาไม่สามารถจดได้.ข้ันตอนท่ี 2 144 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพ่ือใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

143 หากการย่ืนคาขอไม่ขัดกับมาตรา 9 (1) เช่น ตารับยาจากกัญชาสาหรับใช้รักษาโรคต่าง ๆ กรม ทรัพย์สินทางปัญญาจะเป็นผู้ตรวจสอบว่าสามารถจดได้หรือไม่ โดยพิจารณาตามหลักการ คือ ต้อง เป็นส่ิงประดิษฐ์ใหม่ มีขั้นตอนการประดิษฐ์ท่ีสูงขึ้น และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิต อตุ สาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้ และข้นั ตอนที่ 3 เมอ่ื ผา่ นการพจิ ารณาใน ขั้นตอนที่ 2 จะประกาศโฆษณาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถคัดค้านหรือให้ข้อเสนอแนะได้ เมื่อประกาศโฆษณาแล้วผู้ขอต้องยื่นขอให้ตรวจสอบการประดิษฐ์ เจ้าหน้าที่จะนาข้อคัดค้านหรือ ข้อเสนอแนะมาประกอบการพิจารณาร่วมกับการตรวจสอบการประดิษฐ์อีกคร้ัง ก่อนจะพิจารณาว่า สามารถจดสิทธิบัตรได้หรือไม่ ปัจจุบันนี้มีผู้ขอจดสิทธิบัตรที่เกี่ยวข้องกับกัญชากับกรมทรัพย์สินทาง ปัญญา มีจานวน 3 บริษัท โดยมีจานวน 10 คาขอ ซ่ึงอยู่ในขั้นตอนการดาเนินการ และการขอ จดสทิ ธบิ ัตร เร่ืองที่ 7เร่ือขงอ้ ทป่ี 7ฏบิ ขัต้อิทปต่ี ฏอ้ ิบงทตั าทิ ต่ีตา้อมงกทฎำ�หตมามายกทฎเ่ีหกมย่ี าวยขทอ้ ี่เงกก่ยี บั วกขัญ้องชกาับแกลญัะกชญั าแชลงะกญั ชง กกกกกกกกกัญชาทางการแพทย์ ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางตลอดหลายปีท่ีผ่านมา สาหรับ ประเทศไทยได้มีการปรับเปล่ียนกฎหมายและระเบียบต่าง ๆ เพื่อให้สามารถศึกษาวิจัยตลอดจนการ นากัญชามาใชป้ ระโยชน์ได้ ในกระแสของการเปลย่ี นแปลงดงั กล่าวบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ปว่ ยและ ประชาชนทั่วไปจาเป็นต้องได้รับข้อมูลอย่างรอบด้าน ทั้งประโยชน์และข้อควรระวังของการใช้กัญชา ทางการแพทย์ และความเสี่ยงหรืออันตรายจากการใช้กัญชา รวมถึงข้อปฏิบัติที่ควรระวังต้องทาตาม กฎหมายกญั ชาและกัญชง ดงั ภาพ ภาพท่ี 54 โทษของการโพสต์ภาพ หรอื ขอ้ ความ เพือ่ โฆษณายาเสพติด รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต 145 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

144 กกกกกกกกนอกเหนือจากนี้ โทษอาญาของการฝ่าฝืนกฎหมาย ในเร่ืองของการใช้อุบายหลอกลวง ขูเ่ ขญ็ ใช้กาลังประทุษร้าย ข่มขืนใจให้ผู้อน่ื เสพ ยุยงส่งเสริมให้ผอู้ ่ืนเสพ ผลติ นาเข้า สง่ ออก จาหน่าย หรอื ครอบครองเพื่อจาหน่าย ดงั ตาราง ขอ้ หา ยาเสพติดใหโ้ ทษประเภท 5 (กัญชา ฝ่นิ เห็ดขคี้ วาย) ใช้อบุ ายหลอกลวง  จาคุก 1 - 10 ปี และปรับต้งั แต่ 100,000 - 1,000,000 บาท ขูเ่ ข็ญ ใช้กาลงั  ถา้ ทาโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนขึน้ ไป จาคกุ 2 - 15 ปี และ ประทษุ รา้ ย ขม่ ขนื ใจให้ ปรับตงั้ แต่ 200,000 - 1,500,000 บาท ผ้อู ืน่ เสพ  ถา้ กระทาตอ่ หญงิ หรอื ผ้ยู ังไมบ่ รรลุนิติภาวะ หรือเพ่ือจงู ใจใหผ้ ู้อ่ืน ทาผิดอาญา หรอื เพือ่ ประโยชน์แกต่ นเองหรอื ผูอ้ ื่นในการทาผิดอาญา จาคกุ 3 ปี ถงึ ตลอดชวี ติ และปรบั 300,000 - 5,000,000 บาท ยุยงส่งเสรมิ ใหผ้ ้อู น่ื เสพ  จาคกุ ไม่เกิน 1 ปี หรือปรบั ไม่เกิน 20,000 บาท หรอื ท้งั จาท้งั ปรบั ใช้อุบายหลอกลวง  โทษเป็น 2 เท่าของโทษท่ีกฎหมายบัญญัติไว้สาหรับความผิด ขเู่ ขญ็ ใช้กาลงั นนั้ ๆ ประทุษร้าย ข่มขนื ใจ ให้ผอู้ ่ืนผลติ นาเข้า สง่ ออก จาหน่าย ครอบครองเพื่อ จาหนา่ ย กกกกกกกกปัจจุบันประเทศไทยมีผู้เข้าไปเก่ียวข้องกับยาเสพติดเปน็ จานวนมากซ่ึงกระทรวงยุตธิ รรม ได้กาหนดแนวทางการช่วยเหลือผู้เสพยาเสพติดแนวใหม่ ภายใต้กรอบความคิด “ผู้เสพ คือ ผู้ป่วย” ที่จะต้องได้รับการบาบัดรักษาอย่างถูกต้อง โดยแพทย์และพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐทุกแห่ง ท่ัวประเทศ และหลังจากที่ผู้เสพได้รับการบาบัดรักษาแล้ว ก็สามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคมอย่าง ปกติสุข โดยรัฐบาลจะให้การติดตามช่วยเหลือส่งเสริมการประกอบอาชีพ เพื่อให้ผู้เสพได้เริ่มต้น ชีวติ ใหม่ “เปลีย่ นเพอื่ ครอบครัว เพื่ออนาคตทีด่ กี วา่ ” 146 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวติ เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

145 ภาพที่ 55 นโยบายการแก้ไขปญั หายาเสพติดแนวใหม่ กกกกกกกกกล่าวโดยสรุป ข้อปฏิบัติท่ีสาคญั ตามกฎหมายกญั ชาและกัญชง มขี ้อท่ีควรปฏิบตั ดิ งั น้ี กกกกกกกกขอ้ 1 โพสต์ภาพ หรอื ข้อความ เพือ่ โฆษณายาเสพตดิ มโี ทษจาคุกไม่เกนิ 2 ปี ปรบั ไมเ่ กิน 200,000 บาท กกกกกกกกขอ้ 2 ใช้อบุ ายหลอกลวง ขู่เข็ญ ใชก้ าลังประทุษรา้ ย ข่มขืนใจใหผ้ ู้อื่นเสพ มโี ทษดังน้ี กกกกกกกกกกก 2.1 จาคกุ 1 - 10 ปี และปรบั ต้ังแต่ 100,000 - 1,000,000 บาท กกกกกกกกกกก 2.2 ถ้าทาโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนขึ้นไป จาคุก 2 - 15 ปี และปรับต้ังแต่ 200,000 - 1,500,000 บาท กกกกกกกกกกก 2.3 ถ้ากระทาตอ่ หญิงหรือผ้ยู ังไม่บรรลนุ ิตภิ าวะ หรอื เพ่ือจงู ใจใหผ้ ู้อนื่ ทาผิดอาญา หรอื เพอ่ื ประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อ่ืนในการทาผิดอาญา จาคกุ 3 ปี ถงึ ตลอดชีวิต และปรับ 300,000 - 5,000,000 บาท รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต 147 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

114466 กกทกจนกไกทป“ทโจไกน“โปทดดดดเเาากกกกกก้ัน้นัรรง้งั้ัี่จ่ีจปป้้กกยยหหจจะะกกกกกกะะลลาาๆๆรราาเเตกกตกกกกนนททหหยี่ยี่ััททฐฐกกกกกกอ้อ้่่าาศศนนบบนน้ั้งังกกกยกกยกงงปปเเไดไดาากกกกกกแแพพดดคครรลลแแกกกกกกลลอ่ืื่อ้ร้รบับัรรจจนนขขปปขขะะบับัคคออะะวว้้ออ้้ออหหััจจกกรรบบใใททจจลลออาาหห3344คคาาุบุบังังรรบบ้้กกงงรรจจบบัันนคคกกาาออยยใใาาาาปปรรชชรราายุุยงงกกบบัววัรร้อ้อตรตรเเงงททพัดพดัะะชชบบุุสสิิดดเเีผ่่ผีรรเเพพ่ืื่่่ววออ่่งงาาตตททู้เเู้กักัเเยยจยยจ่ือ่อืสสาาสสศศษษเเหหาาออพพมมรรหหไไาาหหนนลลททิิมมไไชชลลออดดนนออาาใใ่่ยยววืืออยยร้ร้หหคคกก่่าายยมมผผ่าา่ัับบตต้ผ้ผยยลลเเีผีผงงูู้้เเกกหหทท้อูู้อววสสถถู้เเู้ มมขขาางงื่นนื่ลลดี่ด่ีพพูกูกรรีีโโ้้าาืืเเกีีกออตตยยขขททบบสสไไวว้้อสอสาาปปเเูู่่พพษษาาขขา่า่เเ่่งงงงเเบบสสเเ””ญญ็็กกเเมมปปโดัโดัสสพพยี่ีย่ดดโโีี็็นนรรรรใใตตววททยยชชัักกิิมมสสขขิิดดษษแแ้ก้กษษออกก้้ออแแพพจจาาาางงาางงนนาาลลททแแเเกกรรคคววททังังลลยยปปบับั ใใปปกุุก่่าา้วว้์แแ์หหรรยยไไขขรรลละะมมมมาาะะกกออะะเเกก่่เเ่่ทท็สส็สสงงกกพพภภออโโาาุษุษพพิินนยยาาททบบมมรรตตยยาาษษาาออ11า้า้ ดิิดบบใใรรยยททตตาาเเาาปปถถปปชช้้กกี่่ีกกลลขขกกีี ีีพพน็น็รรหหฎฎใใม่ม่ลลนนออจจรรหหบับัขขเเบบสสาาืออื พพมมนืนืไไนนถถคคปปปปาาใใื่ื่ออาาววววจจรรใใยยใในนนนาาชชบบััใใหหบบหหมมพพมม้ช้ชไไ้้ััผผญญมมคคผ้้ผาาีวีวยยูู้้เเกก่่เเิติตอู้้อูิิดดาาญญสสกกบบใน่น่ืืใพพัันินิตตซซนน““าาผผิิ่ึงง่ึไไไไสสผผลลลล22ดดกกววัังงขขูู้้เเิตติ00้้้ส้สรรเเสสคคออรร,,ะะาา00มมพพิ่่ินนงงมมททหห00ออรราาตตรรรร00คคัฐัฐยยเเวว้้ัันนบบขขททืืออ่า่าบบงงาา้้ชชคคงงุกกุยยาาผผปปีีววววแแสสุตุตททูู้้ปปิิกกตตาาหหงง่่ิิธธมมตตออ่่ววใใหห่่รรงงหหผิผิสสททยยออรรรรมมมมิิุุขขดดกกอือื””่ัั่วว่่ กเกเมมกกรรััญญรราาอื่ือ่ หหะะชชงงททลลาาททาาาาดดยยคค่ีี่ 88งังัคคววเภภรรราาาาั้งง้ัมม่อืโโจจพพพพผผททงนนรริิดดทษษกกะะ่ีรรขขรรแแ8าาะะลลออชชททะะงงบบโงั่ง่ับบกกทลลััญญททาา่าา่ษญญรรลลสสขฝฝุดุดงงััตตโโอจจิิยยา่่าททึึงงฝฝาางษษมมเเกนืืนสสีีททาพพพพกกาารรรตตฎฎงงฝะะออิิดดหหา่รราาใใาามมฝหหญญชช้้าาโโนื าาบบททยยกขขญััญษษททออฎญญเเ่่ีีงงพพหกกผผตตัั ..มศศยีี่ยูู่้้เเิิยยสส..าววาาพพเเ22ยขขสส55ทอ้้อพพผผ22เ่ีงงลลตต22กกกิิตตดิิดยี่ททใใัับบนนหหวี่ี่ใใกกชช้โ้โาาขทท้้เเัญญัเเปปอ้ขขษษ็็นนชชง้้าากหห((าาสสฉฉบัแแลล่่งงบบัักกลลออกบบัั ออออะะัญททยยกกกก่ีี่ชูู่่ 77ญัญัแแคคา))ลลรรชชแพพะะอองงลไไ..บบศศดดะ..คค้้มมก22รรีีกกญั55ออาา66งงรรชหห22แแงรรกกกกืืออ้้ไไาาขขจจหหเเาาพพนนหหิิ่่มมดดนนกกเเตต่่าาาาิิยยมมรร 148 หนังสอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

147 บทลงโทษการฝา่ ฝนื กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกบั กัญชา ภาพที่ 56 บทลงโทษการฝ่าฝืนกฎหมายทเ่ี กี่ยวข้องกบั กัญชา ขอ้ ควรรู้ : การผลิต เสพ นาเขา้ ส่งออก ครอบครองหรือจาหนา่ ยกัญชา หมายรวมถึง ทกุ ส่วนของพืชกญั ชา ยกเวน้ ตามที่กฎหมายกาหนด ยงั ไม่มี การแยกฐานความผิดในการแยก ใบ ดอก ยอด ผล ลาตน้ รวมถงึ ยาง และน้ามนั ผใู้ ดกระทาความผดิ ดงั กล่าวถือว่ามีความผิด รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 149 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

148 ถาม การตรวจหาสารกัญชาในปสั สาวะสามารถตรวจพบหลงั จาก ใชก้ ญั ชาไปแลว้ นานถึง 2 สัปดาห์ จรงิ หรอื ไม่ ตอบ จรงิ การตรวจหาสารกัญชาจากปสั สาวะ สามารถตรวจหาหลังจากใช้ 2-5 ช่วั โมง และในผใู้ ชบ้ อ่ ย ๆ หรือใชใ้ นปริมาณสูง ๆ จะสามารถ ตรวจพบได้หลงั จากใชไ้ ปแล้ว 15-30 วนั หลังจากหยดุ ใช้หรือจนกว่า ร่างกายจะขบั ออกหมด นอกจากน้ี ถ้านากัญชามาโฆษณาชวนเช่ือ บิดเบือนฉลากอาหาร - ฉลากยา มีความผิด ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 30,000 บาท หากเข้าข่ายเป็นอาหารท่ีมีการแสดงฉลากเพ่ือลวง หรือ พยายามลวงให้เข้าใจผิดเร่ืองคุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ สถานท่ีผลิต จัดเป็นอาหารปลอม ต้องระวางโทษจาคุกตง้ั แต่ 6 เดอื น - 10 ปี และปรับต้ังแต่ 5,000 - 100,000 บาท ดังภาพ ภาพท่ี 57 บดิ เบือนฉลากอาหาร ฉลากยา มคี วามผิด 150 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา

149 กกกกกกกการนริ โทษกรรมผู้ครอบครองกัญชา กกกกกกกหลังจากมีประกาศพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ต่อมาประกาศ กระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ . 2562 มีสาระสาคญั เกย่ี วกับการนิรโทษกรรมผคู้ รอบครองกญั ชา จานวน 3 ฉบบั ดงั น้ี กกกกกกกฉบับท่ี 1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การกาหนดใหย้ าเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชาตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข หรือให้ทาลายกัญชาที่ได้รับมอบจากบุคคล ซึ่งไม่ต้อง รบั โทษ ตามมาตรา 22 แหง่ พระราชบญั ญัตยิ าเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562 โดยรายละเอียด ผทู้ ไี่ ดร้ ับการนริ โทษกรรม หรอื การครอบครองก่อนหน้านีไ้ มผ่ ิด และให้มาแจง้ ภายใน 90 วนั กกกกกกกฉบับที่ 2 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องการครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกญั ชา สาหรบั ผปู้ ว่ ยทมี่ ีความจาเป็นต้องใช้เพื่อรักษาโรคเฉพาะตวั ก่อน พระราชบญั ญตั ิยาเสพ ติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ ซึ่งในกรณีนี้ผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้ กัญชารักษาตัว และมีครอบครองก่อนกฎหมายใช้บังคับ ให้แสดงเอกสารหลักฐานที่แสดงอาการ เจบ็ ปว่ ยจากแพทย์ ภายใน 90 วัน กกกกกกกฉบับที่ 3 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง การแจง้ การมีไวใ้ นครอบครองกญั ชา สาหรบั ผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา 26/5 และบุคคลอ่ืนท่ีมิใช่ผู้ป่วยตามมาตรา 22 (2) ก่อนพระราชบัญญัติยา เสพติดให้โ ทษ (ฉบับท่ี 7) พ. ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโ ทษ กล่าว คือ บุคคล ท่ีไมใ่ ช่กลมุ่ ที่ 1 และกลมุ่ ท่ี 2 โดยในฉบบั นี้ ใหห้ นว่ ยงานหรือบุคคลผู้ครอบครองกัญชาก่อนกฎหมายมี ผลใช้บังคับ เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ การรักษาผู้ป่วย การใช้รักษาโรคเฉพาะตัว หรือการ ศึกษาวิจัย ดังต่อไปน้ีต้องแจ้งลักษณะและปริมาณกัญชาท่ีมีไว้ในครอบครองภายใน 90 วันนับต้ังแต่ พระราชบัญญัติดังกล่าวใช้บังคับ อาทิหน่วยงานของรัฐท่ีสอนทางการแพทย์ แพทย์ ทันตแพทย์ แพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัย เกษตรกรรม ที่เป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนภายใต้ความร่วมมือ และกากับ ดูแลของผูข้ ออนุญาตตามหนว่ ยงานของรัฐ หรือ สถาบันอุดมศึกษา เช่น หน่วยงานรฐั หรอื แพทย์ และ ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ ผู้ป่วยเดินทาง และผู้ขออนุญาตตามที่รัฐมนตรี เห็นชอบ กกกกกกกสาหรับการแจ้งครอบครองกัญชาของทั้ง 3 กลุ่ม สามารถไปแจ้งได้ดังนี้ กรุงเทพมหานคร แจ้งได้ท่ีศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาพ้ืนท่ี ต่างจังหวัด สามารถแจ้งได้ที่สานักงานสาธารณสุขจังหวดั หรือ สสจ. ทั่วประเทศ หรือหากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามรายละเอียดได้ที่สายด่วน 1556 กด 3 ในวันและเวลาราชการ ซึ่งให้บริการตอบข้อ ซักถามในประเด็นท่เี กี่ยวขอ้ งกับกัญชาโดยตรง กกกกกกกกลา่ วโดยสรุป บทลงโทษของการฝ่าฝืนกฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ้ งกัญชาและกัญชง มี 5 กลมุ่ ดงั น้ี รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนงั สือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ 151 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

150 กกกกกกกกลุ่มท่ี 1 กลุ่มผู้เสพ (นอกเหนือเพื่อรักษาตามคาส่ังแพทย์) มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรอื ทัง้ จาทงั้ ปรบั กกกกกกกลุ่มท่ี 2 กลุ่มครอบครอง หรือจาหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต (ไม่ถึง 10 กิโลกรัม) มบี ทลงโทษ จาคกุ ไม่เกนิ 5 ปี หรือปรบั ไมเ่ กิน 100,000 บาท หรอื ทงั้ จาท้งั ปรบั กกกกกกกกลุ่มท่ี 3 กลุม่ จาหนา่ ยโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต (ปริมาณ 10 กิโลกรมั ข้นึ ไป) มีบทลงโทษ จาคกุ ต้งั แต่ 1 - 15 ปี และปรับ 100,000 - 1,500,000 บาท กกกกกกกกลุ่มท่ี 4 กลุ่มผู้ฝ่าฝืนผลิต นาเข้า หรือส่งออก มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่ เกิน 500,000 บาท กกกกกกกกลุ่มที่ 5 กลุ่มกรณีเพื่อจาหน่าย มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 - 15 ปี และปรับ 100,000 - 1,500,000 บาท กกกกกกกในส่วนผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 มีสิทธิที่จะขอใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า ส่งออก จาหนา่ ยหรอื มีไว้ในครอบครองซึง่ ผ้ขู ออนุญาตตามข้อ 2,3,4 และ 7 มอี ยู่ 2 กล่มุ ดังนี้ กกกกกกกกล่มุ ท่ี 1 กรณีบคุ คลธรรมดา สญั ชาติไทย มีถน่ิ ทีอ่ ย่ใู นไทย กกกกกกกลุ่มที่ 2 กรณีนิติบุคคล จดทะเบียนตามกฎหมายไทย 2 ใน 3 กรรมการ หุ้นส่วน ผถู้ ือหนุ้ มสี ญั ชาตไิ ทย มสี านักงานในไทย กกกกกกกนอกจากน้ีการนากัญชามาโฆษณาชวนเช่ือ บิดเบือนฉลากอาหาร - ฉลากยา มีความผิด ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 30,000 บาท หากเข้าข่ายเป็นอาหารที่มีการแสดงฉลากเพ่ือลวง หรือ พยายามลวงให้เข้าใจผิดเร่ืองคุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ สถานท่ีผลิต จัดเป็นอาหารปลอม ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ตัง้ แต่ 6 เดอื น - 10 ปี และปรับตงั้ แต่ 5,000 - 100,000 บาท กกกกกกกต่อมาได้มกี ารนิรโทษกรรม โดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข 3 ฉบับ ซง่ึ ประกาศใช้ในราช กจิ จานเุ บกษา ลงวนั ที่ 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ดงั น้ี ฉบบั ที่ 1 เร่อื ง การกาหนดให้ยาเสพติดใหโ้ ทษ ในประเภท 5 เฉพาะกัญชาตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข หรือให้ทาลายกัญชาท่ีได้รับมอบจาก บคุ คล ซง่ึ ไมต่ อ้ งรับโทษ ตามมาตรา 22 แห่ง พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 โดยรายละเอียดผู้ที่ได้รับการนิรโทษกรรม หรือการครอบครองก่อนหน้าน้ไี ม่ผิด และให้มาแจ้งภายใน 90 วัน ฉบับท่ี 2 เร่ืองการครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา สาหรับผู้ป่วยท่ีมี ความจาเป็นต้องใช้เพ่ือรักษาโรคเฉพาะตัว ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ ซ่ึงในกรณีน้ีผู้ป่วยท่ีมีความจาเป็นต้องใช้กัญชารักษาตัว และมี ครอบครองก่อนกฎหมายใช้บังคับ และฉบับที่ 3 เร่ือง การแจ้งการมีไว้ในครอบครองกัญชา สาหรบั ผูม้ ี คุณสมบัติตามมาตรา 26/5 และบุคคลอ่ืนที่มิใช่ผู้ป่วยตามมาตรา 22 (2) ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพ ติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ กล่าวคือ บุคคลท่ีไม่ใช่กลุ่มท่ี 1 และกลุ่ม 152 หนังสอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ เพื่อใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

115511 ปปททรร่่ีี 22ะะโโยยโโดดชชยยนนใใท์์ทนนาาฉฉงงกกบบาาัับบรรนนแแพพี้ี้ ใใททหหยย้้หหก์ก์ นนาารร่่ววรรยยักักงงษษาาาานนผผหหูปู้้ปรรว่ว่ ืืออยยบบกกุุคคาาคครรลลใใชชผผ้ร้รูู้้คคัักกรรษษออาาบบโโรรคคคครรเเฉฉออพพงงกกาาะะััญญตตชชวััวาาหหกกรร่่ือือออกกนนาากกรรฎฎศศหหึกึกษษมมาาาาววยยิจิจมมัยยั ีีผผลลใใชช้้บบัังงคคัับบเเพพ่่ืืออ แกฉกกรใจกกรคใคจตแตกฉกเกเปปปววปกเกเโโดดปปออตคคเอยเไอรตยไรศศววรรนนดดดดะะ่่าาะะััดดบบกกกกงงกกิิกก..้้าา่่ลลกกววนน..ดดออ้้ออรรััญญศศ้้นนศศื่ออ่ืรร้้ยยดดคคดดเเเเเเหหยยะะกกกกใใกกกกกกะะัังงบบุุคคใใสสรรขขสสษษ..หห..หหแแงงับบั้้เเกก์์ววหหกกเเคคกกกกกกกกขขกกววัั่่ืืญญววออททนน้้ทท22าาพพฐฐาาทท11ตตยย้้ออาาัันนสส้้วว่่กกกกโโ้้าากกกกออกกาางงเเี่ี่00้้ววศศกกนนญญรร99ตตทท่่กกเเยยาาาา่ีี่งงปปมมกกกก44มมกกกกกกบบกก00ััพพยยสสิิออจจ9966ททิิมมกกดดูู่่ใใาาปปษษาากกกกใิิใเ็็าากกกกมมนนกกัั00งงรรนนันันดดืื่่ื่น่ืนออออร11หหรรลลตตหหี่่ีววกกรรรรใใคค่่ััุุ่่นนนนรรตตน้้นตตววอ่ืนนใใ่่นนมม้้าารรคคะะาาลลกกััััออบบๆๆฐฐแแโโสสออชชปปคคยย่่ตตออาาดดบิบิะะุุสสงกีกีรรดดววปปปปเเาานนฎฎภภลลาา้้นนททเเรรงงััจจททหหาาตต้้ทววััปปญญาาาาบบยยมมยยกกจจััญญรรหหขขาาะะุสสุุุาาสสจจมมหหาาตตยยรร้้าาศศนน้้ฉฉออททเีเี่ีึึคคงงี่่ีะะยยญญงงรรพพคคออญัญัหหปปงงััุุญญบบนนนนออชชวว9ไไมมจจัักกบบกกงงเเุุ่ัว่ัวมมววัับบกกีีงงดดิิาาธธััตตา้า้าาาาััภภนนนนาากกึึกกญญงงญญดดไไาาััาากกบบจจยยกกปปสสาาีีหหแแใใโโตต้้มมปปถถไไุุสสาาสสททััรรนนีีววยยบบััสสกบบาาาารราาาาหหาาดดกกรริิมมีีคคุุรรททแแคคััถถญญ่า่าสสเเกกนนรรววแแเเแแขขรรขขฎยยะะ้้้้ไไปปลลมมาาววสสภภปปลลวว่ีี่44าาออคค่่าาาาลลาาะะขขออพพญญววาาออเเยยาาััหกกีีนนรรพพคควว้้บบััณณญญดดหหออววททรระะหหอองงนนรรโโมมงงททะะแแลลาากกววมคคบบตต้้ววกกใใพพดด33รรออัักกศศหหสสนนีีรรชชววเเตตยยชชออาาาายยซซััุุิิมมบบดดฤฤคคงง44ดดายยืชชืษษหห่่ววุุาาสสาาปป์์าา่่่่ลลรรหหมม้้บบยยกก่่คคออใใคคททออมุมุยปป่ี่ียยหหกกยยมมชชััปปาาญญณณงงะะนนรรฉฉตตาารราาก์ก์คคงงยยววกกธธญญััววาารรร้้มมโโาาาาะะปปปปรรโโเเืืรรออบบบบญญาากก้้าา์์ยยรราาเเ่่ิิ์์าาาาตตววะะะมมตตสสจจืืออกกะะชชคคสสรรรรยยกกรรคคมมััรรญญัังงาาลล่่าาบบเเ่่ออหิิาาววรรปปชชพพรราาาาสสพพะะววททเเผผเเาาะะาาดดสสงงเเ่่าาจจดดะะรรชชชชสสไไาาลลวบบเเสสหหตตเเแแรรลลดดตตศศเเเเ้้ววปปดดททงงิิหหตต้้สสีีชช่่ววเเนนพพททููพพกกาาิิา่คคศศดดปปดดลลตติิ่ี่ีิิดดยยยยปปบบไไ้้ววใใศศแแยยพพววาาหหตตททงุุมม่ืื่ึึกกังงัศศออนนททะะรรววออยยยย็็นนเเกก่่าาจจตตลลผผกกกกตตนนปิิดดะะรรรรกกยยยยววษษเเททาาีี่่าาเเไไกกงงััญญยยะะะะิิััลลาานนปปััีีิิกกบบดดยยชชี้้ีขข่่มมาาจจาาาาใใเเปปราาาาาา((กกาารรปปสสิิตตนนชช็็าาสสดดรรบบแแออนนUUมมี่ีย่ย่่กกไไงงะรรววรรเเคคาาคคพพชชพพรรดดาาสสมมาทาท้้ววลลงงตตััีีสสิิรรญญกกจจเะะววnnหหาา้้สสืืะะออาากกโโท้้ยยตตมมพพนน้้ิิะะออตตผ่ี่ีผว่่ว่่ััเเออยยาากกออiiลลนน่่ชชตตงงสสททttลลแแยยิิีีดดววนนววิิดิดิัันนยยดดศตตรรตตเเนนออกกฉฉัับบeeดดิิาาาาขขททศศลลััตตััาาตตใใหหชช้้แแิิาาดด้้ไไาาเออททddุุบบสสยยททกกหหหหกกออเเะะดดเเเเ่่ถถาานนถถนนักักลลใใยยสสพพปปัััักกงงญญฎฎััาาบบกกงง้้้มม้รรโโนนหหุุญญััทท่ียุุปปนนคคออNNุุะะดดรรพพคคททงง็็ืื่่นนออออืืออหหาากีีกททญญั้้ั้้โโนนีี่่ออวุุนนาาศศววาารรนนกกยยaaรรยยชช..งงตตททตตษษททมมฎฎ่ี่ีชชใใศศออาาะะีีกลลแแาา้้ััคคใใาาttาางงัับบิิดด้้หหนน11ภภษษาาาาาาหหมมชชii..สสกกญญดดรรกกรรเเธธ์์กกบัooคคกกยยยยใใแแ้เเ้ขขาาใใ้ย้ยมมรรงงแแ11ฤฤัังงงงรราากกออซซหหาาาาnnนนาาัั้้งง..ววกคค้้แแาา่่ลลววาากกคคาาศศ99รรพพททรรรริิดด่ึึ่กกงงรรนนกก้้โโ่่าา,,ปปคคีีญัปปมมลลยยลลมม์์ะะสสทท77แแปปทท..คคธธปปททดดรรคคาาุุสสUUววรรรระะมมรร่่าากก11หหออพพิ์์ิตต11รรา้า้ััาาญญรรษษ้้วว้้ััชญญาายยัับบญญะะะะตตะะววNNืืออททมมััแแงงนนัญญั99ปป่่ออยยขขรร์์เเหหหหฉฉาคคกก้้หหออเเกกรรญญพพ))ขขภภ66่่ีผีผ่่ออยยคคจจรรรรดดาาททแบบววาามุุมาาชชงงะะาาาา้้11าาิดิดะะะะาาิิยยาารรตตทท..ีีขขาาททาา่่ศศกกหหศศััตตบบลหหรรมมงงซซชช่่รรนนกกบบแแเเงงททออาาตต่ีี่กกไไ่่าา..แแนนททดดะะะคคววชช่ึ่ึงงาาฎฎปปาาลลดดาารรงง่ี่ีงง้้ลลออสสพพ่่11บบาาชชดดก่ี่ีาายยรรี่ี่จจหหดดรรหหปปะะ้้11บบ่่33าางงงงัมมั99ตตๆๆาาออคคาาททววญัะะแแปปขขมมาารรััววญญปปกกตต66พพดดแแิิททบบเเววววลลยยออแแาาออะะมมรรเเททาารรชิิเเ11ลลยย่่ญญาาาาัันน่่ีีจจชชคค์์ยยะะนนปปนนะะชชงงาาหหะะศศ,,มมะะาาดดงโโััดด่่นนธธมมรรสสััยยตตมมววุุ็็นนาาสสเเดดททนนเเยยคครร้้วว์์กกตตออททสสาาาาชชททิิาาีีผผััญญขขััปปยยบบ่่ีเเีาาดดยย..สสบับั้ั้ังงททตตงงเเพพกกศศนนลลศศาา้้อองงเเััญญสสญญใใมมผผยยหหาากกรรงง่ยี่ยีฉฉนนกกกกตต..ตตนนตตคครริิพพดดาาาาใใาากกรรหหาาววพพรรััญญิิ้้ััดดนน11กกลลลลนนสสตตเเรรชชืืสสออ..ตตกกาาะะาา99สสศศลลาาััออกกชชกกออกกรรออดดรรหหับบัใใิิททดดปปออะะ77งงพพ..ดดษษาาััดดกกออชชาาคคบบัังงปปกกบบาาสสใใ22รรเเ11รรจจตต้้กกนนจจาาปปดดณณววนนปปชชรราาะะาารรกกแแ99รรนนิิกกาาดด้้ั้ั้นนบบวว่่ววรรฉฉรรกกญญเเ็็ะะนนเเะะรรกก88คคกกยยฎฎททคคยยถถมมะะใใบบคคลลชชออะะยย88าา้้ปปใใหหววกกาาึึววโโหหเเงงศศกกุุมมััสสบบเเาานนงงกกาาหหบบยยััััญญญญทท้้ววดดบบโโัันนไไชชมมแแคคูงงูเเขขททเเรรททชชชชททตตคค้้สสืืออววาาสสคคหหาาลล์์ชชาาใใกกรรออี่่ี ุุษษนนนนุุททนนนนนนมมพพนนยยดดุุุุตตยยมมมมะะ22าารราางง์์ีี้ี้ีิิ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพอ่ื ใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต 153 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ประการท ่ี 1 ควบคมุ การเขา้ ถึงและการใช้กัญชาทางการแพทยท์ ่ีชอบดว้ ยกฎหมาย ประการท่ี 2 เปิดโอกาสให้สามารถเข้าถึงกัญชาท่ีมาจากวิธีการทางเภสัชกรรมเพื่อ วตั ถุประสงคท์ างการแพทย์บางกรณใี นปรมิ าณทเี่ พยี งพอ ประการที่ 3 อนญุ าตให้สามารถมีการเพาะปลกู และผลิตกญั ชาเพ่ือวตั ถุประสงคด์ งั กล่าว ประเทศทลี่ งนามในอนสุ ญั ญามภี าระหนา้ ทใี่ นการควบคมุ การสง่ ออก น�ำเขา้ และการขายสง่ กญั ชา และยาเตรยี มจากกญั ชาอยา่ งระมดั ระวงั ซงึ่ สว่ นมากแลว้ มกั จะเปน็ หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบของกระทรวง สาธารณสขุ ของประเทศ ซง่ึ ร่วมงานอยา่ งใกล้ชิดกบั คณะกรรมการควบคมุ สารเสพติดนานาชาติ (INCB) ในกรุงเวยี นนา ทุกชาติต่างจ�ำเป็นต้องท�ำงานร่วมกันกับ INCB ซึ่งเป็นผู้ควบคุมการหมุนเวียนของกัญชา และยาควบคุมชนิดอ่ืน ๆ ท่ีมีเจตนาเพ่ือการใช้ทางการแพทย์ทั่วโลกแต่ละประเทศจะเสนอจ�ำนวน คาดการณข์ องความจ�ำเปน็ ส�ำหรบั กญั ชาทางการแพทยใ์ นระดบั ชาตเิ ปน็ รายปี การคาดการณด์ งั กลา่ วนี้ จะจ�ำกัดปริมาณของกัญชาท่ีจะสามารถเข้าถึงได้ในแต่ละปี ซ่ึงเป็นการสร้างความม่ันใจว่าการผลิต การค้า และการใช้กัญชาโดยชอบด้วยกฎหมายจะเพียงพอส�ำหรับความจ�ำเป็นทางการแพทย์ และ ทางวทิ ยาศาสตรข์ องชาติ โดยไม่จ�ำเป็นต้องหันไปอาศยั ตลาดมืด ข้อก�ำหนดดังกล่าวที่มีผลผูกมัด ให้ประเทศท่ีลงนามอนุสัญญาน้ีต้องควบคุมการส่งออก น�ำเข้า และขายส่งกัญชาและยาที่ผลิตจากกัญชาอย่างระมัดระวัง แต่ส�ำหรับประเทศไทยเรายังไม่มี ความพรอ้ มเรอ่ื งระบบการควบคมุ ถงึ เราจะมคี วามพรอ้ มดา้ นการปลกู กญั ชา แตอ่ งคก์ ารสหประชาชาติ มขี อ้ ก�ำหนดเรอื่ งองคก์ รกลางในการก�ำกบั ดแู ลการใชก้ ญั ชาทางการแพทย์ กลา่ วคอื ในกรณที ม่ี กี ารเพาะ ปลูกกัญชา หน่วยงานของรัฐจะต้องจัดต้ังองค์กรกลาง หรือหน่วยงานกัญชาแห่งชาติขึ้นมาก�ำกับดูแล เขตพนื้ ทแี่ ละทด่ี นิ ทจี่ ะปลกู กญั ชาและจดั ตงั้ ระบบการออกใบอนญุ าต ซง่ึ ขณะนป้ี ระเทศไทยมสี �ำนกั งาน คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปน็ องค์กรกลางทรี่ ับผิดชอบอยู่ แต่ปญั หาทเ่ี กิดขึ้นภายหลงั จากท่ี กฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใช้กัญชาทางการแพทย์เป็นประเทศแรก ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันท่ี 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ปัญหาที่เกิดขึ้นมาตามคือ ไม่มีกัญชาในปริมาณ ท่ีเพียงพอส�ำหรับรักษาผู้ป่วยท่ีมีความจ�ำเป็นต้องใช้กัญชาเพ่ือการรักษาโรคต้องไปหากัญชามาจาก แหล่งท่ีไม่อาจเปิดเผยได้ หรือตลาดมืดท�ำให้เกิดความสับสนแยกไม่ออกระหว่างพวกธุรกิจท่ีถูกและ ผิดกฎหมาย พวกท่ีเสพเพ่ือนันทนาการสนุกสนาน หรือผู้ป่วยท่ีมีความจ�ำเป็นต้องใช้ในการรักษา คือ แยกไม่ออกแล้วว่าใครเป็นผู้ป่วยหรือพวกแอบแฝงเป็นผู้ป่วย ปัญหาตามมาคือ ส�ำนักงานป้องกัน และปราบปรามยาเสพตดิ (ป.ป.ส.) จะด�ำเนนิ การปราบปรามกท็ �ำไดไ้ มค่ อ่ ยถนดั นกั เพราะเปน็ เรอื่ งของ จริยธรรม มนุษยธรรม และยากที่จะแยกแยะออกได้ว่าบุคคลใดเป็นผู้เสพ บุคคลใดเป็นผู้ครอบครอง และบคุ คลใดเปน็ ผ้จู �ำหนา่ ยได้ มีระบบก�ำกบั ควบคมุ ส่งออก ขายสง่ 154 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

153 กัญชาและยาท่ีผลิตจากกัญชา ที่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นสิ่งท่ีรัฐต้องดาเนินการให้ชัดเจน เข้มงวด กวดขัน และทั่วถึง ให้มีประสิทธิภาพโดยทาให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้ จริง และต้องแยกแยะผู้ป่วยกับผู้ท่ีแอบแฝงเป็นผู้ป่วยให้ได้ เมื่อถึงจุดน้ันการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดก็จะสามารถทาได้อยา่ งประสบผลสาเร็จ กกกกกกก กล่าวโดยสรุป ประเทศไทยในมิติด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ ได้เข้าเป็นรัฐภาคี จานวน 4 ฉบบั ด้วยกนั คอื ฉบับที่ 1 อนสุ ัญญาเดยี่ วว่าดว้ ยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961 และพธิ ีแก้ไข อนุสัญญาเด่ียวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961, ค.ศ. 1972 ฉบับท่ี 2 อนุสัญญาว่าด้วยวัตถุที่ออก ฤทธ์ิต่อจิตและประสาท ค.ศ. 1971 ฉบับท่ี 3 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบ ค้ายาเสพติดและวตั ถุทอ่ี อกฤทธ์ติ ่อจิตและประสาท ค.ศ. 1988 และฉบับท่ี 4 อนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าดว้ ยการต่อต้านอาชญากรรมขา้ มชาติทจ่ี ัดตง้ั ในลกั ษณะองค์กร ค.ศ. 2000 กกกกกกก ตามอนุสัญญาเด่ียวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961 ได้บัญญัติกัญชา สารสกัดจาก กัญชา จัดให้อยู่ในตารางการควบคุมในบญั ชเี ปน็ ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 และยางกัญชาเปน็ ยา เสพติดให้โทษในประเภท 4 โดยห้ามปลูก ผลิต ส่งออก นาเข้า ค้าขาย ครอบครองหรือใช้ ประโยชน์ เว้นแต่เพ่ือใช้ทางการแพทย์หรือการศึกษาวิจัยเท่าน้ัน ภาคีประเทศต้องกาหนดมาตรการ ควบคมุ ป้องกันมิใหม้ ีการนาใบของพชื กัญชาไปในทางท่ผี ิด หรือทาการค้าทผี่ ิดกฎหมาย กกกกกกก นอกจากนี้อนุสัญญาของสหประชาชาติ (United Nation, UN) เป็นข้อตกลงสากลสูงสุด ในเรื่องการควบคุมยาเสพติดอย่างเช่น กัญชา อนุสัญญาดังกล่าวกาหนดความรับผิดชอบร่วมกันใน ระดับสากล สาหรับการควบคมุ การผลติ การค้า และการใช้ยาควบคมุ โดยทั่วไปแลว้ แตล่ ะประเทศจะ กาหนดกฎหมายว่าด้วยยาซึ่งสัมพันธ์กับการออกกฎหมายและข้อบังคับเกี่ยวกับยารักษาโรค สาหรับ กัญชาทางการแพทย์ อานาจและมาตรการควบคุมของประเทศอ่ืน ๆ มีเป้าหมาย 3 ประการ ดังน้ี ประการท่ี 1 ควบคุมการเข้าถึงและการใช้กัญชาทางการแพทย์ที่ชอบด้วยกฎหมาย ประการ ท่ี 2 เปดิ โอกาสใหส้ ามารถเขา้ ถึงกัญชาท่ีมาจากวธิ ีการทางเภสัชกรรมเพ่ือวัตถุประสงค์ทางการแพทย์ บางกรณีในปริมาณท่ีเพียงพอ ประการที่ 3 อนุญาตให้สามารถมีการเพาะปลูก และผลิตกัญชาเพื่อ วัตถปุ ระสงค์ดงั กลา่ ว โดยประเทศทล่ี งนามในอนสุ ญั ญามีภาระหน้าที่ในการควบคุมการสง่ ออก นาเข้า และการขายสง่ กัญชา และยาเตรียมจากกัญชาอย่างระมัดระวงั กกกกกกก กกกกกกก ข้อกาหนดดังกล่าวที่มีผลผูกมัด ให้ประเทศที่ลงนามอนุสัญญาน้ีต้องควบคุมการส่งออก นาเข้า และขายส่งกัญชาและยาที่ผลิตจากกัญชาอย่างระมัดระวัง แต่สาหรับประเทศไทยเรายังไม่มี ความพร้อมเรื่องระบบการควบคุม ถึงเราจะมีความพร้อมด้านการปลูกกัญชา แต่องค์การ สหประชาชาติ มีข้อกาหนดเรื่ององค์กรกลางในการกากับดูแลการใช้กัญชาทางการแพทย์ ซ่ึงขณะนี้ ประเทศไทยมสี านกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปน็ องค์กรกลางทร่ี ับผิดชอบอยู่ แต่ปญั หา ที่เกิดขึ้นภายหลังจากท่ีกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใช้กัญชาทาง รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพื่อใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวิต 155 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

154 154 การแพทย์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทาให้ไม่มีกัญชาในปริมาณท่ีเพียงพอ สการหแรพับทรักยษ์เปา็นผปู้ ร่วะยเทที่มศีคแวรากมใจนาภเูมปิภ็นาตค้อเงอใเชช้กียัญตะชวาันเพอ่ืออกกาเรฉรียักงษใตา้ โทราคใตห้อ้ไงมไ่มปีกหัญากชัญาใชนาปมราิมจาาณกทแห่ีเพลีย่งงทพ่ีไมอ่ อสาจหเรปับิดรเักผยษไาดผ้ ู้ปห่วรยอื ทตล่ีมาีคดวมาดืมทจาใเปห็น้เกตดิ ้อคงวใาชม้กสัญบั ชสานเพแยื่อกไามร่อรอักกษราะโหรควต่าง้อพงวไปกหธุรากจิัญทชี่ถาูกมแาลจะาผกิดแกหฎลห่งทมา่ีไมย่ พอาวจกเทป่ีเดิ สเผพยเพได่ือ้ นหันรอืทตนลาากดามรืดสทนาุกใสหน้เกาดิ นควหารมือสผบั ู้ปส่วนยแทย่ีมกีคไมวา่อมอจการเะปห็นวต่าง้อพงวใชก้ใธนรุ กิจารทร่ีถักูกษแาละซผ่ึงิดสกาฎนหักมงานย ปพ้อวงกกทันี่เสแลพะเพปร่ือานบันปทรนามายกาเรสสพนตุกิดส(นปา.ปน.สห.ร) ือจผะู้ดปา่วเยนทนิ ่ีมกีคารวปารมาจบาปเปร็านมตก้อ็ทงาใไชด้ใ้ไนมกค่ า่อรยรถักนษดั านซักึ่งเสพารนาักะงเปาน็ เปรอ้ ่ืองงกขันอแงลจะรปิยรธารบรมปรมามนยุษายเธสรพรตมิดแ(ปล.ะปย.สาก.)ทจ่ีจะะดแายเนกินแกยาะรอปอรกาไบดป้วร่าาบมุคกคท็ ลาไใดไ้เมปค่็น่อผยู้เสถนพัดบนุคักคเลพใรดาเะปเ็ปน็นผู้ เครรื่อองบขคอรงอจงริยแธลระรบมุคมคลนใุษดยเปธร็นรผมู้จาแหลนะ่ายยาไกดท้ ม่ีจีระะแบยบกกแายกะับอคอวกบไดค้วุม่าสบ่งอุคอคกลใขดาเปยส็น่งผู้เกสัญพชาบแุคลคะลยใาดทเป่ีผ็ลนิตผู้ คจารกอกบัญครชอางทแี่มลีปะรบะุคสคิทลธใิภดาเพป็นจผึงู้จเปาห็นนสิ่งาทยไี่รดัฐ้ตม้อีรงะดบาบเนกินากัาบรคใวหบ้ชคัดุมเจสน่งอเอขก้มงขวาดยกสว่งดกขัญันชแาลแะลทะั่ยวถาทึง ่ีผใลหิต้มี ปจารกะกสัญิทธชิภา าทพี่มโีปดรยะทสาิทใหธิภ้ผู้ปาพ่วยจสึงาเปม็นารสถิ่งเทขี่ร้าัฐถตึง้อกงาดราใชเน้กินัญกชาารในหท้ชาัดงเจกนารเแขพ้มทงวยด์ไดก้จวรดิงขแันลแะลตะ้อทงแ่ัวถยึงกแใหย้มะี ปผู้ประ่วสยิทกับธิภผู้ทาพ่ีแโอดบยแทฝางใเหป้ผ็นู้ปผ่วู้ปย่วสยาใหม้ไาดร้ถเมเข่ือ้าถถึงึงจกุดานร้ันใชก้กาัญรปช้อางในกันทแางลกะาปรรแาพบทปยร์าไดม้จยราิงเสแพลตะิดตก้อ็จงะแสยากมแารยถะ ทผู้ปาไ่วดย้อกยับ่าผงปู้ทร่ีแะอสบบแผฝลงสเปา็เนรผจ็ ู้ป่วยให้ได้ เม่ือถึงจุดน้ันการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดก็จะสามารถ ทาไดอ้ ย่างประสบผลสาเรจ็ กกจจิิ กกรรรรกมมจิ ทท1กา้า้.รยยกรบบจิมททกทร้ารยมทบ่ี ท1 1. คกาิจชกี้แรจรงมท: ี่โ1ปรดเลือกตวั อักษรหนา้ ขอ้ ท่ผี ู้เรียนคิดวา่ ข้อนน้ั เป็นคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุด เพยี งข้อเดียว แคลาว้ชเี้แขจยี งน:คโาปตรอดบเลงือใกนตกวั รอะักดษารษหขนอ้างขผ้อเู รทีย่ผี นู้เรียนคิดวา่ ขอ้ นน้ั เป็นคาตอบที่ถูกต้องท่ีสดุ เพยี งข้อเดียว แขล้อ้วเ1ขยี นนาคยาวติทอยบาลมงีคในวากมรระเู้ดราื่อษงขพอืชงสผมู้เรุนยี ไพนร จึงปลุกระดมให้ชาวบ้านปลูกพืชกัญชาผสม กับพืชสมุนไพรขอ้อื่น1ๆ นแาลยะวกิทลย่าาวมอีค้างวสารมรพู้เรค่ือุณงพืชสกมัญุนชไาพวร่าสจาึงปมาลรุกถรระักดษมาใโหร้ชคาตว่าบง้าๆนปไลดกู้ ทพาืชใกหัญ้ชชาวาบผส้านม กหับลพงเืชส่ือมแุนลไะพปรฏอิบื่นัตๆิตาแมละเมกื่อลเ่าจว้าอห้านงส้าทรร่ีตพาครวุณจพมืชากตัญรวชจาพวบ่าสจาึงมดาารเถนรินักคษดาีตโราคมตก่าฎงหๆมาไดย้ ถทือาวให่าช้ าวบ้าน มหีคลวงาเชม่ือผแิดลหะรปือไฏมิบ่ เัตพิตราามะเเหมต่ือใุ เดจ้าหน้าที่ตารวจมาตรวจพบ จึงดาเนินคดีตามกฎหมาย ถือว่าชาวบ้าน มีความผิดหรือไม่ เพรกา.ะเมหคีตวุใาดมผิด เพราะเปน็ ผผู้ ลิตและมีไว้ในครอบครอง ขก. ไมมีค่มวีคาวมาผมดิ ผเดิ พเรพาระาเปะ็นใชผร้ ้ผู ักลษิตาแโรลคะมแีไลวะ้ในไมค่มรเีอจบตคนราอทงาผิด คข. ไมมคี ม่ วีคาวมาผมิดผเิดพเรพาระาเปะใ็นชผ้รูผ้ กั ลษติ าโผรู้บครแิโภลคะไแมลม่ ะีเจผตู้จนาหาทนา่ ผยิด งค.. ไมมีคม่ วีคาวมาผมดิ ผิดเพเรพาระาเะปไ็นมผม่ ้ผู คี ลวติ ามผรู้บู้เร่ือิโภงขคอแงลยะาเผสู้จพาตหดินใา่ หยโ้ ทษ ข้อ 2 งป.ัจจไมัย่มใดีคเวปาน็ มสผาิดเหเพตุทรา่ีทะาไใมหม่ ้มีคีกวาารมแรกเู้ ร้ไข่ือกงขฎอหงมยาายเสเกพ่ยี ตวิดกใับหพ้โทืชษกัญชาและพชื กัญชง ของ พระราชบขญั ้อญ2ัติยปาัจเสจพยั ตใดิดเใปห็น้โทสาษเห(ฉตบุทับีท่ ทาใ่ี ห7)้มีกพา.รศแ.ก2ไ้ 5ข6ก2ฎหมายเกยี่ วกบั พืชกญั ชาและพืชกัญชง ของ พระราชบญั ญัติยกาเ.สพเพตอื่ ิดนใหากโ้ ทญั ษชา(ฉมบาใับชทใ้ ห่ี 7เ้ ก) ดิ พป.รศะ.โ2ย5ช6น2์ ขก. เพื่อในหาส้กอญั ดชคาลม้อางใตชา้ใหมเ้กกฎิดหปมราะยโยสชากนล์ คข. เพื่อใหส้เหอมดาคะลส้อมงกตบั าสมถกาฎนหกมาารยณสป์ากัจลจบุ นั งค.. เพอื่ ่ือกใหาร้เหนมิรโาทะษสมกรกรับมสผถู้คารนอกบาครณรอ์ปงัจกจัญุบชนั า ง. เพอื่ การนริ โทษกรรมผู้ครอบครองกญั ชา 156 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ เพ่อื ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

155 ข้อ 3 ถา้ นักศึกษาพบเหน็ ผู้จาหน่ายยาเสพตดิ นักศึกษาควรทาอยา่ งไร ก. แจ้งตารวจใหท้ ราบ ข. ไม่ย่งุ เกยี่ วจะทาให้ตนเองเดือดรอ้ น ค. แนะนาผู้เสพให้ไปบาบัดรักษาการตดิ ยาเสพติด ง. ว่ากลา่ วตักเตือนผูเ้ สพไมใ่ หเ้ สพยาเสพยาเสพตดิ ข้อ 4 ในทางกฎหมายได้จาแนกความแตกต่างของพืชกญั ชา และพชื กญั ชง จากส่วนประกอบใด ก. จาแนกตามปริมาณสาร CBD ข. จาแนกตามปรมิ าณสาร THC ค. จาแนกตามปริมาณสาร TCB ง. จาแนกตามปริมาณสาร CDB ข้อ 5 ข้อใดเป็นความหมายของคาว่า “กัญชา” ตามที่บญั ญัติไวใ้ นกฎหมายทถ่ี ูกต้องท่ีสดุ ก. ทกุ สว่ นของพืชกัญชา ยกเวน้ เปลอื กแหง้ แกนลาตน้ แห้ง เสน้ ใยแหง้ ข. สว่ นทเ่ี ปน็ ใบของพชื กญั ชา ยกเว้นเปลือกแหง้ แกนลาตน้ แห้ง เส้นใยแหง้ ค. ส่วนที่เปน็ ดอกของพืชกัญชา ยกเว้นเปลอื กแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง ง. ส่วนที่เป็นกะหล่ีของพืชกญั ชา ยกเวน้ เปลอื กแหง้ แกนลาตน้ แห้ง เส้นใยแหง้ 2. กจิ กรรมท่ี 2 คาช้ีแจง : โปรดจับค่ขู ้อมูลทอ่ี ย่ขู ้างหลังตัวอักษรทีต่ รงกบั ตัวเลขของข้อนัน้ ๆ ให้ถูกตอ้ ง แล้วนาตัวอกั ษรของหน้าขอ้ มูลมาใส่หนา้ ตวั เลขตรงกับขอ้ น้ัน ๆ .......... 1. นโยบายการแก้ไขปัญหา “ยาเสพตดิ ก. แคนนาบิไดออล (Canabidiol, CBD) แนวใหม”่ ข. เตตราไฮโดรแคนนาบนิ อล .......... 2. กัญชา (Tetrahydrocannabinol, THC) .......... 3. สารวัตถอุ อกฤทธปิ์ ระเภท 1 ค. สารเคมหี รอื วัตถุใด ๆ ที่นาเขา้ สู่ร่างกายแล้ว .......... 4. ยาเสพตดิ ให้โทษ ทาให้ร่างกาย จิตใจทรุดโทรม .......... 5. หนงั สอื สาคัญทีร่ ฐั ออกใหเ้ พอ่ื คุ้มครอง ง. กระตนุ้ ประสาท ทาให้ประสาทหลอน นกึ คิด สิ่งประดิษฐห์ รือออกแบบผลิตภัณฑ์ สับสน จ. สมศกั ด์ิตดิ สารเสพติดและอยากจะเลิก ฉ. ลขิ สทิ ธิ์ ช. สิทธบิ ัตร ซ. พืชสมุนไพรทน่ี ามาปรงุ อาหารและผลติ เคร่ืองสาอาง รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพอ่ื ใช้เป็นยา หนงั สือเรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวิต 157 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

156 3. กจิ กรรมที่ 3 คาช้ีแจง : โปรดทาเคร่ืองหมายถูก () หรือเคร่ืองหมายผิด () ลงหน้าข้อตัวเลขที่ ผู้เรียนอ่านข้อมูล แล้วคิดว่าคาตอบน้ีถูก ให้ทาเคร่ืองหมาย () ถ้าคิดว่าข้อมูลท่ีอ่านเป็นคาตอบ ท่ีผดิ ใหท้ าเครอื่ งหมาย () .......... 1. นายขาวใชอ้ ุบายหลอกลวงขม่ ขืนใจผอู้ ื่น ผลิต นาเขา้ ครอบครองเพ่ือจาหน่ายได้รับโทษ เปน็ 2 เทา่ ท่กี ฎหมายกาหนดไว้ .......... 2. นายเขียวนากัญชามาสกดั เปน็ น้ามนั กัญชา สามารถนามายื่นขอจดสทิ ธิบัตรการประดษิ ฐ์ได้ .......... 3. อนสุ ญั ญาของสหประชาชาติ (United Nation : UN) อนญุ าตใหส้ ามารถเพาะปลูกกัญชา ไดเ้ สรี และผลติ กญั ชาเพื่อจัดจาหน่ายได้ .......... 4. ผู้กระทาความผิดเก่ียวกับยาเสพติดให้โทษจะได้รับโทษมากน้อยข้ึนอยู่กับประเภทของ ยาเสพตดิ .......... 5. นายแดงประกอบอาชพี เกษตรกร สามารถปลูกกัญชา เพ่ือประโยชนท์ างการเกษตรกรรมได้ 158 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ เพ่อื ใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

บทท่ี 5 5บทท่ี กัญชาและกัญชงกบั การแพทย์แผนไทย กญั ชแาลและะกกาัญรชแงกพับกทายรแ์ทพาทงยเแ์ ลผือนไกทยและการแพทย์ทางเลอื ก สาระสาสคาัญระส�ำ คัญ กกกกกกก1. ประวตั ิความเปน็ มาการใช้กัญชาเปน็ ยาทางการแพทย์ในต่างประเทศ กกกกกกก1. ในต่างประเทศ พบหลักฐานบันทึกไว้ว่า มีการใช้กัญชาเป็นยารักษา หรอื ควบคุมอาการของ โรคต่าง ๆ ในทวีปยุโรป ได้แก่ โปรตุเกส สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ในทวีปเอเชีย ได้แก่ ประเทศจีน อินเดีย และอิหรา่ น มาอย่างชา้ นาน ในบางประเทศมหี ลักฐานวา่ เคยมีการใช้กญั ชามานานกว่า 4,700 ปี กกกกกกก2. ประวัติความเป็นมาการใช้กัญชาในการแพทย์ทางเลือกของไทย กกกกกกก1. ในประเทศไทยมีหลักฐานการใช้กัญชาในการรักษา หรือควบคุมอาการของโรคต่าง ๆ ต้ังแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ สมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีการรวบรวมไว้เป็นตารายาหลายเล่ม และสูตรยา หลายขนาน เช่น ตาราพระโอสถพระนารายณ์ ตาราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ พระคัมภีร์ปฐมจินดา พระคัมภีร์มหาโชตรัต พระคัมภีร์ชวดาร และพระคัมภีร์กษัย เป็นต้น มีการระบุตารับยาท่ีใช้กัญชา หรอื มกี ญั ชาเปน็ สว่ นประกอบที่ใชใ้ นการรักษา นับแตใ่ นอดตี สบื เนือ่ งกันมา กกกกกก 3. ตารับยาท่ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบท่ีได้มีการคัดเลือก และรับรองโดยกระทรวง สาธารณสุข ในปัจจุบัน พ.ศ. 2562 ประกาศใช้ทั้งหมด 16 ตารับ ได้แก่ (1) ยาอัคคินีวคณะ (2) ยาศุข ไสยาศน์ (3) ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย (4) ยาน้ามันสน่ันไตรภพ (5) ยาแก้ลมขึ้นเบ้ืองสูง (6) ยาไฟอาวุธ (7) ยาแก้นอนไม่หลับ หรือ ยาแก้ไข้ผอมเหลือง (8) ยาแก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง (9) ยาอัมฤตย์โอสถ (10) ยาอไภยสาลี (11) ยาแก้ลมแก้เส้น (12) ยาแก้โรคจิต (13) ยาไพสาลี (14) ยาทาริดสีดวงทวาร หนักและโรคผวิ หนัง (15) ยาทาลายพระสุเมรุ และ (16) ยาทพั ยาธคิ ณุ กกกกกก 4. ภูมิภูเบศรรวบรวมและเผยแพรภ่ มู ิปัญญาไทย กกกกกก 4. ภูมิภูเบศร ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรครบวงจร ภายใต้แนวคิดการพึ่งพาตนเอง เกี่ยวกับ การดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ประกอบด้วย (1) เรือนหมอพลอย (2) สวนสมุนไพรภูมิภูเบศร และ (3) อภัยภูเบศรโมเดล กกกกกกก5. ภูมิปญั ญาหมอพนื้ บา้ น นายเดชา ศิรภิ ทั ร กกกกกกก4. นายเดชา ศิริภัทร หมอพื้นบ้าน ประธานมูลนิธิข้าวขวัญ เป็นผู้ท่ีได้นากัญชามารักษา โรคตามตารับยาพื้นบ้านไทยจากกระแสความนิยมที่มาจากตะวันตก ได้เริ่มทดลองใช้กัญชารักษา รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวิต 159 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

115588 ตตััววเเอองง โโดดยยนนาาคคววาามมรรูู้้พพื้้ืนนฐฐาานนใในนกกาารรสสกกััดดทที่ี่เเผผยยแแพพรร่่โโดดยย รริิคค ซซิิมมปป์์สสัันน ((RRiicckk SSiimmppssoonn)) ชชาาววออเเมมรริิกกัันนทท่ีี่ ปป่่ววยยเเปป็็นนโโรรคคมมะะเเรร็็งงแแลล้้ววสสกกััดดกกััญญชชาารรัักกษษาาโโรรคคมมะะเเรร็็งงทท่ี่ีตตััววเเอองงเเปป็็นนมมาาผผสสมมผผสสาานนกกัับบคคววาามมรรูู้้พพื้้ืนนบบ้้าานน เเปป็็นน นน้้าามมัันนเเดดชชาา ((DDeecchhaa OOiill)) นนาามมาาใใชช้้กกัับบตตนนเเอองงใในนกกาารรชช่่ววยยใใหห้้นนออนนหหลลัับบไไดด้้ลลึึกกขขึ้้ึนน หหลลงงลลืืมมงง่่าายย แแลละะตต้้ออเเนนืื้้ออ ใในนตตาาใในนชช่ว่วงง 44 -- 55 ปปีี ทที่่ีผผา่่านนมมาา จจึึงงขขยยาายยผผลลเเผผยยแแพพรร่่ ททาายยาาแแจจกกใใหห้้ผผ้ปูู้ปว่ว่ ยยโโรรคคตต่่าางง ๆๆ โโดดยยไไมมเเ่่ สสีียยคค่่าาใใชช้้จจา่า่ ยย เเปป็็นนจจาานนววนนมมาากกกกวว่่าา 44,,000000 รราายย ปปััจจจจุุบบัันน นน้้าามมัันนเเดดชชาาไไดด้้รรัับบกกาารรรรัับบรรอองงใใหห้้เเปป็็นนตตาารรัับบยยาาพพ้ื้ืนนบบ้้าานน ขขอองง กกรระะททรรววงงสสาาธธาารรณณสสุุขข ซซ่ึึ่งงหหมมออพพ้ืื้นนบบ้้าานนผผูู้้เเปป็็นนเเจจ้้าาขขอองงตตาารรัับบยยาาสสาามมาารรถถจจ่่าายยใใหห้้กกัับบผผูู้้ปป่่ววยยขขอองงตตนนเเอองงไไดด้้ แแลละะ กกรระะททรรววงงสสาาธธาารรณณสสุุขขออยยูู่่รระะหหวว่่าางงททาากกาารรววิิจจััยยเเพพื่ื่ออววิิจจััยยพพิิสสููจจนน์์ปปรระะสสิิททธธิิภภาาพพแแลละะคคววาามมปปลลออดดภภััยยขขอองงสสููตตรร กกาารรรรักักษษาาดดงัังกกลลา่า่ วว ผผลลกกาารรเเรรผยยีี ลนนกรราทูู้ท้ รค่ค่ีีเราายี ดดนหหรววู้ทังัง่คี าดหวัง 11.. เเพพื่่ืออใใหห้้ผผูู้้เเรรีียยนนมมีีคคววาามมรรูู้้ คคววาามมเเขข้้าาใใจจ เเกกีี่่ยยววกกัับบปปรระะววััตติิคคววาามมเเปป็็นนมมาากกาารรใใชช้้กกััญญชชาาเเปป็็นนยยาา ททาางงกกาารรแแพพททยย์์ใในนตต่่าางงปปรระะเเททศศ แแลละะใในนกกาารรแแพพททยย์์ททาางงเเลลืืออกกขขอองงไไททยย ตตาารรัับบยยาาททีี่่มมีีกกััญญชชาาเเปป็็นน สส่่ววนนปปรระะกกออบบทที่ี่ไไดด้้มมีีกกาารรคคััดดเเลลืืออกกแแลละะรรัับบรรอองงโโดดยยกกรระะททรรววงงสสาาธธาารรณณสสุุขข ภภููมมิิภภููเเบบศศรรรรววบบรรววมมแแลละะ เเผผยยแแพพรร่่ภภููมมิิปปััญญญญาาไไททยย แแลละะภภูมมู ิปิปญัญั ญญาาหหมมออพพ้น้ืนื บบาา้้ นน นนาายยเเดดชชาา ศศิริรภิภิ ััททรร 22.. เเพพ่อื่อื ใใหห้้ผผูู้้เเรรีียยนนมมีีททัักกษษะะกกาารรแแสสววงงหหาาคคววาามมรรูู้้ แแลละะททัักกษษะะกกาารรคคิิดดววิิเเคครราาะะหห์์ รรววมมททั้ั้งงสสาามมาารรถถ นนาาคคววาามมรรูู้้ททีี่่ไไดด้้จจาากกกกาารรศศึึกกษษาากกััญญชชาากกัับบกกาารรแแพพททยย์์ททาางงเเลลืืออกกไไปปแแนนะะนนาาบบุุคคคคลลใในนคครรออบบคครรััวว หหรรืืออ เเพพ่ื่ืออนน หหรรอืือ ชชมมุุ ชชนน 33.. ตตรระะหหนนัักกถถึึงงคคุุณณคค่่าา คคววาามมสสาาคคััญญ ขขอองงกกััญญชชาากกัับบกกาารรแแพพททยย์์ททาางงเเลลืืออกก โโดดยยเเฉฉพพาาะะภภููมมิิปปััญญญญาา ภภููมมิิภภููเเบบศศรรรรววบบรรววมม แแลละะเเผผยยแแพพรร่่ภภููมมิิปปััญญญญาาไไททยยแแลละะตตรระะหหนนัักกถถึึงงภภููมมิิปปััญญญญาาหหมมออพพืื้้นนบบ้้าานน นนาายยเเดดชชาา ศศิิรริิภภััททรร กกบับั กกาารรใใชชก้้กัญญั ชชาาเเปป็นน็ ยยาา ขขออบบขข่่าายยขเเอนนบ้้ือือขหหา่าายเน้ือหา กกกกกกกกกกกกกกบบทททท่่ีี 55 กกญัญั ชชาาแแลละะกกััญญชชงงกกับบั กกาารรแแพพททยย์์แแผผนนไไททยยแแลละะกกาารรแแพพททยย์์ททาางงเเลลืืออกก มมีีขขออบบขข่า่ายยเเนน้ือื้อหหาา ดดัังงนน้ี้ี กกกกกกกกกกกกกกบบททททีี่่ 55 เเรร่ออ่ืื งงทท่ี่ี 11 ปปรระะววตัตั ิคิคววาามมเเปปน็น็ มมาากกาารรใใชช้้กกัญัญชชาาเเปปน็็นยยาาททาางงกกาารรแแพพททยยใ์์ในนตตา่า่ งงปปรระะเเททศศ กกกกกกกกกกกกกกบบททททีี่่ 55 เเรรื่ืออ่ งงทที่ี่ 22 ปปรระะววััตติิคคววาามมเเปป็็นนมมาากกาารรใใชช้้กกััญญชชาาใในนกกาารรแแพพททยย์์ททาางงเเลลือือกกขขอองงไไททยย กกกกกกกกกกกกกกบบทททที่ี่ 55 เเรร่ืออ่ื งงทที่ี่ 33 ตตาารรับับยยาาทท่มมีี่ ีีกกญััญชชาาเเปป็นน็ สส่ว่วนนปปรระะกกออบบทที่ี่ไไดด้้มมีีกกาารรคคดัดั เเลลืืออกก แแลละะรรับบั รรอองงโโดดยย กกกกกกกกกกกกกกบบททททีี่่ 55 เเรร่ื่อืองงทที่ี่ 33 กกรระะททรรววงงสสาาธธาารรณณสสขุุข กกกกกกกกกกกกกกบบททททีี่่ 55 เเรรื่ออ่ื งงทท่่ีี 44 ภภูมูมภิิภเเูู บบศศรรรรววบบรรววมมแแลละะเเผผยยแแพพรร่ภภ่ ูมมู ปิปิ ญญัั ญญาาไไททยย กกกกกกกกกกกกกกบบททททีี่่ 55 เเรรื่ออ่ื งงทที่ี่ 55 ภภมููมปปิิ ญัญั ญญาาหหมมออพพืนนื้้ บบ้า้านน นนาายยเเดดชชาา ศศริริ ิภภิ ททัั รร 160 หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

159 สื่อประกสอือ่ บปกราะรกเรอยี บนการเรียน กกกกกกก1. ช่อื หนงั สือ สาระทักษะการดาเนินชีวิต รายวชิ า ทช33098 กัญชาศึกษา ใช้เป็นยาอยา่ ง ชาญฉลาด ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ผู้เขยี น สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์ เอกพิมพไ์ ท ปีท่พี ิมพ์ 2562 กกกกกกก2. ชอ่ื หนังสือ สุริยันกัญชา อัมฤตย์โอสถแห่งความหวัง ผู้เขียน ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ สานกั พิมพ์ บา้ นพระอาทติ ย์ ปีท่พี ิมพ์ 2562 กกกกกกก3. ชอื่ หนงั สอื กัญชารกั ษามะเรง็ ผเู้ ขียน สมยศ ศุภกิจไพบลู ย์ สานักพมิ พป์ ญั ญาชน ปีทพี่ ิมพ์ 2562 กกกกกกก4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง กาหนดตารับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ท่ีมีกัญชา ปรุงผสมอยู่ ท่ีให้เสพเพอ่ื รักษาโรคหรอื การศึกษาวจิ ยั ได้ ปที ีป่ ระกาศ 2562 กกกกกกก5. ภมู ปิ ัญญานายเดชา ศิริภทั ร ทอ่ี ยู่ 13/1 หมู่ที่ 3 ถนนเทศบาลท่าเสด็จ 1 ซอย 6 ตาบล สระแก้ว อาเภอเมืองสพุ รรณบรุ ี จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี กกกกกกก6. ภูมภิ ูเบศร ตาบลบางเดชะ อาเภอเมืองปราจีนบรุ ี จงั หวัดปราจีนบุรี 25000 หมายเลข โทรศัพท์ 097 097 3582 เรือ่ งทเร่ี ื่อ1งทปี่ ร1ะวปตั รคิ ะววาตั มคิ เวปาน็ มมเาปกน็ ามราใชกา้กรญั ใชชก้าญัเปชน็ ายเาปใ็นนยทาาใงนกทาารงแกพาทรแยพใ์ นทตย่าใ์ งนปตร่าะงเปทรศะเทศ ประวัติศาสตร์กับการใช้กัญชาทางการแพทย์ในอดีต กัญชาถูกบันทึกว่ามีการใช้เพื่อ บาบัดรักษาอาการของโรคต่าง ๆ มาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยพบหลักฐานบันทึกที่เก่าแก่ท่ีสุดย้อนไป เม่ือ 4,700 ปกี อ่ น และได้มีการบันทึกไว้ว่ากัญชาสามารถใชร้ ักษาโรคได้มากกวา่ 100 ชนดิ ในประเทศอินเดียเมื่อ 4,000 ปี ก่อนในคัมภีร์ของศาสนาฮินดูว่า กัญชาเป็น 1 ใน 5 สมุนไพรทส่ี าคญั ทีใ่ ช้ในการบูชาพระศิวะ มีสรรพคณุ สร้างความสุขและอสิ รภาพ 2,737 ปี ก่อนคริสต์ศักราช (BCE) กัญชาถูกใช้เป็นยาโดยจักรพรรดิ เซ็น นึง (Shen Nung) แห่งราชอาณาจักรจีน บันทึกในตารายาเก่าแก่ของจีน ใช้กัญชาเป็นยารักษาข้ออักเสบ มาลาเรีย เหน็บชา ทอ้ งผูก อาการเหมอ่ ลอย ค.ศ. 70 หรือ พ.ศ. 613 ไดออสคอรีตส์ (Dioscorides) แพทย์ทหารผู้เขียนหนังสือเรือ่ ง เดอ มะทีเรียะ เมด-อิค (De Materia Medica) ตาราพืชสมุนไพรในแถบเมดิเตอร์เรเนียน ที่ถือเป็น ตาราทางด้านสมนุ ไพรรักษาโรคทดี่ ที ่สี ุดในยุคน้ัน ได้บรรจกุ ญั ชาเปน็ ส่วนหน่งึ ในตารบั ยาของเขา ค.ศ. 1000 หรอื พ.ศ.1543 ในดนิ แดนท่ีเรียกว่าเปอรเ์ ซีย หรือบริเวณประเทศอิหรา่ นใน ปัจจุบัน หมอ อวิเซนน่า (Avicenna) เขียนในตาราแพทย์สมัยน้ันระบุว่า กัญชาใช้เป็นยารักษาโรคเก๊าต์ อาการบวม แผลตดิ เช้อื และอาการปวดศรี ษะอย่างรนุ แรงไดผ้ ลดี รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวิต 161 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

116600 คค..ศศ.. 11556633 หหรรืืออ พพ..ศศ.. 22110066 กกาารร์์ซซีีออาา ดดืืออ ออออรร์์ตตาา ((GGaarrccuuaa ddaa OOrrttaa)) แแพพททยย์์ชชาาววโโปปรรตตุุเเกกสส รราายยงงาานนเเกก่ยย่ีี ววกกับบั คคณุณุ ปปรระะโโยยชชนน์ทท์ าางงดด้าา้ นนยยาาขขอองงกกญัญั ชชาา คค..ศศ.. 11662211 หหรรืืออ พพ..ศศ.. 22116644 หหนนัังงสสืืออชชืื่่ออ TThhee AAnnaattoommyy ooff MMeellaanncchhoollyy เเขขีียยนนโโดดยย โโรรเเบบิิรร์์ตต เเบบออรร์์ตตัันน ((RRoobbeerrtt BBuurrttoonn)) ผผูู้้เเชช่ี่ียยววชชาาญญดด้้าานนโโรรคคซซึึมมเเศศรร้้าาจจาากกมมหหาาววิิททยยาาลลััยย OOxxffoorrdd รระะบบุุวว่่าา กกญััญชชาาออาาจจชช่วว่ ยยรรกัักษษาาออาากกาารรขขอองงโโรรคคซซึมึมเเศศรรา้า้ ไไดด้้ คค..ศศ.. 11776644 หหรรืออื พพ..ศศ.. 22330077 กกาารรใใชช้้กกััญญชชาาททาางงกกาารรแแพพททยย์์ เเรริ่่ิมมเเกกิิดดขขึ้ึ้นนใในนสสหหรรััฐฐออเเมมรริกกิ าา โโดดยย รรัฐฐั แแรรกกทท่มี่มี ีกกี าารรใใชช้นน้ ่าา่ จจะะเเปปน็็น NNeeww EEnnggllaanndd ปปรราากกฏฏมมีกีกาารรขขาายยยยาาททม่ีมี่ กีีกัญัญชชาาเเปป็นน็ สส่วว่ นนผผสสมม คค..ศศ.. 11885511 หหรรืืออ พพ..ศศ.. 22339944 กกััญญชชาาไไดด้้รรัับบกกาารรบบรรรรจจุุออยยูู่่ใในนตตาารราายยาาขขอองงสสหหรรััฐฐออเเมมรริิกกาา แแตต่่ ตตอ่อ่ มมาา ใในนปปีี คค..ศศ.. 11994422 ไไดด้ถถ้ กูกู ถถออดดถถออนนออออกกไไปป นนาายยแแพพททยย์์ จจออหห์์นน รรััสสเเซซลล เเรรโโนนลลสส์์ ((JJoohhnn RRuusssseellll RReeyynnoollddss)) แแพพททยย์์ปปรระะจจาารราาชชสสาานนัักก ออัังงกกฤฤษษ ไไดด้้บบัันนททึึกกปปรระะสสบบกกาารรณณ์์กกาารรใใชช้้กกััญญชชาารรัักกษษาาโโรรคคใในนรระะยยะะเเววลลาา 3300 ปปีีขขอองงตตนน ตตีีพพิิมมพพ์์ใในนววาารรสสาารร แแลลนนเเซซตต ปปีี คค..ศศ.. 11889900 หหรรืืออเเมมื่่ืออปปรระะมมาาณณ 113300 ปปีีมมาาแแลล้ว้ว โโดดยยไไดด้้บบรรรรยยาายยกกาารรใใชช้้กกััญญชชาารรักักษษาาโโรรคคตต่่าางง ๆๆ ใในนรรููปปแแบบบบททิงิงเเจจออรรข์์ขนนาาดด 1155 -- 2200 มมิิลลลลิิกกรรััมม พพบบววา่่า ไไดด้ผผ้ ลลดดีีใในนโโรรคคคคววาามมผผิดิดปปกกตติททิ าางงจจติติ ใใจจ ไไดดแ้แ้ กก่่ ออาากกาารร นนออนนไไมมห่ห่ ลลบัับ กกรระะสสับับกกรระะสส่่าายย ภภาาววะะซซมึึมเเศศรร้าา้ โโดดยยเเฉฉพพาาะะใในนผผสูู้้สููงงออาายยุุ คคววาามมเเจจ็็บบปปววดดแแลละะออาากกาารรชชาา ไไดด้้แแกก่่ ออาากกาารรปปววดดททุุกกชชนนิิดด โโดดยยเเฉฉพพาาะะออาากกาารรปปววดดจจาากกรระะบบบบปปรระะสสาาทท ออาากกาารรปปววดดเเรร้ื้ืออรรังัง ปปววดดไไมมเเกกรรนน ปปววดดขข้้ออ ออาากกาารรชชาาแแขขนนขขาา ปปววดดปปรระะจจาาเเดดืืออนน โโรรคคกกลล้้าามมเเนน้ืื้ออกกรระะตตุุกกเเกกรร็็งง ออาากกาารรชชัักกบบาางงชชนนิิดด กกลล้้าามมเเนนื้ื้ออขขาาเเปป็็นน ตตะะคครริิววเเววลลาากกลลาางงคคืืนน แแลละะสสาามมาารรถถใใชช้้รรัักกษษาาโโรรคคออื่่ืนน ๆๆ ไไดด้้ดด้้ววยย ไไดด้้แแกก่่ หหออบบหหืืดด แแตต่่กกาารรใใชช้้กกััญญชชาาททาางง กกาารรแแพพททยย์กก์ ต็ต็ อ้้องงยยตุุตลิลิ งงเเชชน่น่ เเดดยียี ววกกับับสสหหรรัฐัฐออเเมมรรกิกิ าา กกกกกกกกกกกกกกกกลลา่่าววโโดดยยสสรรปุุป ใในนตตา่า่ งงปปรระะเเททศศ พพบบหหลลกัักฐฐาานนบบนัันททึกกึ ไไววว้ว้ า่า่ มมกีีกาารรใใชชก้ก้ ัญญั ชชาาเเปปน็น็ ยยาารรกัักษษาา หหรรือือคคววบบคคุุมม ออาากกาารรขขอองงโโรรคคตตา่า่ งง ๆๆ ใในนททววีีปปยยุโโุ รรปป ไไดดแ้้แกก่่ โโปปรรตตุุเเกกสส สสหหรรัฐฐั ออเเมมรรกิิกาา อองัังกกฤฤษษ ใในนททววีปีปเเออเเชชีียย ไไดด้แแ้ กก่่ ปปรระะเเททศศจจีีนน ออินินเเดดียยี แแลละะออหิหิ รรา่า่ นน มมาาออยยา่า่ งงชช้า้านนาานน ใในนบบาางงปปรระะเเททศศมมหีหี ลลักักฐฐาานนววา่า่ เเคคยยมมีกกี าารรใใชช้ก้กัญัญชชาามมาานนาานนกกววา่า่ 44,,770000 ปปีี เเรรื่่ออื งงทท่ีี่ 22เรอื่ ปปงรรทะะี่ วว2ััตติิคคปววระาาวมมตัเเปปคิ ็็นนวามมมาาเกกปาาน็ รรมใใาชชก้้กกาััญญรใชชชาาก้ ใใัญนนชกกาาใรรนแแกพพาททรแยยพ์์ทททาางงยเเ์ทลลาืออื งกกเขขลืออกงงไไขททอยยงไทย เเรรื่ื่อองงทท่ี่ี 22 กกาารรใใชช้้กกััญญชชาาเเปป็็นนยยาาใในนปปรระะเเททศศไไททยย มมีีททัั้้งงหหลลัักกฐฐาานนทท่่ีีมมีีกกาารรบบัันนททึึกกใในนตตาารราาททาางงกกาารรแแพพททยย์์ แแผผนนไไททยย แแลละะกกาารรใใชช้้ขขอองงชชาาววบบ้้าานน ใในนสส่่ววนนทท่ีี่บบัันนททึึกกใในนตตาารราาททาางงกกาารรแแพพททยย์์แแผผนนไไททยย กกััญญชชาามมัักกเเปป็็นนหหนนึึ่่งงใในนนน้ั้ันน โโดดยยตตาารรัับบยยาากกััญญชชาาทที่ี่ชชาาววบบ้้าานนใใชช้้จจะะใใชช้้รรัักกษษาาโโรรคคแแลละะออาากกาารรงง่่าายย ๆๆ มมัักกจจะะใใชช้้ตตััววเเดดีียยววหหรรืืออมมีีสสมมุุนนไไพพรรออื่่ืนน เเปป็็นนสส่่ววนนปปรระะกกออบบเเพพีียยงงไไมม่่กกีี่่ชชนนิิดด ตตาารรัับบยยาาททีี่่เเขข้้าากกััญญชชาาใในนททาางงกกาารรแแพพททยย์์แแผผนนไไททยย แแลละะกกาารรแแพพททยย์์ พพน้ืน้ื บบ้้าานน มมัักกจจะะใใชช้้กกาารรททาาเเปปน็น็ ยยาาผผงง ยยาาตตม้้ม ยยาาภภาายยนนออกก มมยีียาาพพออกก ยยาานน้้าามมัันน ไไมม่่พพบบยยาาเเคคย่ียี่ ววนน้้าามมนันั ทท่ีี่นนาามมาา กกินนิ หหรรืออื หหยยดดใใตตลล้้ ้ินิน้ ตตาารรบบัั ยยาาทท่ม่ีมี ีกีกญัญั ชชาาเเปป็็นนสส่่ววนนปปรระะกกออบบมมคคีี ววาามมเเปป็นน็ มมาาแแลละะรราายยลละะเเออยยีี ดดดดัังงตต่่ออไไปปนน้้ีี 162 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ เพ่ือใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

161 1. สมยั สมเด็จพระนารายณม์ หาราช (พ.ศ. 2174 - 2231) ประเทศไทยมีการใช้กัญชาเพื่อการรักษาโรคมาเป็นเวลานาน โดยมีหลักฐานเป็น ตารับยาสืบค้นกันไปได้ถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ดังปรากฏใน คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน (ตาราพระโอสถพระนารายณ์) เน่ืองจากเป็นต้นสาแหรกของตาราการแพทย์แผนไทย และเภสัช ตารับฉบับแรกของประเทศไทย เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของบรรพชนได้สะสมองค์ความรู้ พัฒนา และถ่ายทอดสืบเนอื่ งกันมา ตั้งแต่สมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช สะท้อนคุณค่าท้ังทางดา้ น ประวัติศาสตร์ สังคม และการแพทย์แผนไทยในสมัยอยุธยาตอนปลาย รวมทั้งมีการอธิบายถึงทฤษฎี การแพทย์แผนไทย สมมุติฐานของโรค ความผิดปกติของธาตุท้งั 4 วธิ ีการ และข้ันตอนในการรักษาของ ผคู้ นในสังคมในสมัยอยุธยา การปรุงยา และสตู รตารับทีใ่ ช้สมุนไพรไทย และสมุนไพรจากตา่ งประเทศ จานวน 81 ตารบั ในสมยั อยุธยาเรยี ก “กญั ชา” ว่า “การชา” ภาพท่ี 58 ชุดตาราภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยฉบบั อนรุ ักษ์ คมั ภรี ธ์ าตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน (ตาราพระโอสถพระนารายณ)์ “หมอสยามไม่พยายามที่จะศึกษาสรรพคุณของตัวยาแต่ละชนิด นอกจาก จะถือเอาตามตารับที่ ปู่ ยา่ ตา ยาย สง่ั สอนตอ่ ๆ กันมาเท่านั้น และเขาจะไม่ปรับปรุงแก้ไขตารบั นั้น แต่ประการใดเลย หมอสยามมิพักพะวงถึงลักษณะอาการเฉพาะโรคแต่ละโรค แม้กระนั้นก็ยังบาบัด ให้หายไปได้มิใช่น้อย ท้ังน้ี ก็เพราะชาวสยามไม่ค่อยด่ืมเครอ่ื งของดองของเมามากนัก จึงเป็นเคร่ืองให้ พน้ ภยั จากโรคทีร่ กั ษาให้หายยากเป็นอนั มาก” รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ 163 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

162 ข้อความข้างต้น เป็นส่วนหน่ึงของการเขียนจดหมายเหตุพระราชพงศาวดารสยาม คร้ังกรงุ ศรีอยุธยา โดย ซมี ง เดอ ลา ลูแบร์ (Simon de La Loubere) เอกอัครราชทูตจากราชสานัก สมเด็จพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝร่ังเศส ซึ่งเข้ามาในกรุงสยามประมาณ 3 เดือน ระหว่าง พ.ศ. 2230 -พ.ศ. 2231 ท้ังน้ี ในสมัยอยุธยาตอนปลาย มีหลักฐานสาคัญช้ินหนึ่งที่จัดเป็นเอกสารประวัติศาสตร์ ชิ้นแรก ที่บันทึกภูมิปัญญาไทยในการใช้ยาสมุนไพรไว้อย่างเป็นระบบ คือ “ตาราพระโอสถ พระนารายณ์” ซึ่งตารานี้สืบทอดมาถึงปัจจุบันได้อย่างเกือบสมบูรณ์จะมคี ลาดเคลื่อนไปบ้างก็ในการ คดั ลอกชื่อสมุนไพร ชอ่ื โรค หรอื อาการของโรค หรือศพั ทบ์ างคาผดิ เพ้ียนไปบ้างเท่านั้น ตาราพระโอสถพระนารายณ์ ไดม้ ีการสรปุ ทฤษฎีการแพทยแ์ ผนไทยในยุคน้ันไว้อย่าง กระชบั และไดใ้ จความใน 1 ยอ่ หน้า พร้อมกับระบุตาราอา้ งอิงไว้อกี อย่างนอ้ ย 2 เล่ม คอื “คัมภีร์มหา โชติรัต” อนั เป็นตาราเก่ียวกับโรคสตรี และ “คมั ภีร์โรคนทิ าน” อนั เป็นตาราเกย่ี วกับเรื่องราวของโรค หรือเหตุแห่งโรค โดยเฉพาะตารายาไทยท่ีมีการใช้ “กัญชา” เข้าไปเป็นองค์ประกอบด้วยนั้นมีท้ังส้ิน 4 ขนาน จากจานวนตารับยาทั้งส้ิน 81 ขนาน ดังน้ี คือตารับยาขนานท่ี 11 อัคคินีวคณะ ตารับยา ขนานที่ 43 ยาทิพากาศ ตารับยาขนานท่ี 44 ยาศุขไสยาศน์ และตารับยาขนานที่ 55 ยามหาวัฒนะ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ตารับยาขนานท่ี 11 ชอื่ อคั คนิ ีวคณะ ใหน้ าส่วนผสม “กัญชา ยิงสม ส่ิงละส่วน เปลือกอบเชย ใบกระวาน กานพลู สค้าน ส่ิงละ 2 ส่วน กระท้าเปน็ จณุ น้าผ้ึงรวงเป็นกระสายยา ดีปลี ส่ิงละ 4 สว่ น น้าตาลกรวด 6 ส่วน กระท้าเปน็ จุณน้าผ้ึง รวงเป็นกระสายยา บดเสวยหนักสลึง 1 แก้อาเจียน 4 ประการ ดว้ ยติกกะขาคินีก้าเริบ และวิสมามัน ทาคินีอันทุพล จึงคลื่นเหียนอาเจียน มิให้เสวยพระกระยาหาร เสวยมีรศชูก้าลังยิ่งนัก ” ขา้ พระพุทธเจ้า ขุนประสทิ ธิโอสถจีน ประกอบทลู เกล้าฯ ถวาย ครั้งสมเด็จพระนารายณ์เป็นเจ้าเมือง ลพบรุ ี เสวยเพลาเขา้ อัตรา ดีนกั แลฯ สาหรับยา “อัคคินีวคณะ” นี้ได้มีการวิเคราะห์ในคาอธิบายตาราพระโอสถ พระนารายณ์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542 ความตอน หน่ึงว่า “กัญชาที่ใช้ในปริมาณน้อย ๆ เช่นที่ใช้ในตารับนี้ คนไทยรู้จักใช้ในการปรุงแต่งอาหารมาแต่ โบราณ” เพ่ือช่วยให้กินอาหารได้อร่อยข้ึน กินข้าวได้มากข้ึน เป็นยาเจริญอาหาร ปจั จุบันพสิ ูจน์ได้ใน เชิงวทิ ยาศาสตร์แล้วว่า ในกญั ชามสี ารทช่ี ว่ ยให้กนิ อาหารไดม้ รี สชาตมิ ากข้นึ และกินได้ในปริมาณมาก ภมู ปิ ัญญาการใช้ “อัคคนิ ีวคณะ” ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์นั้น นา่ จะถูกสืบทอดตอ่ กนั มาจนถึงสมัย รัตนโกสินทร์ได้สาเร็จ เพราะตารบั ยาขนานน้ียังมีความคลา้ ยคลึงกับยาขนานหนง่ึ ในตารายาท่ีปรากฏ ในศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว (รชั กาลที่ 3 แหง่ ราชวงศ์จกั รี) ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ ม ให้จารึกไว้เมอ่ื พ.ศ. 2375 164 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ติ เพื่อใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

163 นอกจากน้ันวิชาความรู้ดังกล่าวยังสืบทอดต่อกันมาจนปรากฏในคัมภีร์แพทย์แผน ไทยโบราณเล่ม 3 เขยี นโดยขนุ โสภติ บรรณลกั ษณ์ (อาพัน กิตติขจร) ความว่า “ยาเจริญธาตุ เอากัญชา โสม อบเชยญวณ เอาสิ่งละ 1 สลึง ใบกระวาน กานพลู สะค้าน เอาส่ิงละ 2 สลึง ขิงแห้ง 3 สลึง เจ็ตมูลเพลิง ดีปลี ส่ิงละ 1 บาท น้าตาลกรวด 6 สลึง บดละลายน้าผึง้ กนิ แกก้ นิ ขา้ วไม่ได้ นอนไมห่ ลับ” ตารบั ยา“อัคคนิ ีวคณะ” นอกจากจะสะท้อนใหเ้ ห็นภมู ิปญั ญาไทยท่มี ีความชาญฉลาด รจู้ ัก“ประยกุ ตแ์ ละบูรณาการ” สมุนไพรจากชาติอืน่ แล้ว ยังมีเรื่องที่นา่ ยินดีว่าตารับยาน้ีน่าจะสบื ทอด จนถึงกรุงรัตนโกสนิ ทร์ไดโ้ ดยถกู นามาบนั ทกึ ใช้ในตาราแพทย์แผนไทยอีกหลายยุคหลายสมัย ตารับยาขนานที่ 43 ช่ือ “ทพิ ากาศ” ให้นาส่วนผสม “ ทิพากาศ เอายาด้า เทียนด้า ลูกจันทน์ ดอกจันทร์ กระวาน พิมเสน ส่ิงละส่วน การบูร 4 ส่วน ฝ่ิน 8 ส่วน ใบกัญชา 16 ส่วน สุราเป็นกระสายบดท้าแท่ง น้ากระสายใช้ให้ชอบโรค ร้อน และเย็น กินพอควร แก้สารพัดทั้งหลายอันให้ระส่้าระสาย กินข้าวมิได้ นอนมิหลับ ตกบุพโพ โลหิต ลงแดง หายแลฯ ” สาหรับ “ยาทิพากาศ” น้ีได้ปรากฏมีการวิเคราะห์ในคาอธิบายตาราพระโอสถ พระนารายณ์ ฉบับเฉลมิ พระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542 ความตอนหน่ึงว่า “ยาทิพากาศเป็นยาขนานท่ี 43 ที่บันทึกไว้ในตาราพระโอสถพระนารายณ์ ใช้แก้ “สารพัดท้ังหลาย อันให้ระส่าระสาย” คือ ใช้แก้ความไม่สบายทุกอย่าง โดยเฉพาะที่ทาให้ “กินเข้า (กินข้าว)” ไม่ได้ นอนไม่หลบั ตกเลอื ด ตกหนอง ลงแดง ตามที่บนั ทึกไว้ ท้ังนี้ กัญชาและฝิ่น เป็นยาท่ีทาให้กินข้าวได้ นอนหลับ ไม่รู้สึกเจ็บปวดทรมาน ยาดาท่ี ใช้ในตารับนี้เป็นยาถ่าย โดยโบราณเช่ือว่าเม่ือถ่ายได้ ก็จะกินได้ ผู้ป่วยก็จะแข็งแรงและรู้สึกดีข้ึนเอง สว่ นเทียนดา ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน พิมเสน และการบูร เป็นยาขับลม และอาจแสดงฤทธิ์อ่ืน ๆ ตาราพระโอสถพระนารายณ์ ให้เอาเครื่องยาท้ังหมดบด ทาเป็นแท่ง โดยใช้สุรา (เหล้า) เป็นกระสาย เม่อื จะกินก็ใหล้ ะลายนา้ กระสาย โดยให้เลือกน้ากระสายใหถ้ ูกกับโรคว่ารอ้ นหรอื เยน็ ” ตารับยาขนานท่ี 44 ชื่อ “สขุ ไสยาศน์” (ปจั จุบนั ใชค้ าว่า ศขุ ไสยาศน)์ ให้นาส่วนผสม สุขไสยาศน์ เอาการบูร 1 ส่วน ใบสะเดา 2 ส่วน สหัศคุณเทศ 3 ส่วน สมุลแว้ง 4 ส่วน เทียนด้า 5 ส่วน โกฏกระดูก 6 ส่วน ลูกจันทร์ 7 สว่ น ดอกบุนนาค 8 ส่วน พริกไทย 9 ส่วน ขิงแห้ง 10 ส่วน ดีปลี 11 ส่วน ใบกัญชา 12 ส่วน ท้าเป็นจุณ ละลายน้าผึ้ง เมื่อจะกินเสกด้วยสัพพตี ิโย 3 จบ แล้วกินพอควร แก้สรรพโรคทง้ั ปวงหายสนิ้ มีกา้ ลงั กินเขา้ ไดน้ อนเปน็ ศุขนกั แลฯ ” สาหรับ “สุขไสยาศน์” น้ีได้ปรากฏการวิเคราะห์ในคาอธิบายตาราพระโอสถ พระนารายณ์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542 ความตอน หน่ึงว่า “ยาศุขไสยาศน์ เป็นยาขนานท่ี 44 ที่บันทึกไว้ในตาราพระโอสถพระนารายณ์ มีสรรพคุณ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เป็นยา หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ 165 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

164 ครอบจักรวาล แก้ได้ “สรรพโรค” กินแล้วจะทาให้มีกาลัง กินข้าวได้ นอนหลับสบาย นอกจากจะนา เครื่องยามาบดให้ละเอียด ละลายน้าผึ้งแลว้ เมื่อจะกินก็ให้เสกด้วย “สัพพตี ิโย” 3 จบ โดยยาขนานน้ี เป็นยาที่ทาให้สบายตัว นอนหลับสบาย และเจริญอาหาร ท้ังนี้ “สัพพีติโย” เป็นบทสวดอนุโมทนา พระใช้สวดใหพ้ รญาตโิ ยมในโอกาสต่าง ๆ บทสวดนมี้ ีเนอ้ื ความ ดังน้ี “สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสันตุ มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ อภิวาทะนะสีสีสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน จัตตาโร ธรรมาวัฑฒันติ อายุ วณั โณ สุขัง พะลัง” แปลได้ว่า “ความจัญไรทั้งปวงจงบาราศไป โรคทั้งปวงของท่านจงหาย อันตรายจงอย่ามีแก่ท่าน ขอท่านจงเป็นผู้มีความสุขและมีอายุยืน พร 4 ประการ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ย่อมเกิดแก่ท่านซ่ึง เปน็ บุคคลผกู้ ราบไวแ้ ละออ่ นนอ้ มต่อผ้ใู หญเ่ ปน็ นิจ” ตารับยาขนานท่ี 55 “ยามหาวฒั นะ” ให้นาสว่ นผสม เทียนสัตบุษ เทียนเยาวภานี โกฏสอ โกฏเขมา โกฏกัตรา โกฏพุงปลา บรเพ็ด ใบกันชา สหัสคุณท้ัง 2 ลูกพิลังกาสา รากไคร้เครือ แห้วหมูใหญ่ ขมิ้นอ้อย พริกหอม พริกหาง สิ่งละ 2 ส่วน ดีปลีเท่ายาทั้งนั้น จึงเอาใบกระเพราแห้ง 2 เท่าดีปลี จึงจะรู้จักคุณยาเห็นประจักษ์อันวิเศษ แก้ฉันนวตุ ติโรค 96 ประการใหก้ ับพยาธิทง้ั หลายทุกประการดีนักแลฯ” สาหรับยา “ยามหาวัฒนะ” น้ีได้ปรากฏมีการวิเคราะห์ในคาอธิบายตาราพระโอสถ พระนารายณ์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542 ความตอน หนึ่งว่า ยามหาวัฒนะเป็นยาขนานท่ี 55 ท่ีบันทึกไว้ในตาราพระโอสถพระนารายณ์ ยาขนานนี้เข้า เครื่องยา 25 ส่ิง ตามที่ระบุเอาไว้ โดยมดี ีปลีเท่ายาทั้งหลายคอื 42 สว่ น และใบกระเพราแห้งปรมิ าณ 2 เทา่ ของดีปลี คือ 84 ส่วน ผสมกัน บดให้ละเอยี ด ผสมนา้ ผงึ้ รวง ปั้นเปน็ ลกู กลอน กินครั้งละ 1 สลึง ทุกวันให้ครบ 1 เดือน ก็จะเห็นผลอันวิเศษของยานี้ ซ่ึงตาราพระโอสถพระนารายณ์บันทึกไว้ว่าใช้แก้ ฉนั นวตุ ตโิ รค 96 ประการ กบั ความไมส่ บายทง้ั หลายทุกอยา่ ง 2. สมยั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลยั (รัชกาลที่ 2 พ.ศ. 2352 - 2367) ทรงมีบทบาทสาคัญอย่างยิ่ง ดังจะเห็นได้ว่า หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งท่ี 2 เป็น ต้นมา ตารับตาราแพทย์แผนไทยจานวนมากถูกเผา สูญหาย กระจัดกระจาย ไม่มีใครคาดคิดว่าจะมี ใครสามารถรวบรวมตาราพระโอสถพระนารายณ์สืบทอดกลับมาได้อีก แต่เดชะบุญของวงการแพทย์ แผนไทย ที่รัชกาลที่ 2 ทรงให้รวบรวมคัมภีร์แพทย์ที่กระจัดกระจายมารวบรวมไว้ ณ โรงพระโอสถ โดยมีพระราชโองการ ให้ผู้มีความรู้ ผู้ชานาญการรักษาโรค ผู้ท่ีมีความรู้ด้านการปรุงยา หมอหลวง หมอเชลยศักดิ์ และราษฎรท่ีมีตารายา ช่วยกันรวบรวมข้อมูลเป็นตาราหลวงสาหรับโรงพระโอสถ ซ่ึงตาราทั้งหมดท่ีทาการรวบรวมมา แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2355 และมีการตรวจสอบข้อมูลเพื่อความ ถูกต้องอย่างละเอียด ต่อมาในปี พ.ศ. 2359 ได้มีการตั้งกฎหมายท่ีชื่อว่า “กฎหมายพนักงาน พระโอสถถวาย” ภายหลังจากที่มีการแพร่ระบาดของอหิวาตกโรค หรือเรียกว่าโรคห่า ครั้งรุนแรงใน 166 หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต เพอ่ื ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

165 ระหว่างปี พ.ศ. 2363 - 2365 พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลัย ได้โปรดเกลา้ โปรดกระหม่อม พระราชทานตารับยาบางส่วน จารึกลงบนหินอ่อนเป็นรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส บริเวณผนังด้านนอกของ กาแพงพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร โดยในครั้งนั้น พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (ต่อมาทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยูห่ ัว รชั กาลท่ี 3) ได้เป็นผู้ทรงเลอื กตารายาบางส่วนจากคร้ังน้นั มาจารกึ บนหินอ่อน และประดับไว้ ที่วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร อันเป็นที่สาธารณะ เพ่ือเป็นวิทยาทานแก่ราษฎรโดยท่ัวไป แม้ว่าหลักฐาน ตารับยาจะสูญหายไปบางส่วน แต่จากการตรวจสอบ “ตาราพระโอสถ คร้ังรัชกาลที่ 2” เท่าท่ีเหลืออยู่ ซ่ึงมีจานวน 61 ตารับ พบว่าการใช้กัญชาเข้าในตารายานั้นมี 2 ขนานปรากฏใน “ตาราพระโอสถ” ว่าเป็นตารับยา 2 ใน 3 ขนาน ของหลวงทิพย์รักษา ทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายในขนานที่ 1 “แก้ลมเบื้องสูง” และ ขนานที่ 3 “แก้อุทธังคมาวาตา” ซ่ึงล้วนแต่เป็นโรคเก่ียวกบั ธาตุลมในแพทย์แผน ไทยท้ังส้ิน 3. สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอย่หู ัว (รชั กาลที่ 3 พ.ศ. 2367 - 2394) 3. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้บูรณปฏิสังขรณ์พระอารามวัดพระเชตุพน วิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) คร้ังใหญ่ พร้อมทั้งขยายอาณาเขตพระอาราม ใช้เวลานาน 16 ปี 7 เดอื น 3. สาหรับวิชาการแพทย์แผนไทยน้ัน พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้สืบเสาะหาตาราท่ีศักด์ิสิทธิ์ ตาราลักษณะโรคทั้งปวง ตามพระราชาคณะ ขา้ ราชการ ตลอดจนราษฎร มาจารึกในแผ่นศิลา โดยผู้ถวายตารายาต้องสาบานว่า ยาขนานน้ันตนเองได้ใช้เป็นผลดีและไม่ปิดบัง แล้วใหพ้ ระยาบาเรอราชแพทย์ตรวจอีกทีก่อนจะนาไป จารึก ย่อมแสดงให้เห็นว่ากว่าที่จะมีการลงบันทึกในศิลาจารึกน้ัน นอกจากจะมีการเสาะหาตารา การแพทย์ มีการตรวจสอบความถูกต้องแล้วยังต้องให้มีการสาบานอีก ซึ่งในยุคสมัยน้ันการสาบาน ย่อมมีความสาคัญยิ่งกว่าสัญญาใด ๆ โดยเฉพาะอย่ายิ่งหากเป็นโครงการที่ดาเนินไปตามพระราชดาริ ของพระมหากษัตรยิ ์ไทย ภาพท่ี 59 ตารบั ยาทีอ่ ยู่ในแผ่นศิลาวดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต 167 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

166 3. สาหรับตารับยาที่อยู่ในแผ่นศิลาที่เข้ากัญชา อันเป็นภูมิปัญญาที่ได้รับพระราชทาน ในสมัยรัชกาลที่ 3 นั้น มีมากถึง 17 ตารับ ซึ่งกัญชาในตารับยาส่วนใหญ่ในช่วงเวลาน้ี ไม่ใช่ทั้งยาตรง ไมใ่ ชย่ ารอง แตอ่ ยู่ในสถานภาพยาเสรมิ และยาแต่งรส 3. ยาเสริม หรือตัวยาเสริม หรือตัวยาคุม เพื่อช่วยควบคุมความแรงของตัวยาสาคัญ หรอื ช่วยออกฤทธใิ์ ห้ดีย่ิงขึ้น หรือในบางกรณีเป็นตัวยาเพ่ือป้องกันโรคแทรกซ้อน หรือยาบารุง แต่ถึง กระน้ันยาหลายขนานซง่ึ มคี วามน่าสนใจ กลายเป็นส่งิ ที่ต้องห้ามเพราะมีการเข้ากัญชาผสมอยู่ด้วย แต่หลายโรคที่มีการรักษานั้นก็เป็นโรคท่ีมีความรุนแรง หรือน่าจะเป็นโรคที่น่าจะยากแก่การรักษา อย่างไรก็ตาม การที่ตารับยาเหล่าน้ีปรากฏเป็นตัวอักษรในศิลาจารึก ในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามนั้น กส็ ะท้อนให้เหน็ ถึงความสาคัญ 3 ประการ ดังนี้ 3. ประการที่หนึ่ง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงเห็นว่าการศึกสงคราม ที่ผ่านมาทาให้องคค์ วามรู้ตารับ ตารา ท้ังหลายสูญหายกระจัดกระจายไป จงึ ทรงมีพระราชประสงค์ที่ จะใหม้ ีการรวบรวมเอาไว้อย่างเป็นระบบและยากแก่การสูญหาย โดยการจารึกเอาไวใ้ นแผ่นศิลา จงึ มี ความคงทนถาวรกว่าการบันทึกในรูปแบบอื่น และเป็นผลทาให้องค์ความรู้ดังกล่าวน้ีเป็นมรดกตกทอด จนมาถึงปัจจุบันได้ แม้เวลาจะผ่านมานานกว่ารอ้ ยปีแล้วก็ตาม แสดงให้เห็นว่าสิ่งท่ีจารึกน้ันย่อมต้อง มคี ณุ คา่ เพยี งพอทจี่ ะกลายเป็นมรดกให้กบั คนรุ่นต่อ ๆ ไปได้ 3. ประการท่ีสอง การท่ีองค์ความรู้เหล่านี้อยู่บนศิลาจารึก ในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดยพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจา้ อยหู่ ัว ในขณะที่ยังมีการปกครองในระบอบ สมบูรณาญาสิทธริ าชย์ การที่จะตดั สนิ พระราชหฤทัยว่าควรจะบันทึกสงิ่ ใดให้มคี วามคงทนในแผน่ ศิลา ย่อมมีการตรวจสอบคัดกรองความถูกต้องโดยบุคลากรผู้เชี่ยวชาญในราชสานัก จึงถือว่าเป็นองค์ความรู้ ในระดับตาราหลวง ดังตวั อย่างปรากฏในทางการแพทยน์ ้ัน แม้จะมีการตรวจสอบความถูกต้องแล้ว กย็ ังใหเ้ จา้ ขององค์ความรู้นัน้ สาบานความถกู ต้องนน้ั เอาไว้ดว้ ย 3. ประการที่สาม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวน้ัน การเล่าเรียนส่วน สามัญศึกษาท่ีมีเรียนอยู่ตามวัดท่ัวไป แต่ส่วนวิสามัญศึกษาเพ่ือวิชาชีพนั้น ยังศึกษาแต่ในราชสกุล พลเมืองสามัญไม่มีโอกาสที่จะเรียนได้ แต่การที่ได้นาความรู้ที่เป็นระดับวิสามัญมาจารึกในแผ่นศิลา ประดับไว้ท่ีวัดน้ัน ย่อมแสดงให้เห็นว่ามีพระราชประสงค์ให้ความรู้วิชาชีพข้ันสูงน้ี เป็นของมหาชน ทงั้ หลายโดยไมเ่ ลือกชั้นบรรดาศกั ด์ิ หรือชั้นวรรณะ และที่สาคัญไม่ต้องการให้องค์ความรู้น้ีผูกขาดอยู่ กับราชสานัก รัฐบาล ภาครัฐ หรอื คนกลมุ่ ใดกลุ่มหนึ่ง 3. สาหรับตารับยาท่ีเข้ากัญชาปรากฏในศิลาจารึกของวัดมีท้ังสิ้น 14 ตารับ โดยจะขอ นาเสนอภาษาตามตัวอักษรโบราณที่ปรากฏในศิลาจารึก เพ่ือบันทึกเป็นหลักฐานเอาไว้ว่าเป็นสิ่งท่ีมี คณุ คา่ ตามประวตั ศิ าสตร์ ดังนี้ 168 หนังสือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

167 3. ตารับท่ี 1 สันนิบาตทุวันโทษ 3. เป็นความเจ็บป่วยอันเกิดจากกองสมุฎฐานปิตตะ (ระบบความร้อนและการย่อย) วาตะ (ระบบการเคล่ือนไหวในร่างกาย) และเสมหะ (ระบบของเหลว) ร่วมกันกระทาให้เกิดโทษ รักษา ขนานหนึ่งเอาสมอท้ังสาม มะขามป้อม รากกัญชา สิ่งละส่วน เบ็ญกูล สิ่งละ 2 ส่วน ต้มตามวิธีให้กินแก้ มหาสรรนิบาตทุวนั โทษ ซ่ึงกระทาให้เสโทตก ให้นา้ ปะสาวะเหลอื งน้นั หายดนี ักฯ 3. ตารบั ท่ี 2 มันทธาตุ 3. เปน็ ธาตุหยอ่ น ตาราการแพทย์แผนไทยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ มันทอาโป (ธาตุน้าหย่อน) มันทเตโช (ธาตุไฟหย่อน) มันทปัทวี (ธาตุดินหย่อน) แลมันทวาโย (ธาตุลมหย่อน) ลักษณะมันทธาตุนั้นยิ่งไปด้วยเสมหะมีกาลัง คือไฟธาตุหย่อนเผาอาหารมิได้ย่อย ถ้าจะแก้ให้เอายิ่งโสม กัญชา อบเชย ใบกระวาร กานพลู สะค้าน ขิงแห้ง เจตมูล ดีปลี น้าตาลกรวด เอาเสมอภาคทาเป็น จุณ บดละลายน้าผึง้ กนิ แก้มันทะธาตุ ยิ่งไปดว้ ยกองเสมหะ กล่าวคือ อาโปธาตุอนั วิปริต น้ันหายฯ 3. ตารับท่ี 3 มศุ กายธาตุอดิสาร 3. เป็นโรครา้ ยแรงของธาตนุ า้ อนั เปน็ หนึ่งในลกั ษณะโบราณกรรมอติสารชนดิ หนึง่ ตารา การแพทย์แผนไทยว่า เกิดจากธาตนุ ้า หรือเกิดจากการกนิ อาหารแสลง ผู้ป่วยจะมีอาการท้องเสีย ถ่ายอจุ จาระ เป็นเสมหะและเลือดเน่ามีกล่ินเหม็นเหมือนซากศพ รักษาโดย เอากัญชา ใบสะเดา ใบทองหลางใบมน ใบคนทีสอ ใบมะตูม เสมอภาค ทาเป็นจุณบดทาแท่งไว้ ละลายน้ากระสายอันควรแก่โรค กินแก้มมุศ กายธาตุอติสารวิเสศนกั ฯ 3. ตารบั ที่ 4 ป่วงหิว 3. เป็นชื่อโรคชนดิ หน่งึ เกิดเพราะธาตใุ นร่างกายไม่ปกติ พิษของโรค ทาให้เกิดอาการตัวเย็น เปน็ เหน็บ เหงื่อตกมาก ลงท้อง อาเจียน ใจหวิว และสั่น เป็นต้น รักษาให้เอาลูกเบญจกานี ลูกกล้วย ตีบออ่ น ลกู ทับทิมอ่อน ใบทับทิม ใบสะแสดินกิน กรดทั้ง 5 ใบสะเดา ใบทองหลางใบมน ใบมะตูม ใบกัญชา ใบกะเม็ง สิ่งละส่วน ใบกระท่อม 2 ส่วน ขมิ้นอ้อย 3 ส่วน ไพร 4 ส่วน เทียนดา 5 ส่วน ทาเปน็ จณุ บด ทาแท่งไว้กินแก้ปว่ งหิวหายดีนักฯ 3. ตารบั ท่ี 5 ป่วงนา้ 3. เป็นโรคชนิดหนึ่ง เกิดเพราะธาตุในรา่ งกายผิดปกติ ผู้ป่วยมีอาการ คลื่นไส้ อาเจียนรุนแรง ผวิ กายซีดเผือด สะบัดร้อนสะท้านหนาว รักษาให้เอา เปลือกสนุ่น เปลือกมะม่วงพรวน เปลือกกระทุ่ม ข้ีหมู เปลือกกระท่อม กานชา เทียนดา โกฏสอ โกฏเขมา โกฏพุงปลา โกฏจุฬาลัมพา โกฏหัวบัว กระดอง เตา่ เหลอื งเผา กระดูกปูนาเผา รากนางแย้ม รากมะนาว รากมะปรางต้มด้วยน้าปูนใสแทรกพิมเสน แทรกดงี ู กนิ แก้ปว่ งนา้ ถา้ หวิ นกั เอานา้ ตาลกรวด นา้ ตาลทราย นา้ ตาลหมอ้ แทรกลงกินหายฯ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพอ่ื ใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต 169 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

168 3. ตารับท่ี 6 ฤศดวงบังเกิดในทางปะสาวะ 3. อา่ นในปัจจบุ นั วา่ ริดสดี วงบังเกดิ ในทางปสั สาวะ อันหมายถึงโรคกลมุ่ หนึง่ ท่ีเกิดขน้ึ ใน ทางเดินปัสสาวะ ขนานน้ี เอาบุกรอ ดีปลี ขิงแห้ง อุตพิต กลอย กระดาดแดง ขอบชะนางขาว ลูกจันทน์ โกฏสอ โกฏเขมา กระวาน การพลู เทียนดา เทียนขาว เทียนเยาวพาณี สมุลแว้ง กัญชา ส่ิงละส่วน พรกิ ล่อน 2 ส่วน ทาเป็นจุณ บดละลายนา้ ร้อนกินหนัก 1 สลงึ แก้ฤศดวงอันบงั เกดิ ในทางปะสาวะนั้น หายดนี กั ฯ 3. ตารับที่ 7 ลมวาระยักขวาโย 3. เปน็ โรคลมจรชนดิ หนึง่ เกิดจากกองอชิณวาต ผู้ป่วยจะอยากกินอาหารคาวหวาน เน้ือปู ปลา และหอย ซึ่งเมอ่ื กินแล้วทาให้มีอาการเสียดชายโครงทั้งสองข้าง จกุ แน่นบรเิ วณหน้าอก แล้วลาม ไปถึงองคชาต มือเท้าตายไม่มแี รง ขนานหน่ึงเอาโกฏท้ังห้า เทียนทง้ั ห้า ลกู จันทร์ ดอกจันทร์ กานพลู ผักแพวแดง ส่ิงละส่วน ดองดึง น้าประสานทอง กานชา การบูร รากจิงจ้อ มหาหิง สิ่งละ 2 ส่วน พริกไทย ขงิ แห้ง ดีปลี รากสม้ กุ้งทั้งสอง ส่ิงละ 10 ส่วน กระเทียม ผิวมะกรูด เทพทาโร เปลา้ น้อย สิ่งละ 12 ส่วน สมอพิเภก 16 ส่วน มะขามป้อง 32 ส่วน สมอไทย 48 ส่วน ทาเป็นจุณละลายน้ากระสายอันควร แกโ่ รคกนิ หนกั 1 สลึง แกล้ มวาระยกั ขวาโย อันเกิดแต่กองอชิณะนั้นหายวิเสศนกั ฯ 3. ตารับที่ 8 ลมอัตพงั ควี าโย 3. เป็นลักษณะของโรคลมชนิดหนึ่ง หมายถึงระบบการเคล่ือนไหวท่ีเป็นลมพัดเบื้องล่าง ตงั้ แต่ใตส้ ะดือจนถงึ เท้าเกิดกาเรบิ ดันขึ้นมาด้านบนทาใหป้ วดศรี ษะ รักษายาน้ามันชื่อละลอกพระสมุทร เอาบอระเพด็ เปลอื กมะรุม ตูมกาแดง รากเสนยี ด รากอังกาบ รากขัดมอน กลอย ลูกข้ีกาแดง พันงูแดง ไครห้ างนาค แห้วหมู ขม้ินอ้อย ใบบวบขม ขา่ ลงิ แสนประสะต้น ชา้ เกลือ ใบกะเมง็ หัวบอนแดง สันพรา้ นางแอ จอกใหญ่ กานชา เอานา้ สิง่ ละทะนาน นา้ มันงาทะนาน 1 หุงให้คงแต่น้ามัน แลว้ จึงเอาลกู จันทร์ ดอกจันทร์ กระวาน กานพลู เทียรเยาวภานี เทียรดา เทียรขาวส่ิง ละ 1 สลึง ทาเป็นจุณปรุงลงในน้ามันท้ังกินทั้งทา แก้ลมอตั พงั ควี าโยน้นั หายวิเสศนักฯ 3. ตารบั ท่ี 9 ลมสิตมัควาโย 3. เป็นโรคเกี่ยวกับธาตุลมชนิดหน่ึง โรคน้ีจะทาให้มือเท้าเย็น ก่อนหมดแรง เป็นได้ถึง อัมพาต ทาให้ล้ินแข็ง พูดไม่ชัด ถ้าเทียบในยุคปัจจุบันคือการเกิดเก่ียวกับความผิดปกติเส้นโลหิตของ สมองตีบ ใครเป็นมักอายุไม่ยืน จึงพระฤาษีภัตสรรณได้แต่งยาที่แก้ เอาลูกจันทน์ ดีปลี พริกไทย ขิงแห้ง หอมแดง ส่ิงละ 8 ส่วน ฝ่ิน กานชา น้าตาลทราย น้ามันเนย ส่ิงละ 16 ส่วน ทาเป็นจุณ แล้วเอาน้า มะพร้าวนาฬิเกเป็นกระสาย เค่ียวเป็นยางมะตูม แล้วจึงเอาผลสมอไทย ปอกผิวเสีย 108 ผล ใส่ลง เคี่ยวไปให้ซาบในผลสมอให้กินวันละ 36 ผล ที่จะกินในเวลาใดมิได้บังคับ ให้ส้ินแต่ในวันเดียวน้ัน โดยนัยท่านกล่าวบังคับไว้ให้กินในเวลาใด มิได้บังคับ ให้สิ้นแต่ในวันเดียวนั้นโดยนัยท่านกล่าวบังคับ ใหก้ นิ 3 วัน ให้สน้ิ ผลสมอ แก้ลมสิตมคั วาโยนนั้ หายวิเสศนกั ฯ 170 หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพ่ือใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

169 3. ตารับที่ 10 กระไสยเหลก็ เปน็ โรคกษัยอันเกดิ จากอุปปาตกิ ะโรคชนิดหนงึ่ เกิดจากลมอัดแนน่ แข็งเปน็ ดานอยู่ใน ท้องน้อย ผู้ป่วยมีอาการปวด ท้องแข็งลามขึ้นไปถึงยอดอก กินอาหารไม่ได้ อน่ึง เอาใบกระเพรา ใบแมงลัก ใบเส้ียนผี กระชาย กานชา พริกไทย หอมแดง หญ้าไซ เกลือ ลูกคัดเค้า ยาทั้งน้ีตาเอาน้า ส่ิงละทะนาน 1 น้ามันงาทะนาน 1 หุง ให้คงแต่น้ามันแล้วจึงเอาลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู เทียนดา เทียนขาว การบูร ส่ิงละ 1 สลงึ ทาเป็นจุณปรงุ ลงในน้ามันน้ัน แล้วจึงเอามาทาท้อง รีดเสียให้ได้ 3 วันก่อน แล้วจึงกินน้ามันน้ีอีก 3 วัน หายวิเสศนัก ยาน้ามันขนานน้ี ช่ือสนั่นไตรภพแก้ กล่อนกระไสยทง้ั ปวงหายดนี กั ฯ 3. ตารบั ท่ี 11 กระไสยท้น 3. เปน็ โรคกษยั ท่ีเกิดจากการรับประทานอาหารผดิ สาแดง ทาให้ มีอาการแน่นขึ้นมาจาก ท้องน้อย หายใจไมส่ ะดวก อาเจียน รบั ประทานอาหารไม่ได้ อน่ึง อนึ่งเอาโกฎท้ังห้า เทียนท้ังห้า ลูกจนั ทน์ กระวาน กานพลู พริกหอม พริก หาง บอระเพ็ด เปล้าท้ังสอง ส่ิงละส่วน กานชา 2 ส่วน ขมิ้นอ้อย แห้วหมู ผลพิลังกาสา ไคร้เครือ ส่ิงละ 4 ส่วน ดีปลี หัสคุณ สิ่งละ 16 ส่วน ใบกระเพราแห้ง 32 ส่วน ทาเป็นจุณบดละลายน้ารอ้ นกินแก้กระไสยทน้ แลกระไสยเสยี ดนัน้ หายดีนกั ฯ 3. ตารบั ท่ี 12 ยาแก้ฤศดวง 3. เปน็ ตารายาวเิ สศสัพคุณสาเหรจ์ อันอาจารยิ ะเจ้า ในก่อนประมวนไว้ ให้แกส่ ัพโรคท้ังปวง สืบต่อกันมา ในที่น้ีจะวา่ แต่วิเสศสัพคุณคือขะณะสัพยาซ่ึงจะแกโ้ รคสมมติว่าหฤศโรค คือสัพฤศดวงนั้น โดยนัย ยาช่ือนาดธิจร เอาโกฎสอ โกฏเขมา เทียนขาว ผลจันทน์ กานพลู สงิ่ ละส่วน รากทนดี รากซงิ ซ่ี รากจิงจ้อ เปลือกทองหลางใบมน เปลือกมะรุม เปลือกกุ่มท้ังสอง บุกรอ กลอย อุตพิด ตรีกฎุก กระเทียม มะตูมอ่อน แห้วหมู กานชา ส่ิงละ 2 ส่วน หอยขมเผา เบี้ยจั่นเผา สิ่งละ 5 ส่วน พริกไทย 34 ส่วน ทาเป็น จุณบดด้วยน้าผึง้ ให้ กินหนกั 1 สลงึ แก้ฤศดวง หืด ไอ มองครอ่ หายดนี ักฯ 3. ตารับที่ 13 ยาแกล้ มขึ้นเบ้อื งสงู 3. เป็นตารายาวิเสศสพั คณุ สาเหรจ์ อนั อาจารยิ ะเจ้าในก่อนประมวนไว้ ให้แก้สัพโรคท้งั ปวง สืบต่อกันมา ในที่น้ีจะว่าแต่วิเสศสัพคุณ คือขะณะสัพยาซึ่งจะแก้โรคสรรพลมทั้งปวงอันกาเริบพัดขึ้น เบื้องบนนั้นโดยนัย ดังนี้ ยาแก้ลมข้ึนเบ้ืองสูง เอายาดา กานชา อุตพิด ดองดึง สิ่งละ 4 ส่วน กระเทียม 6 สว่ น กระเทียม 6 ส่วน วา่ นน้า ชะเอมเทศ โกฎน้าเตา้ โกฎพุงปลา มะหาหงิ คุ์ ส่ิงละ 8 ส่วน ว่านเปราะ ผลผักชี ดีปลี สิ่งละ 12 ส่วน ขิงแห้ง แก่นแสมทเล รากส้มกุ้ง สะค้าน สิ่งละ 16 สว่ น พรกิ ไทย เปลือก กันเกรา สิ่งละ 24 สว่ น ทาเป็นจุณบดละลายนา้ ผ้งึ รวงให้กนิ หนกั 1 สลึง แกล้ มขน้ึ สูงหายดีนกั ฯ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต 171 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

170 3. ตารบั ที่ 14 สัณมฆาตเพ่ือกาฬ 3. เป็นโรคเก่ยี วกับการเกดิ เมด็ ฝีตามอวยั วะตา่ ง ๆ ทาให้เกิดเลือด และหนองเป่ือยลาม จัดอยู่ในโรคในกลุ่มอาโปหรือเสมหะ เป็นหนึ่งในคัมภีร์มุจฉาปักขันธิกา หรือระบบทางเดินปัสสาวะ และระบบสืบพันธ์ุ ซ้ารั่ว 4 ประการ กล่าวด้วยนัยหน่ึงใหม่ ว่าด้วยลักษณะสันทฆาตอันบังเกิดเพ่ือ กาฬ เกิดขึ้นภายในดี ตับ ปอด และในหัวใจเป็นเคารบ 2 สัณฐานดุจ เมล็ดข้าวสารหัก บางทีข้ึนใน ไส้อ่อน ไส้แก่ ถ้าข้ึนในดีให้คลั่งให้เพ้อ ถ้าข้ึนในตับให้ตับหย่อน ให้ตกโลหิตมีอาการดุจปีศาจเข้าสิง อันน้ีแจ้งอยู่ในคัมภีร์อติสารวรรคโน้นแล้ว ถ้าข้ึนในปอดให้กระหายน้าเป็นกาลัง ถ้าข้ึนในหัวใจให้น่ิง ไปเจรจามไิ ด้ ถา้ ข้นึ ในไส้อ่อน ไส้แก่ ใหจ้ ุกโลหิตท้องข้ึนทอ้ งพองดังมานกระไสย ถ้าผู้ใดเป็นดังกล่าวนี้ ท่านกาหนดไว้ใน 7 - 8 - 9 วัน โลหิตจะแตกออกทวารท้ัง 9 เรียกรัตบีตโรค เป็นต้น แห่งสันฑฆาต เป็น อตสิ ัยโรค ยามไิ ด้เลย ถ้าจะรักษาให้รักษาแต่โลหติ มิทันแตก ไดบ้ ้างเสียบา้ งดุจอาจารย์ทา่ นกลา่ ว ไว้ดงั นี้ ถ้าจะแกเ้ อา โกฎจุฬาลมั พา โกฎพุงปลา โกฏสอ สะค้าน ผกั แพวแดง ดองดึง ว่านน้า มหาหงิ ค์ุ ยาดา กัญชา อุตพิด ชะเอม สิ่งละส่วน ขิงแห้ง ดีปลี สิ่งละ 2 ส่วน พริกไทย แก่นแสมทเล สิ่งละ 15 ส่วน ทาเป็นจณุ บดละลายนา้ ผึ้งรวงกนิ 1 สลงึ แก้สนั ทฆาตอันบังเกิดเพ่อื กาฬนน้ั วิเสศนักฯ กกกก ภาพที่ 60 จารกึ ตารายา วัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร 3. นอกจากน้ีพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งสมัยนั้นเป็นพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฏาบดินทร์ ทรงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จารึกตารายาลงบนแผ่นหินอ่อนสีเทา 172 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

171 รปู สี่เหล่ียมจัตุรัส ขนาดกว้างยาวด้านละ 33 เซนติเมตร จัดเรียงบรรทัดทางมุมแหลม จานวน 17 บรรทัด เหมือนกันทุกแผ่น ติดประดับอยู่ตามผนังด้านนอกของระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ และ ผนังศาลารายหน้าพระอุโบสถ วัดโอรสารามราชวรวิหาร ปัจจุบันมีเหลืออยู่ท้ังส้ิน 50 แผ่น จากเดิม ซึ่งเชื่อกันว่าน่าจะมีอยู่ 92 แผ่น เชื่อว่าตารับยาดังกล่าวได้จากตารับยาซ่ึงรวบรวมจากท่ัวประเทศ และผ่านการตรวจสอบจากหมอหลวง และผู้ใช้ในราชสานักมาแล้ว ตั้งแต่สมัยที่พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลศิ หล้านภาลัย ดังภาพต่อไปน้ี ภาพที่ 61 จารกึ แผ่นสูญหาย แผ่นท่ี 4 3. คาอ่านจารึกแผน่ สูญหาย แผ่นที่ 4 3. “สิทธิการิยะ” ยาแก้กล่อนแห้งซ่งึ กระทาใหจ้ ุกเสียดแลเปน็ พรรดกึ ใหเ้ ปน็ ก้อนในท้อง ใหเ้ จ็บท่ัวสรรพางค์ให้มือกระด้าง ให้เมอื่ ยขบขัดเข่าแลนอ่ งคู้ ให้ตามดื หหู นกั ให้เสยี งแหบแหง้ ให้ขัดออก ใหท้ อ้ งขึ้นกินอาหารมิได้ เปน็ เหตุทั้งนเ้ี พราะเสมหะแห้ง บังเกิดแตบ่ ุรษุ สตรีก็ดุจกันท่านจึงประกอบยา นี้ไว้ ให้แก้ เอาสะค้าน ผักแพวแดง ดองดึง มหาหิงคุ์ ว่านน้า โกษฐ์สอ โกษฐ์จุฬาลัมพา โกษฐ์พุงปลา กัญชา หัวอุตพิด ชะเอม ดีปลี แก่นแสมทะเล ยาดา เอาเสมอภาค พริกไทเท่ายาทั้งหลาย ทาเป็นจุณ ละลายน้าผงึ้ รวงกินหนกั 1 สลงึ แก้ดงั กล่าวมาแต่หลงั วเิ ศษแลฯ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ 173 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

172 3. ยาแก้สรรพกล่อนทั้งปวง เอาใบมะตูม 1 ใบสะเดา 1 ใบคนทีสอ 1 ว่านน้า 1 บอระเพ็ด 1 ขมน้ิ อ้อย 1 ทั้งนเ้ี อาสิ่งละ 1 บาท พรกิ เทา่ ยาท้ังหลาย ตาเปน็ ผงละลายนา้ ผง้ึ กินทีละ 1 สลึง แก้ลม กล่อนจกุ เสยี ดท้ังปวงเป็นมหาวเิ ศษแลฯ 3. ยาแก้ลมกล่อนสันดาน เอาหัสคุณ หนัก 1 ตาลึง 2 บาท หิงคุ์ 3 บาท ว่านน้า 2 บาท ดปี ลี 2 บาท 1 สลึง กระเทียม 1 ตาลึง ในมะกรูด 1 บาท 2 สลึง แก่นแสมทะเล 1 บาท แก่นข้ีเหล็ก 1 บาท แก่นปูนที่เผาไม่สุก 1 บาท รากพญามือเหล็ก 1 บาท หอยขม 1 บาท หอยแครง 1 บาท ดินประสวิ ขาว 2 บาท สารสม้ 1 บาท 2 สลึง ตาเปน็ ผงละลายนา้ มะกรดู ส้มซา่ กิน 1 สลงึ ผายสองหนฯ 4. สมยั ราชสกุลสนิทวงศ์ 3. เป็นราชสกุลแพทย์ในพระองค์ ที่มีการสืบทอดวิชาความรู้ ภายในตระกลู จากรุ่นสู่รุน่ โดยแพทย์ผู้เป็นต้นราชสกุล คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิทพระราชบุตรลาดับท่ี 49 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) ด้วยเหตุที่ทรงชานาญวิชาแพทย์ท้ังใน และต่างประเทศจึงทรงสะสมตาราแพทย์ไว้มาก โดยทรงนิพนธ์ “ตาราสรรพคุณยาของกรมหลวง วงศาธิราชสนิท เล่ม 1 และ เล่ม 2” ท้ังนี้ ในตารายาพระองค์เจ้าสายสนิทวงษ์ พบว่ามีตารับยาที่เข้า กัญชาทั้งส้ิน 3 ขนาน คือตารับยาขนานท่ี 5 ช่ือวาตาประสิทธ์ิ ขนานที่ 8 แก้เหน่ือยหอบเพราะเสมหะ มากทาให้เจริญอาหาร และขนานท่ี 12 คือกระสายในตารับยาวิสัมพยาใหญ่ แม้ว่าตารับยาท่ีเข้ากัญชา ท่ีปรากฏในตารายาพระองค์เจ้าสายสนิทวงษ์จะมเี พียง 3 ตารับ หากแต่ว่าคุณค่าของยาตารบั เหล่าน้ี มีความลึกซ้ึงในภูมิปัญญาความรู้ และให้ความสาคัญในการอธิบายการใช้น้ากระสาย (หรือตัวช่วยใน การทาละลายสาระสาคญั ของสมนุ ไพร) เพ่ือใหอ้ อกฤทธ์ขิ องยาท่ีแตกต่างกัน เชน่ นา้ ต้มแอลกอฮอล์ นา้ ปูนใส เปน็ ต้น 5. สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2413) 3. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้รวบรวมข้ึน เน่ืองจากเห็นว่าแพทย์แผน โบราณและตารายาพ้ืนบ้าน เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมทม่ี ีค่า และท่ีสืบทอดกนั มานั้น มีผดิ บ้าง สูญหายบา้ ง จงึ รวบรวมไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา โดยเขียนลงสมุดไทยด้วยอักษรไทยเส้นหรดาล ปรากฏฉบับสมบูรณ์ เม่ือพระยาพิศณุประสาทเวช (คง ถาวรเวช) อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญของราชแพทยาลัย ได้เริ่มพิมพ์เพื่อ อนุรักษ์ตาราแพทย์แผนไทยไว้ให้คนรุ่นหลัง “กัญชา เป็นพืชสมุนไพร ตัวหน่ึงในพระคัมภีร์สรรพคุณ แลมหาพิกัด ที่ระบุสรรพคุณของ กัญชา ไว้ว่า กัญชาแก้ไข้ผอมเหลืองหากาลังมิได้ ให้ตัวสั่น เสียงสั่น เป็นด้วยวาโยธาตุกาเริบ แก้นอนมิหลับ ” ทั้งนี้ ไม่มีข้อความใดที่ระบุใน “ตาราแพทยศาสตร์ สงเคราะห์” ว่า “กัญชา”เป็นสมุนไพรมีพิษหรือมีโทษร้ายแรงแต่อย่างใด ตรงกันข้ามมี “กัญชา” ปรากฏอยใู่ นตารับยาหลายตารับ อนั ได้แก่ 174 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวติ เพื่อใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

173 ภาพท่ี 62 ตาราเวชศาสตร์ฉบบั หลวง รชั กาลท่ี 5 ภาพที่ 63 คัมภีร์ปฐมจินดา 5.1 พระคัมภีรป์ ฐมจินดา 2) เป็นตารากุมารเวชศาสตร์ของแพทย์แผนไทย มียาเข้ากัญชา 1 ตารับ คือ “ไฟอาวุธ” ซึ่งใช้รักษาโรคตานทราง ซ่ึงมีอาการเป็นไขล้ ะอองล้ินขาว เป็นตมุ่ เม็ดในปาก คอและตาม ร่างกายของทารกและเด็กเล็ก แก้โรคไอผอมเหลือง หืดหอบ โรคพุงโลก้นปอด แก้ไข้ อุจจาระเป็น โลหติ จุกเสียดแน่นทอ้ ง ปรุงเป็นยาผงทาเปน็ เม็ดเทา่ เมด็ พรกิ ไทยละลายกับน้ามะนาวเป็นกระสายยา รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ิต 175 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

174 ภาพที่ 64 คัมภรี ม์ หาโชตรัต 5.2 พระคัมภีร์มหาโชตรัต 2) เป็นตารานรีเวชศาสตรข์ องการแพทย์ แผนไทยมียาเขา้ กญั ชา 3 ตารับ คอื 2) 5.2.1 ยาแก้ลมอุทธังคมาวาตะ 2) 5.2.2 ยาแก้รดิ สีดวงมหากาฬ 2 25.2.3 ยาแก้อาการบิดมวนทอ้ งและท้องเสยี ในสตรี ภาพที่ 65 คัมภรี ์ชวดาร 5.3 พระคัมภีรช์ วดาร 2) เป็นตาราว่าด้วยโรคลมและโรคเลือดของทั้งสตรีและบุรุษ มียา 1 ตารับ คือ ยาแกโ้ รคสาหรับบรุ ุษและสตรี ใช้รักษากามโรค ปสั สาวะเปน็ โลหิต 176 หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพ่ือใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

175 ภาพท่ี 66 คมั ภีร์กระษยั 5.4 พระคัมภีรก์ ษยั 2) เป็นตาราว่าด้วยความเส่ือมของร่างกายทาให้ผอมแห้ง แรงน้อย สุขภาพ ทรุดโทรมในพระคัมภีร์นี้มกี ญั ชาเป็นสว่ นผสมถงึ 5 ตารับ คอื 2) 5.4.1 ยาแก้กษยั เหลก็ 2) 5.4.2 ยาแก้กษยั กลอ่ น 2) 5.4.3 ยาแก้กษยั เสยี ด 2) 5.4.4 ยาพรหมภกั ตร์ 2) 5.4.5 ยาอมั ฤตย์โอสถ กกกกกกกกล่าวโดยสรุป ในประเทศไทยมีหลักฐานการใช้กัญชาในการรักษา หรือควบคุมอาการของ โรคต่าง ๆ ต้ังแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีการรวบรวมไว้เป็นตารายาหลายเล่ม และสูตร ยาหลายขนาน เช่น ตาราพระโอสถพระนารายณ์ ตาราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ พระคัมภีรป์ ฐมจินดา พระคัมภีร์มหาโชตรัต พระคัมภีร์ชวดาร และพระคัมภีร์กษัย เป็นต้น มีการระบุตารับยาท่ีใช้กัญชา หรอื มีกญั ชาเป็นสว่ นประกอบที่ใชใ้ นการรกั ษา นบั แต่ในอดีตสบื เนอ่ื งกันมา กเรรอื่ ะงททร่ี ว3งเแรสลต่อื าะางธรรทาับบั ี่ร3รยณอาสงทตโขุ ำ�่มีดรกียับญักยรชาะาททเีม่ปรกีวน็ งญั สสว่ชานาธเปาปรร็นณะสกสว่อขุ นบปทรี่ไะดกม้ อีกบารทคี่ไดดั ้มเลีกอื ากรคแดั ลเะลรอื ับกรองโดย สืบเน่ืองมาจากพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 กาหนดให้แพทย์ แผนไทย แผนแพทย์ไทยประยุกต์ และหมอพ้ืนบ้านได้รับการยกเว้นว่าให้สามารถปรุงยาเพ่ือ ประโยชน์ของคนไข้เฉพาะรายของตนได้ แต่กระนั้นก็ยังไม่อนุญาตให้ปลูกเองได้ หากต้องการปลูก ต้องรว่ มมือกับหน่วยงานของรฐั และขออนุญาตปลูกอย่างถูกต้อง รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวติ 177 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

176 กภาพท่ี 67 กระทรวงสาธารณสขุ ด้วยการใช้กัญชาในประเทศไทยได้ขาดความต่อเน่ือง เน่ืองจากกัญชาเป็นยาเสพติด ประเภท 5 ไม่สามารถนามาใช้ในการรักษาโรคได้ มาเป็นเวลาหลายสิบปี ทาให้แพทย์ส่วนใหญ่ ได้ปฏิบัติตามกฎหมาย ขาดประสบการณ์ในการใช้กัญชาเพื่อประโยชน์มาเป็นเวลานาน ส่งผลทาให้ กรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ได้รวบรวมตารับยาไทยที่มีกัญชา เป็นส่วนผสมมจี านวนท้งั สนิ้ 90 ตารับ โดยแบง่ ออกเป็น 4 กลมุ่ โดยเฉพาะกลุ่มที่ 1 ตารับยาที่มีประสิทธิผล มีความปลอดภัย วิธีการผลิตไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน ตัวยาหาไม่ยาก และมีกัญชาปรุงผสมอยู่ที่อนุญาตให้เสพเพ่ือรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ แนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง กาหนดตารับยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ท่ีมีกัญชา ปรงุ ผสมอยู่ ทใ่ี ห้เสพเพ่ือรักษาโรคหรือการศึกษาวิจยั ได้ พ.ศ. 2562 178 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ติ เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา

177 บัญชรี ายช่ือตารับยาแผนไทย กาหนดให้เปน็ ตารับยาเสพติดใหโ้ ทษประเภท 5 ท่ีมีกญั ชาปรงุ ผสมอยู่ท่อี นญุ าตให้เสพเพอื่ รักษา โรคหรือการศกึ ษาวจิ ยั ได้ แนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ืองกาหนดตารับยาเสพติดให้ โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรงุ ผสมอยู่ ทใี่ หเ้ สพเพ่ือรกั ษาโรคหรอื การศกึ ษาวจิ ัยได้ พ.ศ. 2562 จานวน 16 ตารับ ชอื่ ตารับยา ท่มี าของตารับยา 1. ยาอคั คินีวคณะ คัมภรี ธ์ าตพุ ระนารายน์ 2. ยาศุขไสยาศน์ คัมภรี ์ธาตุพระนารายน์ 3. ยาแกล้ มเนาวนารวี าโย ตารายาศลิ าจารึกในวดั พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม 4. ยาน้ามนั สนนั่ ไตรภพ ตารายาศลิ าจารึกในวัดพระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม, จารึกตารายา วัดราชโอรสารามวรวิหาร 5. ยาแก้ลมขึน้ เบอื้ งสูง ตารายาศลิ าจารกึ ในวัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม 6. ยาไฟอาวุธ แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เลม่ 1 พระยาพศิ ณปุ ระสาทเวช 7. ยาแกน้ อนไม่หลบั หรือ ยาแก้ไข้ผอมหลือง แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 1 พระยาพิศณุประสาทเวช 8. ยาแก้สัณฑฆาต กลอ่ นแหง้ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพศิ ณปุ ระสาทเวช 9. ยาอมั ฤตยโ์ อสถ แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 2 พระยาพศิ ณุประสาทเวช 10. ยาอไภยสาลี เวชศึกษา พระยาพิศณปุ ระสาทเวช 11. ยาแก้ลมแก้เส้น เวชศาสตรว์ ัณณนา 12. ยาแก้โรคจิต อายุรเวทศกึ ษา (ขนุ นทิ เทสสุขกจิ ) เลม่ 2 13. ยาไพสาลี อายุรเวทศกึ ษา (ขุนนทิ เทสสุขกจิ ) เลม่ 2 14. ยาทารดิ สดี วงทวารหนกั และโรคผวิ หนัง อายรุ เวทศกึ ษา (ขุนนทิ เทสสขุ กจิ ) เล่ม 2 15. ยาทาลายพระสเุ มรุ คมั ภรี แ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 2 ขนุ โสภิตบรรณลักษณ์ 16. ยาทพั ยาธิคุณ คัมภรี แ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เลม่ 2 ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ หมายเหตุ จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จงึ เป็นผลทาให้ 16 ตารับยาแพทยแ์ ผนไทยในกลุ่ม ท่ี 1 จะถูกนามาใช้ก่อนตารับยาขนานอ่ืน ในโอกาสนี้จึงขอนารายการยา 16 ตารับยากลุ่มที่ 1 มาเผยแพร่ โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี กกกก รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใช้เป็นยา หนังสือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชีวติ 179 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

178 1. ยาอคั คนิ วี คณะ ท่มี าของตารับยา คัมภรี ์ธาตุพระนารายน์ “อัคคินีวคณะ ให้เอา กันชา ยิงสม ส่ิงละส่วน เปลือกอบเชย ใบกระวาน กานพลู สะคา้ น สิ่งละ 2 ส่วน ขิงแห้ง 3 ส่วน รากเจตมูลเพลิง ดีปลี ส่ิงละ 4 ส่วน น้าตาลกรวด 6 ส่วน กระท้า เปน็ จุณ น้าผึง้ รวงเป็นกระสาย บดเสวยหนักสลึง 1 แก้อาเจยี น 4 ประการ ดว้ ยตกิ กะขาคนิ ีก้าเริบ และ วิสมามันทาคินีอันทุพล จึงคล่ืนเหียนอาเจียน มิให้เสวยพระกระยาหารได้ ให้จ้าเริญพระธาตุทั้ง 4 ให้ เสวยพระกระยาหาร เสวยมีรสชกู ้าลังยิง่ นกั ขา้ พระพุทธเจ้า ขุนประสิทธิโอสถจีน ประกอบทูลเกล้าฯถวาย คร้งั สมเด็จพระนารายณ์ เปนเจา้ เมืองลพบรุ ี เสวยเพลาเชา้ อตั รา ดนี กั แลฯ” สูตรตารับยา ประกอบด้วย ตัวยา 10 ชนิด รวมนา้ หนัก 27 สว่ น ดังนี้ ลาดบั ตวั ยา น้าหนักยา 1 กัญชา 1 ส่วน 2 ยิงสม (โสม) 1 สว่ น 3 เปลอื กอบเชย 2 ส่วน 4 ใบกระวาน 2 สว่ น 5 กานพลู 2 สว่ น 6 สะค้าน 2 สว่ น 7 ขงิ แหง้ 3 สว่ น 8 เจตมลู เพลิง 4 สว่ น 9 ดีปลี 4 ส่วน 10 นา้ ตาลกรวด 6 สว่ น ขอ้ บ่งใช้ แกค้ ลื่นเหยี นอาเจียน ท่เี กดิ จากไฟย่อยอาหารผิดปกติ รูปแบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวธิ ีใช้ รับประทานคร้ังละ 3.75 กรัม วนั ละ 1 ครงั้ ก่อนอาหารเชา้ น้ากระสายยาทีใ่ ช้ น้าผึ้งรวง ถา้ หานา้ กระสายยาไมไ่ ด้ ใหใ้ ชน้ ้าสกุ แทน ขอ้ ห้ามใช้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ต้ังครรภ์ ผู้ท่ีมไี ข้ และผทู้ ีม่ ีอายตุ ่ากวา่ 18 ปี ขอ้ ควรระวัง 1. ควรระวงั การรับประทานร่วมกบั ยาในกลุ่มสารกันเลอื ดเปน็ ลิม่ (Anticoagulant) และยาต้านการจับตวั ของเกล็ดเลือด (Antiplatelets) 2. ควรระวงั การใชใ้ นผูป้ ว่ ยโรคความดนั โลหิตสงู โรคหวั ใจ ผู้ปว่ ยโรคแผลเป่อื ย เพปติก ผู้ปว่ ยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เนื่องจากเปน็ ตารับยารสร้อน 180 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ เพือ่ ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

179 ขอ้ มลู เพม่ิ เติม 1. ตกิ กะขาคนิ ี หมายถึง ไฟย่อยอาหารกาเรบิ ซ่ึงมักสัมพนั ธห์ รือเกดิ จาก ปติ ตะกาเรบิ 2. วิสมามันทาคนิ ี อนั ทุพล หมายถงึ ไฟย่อยอาหารทมี่ ีลักษณะที่ไม่ สมา่ เสมอ หรอื ไม่คงที่ เชน่ บางมือ้ กนิ อาหารไดม้ าก เน่อื งจากไฟย่อย อาหารมกี าลังแรง แต่พอถึงม้ือต่อไปมีอาการเบ่ือ หรือไม่อยาก รับประทานอาหาร เนื่องจากไฟย่อยอาหาร หรอื อัคนิอ่อนกาลังลง ลกั ษณะหรอื อาการขนึ้ ๆ ลง ๆ หรือไมแ่ นน่ อนหรือไม่สมา่ เสมอของไฟ ย่อยอาหารเปน็ ผลจากความผดิ ปกติ ของ “วาตะ” หรืออาจกลา่ วอีก อย่างวา่ “วาตะทาให้ไฟย่อยอาหารมลี กั ษณะท่ไี มแ่ นน่ อน” 3. ยามรี สรอ้ น ผปู้ ่วยทีม่ ีภาวะโรคกระเพาะอาหารควรรบั ประทานหลัง อาหารและแบ่งรบั ประทานกอ่ นอาหารเช้าและเย็น 4. ช่อื อน่ื ในตารายาเกร็ด เชน่ อคั คีวัชณะ, ยาชือ่ อคั ควี ัฒนะ, ยาช่อื อัคนี 2. ยาศุขไสยาศน์ ท่ีมาของตารบั ยา คัมภีร์ธาตุพระนารายน์ “ยาศุขไสยาศน์ ให้เอา การบูร 1 ส่วน ใบสเดา 2 ส่วน สหัสคุณเทศ 3 ส่วน สมุลแว้ง 4 ส่วน เทียนดา้ 5 ส่วน โกฏกระดกู 6 ส่วน ลูกจันทน์ 7 ส่วน ดอกบุนนาค 8 ส่วน พริกไท 9 สว่ น ขิงแห้ง 10 ส่วน ดีปลี 11 ส่วน ใบกนั ชา 12 ส่วน ทา้ เปนจุณละลายน้าผ้ึงเมือ่ จะกินเศกด้วยสัพพีตโิ ย 3 จบ แล้ว กินพอควร แกส้ รรพโรคทั้งปวงหายส้ิน มีกา้ ลังกินเข้าได้ นอนเปน็ ศุขนกั แลฯ” สูตรตารับยา ประกอบด้วย ตัวยา 12 ชนิด รวมนา้ หนัก 78 ส่วน ดังน้ี ลาดบั ตัวยา น้าหนกั ยา 1 การบูร 1 สว่ น 2 ใบสะเดา 2 ส่วน 3 หสั คุณเทศ 3 ส่วน 4 สมลุ แวง้ 4 สว่ น 5 เทยี นดา 5 สว่ น 6 โกฐกระดกู 6 สว่ น 7 ลูกจนั ทน์ 7 ส่วน 8 ดอกบนุ นาค 8 สว่ น 9 พรกิ ไทย 9 สว่ น รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เป็นยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต 181 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

180 ลาดับ ตัวยา นา้ หนกั ยา 10 ขิงแหง้ 10 สว่ น 11 ดีปลี 11 ส่วน 12 ใบกญั ชา 12 ส่วน ข้อบ่งใช้ ช่วยให้นอนหลับ เจริญอาหาร รูปแบบยา ยาผง , แคปซลู ขนาดและวิธใี ช้ รบั ประทานครั้งละ 2 กรัม วันละ 1 คร้งั ก่อนนอน นา้ กระสายยาท่ีใช้ น้าผึง้ รวง ถ้าหานา้ กระสายยาไม่ได้ ให้ใช้น้าสกุ แทน ขอ้ หา้ มใช้ 1. ห้ามใชใ้ นหญงิ ตัง้ ครรภ์ ผทู้ ม่ี ีไข้ และผ้ทู ่ีมีอายุต่ากว่า 18 ปี 2. หา้ มใช้รว่ มกบั ยาที่มีฤทธิก์ ดระบบประสาทสว่ นกลาง เชน่ ยานอนหลบั และยาตา้ นการชกั รวมท้ังแอลกอฮอล์ หรือส่งิ ท่ีมแี อลกอฮอล์ผสมอยู่ ข้อควรระวัง 1. ควรระวงั การรับประทานรว่ มกับยาในกลุ่มสารกนั เลือดเป็นลม่ิ (Anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (Antiplatelets) 2. ควรระวังการใช้ร่วมกับยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ Rifampicin เน่ืองจากตารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวังการใชย้ าอยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในผ้ปู ่วยทม่ี คี วาม ผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกดิ พิษได้ 4. ควรระวงั การใชใ้ นผู้ปว่ ยโรคความดนั โลหิตสงู โรคหวั ใจ ผู้ป่วยโรคแผล เปอ่ื ยเพปตกิ ผปู้ ่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เนอ่ื งจาก เป็นตารับยารสรอ้ น 5. ยานีอ้ าจทาใหง้ ่วงซึมได้ ควรหลกี เลยี่ งการขับข่ยี านพาหนะ หรือทางาน เกีย่ วกบั เครื่องจักรกล ข้อมลู เพมิ่ เติม - 3. ยาแก้ลมเนาวนารวี าโย ท่ีมาของตารบั ยา ตารายาศลิ าจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม “สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะก้าเนิดแห่งลม อันชื่อว่าเนาวนารีวาโย เป็นค้ารบ 18 น้ัน เกิดแต่ปลายปัตคาดปลายสันทฆาตเจือกันกล่าวคือจับต้นคอเป็นต้นก็ดี ในล้าคอก็ดี เหตุว่าแล่น ถึงกันมักบังเกิดแก่สตรีทรงครรภ์ กระท้าให้ปลายมือปลายเท้า ดุจปลาดุกยอก แล้วขึ้นมาจับเอาต้น คอใหค้ อแขง็ จะเบือนคอกม็ ิได้ สมมติวา่ คอแขง็ แล้วกระท้าพิษให้ร้อนเป็นกา้ ลัง จงึ พระฤาษีเพทะกะ 182 หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวิต เพื่อใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

181 เทพให้แต่งยาน้ีแก้ เอากัญชา 1, ดีปลี 1, พริกไทย 1, ขิงแห้ง 1, ขอบชะนางท้ัง 2, ตานหม่อน 1, ลูก จันทน์ 1, ดอกจันทน์, สมุลแว้ง 1,อบเชย 1, กานพลู 1, เอาเสมอภาค ท้าเป็นจุณบดละลายน้าผ้ึงกิน หนัก 1 สลงึ ใหก้ นิ เช้าเย็น อาจารย์ท่านกลา่ วไว้ว่าให้กนิ 7 วนั หายวเิ ศษนักฯ” สตู รตารบั ยา ประกอบด้วย ตวั ยา 12 ชนิด รวมนา้ หนกั 12 ส่วน ดังน้ี ลาดบั ตวั ยา นา้ หนกั ยา 1 กัญชา 1 สว่ น 2 ดีปลี 1 ส่วน 3 พรกิ ไทย 1 สว่ น 4 ขงิ แห้ง 1 สว่ น 5 ขอบชะนางแดง 1 ส่วน 6 ขอบชะนางขาว 1 สว่ น 7 ตานหม่อน 1 ส่วน 8 ลกู จันทน์ 1 ส่วน 9 ดอกจนั ทน์ 1 ส่วน 10 สมลุ แวง้ 1 สว่ น 11 อบเชย 1 ส่วน 12 กานพลู 1 ส่วน ขอ้ บ่งใช้ แก้ลมเนาวนารีวาโย รูปแบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวธิ ีใช้ รบั ประทานคร้ังละ 2 กรัม วนั ละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ น้ากระสายยาทใี่ ช้ น้าผง้ึ รวง ถ้าหาน้ากระสายยาไมไ่ ด้ ให้ใช้นา้ สกุ แทน ข้อหา้ มใช้ หา้ มใชใ้ นหญิงตัง้ ครรภ์ ผทู้ ม่ี ไี ข้ และผทู้ มี่ ีอายตุ ่ากวา่ 18 ปี ข้อควรระวงั ควรระวงั การรบั ประทานรว่ มกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเปน็ ล่มิ (Anticoagulant) และยาต้านการจบั ตัวของเกล็ดเลือด (Antiplatelets) ขอ้ มูลเพิ่มเติม ลมเนาวนารีวาโย เป็นลมทท่ี าให้มอี าการเจ็บแปลบ๊ ท่ีปลายมือปลายเท้าคลา้ ย ปลาดกุ ยอก ต้นคอตึงแขง็ เกร็ง หันคอไม่ได้ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ 183 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

182 4. ยาน้ามันสนน่ั ไตรภพ ทม่ี าของตารับยา ตารายาศิลาจารกึ ในวดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม จารกึ ตารายา วัดราชโอรสารามวรวิหาร “สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะกระษัยโรคอันบังเกิดข้ึนเป็นอุปปาติก คือกระษัยเหล็ก นั้นเป็นค้ารบ 3 มีประเภทกระท้าให้หน้าเหน่าและท้องน้อยน้ันแข็งดุจดังแผ่นศิลา และจะไหวตัวไป มาก็มิได้ คร้ันแก่เข้าแข็งลามขึ้นไปถึงยอดอก และให้บริโภคอาหารมิได้ ให้ปวดขบดังจะขาดใจตาย ดังนฯ้ี อนึ่ง เอาใบกะเพรา ใบแมงลัก ใบเสี้ยนผี กระชาย กัญชา พริกไทย หอมแดง หญ้าไซ เกลือ ลูกคัดเค้า ยาทั้งนี้เอาน้าสิ่งละทะนาน 1 น้ามันงาทะนาน 1 หุงให้คงแต่น้ามันแล้ว จึงเอา ลูกจันทน์ ดอกจนั ทน์ กระวาน กานพลู เทียนด้า เทียนขาว การบรู ส่ิงละ 1 สลึง ท้าเป็นจณุ ปรงุ ลงใน น้ามันนั้น แล้วจึงเอามาทาท้องรีดเสียให้ได้ 3 วันก่อน แล้วจึงกินน้ามันน้ีอีก 3 วันหายวิเศษนัก ยาน้ามันขนานน้ชี อ่ื สน่นั ไตรภพ แกก้ ลอ่ นกระษัยทงั้ ปวงหายดนี กั ฯ” สูตรตารบั ยา ประกอบดว้ ย ตัวยา 18 ชนิด ดงั นี้ ลาดับ ตัวยา นา้ หนักยา 1 ใบกะเพรา 1 กโิ ลกรัม (นา้ หนักตัวยาสด) 2 ใบแมงลกั 1 กโิ ลกรมั (นา้ หนกั ตัวยาสด) 3 ใบผักเสย้ี นผี 1 กโิ ลกรมั (น้าหนักตวั ยาสด) 4 กระชาย 1 กิโลกรมั (น้าหนกั ตัวยาสด) 5 กัญชา 1 กโิ ลกรัม (น้าหนกั ตวั ยาสด) 6 พรกิ ไทย 1 กิโลกรัม (นา้ หนักตัวยาสด) 7 หอมแดง 1 กิโลกรมั (นา้ หนกั ตัวยาสด) 8 หญา้ ไซ 1 กิโลกรัม (น้าหนักตัวยาสด) 9 เกลือ 1 กโิ ลกรมั 10 ลกู คดั เค้า 1 กิโลกรัม (นา้ หนกั ตัวยาสด) 11 ลูกจันทน์ 1 สลึง 12 ดอกจันทน์ 1 สลงึ 13 กระวาน 1 สลึง 14 กานพลู 1 สลึง 15 เทียนดา 1 สลงึ 184 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวิต เพื่อใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา

183 ลาดบั ตัวยา น้าหนักยา 16 เทียนขาว 1 สลึง 17 การบรู 1 สลึง 18 นา้ มนั งา 1 ทะนาน ขอ้ บง่ ใช้ แก้กษยั เหลก็ รปู แบบยา ยาน้ามนั ขนาดและวิธีใช้ 1. ใชน้ า้ มันทารดี ทอ้ ง นวดคลงึ บริเวณรอบสะดือถึงชายโครง ทิศตามเข็ม 1. นาฬิกา 3 วันกอ่ น แลว้ จงึ รับประทานนา้ มัน 2. รับประทานคร้งั ละ 3 - 5 มิลลิลิตร วันละ 1 ครง้ั ก่อนอาหารเช้าเป็น เวลา 3 วัน ข้อหา้ มใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผทู้ ี่มไี ข้ และผู้ท่ีมีอายุต่ากวา่ 18 ปี ขอ้ ควรระวงั 1. ควรระวงั การรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลอื ดเปน็ ล่ิม (Anticoagulant) และยาต้านการจับตวั ของเกล็ดเลือด (Antiplatelets) 2. ควรระวังการใชร้ ว่ มกับยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ Rifampicin เนื่องจากตารับนมี้ ีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวงั การใช้ในผปู้ ่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหวั ใจ ผ้ปู ่วยโรคแผล เปื่อยเพปติก ผู้ปว่ ยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เน่อื งจากเป็น ตารบั ยารสร้อน 4. ควรระวังการใช้ยาอยา่ งต่อเนอื่ ง โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในผูป้ ว่ ยทม่ี คี วาม ผดิ ปกติของตับ ไต เน่ืองจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกดิ พิษได้ 5. ควรระวงั ในการทาบริเวณผวิ ทบี่ อบบางหรือผวิ หนงั ที่แตกเนอื่ งจากอาจ ทาใหเ้ กดิ การระคายเคืองได้ ขอ้ มูลเพิ่มเติม กษัยเหล็ก เป็นกษยั อันเกิดจากอปุ ปาติกะโรคชนิดหนึ่ง เกดิ จากลมอัดแนน่ แขง็ เปน็ ดานอยูใ่ นท้องน้อย ผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวดทอ้ งแขง็ ลามขน้ึ ไปถึงอก กนิ อาหารไม่ได้ เปน็ ต้น 5. ยาแกล้ มข้ึนเบ้ืองสงู ท่มี าของตารับยา ตารายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม “สิทธิการิยะ จะกล่าวด้วยต้ารายาคือวิเศษสรรพคุณส้าเร็จ อันอาจารย์เจ้าในก่อน ประมวลไว้ ใหแ้ กส้ รรพโรคทง้ั ปวงต่าง ๆ สบื กนั มาฯ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวิต 185 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

184 ในท่ีน้ีจะว่าแต่สรรพคุณวิเศษ คือคณะสรรพยาท่ีจะแก้ซึ่งโรคสรรพลมทั้งปวงอันก้าเริบพัด ขึ้นเบ้ืองบนนน้ั โดยนัยดังนี้ ฯ ยาแก้ลมข้ึนสูง เอายาด้า, กัญชา, อุตพิด, ดองดึง ส่ิงละ 4 ส่วน กระเทียม 6 ส่วน, ว่าน น้า, ชะเอมเทศ, โกฐน้าเต้า, โกฐพุงปลา, มหาหิงค์ุ ส่ิงละ 8 ส่วน ว่านเปราะ, ผลผักชี สิ่งละ12 ส่วน ขิงแห้ง, แก่นแสมทะเล, รากส้มกุ้ง, สะค้าน ส่ิงละ 16 ส่วน พริกไทย, เปลือกกันเกรา สิ่งละ 24 ส่วน ทา้ เป็นจณุ บดละลายนา้ ผึ้งรวง ใหก้ ินหนัก 1 สลึง แกล้ มขนึ้ สงู หายดนี กั ฯ” สตู รตารับยา ประกอบด้วย ตัวยา 18 ชนิด รวมนา้ หนกั 198 ส่วน ดังนี้ ลาดับ ตัวยา น้าหนักยา 1 ยาดา 4 ส่วน 2 กญั ชา 4 ส่วน 3 อตุ พดิ 4 ส่วน 4 ดองดงึ 4 สว่ น 5 กระเทยี ม 6 ส่วน 6 ว่านนา้ 8 ส่วน 7 ชะเอมเทศ 8 สว่ น 8 โกฐน้าเต้า 8 สว่ น 9 โกฐพุงปลา 8 สว่ น 10 มหาหิงค์ุ 8 ส่วน 11 ว่านเปราะ 12 ส่วน 12 ผลผักชี 12 สว่ น 13 ขิงแหง้ 16 สว่ น 14 แกน่ แสมทะเล 16 ส่วน 15 รากสม้ กุง้ 16 สว่ น 16 สะค้าน 16 ส่วน 17 พรกิ ไทย 24 สว่ น 18 เปลอื กกันเกรา 24 ส่วน ขอ้ บ่งใช้ แกล้ มข้ึนเบ้อื งสงู รูปแบบยา ยาผง, แคปซลู ขนาดและวธิ ีใช้ รบั ประทานครั้งละ 2 กรมั วันละ 2 ครงั้ กอ่ นอาหาร เชา้ และเย็น น้ากระสายยาที่ใช้ นา้ ผ้ึงรวง ถา้ หาน้ากระสายยาไม่ได้ ใหใ้ ชน้ ้าสุกแทน 186 หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต เพ่ือใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

185 ข้อห้ามใช้ หา้ มใช้ในหญิงต้งั ครรภ์ ผทู้ ่ีมีไข้ และผทู้ ม่ี ีอายุตา่ กวา่ 18 ปี ข้อควรระวัง 1. ควรระวงั การรบั ประทานรว่ มกบั ยาในกลุ่มสารกันเลอื ดเป็นลิม่ (Anticoagulant) และยาตา้ นการจับตวั ของเกลด็ เลอื ด (Antiplatelets) 2. ควรระวงั การใชร้ ่วมกับยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ Rifampicin เน่ืองจากตารับนมี้ ีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวังการใช้ในผ้ปู ว่ ยโรคความดันโลหิตสงู โรคหัวใจ ผูป้ ว่ ยโรคแผล เปอ่ื ยเพปติก ผ้ปู ว่ ยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เน่ืองจาก เปน็ ตารับยารสรอ้ น ข้อมูลเพ่มิ เติม 1. ลมข้ึนเบื้องสงู เปน็ โรคลมท่ที าให้มีอาการปวดศีรษะ ตาแดง หูตาฝ้าฟาง . หอู ื้อ ออ่ นเพลีย สวงิ สวาย เปน็ ต้น 2. ดองดงึ จะต้องฆา่ ฤทธ์ติ ามกรรมวธิ กี ่อนนาไปปรุงยา 6. ยาไฟอาวุธ ที่มาของตารับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เลม่ 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 128 “อันว่าลมที่กล้ิงขึ้นกล้ิงลงแลลั่นอยู่ในท้องท่ีเปนป้างคลื่นดุจดังลูกฟูกนั้นก็หาย ถ้าไม่ หายท่านให้แต่งยาอันชื่อว่าอินทจักร์น้ันให้กินต่อไป ถ้ามิฟังยาอันใดแล้ว ท่านให้แต่งยาอันชื่อว่าไฟ อาวุธนั้นใหก้ ินต่อไป ยาช่ือไฟอาวุธขนานน้ี เอาผลจันทน์ 1 ดอกจันทน์ 1 กระวาน 1 กานพลู 1 โกฐทั้ง 5 เทียนท้ัง 5 ชะเอมเทศ 1 กันชา 1 แก่นแสมทะเล 1 เอาส่ิงละ 1 ส่วน อุตพิด 1 เปลือกสมุลแว้ง 1 ดีปลี 1 ใบพิมเสน 1 เอาส่ิงละ 2 ส่วน รากจิงจ้อ 1 รากส้มกุ้ง 1 รากเปล้าน้อย 1 รากเปล้าใหญ่ 1 รากสะค้าน 1 รากพาชไหน 1 เอาส่ิงละ 3 ส่วน สหัศคุณเทศ 4 ส่วน บุกรอ 9 ส่วน พริกไทย 1 ขิง แห้ง 1 รากเจตมูล เอาส่ิงละ 16 ส่วน รวมยา 32 สิ่งน้ีท้าเปนจุณ เอาน้ามะนาวเปนกระสายบดท้า แท่งไว้ กินแก้ทราง 7 จ้าพวก แก้ตานโจรท้ัง 12 จ้าพวก แก้หืดน้านมท้ัง 7 จ้าพวก แก้ไอผอมเหลือง แลแก้ไส้พองท้องใหญ่ แก้พุงโรแลลมจุกเสียด แลแก้ป้างแก้ม้ามแก้ดานเสมหะให้ปวดมวนเสียดแทง แก้อุจจาระเปนเสมหะโลหิตระคนกันมักให้ถอยกา้ ลัง มักใหเ้ ปนไข้ไม่รู้สึกตัวใหล้ งเปนโลหิต แก้ไข้เพ่ือ เสมหะเพื่อลม” สูตรตารบั ยา ประกอบด้วย ตวั ยา 32 ชนิด รวมน้าหนกั 104 สว่ น ดังนี้ ลาดับ ตัวยา นา้ หนักยา 1 ผลจนั ทน์ 1 สว่ น 2 ดอกจนั ทน์ 1 สว่ น 3 กระวาน 1 ส่วน 4 กานพลู 1 สว่ น รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพื่อใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 187 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

186 น้าหนกั ยา 1 สว่ น ลาดับ ตวั ยา 1 สว่ น 5 โกฐสอ 1 ส่วน 6 โกฐเขมา 1 สว่ น 7 โกฐหวั บัว 1 สว่ น 8 โกฐจุฬาลมั พา 1 ส่วน 9 โกฐเชียง 1 สว่ น 1 ส่วน 10 เทียนดา 1 ส่วน 11 เทยี นแดง 1 สว่ น 12 เทยี นขาว 1 สว่ น 13 เทยี นข้าวเปลอื ก 1 ส่วน 14 เทียนตาตั๊กแตน 1 ส่วน 15 ชะเอมเทศ 2 ส่วน 16 กญั ชา 2 ส่วน 17 แกน่ แสมทะเล 2 สว่ น 18 อตุ พดิ 2 ส่วน 19 เปลอื กสมลุ แว้ง 3 สว่ น 20 ดปี ลี 3 สว่ น 21 ใบพิมเสน 3 ส่วน 22 รากจงิ จอ้ 3 ส่วน 23 รากส้มกงุ้ 3 ส่วน 24 รากเปลา้ น้อย 3 ส่วน 25 รากเปลา้ ใหญ่ 4 ส่วน 26 รากสะคา้ น 9 สว่ น 27 รากพาชไหน 16 ส่วน 28 สหศั คุณเทศ 16 ส่วน 29 บุกรอ 16 ส่วน 30 พรกิ ไทย 31 ขิงแห้ง 32 เจตมูลเพลงิ แดง 188 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต เพ่อื ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

187 ข้อบ่งใช้ แกล้ มจกุ เสยี ด ปวดมวนท้อง แก้ดานเสมหะ รปู แบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวธิ ใี ช้ รบั ประทานครั้งละ 2 กรัม วนั ละ 2 ครงั้ ก่อนอาหาร เช้าและเย็น น้ากระสายยาทีใ่ ช้ นา้ มะนาว ถ้าหานา้ กระสายยาไมไ่ ด้ ให้ใช้นา้ สุกแทน ข้อหา้ มใช้ หา้ มใช้ในหญิงต้งั ครรภ์ ผู้ทมี่ ีไข้ และผ้ทู ่มี ีอายุตา่ กว่า 18 ปี ข้อควรระวัง 1. ควรระวงั การรบั ประทานรว่ มกบั ยาในกลุ่มสารกนั เลอื ดเป็นลิม่ 1. (Anticoagulant) และยาต้านการจับตวั ของเกล็ดเลือด (Antiplatelets) 2. ควรระวังการใชร้ ่วมกับยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline 1. และ Rifampicin เนื่องจากตารบั น้มี ีพรกิ ไทยในปริมาณสงู 3. ควรระวังการใช้ในผ้ปู ่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ผู้ปว่ ยโรคแผล 1. เป่ือยเพปติก ผ้ปู ว่ ยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลยอ้ น เนอ่ื งจากเป็น 1. ตารับยารสรอ้ น ข้อมูลเพ่ิมเติม ดานเสมหะ หมายถึง เสมหะท่คี ่งั คา้ งในลาไส้ทาใหท้ ้องแข็งปวดมวน 7. ยาแกน้ อนไมห่ ลบั หรอื ยาแก้ไข้ผอมเหลอื ง ท่ีมาของตารบั ยา แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 1 พระยาพศิ ณปุ ระสาทเวช ร.ศ. 128 “กัญชา แก้ไข้ผอมเหลืองหาก้าลังมิได้ ให้ตัวส่ันเสียงสั่นเปนด้วยวาโยธาตุก้าเริบ แก้ นอนมิหลับ เอาตรีกะฏุก 1 จันทน์ท้ัง 2 ใบสะเดา 1 ใบคนทีเขมา 1 พริกล่อนเสมอภาค ใบกันชาเท่ายา ทั้งหลายท้าผง เอาน้ามะพร้าว น้าผ้ึง น้าส้มซ่า น้าตาลทราย กระทือสด น้าเบ็ญจทับทิมต้มละลายยา กินหายแล” สูตรตารบั ยา ประกอบดว้ ย ตวั ยา 8 ชนิด รวมนา้ หนัก 16 ส่วน ดังนี้ ลาดับ ตัวยา น้าหนักยา 1 ขิงแห้ง 1 ส่วน 2 พรกิ ไทยล่อน 2 สว่ น 3 ดีปลี 1 สว่ น 4 จนั ทนแ์ ดง 1 ส่วน 5 จันทน์ขาว 1 สว่ น 6 ใบสะเดา 1 สว่ น 7 ใบคนทเี ขมา 1 ส่วน 8 ใบกญั ชา 8 สว่ น รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 189 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

188 ข้อบ่งใช้ 1. แก้นอนไมห่ ลับ 2. แกไ้ ขผ้ อมเหลือง มีอาการตวั ส่นั เสยี งสั่น ออ่ นเพลยี ไม่มกี าลงั รูปแบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวธิ ใี ช้ รบั ประทานครั้งละ 2 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น นา้ กระสายยาท่ีใช้ น้ามะพร้าว นา้ ผึ้งรวง นา้ สม้ ซ่า นา้ ตาลทราย กระทอื สด นา้ เบญจทบั ทมิ ตม้ อยา่ งใด อย่างหน่งึ ถา้ หาน้ากระสายยาไม่ได้ ใหใ้ ชน้ ้า สกุ แทน ข้อหา้ มใช้ 1. ห้ามใชใ้ นหญิงต้ังครรภ์ และผูท้ ่ีมีอายุตา่ กวา่ 18 ปี 2. ห้ามใช้ร่วมกับยาที่มีฤทธ์ิกดระบบประสาทสว่ นกลาง เช่น ยานอนหลับ และยาต้านการชัก รวมท้งั แอลกอฮอล์ หรือสิง่ ที่มแี อลกอฮอล์ผสมอยู่ ข้อควรระวัง 1. ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลมุ่ สารกันเลอื ดเป็นลม่ิ (Anticoagulant) และยาตา้ นการจบั ตัวของเกล็ดเลือด (Antiplatelets) 2. ควรระวงั การใช้รว่ มกบั ยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ Rifampicin เนื่องจากตารบั นี้มีพริกไทยเปน็ สว่ นประกอบ 3. ยานี้อาจทาใหง้ ว่ งซึมได้ ควรหลกี เลี่ยงการขับขี่ยานพาหนะ หรอื ทางาน เก่ยี วกับเครอ่ื งจักรกล 4. ควรระวงั ในผทู้ ป่ี ระกอบอาชพี ทางน้าหรือผูท้ รี่ า่ งกายต้องสมั ผัสความ เยน็ เปน็ เวลานาน เพราะจะทาใหเ้ ป็นตะคริวตรงบรเิ วณทอ้ งได้ ขอ้ มูลเพิม่ เติม 1. ไขผ้ อมเหลือง เกิดจากธาตลุ มกาเริบสง่ ผลใหน้ อนไม่คอ่ ยหลับ เบือ่ อาหาร เม่ือเป็นเร้ือรัง ร่างกายผ่ายผอม ซดี เหลอื ง อ่อนเพลยี และไม่มี กาลงั ซ่ึงอาจเกดิ จากหลายสาเหตุ เช่น โรคริดสีดวง 2. ริดสดี วง เปน็ โรคกลุ่มหนึ่ง เกดิ ได้กับอวยั วะต่าง ๆ ของร่างกาย เชน่ ตา จมูก ลาไส้ ทวารหนัก ตาราการแพทย์แผนไทยว่า มี 18 ชนิด แตล่ ะชนิด มีอาการและชื่อเรยี กแตกต่างกันไป บางชนิดอาจมีติ่งหรือก้อนเน้ือ เกิดขึ้น ทีอ่ วยั วะนน้ั เชน่ รดิ สดี วงตา ริดสีดวงทวารหนัก 8. ยาแก้สนั ฑฆาต กลอ่ นแหง้ ท่ีมาของตารบั ยา แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณปุ ระสาทเวช ร.ศ.126 “จะว่าด้วยโรคส้าหรับบุรษุ หรือสัตรีก็เหมือนกัน แต่จะว่าดว้ ยบุรษุ น้ันก่อน ถ้าผู้ใดเปน โทษสัณฑฆาฏแลกล่อนแห้ง มักให้ผูกพรรดึกแลลมเสียดแทง ให้เปนลูกเปนก้อนเปนดานในท้องให้ เมื่อยขบทวั่ สารพางค์ มักใหเ้ จบ็ บน้ั เอว ให้มอื เท้าตายเปนเหนบ็ ชา มกั ขัดหวั เหน่าน่าตะโพก ตงึ สอง 190 หนังสอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพื่อใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

189 ราวข้างไปจนตลอดทวารหนัก ปัสสาวะเปนโลหิตให้ปวดสีสะวิงเวียนหน้าตา ปากเบ้ียวตาแหกเสียง แห้งเจราไม่ไคร่ได้ยิน จักษุมืดหูหนัก แลจุกเสียดท้องขึ้นแน่นน่าอก เสพย์อาหารไม่มีรศ โรคท้ังนี้เปน เพ่ือวาตะ, เสมหะ, โลหิต, ก้าเริบ เม่ือจะเปนน้ันให้เหม็นเนื้อตัวแลอาหารถอย บางทีให้จับสะบัด ร้อนสท้านหนาว มักอยากของเปรี้ยวหวานแลเย็น เปนทั้งน้ีเพราะโลหิตแห้งติดกระดูกสันหลัง บุรุษ แลสัตรีเปนเหมือนกนั จะแกท้ ่านให้แตง่ ยาน้ี ยาแก้โรคส้าหรับบุรุษขนานนี้ เอาเถาสะค้าน 1 ผักแพวแดง 1 หัวดองดึง 1 ว่านน้า 1 มหาหิงค์ุ 1 เนื้อในฝักราชพฤษ 1 โกฐสอ 1 โกฐพุงปลา 1 โกฐจุลาล้าภา 1 กันชา 1 หัวอุตพิด 1 ชะเอมเทศ 1 ดีปลี 1 แก่นแสมทะเล 1 ยาท้ังน้ีเอาเสมอภาค พริกไทยก่ึงยา แต่ว่าผ่อนตามก้าลัง ทา้ ผงแลว้ เอาน้าใบกะเม็ง 1 น้าผลประค้าดีควาย 1 เอาเท่ากันเคล้ายาให้ได้ 7 ครั้ง ผึ่งให้แห้งแล้วบด กบั น้าผ้งึ รับประทาน หนัก 1 สลึง แก้โรคดังกล่าวมาแล้วแต่หลงั ” สตู รตารบั ยา ประกอบดว้ ย ตัวยา 15 ชนิด รวมนา้ หนัก 21 ส่วน ดังน้ี ลาดบั ตัวยา น้าหนกั ยา 1 สะคา้ น 1 ส่วน 2 ผกั แพวแดง 1 ส่วน 3 ดองดงึ 1 สว่ น 4 วา่ นน้า 1 สว่ น 5 มหาหงิ ค์ุ 1 สว่ น 6 เนอ้ื ในฝกั ราชพฤกษ์ 1 สว่ น 7 โกฐสอ 1 สว่ น 8 โกฐพงุ ปลา 1 ส่วน 9 โกฐจุฬาลัมพา 1 สว่ น 10 กญั ชา 1 สว่ น 11 อุตพดิ 1 ส่วน 12 ชะเอมเทศ 1 สว่ น 13 ดปี ลี 1 ส่วน 14 แก่นแสมทะเล 1 ส่วน 15 พรกิ ไทย 7 สว่ น สว่ นประกอบอ่นื ในตารบั ใบกะเม็ง ผลประคาดีควาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพือ่ ใช้เป็นยา หนังสอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต 191 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

190 ขอ้ บ่งใช้ บรรเทาอาการท้องผกู เป็นพรรดึก อาการปวดเมื่อยทวั่ ร่างกาย มอื ชาเท้าชา ปวดศรี ษะ หนา้ มืดวิงเวยี น จุกเสียดทอ้ ง แนน่ หนา้ อก ท่ีเกิดจาก โทสนั ฑฆาตและกลอ่ นแห้ง รปู แบบยา ยาผง, แคปซลู ขนาดและวธิ ีใช้ รบั ประทานครัง้ ละ 2 กรัม วันละ 2 ครงั้ ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น นา้ กระสายยาท่ีใช้ น้าผึง้ รวง ถ้าหาน้ากระสายยาไม่ได้ ใหใ้ ชน้ ้าสกุ แทน ขอ้ ห้ามใช้ ห้ามใชใ้ นหญงิ ตั้งครรภ์ ผู้ทีม่ ีไข้ และผทู้ ีม่ ีอายตุ ่ากวา่ 18 ปี ขอ้ ควรระวงั 1. ควรระวงั การรบั ประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกนั เลอื ดเป็นลิม่ (Anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (Antiplatelets) 2. ควรระวังการใชร้ ว่ มกับยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ Rifampicin เนื่องจากตารับนม้ี ีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวงั การใชย้ านใ้ี นผู้ปว่ ยสูงอายุ ข้อมูลเพมิ่ เติม ต้องฆา่ ฤทธดิ์ องดึงก่อนนาไปปรงุ ยา 9. ยาอัมฤตย์โอสถ ที่มาของตารับยา แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ เลม่ 2 พระยาพศิ ณุประสาทเวช ร.ศ.126 “ขนานหนึ่งชื่ออัมฤตย์โอสถ แก้ลมไกษยท้ังปวงเอา สหัสคุณ 1 แก่นแสมทเล 1 ราก ส้มกุ้ง 1 ลูกมะตูม 1 ลูกมะแหน 1 ลูกพิลังกาสา 1 สมอเทศ 1 สมอไทย 1 โกฏเขมา 1 เทียนด้า 1 เทียนขาว 1 ลูกจันทน์ 1 ดอกจันทน์ 1 กระวาน 1 กานพลู 1 ดีปลี 1 ยาท้ังนี้เอาเสมอภาค เอา เปลือกหอยโข่ง 1 เปลือกหอยขม 1 เปลือกหอยแครง 1 เบี้ยผู้เผา 1 เอาสิ่งละ 3 ส่วน เอากันชา 10 สว่ น เอาพริกไทย 2 เท่ายาทง้ั หลาย ต้าผงกระสายยักยา้ ยใชใ้ ห้ชอบโรคท้งั หลายเถิด” สตู รตารบั ยา ประกอบดว้ ย ตัวยา 22 ชนิด รวมนา้ หนัก 76 ส่วน ดงั นี้ ลาดบั ตัวยา น้าหนกั ยา 1 สหัสคุณ 1 ส่วน 2 แก่นแสมทะเล 1 ส่วน 3 รากสม้ กุ้ง 1 สว่ น 4 ลูกมะตูม 1 สว่ น 5 ลูกมะแหน (สมอพเิ ภก) 1 สว่ น 6 ลูกพลิ ังกาสา 1 ส่วน 7 สมอเทศ 1 สว่ น 8 สมอไทย 1 ส่วน 192 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

191 ลาดับ ตวั ยา น้าหนกั ยา 9 โกฐเขมา 1 ส่วน 10 เทียนดา 1 ส่วน 11 เทยี นขาว 1 ส่วน 12 ลูกจนั ทน์ 1 ส่วน 13 ดอกจันทน์ 1 ส่วน 14 กระวาน 1 สว่ น 15 กานพลู 1 สว่ น 16 ดปี ลี 1 สว่ น 17 เปลอื กหอยโข่ง 3 สว่ น 18 เปลือกหอยขม 3 สว่ น 19 เปลือกหอยแครง 3 สว่ น 20 เบย้ี ผู้เผา 3 สว่ น 21 กญั ชา 10 ส่วน 22 พริกไทย 38 สว่ น ข้อบ่งใช้ แก้ลมกษัย รปู แบบยา ยาผง, แคปซลู ขนาดและวิธใี ช้ รับประทานคร้ังละ 2 กรัม วันละ 2 ครง้ั ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น ข้อหา้ มใช้ ห้ามใช้ในหญิงต้งั ครรภ์ ผทู้ ม่ี ีไข้ และผทู้ ่ีมอี ายุต่ากว่า 18 ปี ข้อควรระวงั 1. ควรระวังการรับประทานรว่ มกบั ยาในกลุ่มสารกันเลือดเปน็ ลิม่ ข้อมูลเพ่ิมเติม (Anticoagulant) และยาตา้ นการจับตวั ของเกล็ดเลือด (Antiplatelets) 2. ควรระวังการใช้รว่ มกบั ยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ Rifampicin เนื่องจากตารบั นี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวังการใชใ้ นผู้ปว่ ยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ผู้ปว่ ยโรคแผล เปื่อยเพปติก ผู้ปว่ ยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็น ตารับยารสร้อน 4. ควรระวงั การใชย้ านใ้ี นผปู้ ว่ ยสงู อายุ ลมกษยั เปน็ ลมท่ที าให้ผอมแหง้ แรงน้อย ทาใหม้ นึ ตงึ มือเทา้ ออ่ นแรง เปน็ ตน้ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพื่อใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 193 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

192 10. ยาอไภยสาลี ท่ีมาของตารับยา เวชศึกษา แพทยศ์ าสตรส์ ังเขป เลม่ 1, 2, 3 พระยาพศิ ณุประสาทเวช ร.ศ. 127 “ยาอไภยสาลี เอาลูกจัน 1 สลึง ดอกจัน 2 สลึง ลูกกระวาน 3 สลึง กานพลู 1 บาท ลูกพิลังกาสา 1 บาท 2 สลึง ว่านน้า 1 บาท 3 สลึง โกฐสอ 2 บาท โกฐเขมา 2 บาท 1 สลึง เทียนเข้า เปลือก 2 บาท 2 สลึง เทียนแดง 2 บาท 3 สลึง เทียนขาว 2 บาท เทียนตาตั๊กแตน 2 บาท 1 สลึง เจตมูลเพลิง 3 บาท สมอไทย 3 บาท 1 สลงึ สมอเทศ 3 บาท 1 สลึง หัวบกุ รอ 3 บาท 3 สลงึ สหัศคณุ เทศ 1 ต้าลึง 2 บาท จันทน์เทศ 1 ต้าลึง กัญชา 3 บาท 3 สลึง พริกล่อน 1 ต้าลึง กินเช้าเย็นทุกวัน แก้สารพัด ลม 80 จ้าพวก แก้โลหิต 20 จ้าพวก แก้ริดสีดวง 20 จ้าพวก ยาน้ีกินได้ 3 เดือน หายโรคาพยาธิมิได้มีเลย อายุวัฒนะทั้งเกิดปัญญารู้หลักนักปราชญ์มากกว่าคนทั้งปวง ถ้าผู้ใดพบให้ท้ากินวิเศษนัก ใครกินยาน้ีดุจ ยาทิพยน์ ้นั แล ฯ” สูตรตารบั ยา ประกอบด้วย ตวั ยา 20 ชนิด รวมนา้ หนกั 757.50 กรมั ดังนี้ ลาดบั ตวั ยา นา้ หนกั ยา (กรมั ) 1 ลูกจันทน์ 3.75 2 ดอกจันทน์ 7.50 3 กระวาน 11.25 4 กานพลู 15 5 ลกู พลิ ังกาสา 22.50 6 วา่ นน้า 26.25 7 โกฐสอ 30 8 โกฐเขมา 33.75 9 เทยี นข้าวเปลือก 37.50 10 เทยี นแดง 41.25 11 เทียนขาว 30 12 เทียนตาต๊กั แตน 33.75 13 เจตมูลเพลงิ 45 14 สมอไทย 48.75 15 สมอเทศ 48.75 194 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวิต เพ่อื ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

193 ลาดับ ตัวยา น้าหนักยา (กรัม) 16 หัวบุกรอ 56.25 17 สหสั คุณเทศ 90 18 จันทนเ์ ทศ 60 19 กญั ชา 56.25 20 พรกิ ไทยลอ่ น 60 ข้อบ่งใช้ แก้โรคทางลม บรรเทาอาการจุกเสียดแนน่ รูปแบบยา ยาผง, แคปซลู ขนาดและวธิ ีใช้ รับประทานครั้งละ 2 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น ขอ้ ห้ามใช้ ห้ามใชใ้ นหญิงตั้งครรภ์ ผูท้ มี่ ีไข้ และผู้ทม่ี ีอายตุ ่ากวา่ 18 ปี ขอ้ ควรระวัง 1. ควรระวังการรับประทานร่วมกบั ยาในกลุ่มสารกนั เลือดเปน็ ลม่ิ (Anticoagulant) และยาต้านการจบั ตัวของเกล็ดเลือด (Antiplatelets) 2. ควรระวังการใช้รว่ มกบั ยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ Rifampicin เนื่องจากตารบั นี้มีพริกไทยในปริมาณสูง ข้อมูลเพ่มิ เติม ยาอไภยสาลเี ปน็ สตู รตารบั เดียวกันกบั ยาอภัยสาลี ในบัญชียาหลกั แห่งชาติ ปี 2561 เพียงแต่ในบัญชยี าหลกั แหง่ ชาติไม่ไดใ้ ส่กญั ชาในสูตรตารบั เนอ่ื งจากเสนอตารับยากอ่ นที่ พรบ.ยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562 ประกาศใช้ 11. ยาแก้ลมแกเ้ สน้ ท่ีมาของตารับยา เวชศาสตร์วณั ์ณณา เล่ม 5 “ขนานหน่ึงเอา เทียนขาว 1เทียนด้า 2เทียนข้าวเปลือก 3ขิง 4เจตมูล 5ใบกันชา 20พริกไทย 40 สว่ น ท้าเปนจุณละลายน้าผึ้ง น้าสม้ ซ่ากินแกล้ มแก้เส้นแกเ้ มอื่ ยแก้เหนบ็ ชาแกต้ นี ตายมือตายหายดนี กั ” สูตรตารบั ยา ประกอบดว้ ย ตวั ยา 7 ชนิด รวมน้าหนกั 75 ส่วน ดงั น้ี ลาดบั ตัวยา น้าหนกั ยา 1 เทยี นขาว 1 ส่วน 2 เทยี นดา 2 ส่วน 3 เทยี นข้าวเปลือก 3 ส่วน 4 ขิง 4 ส่วน 5 เจตมลู เพลิงแดง 5 ส่วน รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ 195 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

194 ลาดบั ตวั ยา น้าหนักยา 6 ใบกัญชา 20 สว่ น 7 พรกิ ไทย 40 สว่ น ขอ้ บ่งใช้ แก้ลมในเส้น บรรเทาอาการมือเท้าชา อ่อนแรง รูปแบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 2 กรัม วนั ละ 2 ครัง้ ก่อนอาหาร เช้าและเย็น นา้ กระสายยาที่ใช้ นา้ ผง้ึ รวง นา้ สม้ ซ่า อย่างใด อย่างหน่ึง ถา้ หาน้ากระสาย ยาไม่ได้ ให้ใช้น้าสกุ แทน ขอ้ หา้ มใช้ ห้ามใช้ในหญิงตง้ั ครรภ์ ผูท้ ี่มีไข้ และผูท้ ม่ี ีอายุตา่ กวา่ 18 ปี ขอ้ ควรระวงั 1. ควรระวังการรับประทานร่วมกบั ยาในกลุ่มสารกนั เลอื ดเปน็ ลม่ิ (Anticoagulant) และยาตา้ นการจับตวั ของเกล็ดเลือด (Antiplatelets) 2. ควรระวังการใชร้ ว่ มกบั ยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ Rifampicin เนื่องจากตารบั นมี้ ีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวังการใช้ในผปู้ ่วยโรคความดันโลหติ สงู โรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคแผล เปอื่ ยเพปตกิ ผู้ปว่ ยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลยอ้ น เน่อื งจากเปน็ ตารบั ยารสร้อน 4. ควรระวงั การใชย้ าน้ใี นผู้ปว่ ยสงู อายุ ขอ้ มูลเพมิ่ เติม ลมในเส้น เปน็ ลมท่ีพัดประจาอยู่ตามเสน้ ต่าง ๆ ในร่างกาย เชน่ ลมจันทก ระลาพัดอยูใ่ นเสน้ อทิ า ลมสูญทกลา พัดอยใู่ นเสน้ ปงิ คลา เมื่อลมเหล่านี้ ผดิ ปกตจิ ะทาใหผ้ ู้ปว่ ยมอี าการปวดหรือชาตามแนวเส้นทีล่ มนน้ั พัดประจา หรอื บรเิ วณใกลเ้ คยี ง เป็นต้น 12. ยาแกโ้ รคจิต ที่มาของตารับยา อายุรเวทศึกษา (ขนุ นิทเทสสขุ กจิ ) เล่ม 2 “1483 ยาแก้โรคจิต ขนานท่ี 1 เอาเปลือกกุ่มน้า 2 บาท เปลือกมะรุม 6 บาท แห้ว หมู เปล้าน้อย เปล้าใหญ่ รางแดง จันทน์เทศ เปลือกมะตูม ก้านกัญชา บอระเพ็ด เปลือกโมกมัน หญ้าชันกาด สนเทศ สิ่งละ 1 บาท ระย่อมเท่ายาทั้งหลาย รวมต้าผงละลายน้าร้อนแทรกพิมเสน กินครั้งแรกหนกั 2 ไพ ถ้านอนไม่หลบั ให้ทวยี าขน้ึ ไปถึง 1 สลึง” สตู รตารบั ยา ประกอบด้วย ตัวยา 14 ชนิด รวมนา้ หนกั 570 กรมั ดงั น้ี 196 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต เพือ่ ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

195 ลาดับ ตวั ยา นา้ หนกั ยา (กรมั ) 1 เปลอื กกุ่มน้า 30 2 เปลอื กมะรมุ 90 3 แหว้ หมู 15 4 เปล้านอ้ ย 15 5 เปล้าใหญ่ 15 6 รางแดง 15 7 จนั ทน์เทศ 15 8 เปลือกมะตมู 15 9 กา้ นกญั ชา 15 10 บอระเพ็ด 15 11 เปลือกโมกมัน 15 12 หญ้าชนั กาด 15 13 สนเทศ 15 14 ระย่อม 285 ขอ้ บ่งใช้ แก้โรคลมทที่ าใหก้ ังวล เครียด นอนไมห่ ลบั รูปแบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวธิ ใี ช้ 1. รับประทานคร้งั แรก ครง้ั ละ 500 มลิ ลิกรัม วันละ 2 คร้ัง กอ่ นอาหาร ข้อห้ามใช้ เช้าและเยน็ 2. ถ้านอนไมห่ ลับ รับประทานครั้งละ 1 กรัม วนั ละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า ข้อควรระวัง และเย็น 3. นา้ กระสายยาท่ใี ช้ นา้ ร้อนแทรกพมิ เสน ถ้าหาน้ากระสายยาไม่ได้ ใหใ้ ช้ นา้ สกุ แทน 1. ห้ามใช้ในหญงิ ต้งั ครรภ์ และผทู้ ีม่ ีอายตุ ่ากวา่ 18 ปี 2. หา้ มใชใ้ นผทู้ ่ใี ชย้ าลดความดนั โลหติ ควรระวงั การใชย้ าตารับที่มีระยอ่ มเป็นส่วนประกอบ เนื่องจากสาระสาคัญ ซงึ่ มีฤทธ์ใิ นการลดความดนั คือ สาร Reserpine และอัลคาลอยด์อื่น ๆ หาก ไดร้ ับในขนาดท่ีสงู เกนิ ไป มีผลกดการทางานของประสาท ทาใหเ้ กดิ อาการ วิงเวยี นศีรษะ ปากแห้ง คัดจมูก ท้องร่วง มึนงง หน้ามืด ใจสน่ั ซึม มือแขนสนั่ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต 197 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

196 ขอ้ มูลเพมิ่ เติม 1. ยาแกโ้ รคจิตตารับนี้ เปน็ ตารับยาตามหนังสืออายรุ เวทศึกษา (ขุนนิทเทสสุขกิจ) เล่ม 2 ทง้ั น้ีไม่ได้หมายถึงโรคจิตในความหมายของการแพทยแ์ ผนปจั จบุ ัน (โรคทางจิตเวชและไบโพล่า) 2. ระย่อมจะตอ้ งฆ่าฤทธ์ติ ามกรรมวิธีก่อนนาไปปรงุ ยา 13. ยาไพสาลี ท่ีมาของตารบั ยา อายุรเวทศึกษา (ขุนนิทเทสสุขกจิ ) เลม่ 2 “ ยา ไพสาลี ว่า พระพุทธเจ้า ทรงให้พระอานนท์ท้าแจกเป็นทาน เอาลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ส่ิงละ 1 สลึง กระวาน 1 สลึง 1 เฟ้ือง กานพลู 2 สลึง ดีปลี 2 สลึง 1 เฟื้อง ลูกพิลังกาสา 3 สลึง ว่านน้า 3 สลึง 1 เฟื้อง เกลือสินเธาว์ 1 บาท เทียนด้า 1 เฟ้ือง เทียนเยาพาณี 6 สลึง 1 เฟ้ือง การบูร 7 สลึง สมอเทศ 7 สลึง 1 เฟ้ือง เทียนข้าวเปลือก 6 สลึง สมอไทย 2 บาท สมอพิเภก 2 บาท 1 เฟื้อง โกฐสอ 9 สลึง โกฐเขมา 9 สลึง 1 เฟ้ือง บุกรอ 7 สลึง ขิงแห้ง 10 สลึง 1 เฟื้อง เจตมูลเพลิง 7 สลึง หัสคุณเทศ 5 บาท กัญชา 30 บาท พริกไทยร่อน 60 บาท ยาทั้งนี้ท้าเป็นผงละลายน้าผ้ึงน้าอ้อย แดง น้านมโคก็ได้ กิน หนัก 1 สลึง กิน 3 เวลา แก้สารพัดโรค ไส้เลื่อนกล่อน หืดไอ กุษฐงั เสมหะ ตามืด ตาฟาง หูหนวก หูตึง ลมสติมักหลงลืม เจ็บตะโพก จุกเสียด ลมสลักอก ขี้เรื้อน คุดทะราด เป็นฝีใน เพดานและล้าคอ ลมมักให้หาวเรอ ให้รากสะอึก ลมสะแกเวียน นอนไม่หลับ ให้ง่วงเหงาหาวนอน ลม ปวดมวนในทอ้ ง เปน็ ป้างเปน็ จุกผามมา้ มย้อย หงอย เพ้อ พดู มชิ ดั ” สตู รตารบั ยา ประกอบดว้ ย ตวั ยา 23 ชนิด รวมนา้ หนัก 1,820.63 กรมั ดังน้ี ลาดับ ตวั ยา น้าหนกั ยา (กรัม) 1 ลกู จันทน์ 3.75 2 ดอกจนั ทน์ 3.75 3 กระวาน 5.625 4 กานพลู 7.5 5 ดปี ลี 9.375 6 พิลงั กาสา 11.25 7 ว่านนา้ 13.125 8 เกลอื สนิ เธาว์ 15 9 เทียนดา 1.875 10 เทยี นเยาพาณี 24.375 11 การบูร 26.25 198 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพื่อใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

197 ลาดบั ตัวยา นา้ หนักยา (กรมั ) 12 สมอเทศ 28.125 13 เทยี นข้าวเปลอื ก 22.5 14 สมอไทย 30 15 สมอพิเภก 31.875 16 โกฐสอ 33.75 17 โกฐเขมา 35.625 18 บุกรอ 26.25 19 ขงิ แหง้ 39.375 20 เจตมลู เพลิง 26.25 21 หสั คุณเทศ 75 22 กญั ชา 450 23 พรกิ ไทยล่อน 900 ข้อบ่งใช้ แก้โรคลม แก้หืดไอ มีเสมหะ รปู แบบยา ยาผง, แคปซลู ขนาดและวธิ ใี ช้ รับประทานครงั้ ละ 2 กรัม วันละ 3 คร้งั กอ่ นอาหาร เช้า กลางวันและเย็น น้ากระสายยาท่ีใช้ น้าผงึ้ รวง น้าอ้อยแดง น้านมโค อย่างใด อยา่ งหน่ึง ขอ้ หา้ มใช้ ถ้าหานา้ กระสายยาไม่ได้ ให้ใชน้ ้าสกุ แทน ข้อควรระวัง ห้ามใชใ้ นหญิงตง้ั ครรภ์ ผทู้ ม่ี ไี ข้ และผู้ทม่ี ีอายตุ ่ากว่า 18 ปี 1. ควรระวังการรับประทานรว่ มกับยาในกลุ่มสารกนั เลอื ดเปน็ ล่ิม (Anticoagulant) และยาต้านการจบั ตวั ของเกล็ดเลือด (Antiplatelets) 2. ควรระวังการใชร้ ว่ มกับยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ Rifampicin เนื่องจากตารับน้ีมีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวังการใช้ในผูป้ ว่ ยโรคความดนั โลหิตสูง โรคหวั ใจ ผู้ปว่ ยโรคแผล เปื่อยเพปติก ผ้ปู ่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็น ตารับยารสร้อน 4. ควรระวังการใชย้ านใี้ นผปู้ ว่ ยสูงอายุ 5. ควรระวังการใชย้ าอยา่ งต่อเนื่อง โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในผ้ปู ว่ ยท่ีมคี วาม ผิดปกตขิ องตบั ไต เน่ืองจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกดิ พิษได้ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต 199 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

198 ขอ้ มูลเพิม่ เติม - 14. ยาทาริดสดี วงทวารหนกั และโรคผวิ หนัง “เอาขม้ินชัน ใบกัญชา สิ่งละ 15 กรัม น้ามันเม็ดฝ้าย พอเปียก ใส่แก้ริดสีดวง ทวารหนัก ใสแ่ ก้โรคผวิ หนงั ตา่ ง ๆ” สูตรตารบั ยา ประกอบดว้ ย ตัวยา 3 ชนิด รวมนา้ หนัก 60 กรมั ดังนี้ ลาดับ ตวั ยา น้าหนักยา (กรมั ) 1 ขมน้ิ ชัน 15 2 ใบกัญชา 15 3 น้ามนั เมลด็ ฝ้าย 30 ข้อบ่งใช้ ทาแก้รดิ สดี วงทวารหนัก และทาแกโ้ รคผิวหนัง (เชน่ เรอื้ นกวาง เร้ือนมลู นก) รูปแบบยา ยาน้ามัน ขนาดและวิธีใช้ ทาวันละ 2 ครั้ง หลงั อาบน้าเช้าและเย็น ขอ้ หา้ มใช้ - ข้อควรระวงั ควรระวงั การใช้กบั ผู้ที่แพส้ ่วนประกอบของตารับ ขอ้ มูลเพ่ิมเติม - 15. ยาทาลายพระสเุ มรุ ท่ีมาของตารบั ยา คมั ภีรแ์ พทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภติ บรรณลกั ษณ์ เลม่ 2 “ยาท้าลายพระสุเมรุ เอาลูกจันทน์ 1 เฟื้อง ดอกจันทน์ 1 สลึง ลูกกระวาน 1 สลึงเฟื้อง กานพลู 2 สลึง เกลือสินเธาว์ 3 สลึง ดีปลี 2 สลึงเฟื้อง หว้านน้า 3 สลึงเฟื้อง โกฐสอ 1 บาท โกฐเขมา 1 บาทเฟ้ือง เทียนด้า 5 สลึง เทียนแดง 5 สลึงเฟ้ือง เทียนขาว 6 สลึง เทียนตาตั๊กแตน 6 สลึงเฟื้อง เทียน ข้าวเปลือก 7 สลึง ขิงแห้ง 7 สลึงเฟ้ือง กัญชา 2 บาท รากเจ็ตมูลเพลิง 2 บาทเฟื้อง หัวบุกรอ 9 สลึง เน้ือลูกสมอไทย 9 สลึงเฟื้อง เน้ือลูกสมอเทศ 10 สลึง การะบูน 10 สลึงเฟื้อง หัศกุนเทศ 10 สลึงเฟ้ือง พริกไทยล่อน 57 บาท 3 สลึง บดเป็นผงละลายน้าอ้อยแดง หรือน้านมโค กินคร้ังละ 1 สลึง แก้ลมจุก เสียด ลมปะทะอก ลมตามืดหูหนัก ปวดหัวมึนตึง ลมเม่ือยขบในร่างกาย ลมสะดุ้งแลสั่นไปทั้งตัว ลมเปรี่ยวด้า แก้จุกผามม้านย้อย มารกะไษย ไส้พองท้องใหญ่ ลมคล่ังเพ้อ ลมอ้ามะพฤกษ์อ้ามะพาธ ลมปัตฆาต แก้โรคผวิ หนงั ลมชกั ปากเบยี้ วตาแหก แก้ริดสีดวงทวาร แกโ้ รคเสมหะโลหิตเร้ือรัง หายแล” 200 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพื่อใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

199 สตู รตารบั ยา ประกอบดว้ ย ตัวยา 23 ชนิด รวมนา้ หนกั 1,338.75 กรัม ดงั น้ี ลาดับ ตัวยา นา้ หนักยา (กรมั ) 1 ลกู จนั ทน์ 1.875 2 ดอกจันทน์ 3.75 3 กระวาน 5.625 4 กานพลู 7.5 5 เกลือสินเธาว์ 9.375 6 ดปี ลี 11.25 7 วา่ นนา้ 13.125 8 โกฐสอ 15 9 โกฐเขมา 16.875 10 เทยี นดา 18.75 20.625 11 เทียนแดง 22.5 12 เทียนขาว 24.375 13 เทียนตาตัก๊ แตน 26.25 14 เทียนขา้ วเปลือก 28.125 15 ขิงแห้ง 30 16 กัญชา 31.875 17 เจตมลู เพลิง 33.75 18 บกุ รอ 35.625 19 สมอไทย 37.5 20 สมอเทศ 39.375 21 การบรู 39.375 22 หัสคณุ เทศ 23 พริกไทยล่อน 866.25 ขอ้ บ่งใช้ แกล้ มจุกเสยี ด ลมเม่อื ยขบในรา่ งกาย ลมเปลยี่ วดา ลมอัมพฤกษ์อัมพาต รปู แบบยา ยาผง, แคปซูล รบั ประทานครง้ั ละ 2 กรมั วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ ขนาดและวิธใี ช้ น้ากระสายยาท่ีใช้ น้าอ้อยแดง น้านมโค อย่างใด อย่างหนึ่ง ถา้ หาน้ากระสายยา ไมไ่ ด้ ใหใ้ ชน้ า้ สุกแทน รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ 201 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

200 ขอ้ หา้ มใช้ ห้ามใชใ้ นหญงิ ตงั้ ครรภ์ ผ้ทู ม่ี ีไข้ และผ้ทู ม่ี ีอายตุ า่ กว่า 18 ปี ข้อควรระวงั 1. ควรระวังการรับประทานร่วมกบั ยาในกลุ่มสารกันเลอื ดเปน็ ลิม่ (Anticoagulant) และยาต้านการจบั ตวั ของเกล็ดเลือด (Antiplatelets) 2. ควรระวงั การใชย้ านี้ รว่ มกบั ยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ Rifampicin เนอ่ื งจากตารบั นม้ี พี รกิ ไทยในปรมิ าณสูง 3. ควรระวงั การใช้ในผูป้ ่วยโรคความดันเลือดสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปอ่ื ยเพปติก ผู้ปว่ ยโรคกระเพาะอาหารและโรคกรดไหลย้อน เนื่องจากเปน็ ตารับยารสรอ้ น 4. ควรระวังการใชย้ านี้ในผปู้ ่วยสงู อายุ 5. ควรระวงั การใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในผู้ป่วยทมี่ คี วาม ผดิ ปกตขิ องตบั ไต เนอื่ งจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพษิ ได้ ขอ้ มูลเพิ่มเติม ลมเปล่ยี วดา เป็นโรคลมชนดิ หนึ่ง เกิดจากการกระทบกบั ความเย็นมากจนเปน็ ตะครวิ ผู้ป่วยมีอาการกล้ามเนอื้ เกรง็ อย่างรนุ แรง กระตุก ทาใหเ้ จบ็ ปวดบรเิ วณ ที่เป็นมาก มักแก้โดยการนวดจุดบริเวณตาตุ่มด้านในหรืออาจรักษาด้วยยา สังขวิไชย หรือยาทาลายพระสุเมรุ 16. ยาทพั ยาธคิ ณุ ท่ีมาของตารับยา คัมภรี แ์ พทยไ์ ทยแผนโบราณ ขุนโสภติ บรรณลกั ษณ์ เล่ม 2 “ยาช่ือทัพยาธิคุณ เอาสะค้าน ผักแพวแดง ดองดึง หว้านน้า ยาด้า มหาหิงค์ุ โกฐสอ โกฐจลุ าลา้ พา โกฐพุงปลา กัญชา หัวอุตพดิ เน้อื ฝกั ราชพฤกษ์ ชะเอมเทศ ดีปลี แกน่ แสมทะเล เอาส่ิง ละ 1 ส่วน พริกไทยล่อนเท่ายาท้ังหลาย ต้าเป็นผง เอาน้าใบก้าเม็ง น้าลูกประค้าดีควาย เคล้ายาผง ตากแดดให้แห้งสิ่งละ 7 คร้ัง แลว้ บดด้วยน้าผง้ึ กินหนัก 1 สลึง แกก้ ลอ่ น 5 ประการ ซ่ึงให้จุกเสียดแล เปน็ พรรดกึ แก้ลมเป็นก้อนในอุทร ใหเ้ จ็บท่ัวรา่ งกาย เจ็บสะเอว มือเท้าตายกระดา้ งแลเมอื่ ยขบทกุ ข้อ ทุกล้า ขัดแข้งขา เจ็บทวารหนัก เบาพิการต่าง ๆ เจ็บศีรษะเวียนหน้าตา เจ็บไหล่ท้ังสอง ปากเปร้ียว เสียงแหบแห้ง ขัดสีข้าง ขัดอก ท้องขึ้น กินอาหารไม่มีรส นอนไม่ใครห่ ลับ โรคทั้งนี้เป็นเพราะเสมหะ แห้ง บรุ ุษและสตรีเป็นเหมอื นกนั ” สูตรตารับยา ประกอบดว้ ย ตวั ยา 16 ชนดิ รวมน้าหนัก 30 ส่วน ดังน้ี ลาดบั ตัวยา นา้ หนกั ยา 1 สะคา้ น 1 สว่ น 2 ผักแพวแดง 1 สว่ น 3 ดองดงึ 1 ส่วน 4 ว่านนา้ 1 ส่วน 5 ยาดา 1 สว่ น 202 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวติ เพือ่ ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

201 ลาดบั ตวั ยา นา้ หนักยา 6 มหาหงิ คุ์ 1 สว่ น 7 โกฐสอ 1 สว่ น 8 โกฐจฬุ าลัมพา 1 ส่วน 9 โกฐพุงปลา 1 ส่วน 10 กญั ชา 1 สว่ น 11 อุตพิด 1 ส่วน 12 เนือ้ ในฝักราชพฤกษ์ 1 สว่ น 13 ชะเอมเทศ 1 ส่วน 14 ดปี ลี 1 สว่ น 15 แก่นแสมทะเล 1 ส่วน 16 พริกไทยล่อน 15 สว่ น สว่ นประกอบอน่ื ในตารับ ใบกะเมง็ ลกู ประคาดคี วาย ข้อบ่งใช้ แกก้ ล่อนทที่ าให้จุกเสียดเปน็ พรรดกึ เจบ็ เม่อื ยขบตามรา่ งกาย กนิ อาหารไม่รรู้ ส นอนไม่หลับ รูปแบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวธิ ีใช้ รับประทานครั้งละ 2 กรัม วนั ละ 2 ครัง้ ก่อนอาหาร เชา้ และเยน็ น้ากระสายยาท่ีใช้ น้าผึ้งรวง ถ้าหานา้ กระสายยาไม่ได้ ใหใ้ ช้น้าสกุ แทน ข้อห้ามใช้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ตงั้ ครรภ์ ผูท้ ่ีมีไข้ และผทู้ ม่ี ีอายตุ า่ กว่า 18 ปี ข้อควรระวัง 1. ควรระวังการรับประทานรว่ มกบั ยาในกลุ่มสารกันเลือดเปน็ ลิ่ม (Anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกลด็ เลือด (Antiplatelets) 2. ควรระวังการใชร้ ว่ มกบั ยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ Rifampicin เน่ืองจากตารบั น้ีมีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวังการใช้ในผ้ปู ่วยโรคความดนั โลหิตสูง โรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคแผลเป่ือย เพปตกิ ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นตารับยารสรอ้ น 4. ควรระวงั การใชย้ านใ้ี นผปู้ ่วยสงู อายุ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวติ 203 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

202 ขอ้ มูลเพ่มิ เติม 1. กล่อน 5 ประการ ไดแ้ ก่ กลอ่ นดิน กลอ่ นนา้ กลอ่ นลม กล่อนไฟ และกษัยกล่อน 2. ดองดึงจะต้องฆ่าฤทธิต์ ามกรรมวิธกี อ่ นนามาปรงุ ยา ภาพท่ี 68 ตวั อย่างบรรจุภัณฑ์ตารับยาศุขไสยาศน์ กกกกกกกกลา่ วโดยสรุป ตารับยาทม่ี ีกญั ชาเป็นส่วนประกอบท่ีได้มีการคัดเลอื ก และมีการรับรองโดย กระทรวงสาธารณสุข ในปัจจุบัน พ.ศ. 2562 ประกาศใชท้ ้ังหมด 16 ตารับ ได้แก่ (1) ยาอัคคินีวคณะ (2) ยาศุขไสยาศน์ (3) ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย (4) ยาน้ามันสนั่นไตรภพ (5) ยาแก้ลมข้ึนเบ้ืองสูง (6) ยาไฟอาวุธ (7) ยาแก้นอนไม่หลับ หรือ ยาแก้ไข้ผอมเหลือง (8) ยาแก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง (9) ยาอัมฤตย์โอสถ (10) ยาอไภยสาลี (11) ยาแก้ลมแก้เส้น (12) ยาแก้โรคจิต (13) ยาไพสาลี (14) ยาทารดิ สดี วงทวารหนักและโรคผวิ หนงั (15) ยาทาลายพระสเุ มรุ และ (16) ยาทพั ยาธิคุณ 204 หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต เพ่ือใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา

203 ภาพที่ 69 ตารบั ยาแผนไทยท่ีมีกญั ชาเปน็ สว่ นผสม จานวน 16 ตารบั (ภาพท่ี 1) ภาพที่ 70 ตารบั ยาแผนไทยที่มีกัญชาเป็นสว่ นผสม จานวน 16 ตารับ (ภาพที่ 2) รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ 205 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

204 204 ถถาามม ใในนกกาารรเเขขา้้าตตาารรับบั จจรรงิงิ หหรรอือื ไไมม่่ ตตาารรบัับยยาาแแผผนนไไททยยทที่มีม่ ีกีกาารรใใชชก้้กัญญั ชชาา สสว่่วนนใใหหญญใ่่ใชช้ก้กะะหหลลี่กี่กัญญั ชชาา ตตออบบ ไมจ่ ริง เพราะ ตารับยาแผนไทยสว่ นใหญใ่ ช้ใบกัญชาในการเขา้ ตารับยา และ จสสจะะ่วว่ นนไไมมใใหห่่ใใชชญญ้้เเปป่ใใ่ ชช็็นนใ้้ใยยนนาากกไเเมาาดดรร่จ่ีี่ยยสสรววิงบูบู สสเเเพพพ่่ววอ่ื่อืนนรกกาใใะหหาารรญญตผผา่่จจอ่อ่ ระะนนับใใคคชชยลล้้เเาปปาาแยย็็นนผยยนาาไทตตาายรรสัับบ่วนคคืืใออหใใชชญ้้รรใ่ ่่ววชมม้ใบกกกัับบัญสสมมชุุนนาใไไนพพกรราออร่ืื่นนเขๆๆา้ ตกกาะะรหหับลลยี่ี่กกาััญญแลชชะาา ตตรรเเครระะ้้ััวงงออื่่ืดดแแางงมัับบตตททร่่ชชพพอ่ี่ีาา44บ..ตตศศเริิแแร..ู้ดลล่อืภภ1122้าะะ..ง55ูมมู นนนท33ภิิภปปสาาโโ66่ี รรุขรรเููเนน4บบงงะะโโภาาดดพพววศศชชายยตััตภยยพาารริิคคตตาาูมรรดเเววบบภภิิวว้วภิ แแาาสสาายบบมมูเลลลลััชชบกเเรระะเเปปกกาศจจววไไรรร็น็นดด้้าารมมแหห้้มมเเพพรปปพแแญญาาวรริิดดทลลขขิิะะงงบภภออยะะยยรดดงงูู์มมแเเาาผผภภวรรผิิภภออ..ูมูมยยมนููเเสสภภบบภภิิแแแไุุภภััยยทศศเูเูพพลาาบบภภยรรภภะรรศศููเเบบศศรรเภภ่่ภรรผณณููนนศศามูมู ยยยยรร์์ ปิปิ ปปแใ์์กกตไไัญญัิิตตาาพดด้แรริิพพ้้มมรญญนเเรรรรีีภ่กกวีียยาาาาคมูแแนนไไรริดลลททิปรรพพะะูู้้สสยยัญ“ััฒฒททมมพีีญมมนนุุนน่ึงงงาาตไไาาาพพสสนไนนมมรรทเเเอแแุุนนภภยงลลไไสสะะพพอััชชภภรรนกกููมมออุรรริิปปยยักจจ่่ััญญาาษนนงง์ญญสตตเเปปาาร่่ออ็็สส้านนเเงนนุุขขททมืื่่ภภออ่ีี่ยยูลงงาาออคพพมมเเ่ารรรรเสส่่ิิมมพัับบรรตต่ิมใใ้้าานน้้นน”งง เคมว่ือามวันรอทบ่ี 1รู้ด0้ากนันสุขยภายาพนด2้ว5ย6ก1ารโแดพยทมยีก์แาผรนอไบทรยมภแากย่ปใรตะ้แชนาวชคนิด “ผพู้ปึ่ง่วตยนแเอลงะอญนาุรตักิเษพ์ื่อสเรพ้า่ิมงมทูลักคษ่าะเพก่ิมา”ร เกแททกแพพมลลลล้ังัง้ืชืชื่อะะั่ั่นนสส33วศศกกมมันาามมรรุนนุ สสทตติิออไไตตพพิิงง่ี ไไรร1รรดดปปก์ก์0ทท้แแ้รราาีีกก่่กกะะรรกาา่่แแเเันมมลลมมมมมพพยังังิินนิิิิิตตตตตททสสาิิททิิททิทยยแแญญููย่่ีี่ี่ีี่แ์์แลลน2211หห3ผผะะาาออพพนนเเ2สยยลลนน5ไไ่ึ่ึงงรืืออททุตตุรร้6ากกัักกยยนนง1ใใษษมเเชชออโูล์์ภภ้้สสดงงคููมมมมย่สสาิิปปุุนนมเ่่งงััญญไไพีกเเพพสสญญ่ิามรรรรรใาาิิมมอหตตศศใใาาบ้สหหาามมรม้้ปปสสภภมุนตตรรููมมแไะะรริิปปพก์์กกชชััญญ่ปราาาารรชชญญรแแแนนะาาลพพชใใะดดททนนาภููแแกกยยชูลลม์์แแาานออรริผผปดดผาานนัญููกกแแู้ปไไญลลททาา่วรรสสยยายเเุุขขไจจกกทภภแ็็บบาาาาลยปปรรพพะผแแ่่ววญ่าพพยยมมนเเททาีีววบบนตััตตยย้ืื้ออวิเถถ์์พพพงงัตุุปปื้ื้นนตตื่อกรรบบ้้นนเะะร้้พาาสสรดดนนิ่มมงง้้ววคคทผแแยย์์กกัลลกลสสาาิะะตษมมรรพพภุุนนะจจรรัััดดกไไณรรพพตตาณณฑรรร้้ัังง์ สสปปนนมมโโรรยยุนนุาาบบจจไไพพาาีีนนยยรรบบกกุุรราาีีรรซซปปึ่่ึงงฏฏเเปปรริิ มโโูปูป็็นนดดิตรรยยิทะะ11ภภบบี่ 3ใใููมมบบนนิิภภสสสขขุุูู11เเรบบภภ้33างศศาาจจมพพรรัังงูลดดจจหหคาา้้ะะววนน่าเเััดดปปกกเพททาา็็นน่ิรรมี่ี่รรศศสสััฐฐใููนนรรหบบาา้้ ้ยยสาางง์์กกลมลคคุกกาาววนาารราาไมมเเพหหรรรรรนนีียยออดดนนบบแใใรรลรรหหดูดููู้้้้สสะ้้เเา้้าภมมปปนนุุู็็มนนนนสสิปเเไไขขุุ มมพพัญภภืืออรราาญงงแแพพสสาลลมม((ไะะHHทุุนนภภeeยไไููมมaaพพผllิิปปรร่าtthhัันญญ((HHนLLญญiieeวttาาeeัrrตbbสสrrกaaaaุุขขรccllภภรyyCCม))าาiittผพพyyล))จจิตรรัังงภออหหังงณววรรฑัััับบดด์ 206 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชีวิต เพือ่ ใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา

205 ภาพที่ 71 ภมู ิภูเบศร 2. องคค์ วามรู้ในภูมภิ ูเบศร 2. ภูมิภูเบศร อุทยานการเรียนร้สู มนุ ไพรและภูมปิ ัญญาสุขภาพ บางเดชะ จังหวดั ปราจีนบุรี เปน็ พิพิธภัณฑห์ มอไทย (หมื่นชานาญแพทยา) หมอหลวงในรัชกาลที่ 5 อายกุ ว่า 100 ปีภายในพพิ ิธภัณฑ์ อทุ ยานการเรียนรสู้ มนุ ไพร ได้จัดส่วนการแสดงออกเปน็ 3 ส่วน ดงั น้ี 2. 2.1 เรือนหมอพลอย พิพิธภัณฑ์หมอไทย เป็นต้นแบบของที่อยู่อาศัยท่ีถูกสุขลักษณะ มีองค์ความรู้ด้านการแพทย์ซุกซ่อนอยู่ในทุกท่ี แม้แต่การออกแบบพื้นท่ีใช้สอย ด้วยการออกแบบมา อย่างดี ให้ลมพัดผ่านเย็นสบายตลอดทั้งวัน ช่วยสร้างสมดุลของธาตุท้ัง 4 ในร่างกาย ให้แก่ผู้ที่อยู่อาศัย ช้ันล่างมีผลิตภัณฑ์ประทินผิวและบารุงร่างกายภายใต้แบรนด์อภัยภูเบศรมากมายวางเรียงรายให้ เลือกซื้อหา ชั้นบนจัดแสดงอุปกรณ์ทายาชนิดต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นยาน้า หรือยาเม็ด มีกล่องใส่ตัวอย่าง สมุนไพร ตามรส ตามฤดู ภาพท่ี 72 เรือนหมอพลอย ภูมภิ ูเบศร รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เป็นยา หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 207 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

206 2. 2.2 สวนสมุนไพรภูมิภูเบศร เป็นแหล่งเรียนรู้และการฝึกอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ของ ภูมิภูเบศร มีการจัดสวนตามกลุ่มโรค อาการ ตามกลุ่มรสของสมุนไพร ซึ่งเป็นตัวกาหนดสรรพคุณ ของยา สมุนไพรใหส้ ี ใหก้ ลนิ่ หอมท่ีมกั ใชใ้ นตารบั ยาไทย ช่วยให้จิตใจสงบ ผอ่ นคลาย สมนุ ไพรผักสวน ครวั และสมุนไพรสดี าทคี่ นไทยเชอ่ื ว่าช่วยขับไล่ส่ิงไม่ดี ภาพที่ 73 สวนสมนุ ไพรและภูมิปญั ญาสุขภาพ สร้างความรอบรูส้ ุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย 2. 2.3 อภัยภูมิภูเบศรโมเดล ต้นแบบการใช้กัญชาทางการแพทย์ เน้นมาตรฐานความ ปลอดภัย ตามมาตรฐานทางการแพทย์ ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ และเหมาะสมกับคนไทยมาก ทส่ี ุด (รายละเอยี ดตามข้อ 4.3 ในลาดับถัดไป) 3. ความสาคัญของภูมิภเู บศร 2. โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรยังได้จดั ตง้ั “ภูมิภูเบศร” เพ่ือเป็นทฝ่ี ึกอบรม สมั มนา ศึกษา เรยี นรู้ เรอื่ งการดแู ลสุขภาพดว้ ยสมุนไพร การพฒั นาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ในส่วนของกัญชาน้ัน ทางภูมิภูเบศรถือเป็นสมุนไพรชนิดหนึ่ง และเป็นสถานท่ีทดลอง วิจัย การใช้กัญชาทางการแพทย์ อยา่ งครบวงจร 208 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

207 ภาพที่ 74 สมุนไพรและภมู ิปัญญาสุขภาพ สรา้ งความรอบร้สู ขุ ภาพด้วยแพทยแ์ ผนไทย 4. องค์ความรู้กญั ชาอภยั ภเู บศรโมเดล โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ได้พัฒนากัญชาทางการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือกอย่างครบวงจร เรียกว่า อภัยภูเบศรโมเดล ทาการรวบรวมความรู้ในการใช้ไว้ ท้ังจากตาราและจากการลงพื้นสัมภาษณ์ผู้รู้ จาการค้นคว้าในเอกสารพบว่ากัญชามีการบรรยาย สรรพคณุ ไว้ดังน้ี ลาดับ รายการ สรรพคุณทางยา ผลขา้ งเคยี ง 1 ดอกกัญชา ปรงุ เป็นยารบั ประทาน ทาให้ง่วงนอน และ - อยากรับประทานอาหาร 2 กัญชา รู้เจริญอาหาร ชูกาลงั มีรสเมา และทาใหใ้ จ สะด้งุ กลวั 3 กญั ชา เป็นยาจาพวกท่ีใช้ในทางระงับเส้นประสาท - ทาใหน้ อนหลับ และเจรญิ อาหารดี 4 เล่าหมา ทาใจใหส้ ขุ มุ ดี นอนหลับ รบั ประทาน แต่ถ้ามากเกินไป ไมผ่ ิด หรอื กัญชา อาหารได้ อะไรกบั คนบ้า รอ้ งไห้กับ หวั เราะพรอ้ มกนั 5 กัญชา เป็นยาเจริญอาหาร ชูกาลัง แก้โรคประสาท ถ้ากินมากไปจะเปน็ โทษ แกโ้ รคนอนไม่หลบั แตต่ ้องเอาไปประสมยา ซง่ึ ทางการจบั กมุ กนั อยู่ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใช้เปน็ ยา หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต 209 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

208 ลาดบั รายการ สรรพคณุ ทางยา ผลขา้ งเคียง 6 กัญชา มรี สมนึ เมาสบายดี มีความรนื่ เริงอยใู่ นใจ อาหารและกาลงั ถอย ทาใหจ้ ติ ใจ ฟุ้งซา่ นใจขลาด เปน็ ยาชกู าลัง หรือทาให้ตวั ส่ันและเสยี 7 กัญชา บ้างเล็กนอ้ ย สติเปน็ คนจรติ พิการไป หมดถา้ รบั ประทานมาก รบั ประทานน้อย ๆ เป็นยาชกู าลงั เจริญ เกนิ ขนาดอาจทาให้เบอื่ อาหาร เมา ทาใหใ้ จขลาด รอ้ ยกรองเก่ียวกบั การเมากัญชา กัญชา ทาให้เมา เล่าหนา ชื่อว่ากัญชา ฤทธาคมขา สูบกินส้ินแรง ตาแดงตาดา กลางคืน กลางค่า ตามคลาเพ้อไปหัวเราะงอหาย หัวเราะใบไม้ นั่งน้าลายไหล อยากแต่ ของ หวาน ใคร่ได้รับประทาน ของหวานเพ้อไป พูดเองหัวเอง ไม่เกรงคนไหน เดินมาเดินไปยัก ย้ายท่าทาง ด้วยฤทธิ์กัญชาเหมือนอย่างคนบ้า ทีท้ากีดขวาง ขี้ขลาดตาขาว ต้มเหล้าไม่พราง แต่เพียงข้าง ๆ สัก 2 กระบุง มเหเดชา นอนทอดกายา เพ่ือนมาไม่ยุ่ง ละเห่ียเมียด่า นอน ทอดกายา ชักผา้ ปดิ พุง ร้องเพลงหัวพลางสาเหนยี กเรียกนาง ยักเงินเดนิ ตงุ ดจุ เพศปีศาจ เข้า แผลงอานาจในท้องในพงุ วิปริตผิดไป อาการเล่าไว้จิตใจใฝ่ยุง่ กะทกกะทุง ไปท่วั กายการ หัน เหเซซุดดุจโถนตกฉาเหยียบแก้วเหยียบกา ฉวยพร้าเป็นขวาน จิตใจมัวยุ่ง คว้ามุ้งถูกม่าน เจริญอาหาร ประเสริฐเลศิ ดี สาหรับแทรกยาพระยากญั ชา จบลงเพียงนี้ ตาราใครมี ใหข้ นึ้ ใจ ในส่วนของตารบั ยาพ้ืนบา้ น กัญชาเขา้ ยาหลายชนิด ท่เี ดน่ คือโรคนอนมิหลบั ตวั อยา่ งตารับยาเช่น ลำดับ ช่ือยำ ส่วยประกอบของยำ 1 ยาเจริญธาตุ เอากญั ชา โสม อบเชยญวณ เอาส่ิงละ 1 สลงึ ใบกระวาน กานพลู สะคา้ น เอาสง่ิ ละ 2 สลึง ขิงแห้ง 3 สลึง เจต็ มูลเพลิง ดปี ลี ส่ิงละ 1 บาท นา้ ตาลกรวด 6 สลึง บดละลายน้าผงึ้ กนิ แก้กนิ ข้าวไม่ได้ นอนไมห่ ลับ 210 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ เพอื่ ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

209 ลำดับ ชื่อยำ ส่วยประกอบของยำ 2 ยำหม้อตม้ กนิ ตามตาราทา่ นให้ใชต้ วั ยา ดังน้ี แกน้ อนไม่หลับ รากชะพลู กัญชา สมอเทศ สมอไทย หนกั อย่างละเท่า ๆ กัน ต้มรวมกนั กิน แก้นอนไมห่ ลบั กระสบั กระส่าย ประสาทแข็ง 3 ยาแก้โรคนอน ใจสน่ั กนิ ทั้งเช้า ไม่หลับ ขนานที่ 1 ท่านใหเ้ อาลูกมะตมู อ่อน 1 บอระเพด็ 1 พริกไทยล่อน 1 ขมน้ิ 4 ยาแก้โรคนอน อ้อย 1 ตวั ยาท้ัง 4 อย่างน้ี เอาหนกั อย่างละ 1 บาท เทา่ กัน ไม่หลับ ขนานท่ี 2 นามาตาใหล้ ะเอียดผสมกับน้าผึ้งแท้ ใชร้ ับประทานมสี รรพคุณ ทาใหน้ อนหลับสนทิ เคยใช้รักษาให้หายมามากแล้ว ได้ผลดี อยา่ งชะงักนกั แล ท่านให้เอา ลูกสมอไทย 1 ลกู สมอเทศ 1 รากช้าพลู 1 กัญชา 1 ตัวยาทัง้ 4 อยา่ งนี้ เอาหนกั อย่างละเทา่ ๆ กัน นามาใสห่ ม้อดิน ตม้ ใชน้ า้ ยารบั ประทาน มีสรรพคณุ แก้โรคนอนไม่หลบั ไดผ้ ล อย่างละงดั นกั แลฯ กกกกกกกนอกจากน้ี ในสามจังหวัดภาคใต้ก็ยังมีการใช้กัญชาเป็นยา โดยมีชื่อตามภาษามลายทู อ้ งถ่ิน เรยี กต้นกัญชาวา่ “กนั ยอ (Ganja)” โดยมีสรรพคุณ สว่ นและวิธีการใช้ ดังน้ี สรรพคณุ กญั ชา ภูมปิ ัญญาในแดนใต้ แหลง่ ข้อมูล แกท้ ้องเสีย ท้องรว่ ง นายนิอมุ า นิเงาะ ส่วนและวธิ ีการใช้ ทีอ่ ยู่ อีนอ ลาโละ นารากมาฝนให้ข้น ผสมนา้ ต้มสุก จงั หวัดนราธิวาส ประมาณ ½ แก้วชา แล้วนามากรอง ก่อนดื่มทกุ ครงั้ เมื่อมีอาการ ชว่ ยรักษาผมร่วง นาใบขนาดพอประมาณ มาตาให้ นางมือลอ มะแซ และ แก้อาการคนั บนหนงั ศรี ษะ ละเอียดแล้วนามาคน้ั ผสมน้าตม้ สุกดม่ื นางซารเี ปาะ แวกาจิ และนามาชโลมศีรษะหมักทง้ิ ไว้ ที่อยู่ จะกว๊ะ รักษาอาการปวดฟัน ประมาณ ½ ช่ัวโมง แลว้ ล้างออกดว้ ย จงั หวดั ยะลา เน่ืองจากฟันผุ น้าสะอาด แล้วสระผมตามปกติ นางตเี มาะ รงโซะ นาใบมาขย้ีให้พอแหลก แลว้ นามาอุด ที่อยู่ เมือง จงั หวัด ยะลา หรอื ทา ถู บรเิ วณที่มอี าการปวดฟนั รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใช้เป็นยา หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 211 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

210 สรรพคุณ ส่วนและวิธกี ารใช้ แหลง่ ข้อมูล รักษาอาการปวดเมอื่ ย - นาใบสดประมาณ 3 ใบต่อน้า 1 ลิตร นายอัสฮาน คาเรง็ แกก้ ระษยั เส้นเป็นยาชูกาลัง มาต้มให้เดือดประมาณ 20 นาที แล้ว ทอี่ ยู่ เมือง จังหวัด ยะลา ทาให้ขยนั ทางานรู้สกึ ผอ่ น นามาดื่มอุ่น ๆ วันละ 2-3 เวลา หลัง คลาย สบายตัวช่วยลด อาหาร หรือด่ืมเมอ่ื มีอาการ นายมัสบูด หาแว อาการ - นาทง้ั ตน้ ทีไ่ ด้ทาการตากจนแหง้ แลว้ ที่อยู่ บา้ นตาเปาะ รอื เสาะ ตึงเครียดไดช้ ่วยให้หลับ ประมาณ ½ กามือต่อน้า 1 ลิตร มา จังหวดั นราธวิ าส สบาย ตม้ ให้เดือด แล้วนามาดม่ื อนุ่ ๆเปน็ ชา เปน็ อาหาร ตา่ งน้า หรอื เม่ือมีอาการ นายอัสฮาน คาเร็ง เจริญอาหาร ทอี่ ยู่ เมือง จังหวัด ยะลา - ใบอ่อนสามารถนามารบั ประทานสด ไมป้ ระดับ เปน็ ผักกบั ขา้ วจมิ้ น้าพริก นา้ บดู ู เป็น ผกั ขา้ วยาได้ ใชป้ ระโยชนต์ ่าง ๆ - ส่วนใบเพสลาดสามารถนามาใสใ่ น กก แกงหรือเมนูอาหารชนดิ ตา่ ง ๆ ได้ เช่น ต้มซปุ แกงส้ม แกงกะทิ แกงมัสมั่น เมนูผัดต่าง ๆ และอนื่ ๆ เป็นต้น โดย จะใชใ้ บเพยี งเลก็ น้อยหรอื ประมาณ 1-2 ใบเทา่ นน้ั เพื่อเพม่ิ รสชาติอาหารให้อรอ่ ย ซงึ่ จะ ช่วยใหเ้ จริญอาหาร และรู้สึกผอ่ น คลายอีกด้วย (แตก่ ็ไมแ่ นะนา) ใสม่ าก เกินไป เพราะอาจจะทาให้เกิดอาการ เมาได้) - ในสมัยก่อนชาวบ้านนิยมนามาปลูก เพื่อประดับสวนรอบบริเวณบ้านให้มี ความสวยงามน่าอยู่ เพราะต้นกัญชา เปน็ ต้นพืชท่ีมคี วามสวยงามอยู่ในตวั - นาใบมาจดั ใส่ชุดสารับหมาก รับประทานยามว่างหรือสาหรับ ตอ้ นรับแขกท่ีมาเยย่ี มเยียนบ้าน 212 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพื่อใชเ้ ป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

211 211 กกกกกกกกล่าวโดยสรุป ภูมิภูเบศร ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรครบวงจร ภายใต้แนวคิดการพึ่งพา ตตภกนนกมู กภิเเออกูเงงบกศเเกกกรกีี่่ยยแกววลลกกะ่าัับบว(กก3โาาด)รรยอดดสภููแแรัยลลุปภสสเูุุขขภบภภูศมาาริภพพโูเมดดบเ้้ววดศยยลรสสศมมูนุุนนยไไพพ์กรรารปปเรรรียะะนกกออรู้สบบมดดุน้้ววยยไพ((ร11ค)) รเเรรบืืออวนนงหหจรมมออภพพาลลยออใตยย้แ((น22))วคสสิดววนนกาสสรมมพุุนนึ่งไไพพพารร ภูมิภูเบศร และ (3) อภัยภูเบศรโมเดล ภาพที่ 75 โครงการปลกู กัญชาเพ่ือใช้ประโยชน์ทางการแพทย์โดยระบบปิด เร่อื งท่ี 5 ภภมู าิปพัญท่ี ญ75าโหคมรงอกพาร้นื ปบล้ากู นกัญนชาายเพเดือ่ ชใชา้ปศระิรโภิยชัทนร์ทางการแพทยโ์ ดยระบบปดิ เร่อื งท่ี เ5รอื่ ปภงรทูมะ่ีิปว5ัตัญิ คภญรูมาอปิหบญัมครอญัวพขาน้ือหบงมน้าอานพยเ้นืนดชบาายา้ เนศดิรชนิภาาัทยรศเิรหดภิ มชทัอาพรศื้นริ บิภ้าทันรตารับยาพื้นบ้านไทยจากกระแส ใคแหนคหใแนพอเดรพอดรกคคาาออมมววววาารรรรษชชรราายยกกงงืื่่ออาา่่ททคคกกตมมตตสสเเจจพพี่ี่ตตดดาาืืออรนนาาออาา้้รรออรรชชกสสกกพพนนิยยิ เเะะงงปปราาววธธมมขขรรกกพพรไไุุ่่าารร็็นนะะททออาาดดะะมกกงงเเรรจจงงปีม่ม่ี้้ยยเเววยิิจจพพใใขขมมรรลลาารออัง่หหคค้้าารริิงงจจออะาายมมรร้้บบเเะะพพาางงวนื รรออ44ธธววกกเเกักตรรีียยบหบหรรชชตตปป1ะะััลลิ นนรร็็คคนนเเคะะีีปปปปรรมมคคแแรรททรววีียย์์ยยลลโโััววลลณณอนันั าากกนนาาออะะบงงตตไไศศะะโโเเมมมมเเณณจจมกมกคาาสสดด่่รรจจาา่ื่ืออรััตตเเิินนััมมบบขขกกาาัวนนเเววสสขขทีีทรรมมาากกขบบาาาาูู่่คคยยจจีน่ีน่รราาอยยาามม์์ววึึงงดดรราางเเลล((ีอีอเเาาททดดเเกกนนนลลงงาามมชชมมใี่นในี่ ับบัื่่ืออาืืออยยดดพพาาหหายามมหหกกุุปปออยยาาเๆๆบบมมศศรรดออววเเดดะะิินื่ื่นรรววดดชททิิิทิทนนีีขขมมิิภภชชชชไไา้ัั้งงททยยออาารรททััททาาสสณณาา่่ปปงงศี่่ีววแแรริ้ิ้นนลลชชศศญญิรััดดลลัยัย33ีีววิิรรบบิภมมฺฺสสโโะะ00ขขิิตตภิิภญญววัทุุ่่งงววเเออััททปปชชปปททนนเเร))นนมมรรเเีี็็าานนโหโหปปนนแแหื่่ือองงมมเเเเรรา็็ากกนนาาจปจปลลมกกืืออยยนน่นน่เเ้้าาาาอน็็นขขววรรเเดดขขสดดส์์พคคูู้้จจลลเเ้้รราาชชิิกกมมออัันนกกื้าานนนุุ่่นนาาขขือ่ือ่งงใใออบกกรรโโ33นนเเาาศศ่่าารรรราา้าาาบบนนิิรรนน--ยีียงงววรรนททภิภิาาสสเเนนมมคค44กกมมออััททีีททตรราาจจษษเเออรรกกาา่ี่ีบบใใาพพดดตตววหหกกรรรืืออไไุุททเเรรเเับมมญญดดขขะะดดนนธธดด้้าททายแแาาีียย่่ททททจจับบัลลาภภาาววจจ่ี่ีาาสสึึงงพปปะะตตกกาาสสึึงงุุดดรรเเยยรร้ืนาาัับบไไภภปปูู้้ววใใดดิญญิมมใใบนนพพ่่าาิิกก็็นนตต้้ปปคคญญวว้าขขจจรรนน้้กกรรััดดววนะะุุัังงาาัักกะะเเาาไไาาตตหหพพไขขหหเเกกรรทมมรรคคววิิาาศศปปนนาาีแีแตตยรรััลลดดาาศศลลเเกกูู้้สส้้จออื่่ืออลลสสปปขข้้ววคคึึกกานนงงธธุุพพ็็นนออกกวกวรรรรไไไไรรออแแดดหห่่าากรรออาารรยยยยตตเ้เ้มมรรรววงงขขณณ่่าากกััววะดดขขววแแา้า้ งงเเบบตตาาแ้้าลาลออรรออไไททัันนวััวบบสุุรรรระะงงงงีีีี เกษตรกรรมยัง่ ยนื 1 รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 213 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

212 ภาพที่ 76 ภมู ิปัญญานายเดชา ศิรภิ ทั ร นายเดชา ศิริภัทร เป็นที่รู้จักดีจากงานด้านการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตร ที่เหมาะสมกับท้องถ่ิน และพัฒนาพันธุกรรมข้าว ท่ีเขาสนใจอย่างต่อเน่ืองมาร่วม 20 ปี เริ่มต้นมาต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2527 และดาเนินการต่อเนื่องมา จนกระทั่งมีอายุ 55 ปี นายเดชา ศิริภัทร ได้ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการมูลนิธิข้าวขวัญ จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบกับมารดาได้เสียชีวิตลงจากเหตุโรคมะเร็ง ร้ายทคี่ รา่ ชวี ิตผู้เป็นแม่เมือ่ ประมาณ 40 ปีก่อน เป็นประสบการณ์ท่ที าให้ นายเดชา ศิรภิ ัทร ผู้บุกเบิก เกษตรกรรมทางเลือกในประเทศไทย ในวัย 71 ปี แรงจูงใจที่ทาให้นายเดชาสนใจในการใช้น้ามัน กัญชาในการรักษาโรคคือ“แม่ผมเป็นมะเร็งตับเสียชีวิต ทั้งท่ีเรามีเงินมีทุกอย่างพร้อมเมื่อปี พ.ศ. 2519 หลังจากนั้นน้าชายผมอีก 4 คน เป็นแบบเดียวกันท้ังหมดเลย เป็นมะเร็งตับ และตายกัน หมดท้ังที่ทุกคนมีฐานะดีมาก” น่ันเป็นจุดเริ่มต้นของศึกษาการผลิตยากัญชาทางการแพทย์ เม่ือปี พ.ศ. 2556 นายเดชา ศิริภัทร ได้เลือกศึกษาข้อมูลจากต่างประเทศถึงวิธีการสกัดกัญชา ออกมาในรูปแบบท่ีทาเป็นยาน้ามันกัญ ชา โดยใช้วิธีการท่ี ริค ซิมป์สัน (Rick Simpson) นักเคลื่อนไหวชาวแคนาดาเพ่ือกัญชาทางการแพทย์ ในระยะแรกซึ่งเมื่อพบว่าสารสกัดมีความไม่ ปลอดภยั ก็ไดใ้ ช้นา้ มันมะพรา้ วสกดั เยน็ มาสกดั นายเดชามีความเชื่อว่า ใช่ว่ากัญชาเป็นยาวิเศษที่ทาให้ผู้ป่วยรอดพ้นการตาย หากการ หายจากมะเร็งก็ต้องมีปัจจัยในการดูแลรักษาสุขภาพทางกายและจิต ต้องเข้าใจว่าทุกคนมันตาย ทุกคน เกดิ แล้วตาย แต่จะตายแบบไหน ไม่ทรมานไม่ต้องเจบ็ ปวด ถึงจะหายดว้ ยโรคมะเร็งก็ตายด้วย โรคอื่นอยู่ดี” นายเดชากล่าว ตามวิสัยท่ีใช้หลักธรรมของพุทธศาสนา เป็นหลักในการดาเนินชีวิต “ไมใ่ ช่ว่ามกี ัญชาแล้วไมต่ าย แต่ตายแบบไหน” อย่างไรก็ตาม องคก์ ารเภสัชกรรม ให้ข้อมลู ว่า สาหรับ ผปู้ ่วยมะเรง็ ระยะสุดทา้ ย สารสกัดจากกญั ชามีผลในแงข่ องการใชเ้ พื่อควบคมุ อาการเท่าน้นั ซง่ึ สอดคลอ้ ง 214 หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ติ เพ่อื ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

213 กับ รองศาสตราจารย์ นายแพทย์วิโรจน์ ศรีอุฬารพงศ์ อดีตนายกสมาคมมะเร็งวิทยาสมาคมแห่ง ประเทศไทย และหัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์โรคมะเร็งครบวงจร โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ ท่ีบอกว่า การวิจัยท่ีบอกว่าสารจากกัญชาฆ่าเซลล์มะเร็งได้ยังเป็นการทดลองใน หอ้ งปฏิบัติการ ส่วนการใช้น้ามันกัญชาเพ่ือลดผลข้างเคียงจากเคมีบาบัด ก็มีประสิทธิภาพไม่ต่างจาก ยาแผนปจั จุบนั ปัจจุบันตารับของนายเดชาได้รับการรับรองให้เป็นตารับยาหมอพ้ืนบ้าน ท่ีได้รับการ รับรองโดยคณะกรรมการรับรองตารับยาแผนไทยที่ มีกัญชาปรุงผสม กรมการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก โดยตารับยานน้ี ายเดชา ศริ ิภทั ร จะตอ้ งเป็นผู้อนญุ าตให้ผู้ป่วยใชไ้ ดเ้ ทา่ น้นั ผู้ปว่ ย จึงจะนามาใชไ้ ด้มสี ว่ นประกอบและข้อบง่ ใช้ คอื ตารบั ยาแผนไทยท่ี มีกัญชาของนายเดชา ศริ ิภัทร หมอพื้นบา้ น ลาดับ ส่วนประกอบ สรรพคุณ รูปแบบยา ขนาด/วธิ กี ารใช้ 1 1 กญั ชา 100 1. ชว่ ยให้นอนหลบั มลี ักษณะเปน็ ยานา้ มนั กรัม 2. ช่วยเจริญอาหาร ขนาดและวธิ ใี ช้ เรม่ิ ตน้ รบั ประทาน คร้ัง 2 นา้ มันมะพร้าว 3. บรรเทาอาการปวดศีรษะ ละ 1 - 3 หยด ตามคาส่ังของแพทยแ์ ผน 1000 มลิ ลลิ ิตร ขา้ งเดียว ไทย/แพทย์แผนไทยประยุกต์ หากตดิ ตาม (ลมปะกัง) อาการแลว้ ไม่ดีขน้ึ ใหป้ รับขนาดยาเพมิ่ ข้ึน 4. บรรเทาอาการปวดเร้ือรัง คร้ังละ1 - 2 หยด 5. บรรเทาอาการสั่นจาก คา้ แนะน้าเพ่ิมเติม วธิ กี ารหยดนา้ มนั กล่มุ โรคระบบประสาท กัญชา ใหห้ ยดใส่ ช้อนก่อนรับประทาน หรอื ใช้ กบั อาการ, ภาวะ เพอื่ ป้องกนั การใช้ ยาเกนิ ขนาด อื่น ๆ ตามดลุ พนิ ิจของ แพทย์ แผนไทยและแพทย์ แผนไทยประยกุ ต์ท่สี งั่ ใช้ยา นา้ มนั กญั ชา กกกกกกกกล่าวโดยสรุป นายเดชา ศิริภัทร หมอพ้ืนบ้าน ประธานมูลนิธิข้าวขวัญ เป็นผู้ท่ีได้นา กัญชามารักษาโรคตามตารับยาพ้ืนบ้านไทยจากกระแสความนิยมท่ีมาจากตะวันตก ได้เร่ิมทดลองใช้ กัญชารักษาตัวเอง โดยนาความรู้พื้นฐานในการสกัดที่เผยแพร่โดย Rick Simpson (ริค ซิมสัน) ชาวอเมริกันท่ีป่วยเป็นโรคมะเร็งแล้วสกัดกัญชารักษาโรคมะเร็งที่ตัวเอง มาผสมผสานกับความรู้ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เป็นยา หนังสือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 215 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

214 214 พื้นบ้าน เป็นน้ามันเดชา (Decha Oil) นามาใช้กับตนเองในการช่วยให้นอนหลับได้ลึกข้ึน หลงลืมง่าย แพล้ืนะบต้า้อนเนเื้อปใ็นนนต้ามในั ชเด่วชงา4(D- e5cปhaี ทO่ีผi่าl)นนมามจาึงใชข้กยับายตนผเลอเงผในยแกาพรรช่ ่วทยาใยหา้นแอจนกหใหลั้ผบู้ปได่ว้ลยึกโรขค้ึนต่าหงลๆงลโืมดงย่าไมย่ แเกลิดะคต่าอ้ ใเชน้จื้อ่าใยนตเปา็นในจชาน่วงวน4ม-าก5กปวี่าท4ี่ผ,่า0น00มาราจยึงขปยัจาจยุบผันลนเผ้ามยันแเพดรช่ าทไดาย้รับาแกจารกรใับหร้ผอู้ปง่วใหยโ้เรปค็นตเป่าง็นๆตาโรดับยยไมา่ พเก้ืนิดบค้่าในช้จข่าอยงกเประ็นทจราวนงวสนามธาากรกณวส่าุข4,ซ0ึ่ง0ห0มรอายพ้ืนปบัจ้าจนุบผันู้เปน็น้ามเจัน้าเขดอชงาตไดา้รับกสาารมราับรรถอจง่าใหยใ้เปห็น้กเับปผ็นู้ปต่วายรขับอยงา ตพนื้ เบอ้างนไดข้ แอลงะกกระรทะทรวรงวสงาสธาาธราณรณสุขสุขซอึ่งยหู่รมะอหพว้ืน่าบงท้านากผู้าเปร็วนิจเจัย้าเขพอื่องวติจาัยรพับิสูจามนา์ปรรถะจส่าิทยธใหิภ้กาัพบผแู้ปละ่วคยขวาอมง ปตนลอเอดงภไดัย้ขแอลงะสกูตระกทารรรวกั งษสาดธังากรลณา่ สวุขอยู่ระหว่างทาการวิจัยเพ่ือวิจัยพิสูจน์ประสิทธิภาพและความ ปลอดภัยของสตู รการรักษาดงั กลา่ ว กกิจจิ กกรรรรกมมจิ ทท1กา้า้.รยยรกบบมจิ ททกทร้ารยมบท่ีท1 1. กคจิาชกแี้รรจมงท: ่ีโ1ปรดเลือกคาตอบท่ีผู้เรยี นคิดว่าข้อนน้ั เปน็ คาตอบท่ีถกู ต้องทีส่ ุดเพียงข้อเดยี ว แลว้ เขียนคาตอคบาใชน้แี กจรงะ:ดโาปษรขดอเลงผือเู้กรคยี านตอบที่ผู้เรียนคิดว่าข้อนัน้ เป็นคาตอบท่ีถกู ต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดียว แลว้ เขียนคาตอขบ้อใน1กรขะ้อดหาา้ษมขขอองผงกู้เรายี รนใช้ยาท่ีมีกญั ชาเป็นสว่ นผสมท้ัง 16 ตารบั ตามประกาศของ กระทรวงสาธาขรณอ้ ส1ุขคขือ้อขห้อา้ ใมดของการใชย้ าทีม่ ีกญั ชาเปน็ ส่วนผสมทง้ั 16 ตารับตามประกาศของ กระทรวงสาธารณสขุ คกอื .ขหอ้ า้ใดมใช้ในเดก็ สตรี และคนชรา ขก. ห้ามใชใ้ นผเดู้ชก็ ายสทตี่มรอี แาลยะุตค้ังนแตช่ร2า5 ปขี ึน้ ไป ขค. ห้ามใช้ในผู้ชหาญยิงทแ่มี ลอี ะาผยู้ชุตาั้งแยมต่ีอ2า5ยุมปาีขกน้ึ กไวป่า 18 ปี คง. หา้ มใช้ในหผญหู้ ญงิ ติงงั้ คแรลระภผ์ชู้ แาลยะมผีอมู้ าอี ยาุมยาุตกา่ กกววา่ ่า1188ปปี ี ข้อ 2 หง.ากหเ้าพม่ือในชข้ในอหงทญ่าิงนตน้งั อคนรรไภมห่์ แลลับะทผ่ามู้ นีอคาวยรตุ แา่ นกะวนา่ า1อ8ยา่ปงี ไร ขอ้ 2 กห.ากทเพาใ่ือจนใหขอ้สงบทาา่ยนแนลอะนไปไมพห่บลแับพท่ายน์ ควรแนะนาอย่างไร ขก. สทวาดใจมในหตส้ ์บทาายสแมลาะธไิ ปใชพ้วบิธแจี พิตบทายบ์ ดั คข. สทวาดใจมในหตส้ ์ บทาายสแมลาะธซิ ใื้อชยว้ าธิ นีจอติ นบหาบลบัดมารับประทาน งค.. รทบั าปใจรใะหทส้ าบยายยาแศลุขะไสซยื้อายศาน์เอพนรหาละแับกม้นารอบันปไมรห่ะทลบัานได้ ข้อ 3 งน.างรสับาปวรกะ่ิงทดาวยมยีอาศากขุ าไสรจยุกาศเสนียเ์ ดพรปาวะดแบกวน้ มอทนอ้ ไมงห่ เปล็นับดไดา้น ไปพบแพทย์แผนไทย แพทยจ์ ่ายยาไฟขอ้ าว3ุธ นใหางร้ สบั าปวรกะิง่ ทดานวมจีอาากกอาารกจาุกรเดสงัียกดลปา่ วขดนบาวดมแทล้อะงวิธเปใี ชน็ ้ใดนาขน้อใไดปถพูกบตแ้อพงทย์แผนไทย แพทยจ์ ่ายยาไฟอาวธุ กให. ้รรบั บั ปปรระะททาานนจยากตอามากแาพรทดยังส์กง่ัล่าแวลขะนใชาดน้ แ้าลมะวพธิ รใี ้าชวใ้ เนปข็น้อกใรดะถสูกาตย้อยงา กข. รับประทานยาตามแพทย์สง่ั และใชน้ า้ มะนพารว้าเวปเปน็ น็กกระระสสายายยาา ขค. รับประทานยาตามแพทย์สั่ง และใชน้ ้ามผึ้งะรนวางวเเปป็น็นกกรระะสสาายยยยาา งค. รบั ปปรระะททาานนยยาาตตาามมแแพพททยยส์ ์ส่งั ง่ั แแลละะใใชน้ า้ สผม้ึงรซวา่ งเปเปน็ น็ กกรระะสสาายยยยาา ง. รับประทานยาตามแพทยส์ ั่ง และใชน้ า้ ส้มซ่าเปน็ กระสายยา 216 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ เพอ่ื ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

215 ขอ้ 4 “น้ามนั กญั ชา ของนายเดชา ศิริภทั ร หมอพื้นบ้านสามารถรักษาโรคไดท้ ุกโรค” ท่านเห็นด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด ก. เห็นดว้ ย เพราะนายเดชา ศิรภิ ทั ร เปน็ หมอพืน้ บ้าน ข. ไม่เห็นด้วย เพราะนา้ มันนายเดชา ศิริภทั ร ยังไม่ไดร้ ับการรับรองใหร้ ักษาโรค ค. ไม่เห็นด้วย เพราะน้ามนั นายเดชา ศริ ภิ ทั ร ใชบ้ รรเทาอาการปวดจาก โรคมะเรง็ เท่าน้นั ง. เหน็ ด้วย เพราะนายเดชา ศิรภิ ัทร เป็นผู้ศึกษาทดลองการรักษาโรคดว้ ยน้ามัน กัญชามาเป็นเวลานาน ขอ้ 5 ภูมภิ เู บศร สาคญั อย่างไร ก. เปน็ วิสาหกจิ ชุมชน เน้นการพัฒนาระบบของเศรษฐกิจของชมุ ชนเป็นหลัก ข. เป็นต้นแบบของการรักษา แต่ทาเปน็ รปู ธรรมไม่ได้จริงและยงั ไม่เป็นที่ ยอมรบั ในปจั จุบัน ค. เป็นสถานท่ีฝกึ อบรม สัมมนา ศึกษา เรยี นรเู้ รอ่ื งการดแู ลสุขภาพ และ พัฒนาผลิตภณั ฑด์ ้วยสมนุ ไพร ง. เปน็ ที่จัดแสดงผลิตภัณฑท์ างการแพทย์ท่ีทนั สมยั หลากหลาย โดยเป็นท่ี ยอมรบั ในระดับอาเซียนและนานาประเทศ 2. กิจกรรมที่ 2 คาชแ้ี จง : โปรดจบั คขู่ ้อมูลท่ีอยู่หลังตัวอักษรท่ตี รงกับตวั เลขของข้อน้นั ๆ หรือมคี วาม สัมพนั ธต์ รงกับหวั ข้อเลขนนั้ ๆ ใหถ้ ูกตอ้ ง แล้วนาตัวอกั ษรของหนา้ ขอ้ มลู มาใส่หนา้ ตัวเลข ตรงกบั ขอ้ นั้น ๆ .......... 1. สถานทฝ่ี กึ อบรม สัมมนา ศึกษา เรียนรเู้ รอื่ ง ก. กรมการแพทย์แผนไทยและ การดูแลสุขภาพ และพฒั นาผลิตภัณฑ์ด้วย การแพทย์ทางเลือก สมุนไพร .......... 2. ผสู้ กดั น้ามนั กัญชาดว้ ยน้ามันมะพร้าวสกัดเยน็ ข. 16 ตารบั ยาที่รับรอง ใชร้ กั ษาโรคมะเรง็ โดยกระทรวงสาธารณสุข .......... 3. หากท่านมีความจาเปน็ ต้องใชย้ าท่ีมีกัญชาปรงุ ค. นายเดชา ศริ ิภัทร ผสมอย่โู ดยไม่ผดิ กฎหมายในความควบคุม ง. อภัยภเู บศรโมเดล ของแพทย์ จ. ตารับยาโอสถพระนารายณ์ .......... 4. น้าผงึ้ รวง นา้ มะพร้าว นา้ มะนาว น้าสม้ ซ่า ฉ. กระสายยา นา้ ตาลทราย น้าเบญจทบั ทมิ ช. ริค ซมิ ปส์ ัน .......... 5. หน่วยงานทฝ่ี ึกอบรมหมอพนื้ บา้ น ซ. กระทรวงสาธารณสุข รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพอ่ื ใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต 217 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

216 3. กจิ กรรมที่ 3 คาช้ีแจง : โปรดทาเครื่องหมายถูก () หรือ เครื่องหมายผิด () ลงหน้าข้อตัวเลข ที่ผู้เรียนอ่านข้อมูลแล้วคิดว่าคาตอบนี้ถูก ให้ทาเครื่องหมายถูก () ถ้าคิดว่าข้อมูลท่ีอ่านเป็นคาตอบ ทีผ่ ิด ใหท้ าเครือ่ งหมาย () .......... 1. ประเทศอินเดียเป็นผู้คดิ ค้นการนากญั ชาเพ่อื ใช้รักษาโรคเปน็ ประเทศแรก .......... 2. ประเทศไทยมีการค้นพบวา่ มีการใชก้ ัญชาเปน็ ส่วนประกอบของสตู รยามาตัง้ แต่สมยั พระนารายณ์มหาราช .......... 3. กระทรวงสาธารณสขุ ประกาศตารบั ยาแผนไทยทมี่ กี ญั ชาเป็นสว่ นผสม มจี านวน 16 ตารบั .......... 4. หากมีความประสงค์ใชย้ าแผนไทยท่ีมีกัญชาเป็นส่วนผสมตอ้ งไปรับท่ีภูมิภเู บศรเทา่ น้ัน .......... 5. น้ามนั กัญชาของนายเดชา ศิรภิ ทั ร รักษาทุกโรค 218 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ เพอ่ื ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

217 บทท่ี 6 6บทท่ี กัญชาและกัญชงกบั การแพทย์ แผนกญั ปชัจาจแลบุ ะกันัญชงกบั การแพทย์แผนปจั จบุ นั สาระสาคสญั าระสำ�คญั 1. ประวตั กิ ารใชก้ ัญชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปจั จุบนั 1.1 ตา่ งประเทศ ในต่างประเทศ มีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาในทางการแพทย์หลายรูปแบบ ได้แก่ น้ามันหยดใต้ล้ิน แคปซูล สเปรย์ฉีดพ่นใต้ลิ้น ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะบนผิวหนัง มีการศึกษาวิจัย และใช้กัญชาเป็นยารักษาโรค เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา และแคนาดา เป็นต้น นอกจากนี้ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีการจดสิทธิบัตร และพบฤทธ์ิของกัญชาท่ีอาจมีผลดีต่อ โรคทางระบบประสาท เช่น อัลไซเมอร์ พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง และโรคที่เกิดจากเซลล์ ถูกท้าลายโดยอนุมูลอิสระ (Oxidative) เป็นต้น แต่ยังต้องการการศึกษาวิจัยในมนุษย์เพ่ิมเติมอีก ในอนาคต 1.2 ประเทศไทย ประวัติการใช้กัญชาในการแพทย์แผนปัจจุบันในประเทศไทย ไม่ปรากฏข้อมูล หลักฐาน สืบเน่ืองจากกัญชา ได้ถูกบรรจุให้เป็นยาเสพติดให้โทษ ประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 จึงท้าให้ขาดการศึกษาวิจัย มาพัฒนาเพ่ือใช้เป็นยาในทางการแพทย์ แผนปัจจุบัน ส่งผลให้ไม่มีประวัติการใชก้ ัญชาในประเทศไทย ที่ถูกต้องตามกฎหมาย แต่ในปัจจุบันได้ มีการแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติม ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ก้าหนดให้ ใช้เพื่อประโยชน์ทางราชการ ประโยชนท์ างการแพทย์ ประโยชน์การรกั ษาผปู้ ่วย และประโยชนใ์ นการ ศึกษาวจิ ยั ในปจั จบุ นั จงึ อยู่ระหวา่ งการศกึ ษาวจิ ัย 2. กัญชาและกญั ชงที่ช่วยบรรเทาโรคแผนปจั จบุ ัน 2.1 กัญชาและกัญชงกบั โรคพาร์กินสนั สาร CBD เป็นสารสกัดที่ได้จากกัญชาและกัญชง ไม่มีฤทธ์ิต่อจิตและประสาท ชว่ ยใหผ้ ปู้ ว่ ย ลดความวิตกกังวล บรรเทาอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ มีฤทธิร์ ะงบั ปวด และมีกลไกท่ีเชื่อว่า อาจทา้ ใหล้ ดอาการส่ันจากโรคพาร์กินสนั ทา้ ใหก้ ารเคล่ือนไหวดีขน้ึ ปัจจบุ ันยงั ไม่ทราบกลไกการออก ฤทธ์ิที่ชัดเจน คาดว่าสาร CBD มีส่วนช่วยชะลออาการของโรคพาร์กินสัน จากฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ลดการอักเสบ และปกป้องเซลล์สมอง ซึ่งต้องการงานวิจัยเพิ่มเติมในอนาคตถึงสัดส่วนสาระส้าคัญ ท่ีใช้ในโรคพาร์กนิ สนั รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพ่อื ใช้เป็นยา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 219 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

218 2.2 กัญชาและกญั ชงกับโรคมะเรง็ ในต่างประเทศ มีผลการศึกษาวิจัยสารในกัญชา สาร THC และสาร CBD ที่สามารถเช่ือถือได้ ในการรักษาโรคมะเร็งปอด และมะเร็งเม็ดเลือดขาว ในประเทศไทย มีการศึกษา การใช้กัญชาต่อต้านมะเร็งพบว่า กัญชาสามารถออกฤทธ์ิฆ่าเซลล์มะเร็งในการเพาะเล้ียงเซลล์ ในหอ้ งทดลอง แตย่ ังไมม่ กี ารศึกษาถึงผลของกัญชาต่อโรคมะเร็งในมนุษย์ 2.3 กัญชาและกญั ชงกับการลดอาการปวด มีการศึกษาการน้ากัญชามาใช้ลดอาการปวด ส่วนใหญ่พบว่า สามารถบรรเทา อาการปวดแบบเร้ือรัง (Chronic Pain) ท่ีเป็นการปวดทางระบบประสาท (Neuropathic Pain) สามารถบรรเทาอาการปวดลงได้ ส่วนการบรรเทาอาการปวดเฉียบพลัน เช่น หลังผ่าตัด ยังไม่ได้ ให้ผลท่ีดี ส้าหรับอาการปวดเรื้อรังในผู้ป่วยมะเร็ง ยังไม่มีข้อสรุปทางคลินิกที่ชัดเจน สารสกัดกัญชา อาจมีประโยชน์ในการรักษาอาการปวด แต่ยังขาดข้อมูลจากงานวิจัยสนับสนุนท่ีชัดเจนเพียงพอ ในด้านความปลอดภยั และประสิทธิผล ซึ่งยงั ต้องศึกษาวจิ ยั ตอ่ ไปเพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยไดร้ ับประโยชนส์ ูงสดุ 2.4 กญั ชาและกญั ชงกับโรคลมชกั ส้าหรับกัญชาท่ีองค์การอาหารและยา (Food and Drug Administration) ของ ประเทศสหรัฐอเมริกา อนุมัติยาจากสารสกัดกัญชา ตัวแรก (ไม่ใช่สารสังเคราะห์) ชื่อการค้า Epidiolex® ประกอบด้วยตัวยา CBD 100 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ในรูปแบบสารละลายให้ทางปาก (Oral Solution) โดยมีข้อบ่งใช้ในการรักษาโรคลมชักชนิดรุนแรง 2 ชนิด คือ Lennox - Gastaut Syndrome และ Dravet Syndrome ในผปู้ ่วยอายุ 2 ปีข้ึนไป ในประเทศไทย กรมการแพทย์ ประกาศถึงประโยชน์ของสารสกัดจากกัญชา ทางการแพทย์ ในการน้าตัวยา CBD มาใช้กับโรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักท่ีด้ือต่อยารักษา เท่านัน้ 2.5 กญั ชาและกญั ชงกับโรคผิวหนัง นายแพทย์เวสารัช เวสสโกวิท ศึกษาวิจัยเก่ียวกับการน้าน้ามันกัญชามาใช้ใน โรคสะเก็ดเงิน และกรรมพันธุ์ผิวหนังชนิดหนังหนาแต่ก้าเนิด ส้าหรับในต่างประเทศ นายริค ซิมป์สัน (Rick Simpson) มีการค้นพบการรักษาโรคมะเร็งผิวหนังด้วยกัญชา โดยผลิตน้ามันกัญชา เรียกว่า ริค ซมิ ป์สัน ออยล์ (Rick Simpson Oil, RSO) แลว้ น้ามาเผยแพร่แก่ประชาชนชาวสหรฐั อเมรกิ า และ ประเทศอังกฤษ ทางอินเทอร์เนต็ 2.6 กัญชาและกัญชงกบั โรคต้อหิน การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการรักษาโรคต้อหิน ด้วยกัญชา พบว่าการใช้กัญชา ท้าให้ ความดันในลูกตาลดลงได้ มีฤทธิ์อยู่ได้เพียง 3 ช่ัวโมง และข้ึนอยู่กับปริมาณการใช้กัญชาด้วย ซ่ึงอาจ เพิ่มการเกดิ ผลข้างเคยี ง จากการได้รบั ขนาดยากัญชามากเกนิ ไป ได้แก่ ความดันโลหิตตา่้ ลง และหัวใจ 220 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต เพอ่ื ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

219 เต้นเร็วข้ึน ด้วยเหตุผลท่ีว่ามีหลายปัจจัยเข้ามาเก่ียวข้องในการควบคุมความดันลูกตา ไม่ว่าจะเป็น ระยะเวลาการออกฤทธ์ิ ความแรงของยากัญชา ท้าให้ในทางการแพทย์แผนปัจจุบันยังไม่ยอมรับ การน้ากัญชามาใช้รักษาโรคต้อหิน เนื่องจากยาแผนปัจจุบันสามารถคุมความดันในลูกตาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพคงที่ และสม่า้ เสมอมากกวา่ 3. การใชน้ ้ามันกัญชาและกญั ชงกับการแพทย์แผนปจั จบุ นั น้ามันกัญชา คือ สารสกัดกัญชา (Cannabis Extract) ที่เจือจางอยู่ในน้ามันตัวพา (Carrier Oils หรือ Diluent) ส่วนมากนิยมใช้น้ามันมะกอก และน้ามันมะพร้าวสกัดเย็น โดยหากผ่านการผลิตที่ได้มาตรฐานจะมีการควบคุมคุณภาพของปริมาณสารส้าคัญ ปริมาณความ เข้มข้นของตัวยา THC และ CBD รูปแบบของน้ามันกัญชามีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีน้าตาล ลักษณะ ข้นหนืด น้ามันกัญชาท่ีมีการผลิตอย่างได้มาตรฐาน ในประเทศไทยจากองค์การเภสัชกรรม และ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภเู บศร ปจั จบุ ันมีอยู่ 3 สตู ร สตู รที่ 1 น้ามนั สูตร THC สูง สตู รที่ 2 น้ามันสตู ร THC : CBD ในอัตราส่วนเท่า ๆ กัน สูตรที่ 3 น้ามันสูตร CBD สูง วิธีการสกัดน้ามันกัญชา ด้วยตนเอง เป็นวิธีการท่ีไม่ปลอดภัย และเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ ควรใช้ผลิตภัณฑ์น้ามันกัญชาท่ีมีมาตรฐาน ได้รับ จากคลินิกกัญชา ท่ีมีแพทย์อนุญาตให้ใช้น้ามันกัญชาในการรักษาโรคจึงจะมีความปลอดภัย ขนาด การใช้น้ามันกัญชาจะต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ และเภสัชกร โดยมีหลักการ คือ เริ่มใช้น้ามัน กัญชาที่ขนาดต้่า ๆ โดยแนะน้าให้เริ่มท่ี 0.05 - 0.1 ซีซี หรือเท่ากับ 1 - 2 หยด และปรับเพิ่มขนาด มากขึ้นตามคาแนะนาของแพทย์เท่านน้ั น้ามนั กัญชาอาจจะท้าให้มภี าวะงว่ งซึม จึงแนะน้าให้ใช้เวลา กอ่ นนอน และหลีกเลยี่ งการทา้ งานใกล้เครือ่ งจักร หรือขบั รถ 4. ผลิตภณั ฑ์กัญชาและกญั ชงทางการแพทย์ ผลิตภัณฑ์ส้าเร็จรูปจากกัญชาเพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ ส้าหรับคน มีรูปแบบ น้ามันหยดใต้ล้ิน แคปซูล สเปรย์ฉีดพ่นใต้ล้ิน ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะบนผิวหนัง ผลิตภัณฑ์กัญชาจะมีสูตรแตกต่างกันตามสัดส่วน และปริมาณสารส้าคัญ THC และ CBD ผลิตภัณฑ์ กัญชาที่ได้รับการขึ้นทะเบียน (Registered Drug) ขณะน้ีมีอยู่ 3 รูปแบบ คือ ผลิตภัณฑ์ THC สงั เคราะห์ ผลติ ภัณฑส์ ารสกัดแคนนาบินอยด์จากธรรมชาติ และผลติ ภัณฑ์สารสกัด CBD นอกจากนี้ ในต่างประเทศยังมีผลติ ภณั ฑ์รักษาอาการเจ็บปว่ ยในสัตว์ 5. การใชผลิตภัณฑกัญชาและกัญชงให้ได้ประโยชน์ทางการแพทย์ในปัจจุบัน แนะน้าโดย กรมการแพทย์ เพื่อใชใ้ นการดแู ลรักษา และควบคมุ อาการของผู้ป่วย เนื่องจากมีหลกั ฐานทางวิชาการ ที่มีคุณภาพสนับสนุนชัดเจน โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ (1) ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบ้าบัด (Chemotherapy Induced Nausea and Vomiting) โดยแพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพ่ือ รักษาภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบ้าบัดที่รักษาดว้ ยวิธีต่าง ๆ แล้วไม่ได้ผล (2) โรคลมชักท่ีรักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา (Intractable Epilepsy) ผู้สั่งใช้ควรเป็นแพทย์ผู้เช่ียวชาญด้านระบบ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 221 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

222200 ชหชปป(ผ(ใใผผผ((ททหหปปหปป44นนออลลลล่่ีีรรดดรรรรรร))ีี กกักักืือะะอบบิิิิะะตตเเตตคคกกภภรรษษสสลลสสธธภภภภ..ณณรรศศาาิิททดาาดรราาััััณณณณ็็งงวว..ภภรรีีททททคคธธะะ22มมฑฑ((ฑฑาาิิผผ่ีี่ผผววSSปป00ววแแ66แแลลา์์าูู้้กกปป์์กกppะะ11วว..ลลลลมมััญญัั่่ววญญaaปปภภดด33้้ะะววททยยกกssชชวว))ชชาาจจไไttุุกกาาไไแแดดดดยยiiาาาาดดาารรรรccขขพพจจเเ้้หหกกรรแแะะใใ้้รรii์์ททพพttชชาาััททบบัับบรรบบลลลลyyรรืื่่กกออ้ผผ้ ะะยย))ัักกงงกกะะุุววมมรรลลบบบบจจ์์ออใใาาาา่่าากกะะาาิติตนนาารรรรรรบบาามมััญญบบนนภภกกรรรรผผจจออีีคคปปบบขขััชชกกไไเเัณัณูู้้ปปเเบบววททรรดดลลออปปษษงง่่ววฑฑรราาะะ้้ืืปปอองงาารราายยมมมมสสมมผผ์ก์กออกกะะรรดดโโกกเเาาูู้้ปปญญััาาสสึึกกาารรวว้้ววปปททาาใใคคกกิิาาธธ่่ววษษยยชช็็นนชชรรททีีกกยปปยาาววาาาา((้้ใใไไกกททรราาNNแแิิลลธธกกชชปปัับบรรปปีีมมี่ดี่ดลลออััeeบบ้้สสไไใใผผววะะอ้ื้อืาากกuuดดชชผผาาตตกกดดูู้้ตตปปปปrrูู้้้้้้รรผผหหเเooชชญััญรรอ่อ่แแ่่รรสสววลลาาppฐฐ่ีี่ยยกกลละะยยชชกกิิตตกกาาaaววสสาาะะงงััเเดดภภไไนนttรรชชฉฉททาาเเมมhhจจััณณรรแแกกาาททพพาา่่มมiiาาักกั ccลลญญรรงงฑฑเเาาีีกกววษษสส็็้้ววกกงงPPะะ์์กกิิธธกกใใ่่ืืออาาแแาาaaรรีีกกัันนญญไไััดดญญรรมมลลiiมมาาาาnnแแกก้วว้ ชชแแะะชชยย่่สสรรพพ))ยยรรไไขขาาาาาารรดดยยณณททแแแแ็็ปปงงเเมมัักกาา้้รรพพลลพพยยีีททฏฏาาษษมมัั((บบน์น์ะะื่ื่ออMMททรริิ่ี่ีรรญญาาาาคคกกถถ่่าากกััยยกกตตuuออววจจญญััญญคคาา์์สสรรษษืืll่่นนาาะะttววรรฐฐชชาาาามมาาiiไไบบรรppาามมเเๆๆงงดดดดยยััฮฮกกนนllคคมมาา้ปป้ ้้eeิิววนนลลษษหหุุมมรราารรยยยยซซถถSSาาชชออรระะววออิิccผผงงืืใใออ่่ววาาโโิิธธชชมมยยllกกูู้้กกปปยยมมีีeeออ้้ชชผผจจิิ าาชช่่ีีววววrr่ืื่นนขขนนาาลลรรooีีววิิยยธธกกออขขิิ์์ตตssิิตตีีกกๆๆใใผผiiงงออ((ภภssผผนนาา33แแูู้้ปปงง))แแูู้้ััปปรรณณกก))โโพพ่่ววแแลลรร่่าารรววฑฑภภยยพพัักกทท้้รรววคคยยาา์์กกคคษษไไททยยไไหหววฟฟมมดดััญญววยยาาสสรระะบบ่่้้ไไ้ืื้นน์์สสชชืืออมมหหดดกกแแคคฟฟาาาาญญาา้้ผผาาลลตตมมุุ มมููสสใใคคกก้้ลลาาาานนออ่่ไไาาุุขขจจมมตตมมมมรราากกภภแแะะิิโโโโ่่กกเเเเถถรรดดนนกกาาลลนนลลาาใใณณพพยยิิื้้ืดดชชกกออ้้าาะะรรีี้้ ใใกกผผปปปปปแแปนนบัับผผัรรัจจรรลลกกะะะะจจกกนนกกาาโโโโุุบบาาปปยยรราายยรรัันนแแััชชจจรรชชแแพพนนเเจจพพนนกกรรผุุททบบใใ์์ ทท์์ัั33112ญญ2ททยีียนนลยยัันน......ยยาานนกกชชกแ์แ์ แแ์์งงตตเเเเาาาารรผผผผาพพพพกกผผรรแแรรู้ท้ทูนนลลราา่ื่ืื่่ืออออคคนนะะลลิิปปเค่ีีค่ตตรรใใใใววหหปปะะรหหหหแแัจจัภภบบาากกจััจียนนพพ้้้้จจมมมมดดััคคณณััญญจจัักกนุบบุีีีีคคททททุมมุหหุบุบถถฑฑชชรนัันววัักกออยยันันึึงงววงง้ทู์์าากกษษาา์์คคใใททังงัมมัันนญญกก่ีคะะววีี่่ชชรราาปปาาากกชช่่ววูู้้รรมมดาาััคคจจาายยรรสสววจจหแแบบแแ้้าาาาุุบบลลรรวสสคคมมััรรนนะะังววััญญเเเเกกขขงงททแแขขััหห้้ญญาาาาลลออใใาาโโชชจจะะงงรรคคเเงงกกคคกกววกกททาาแแาาาาี่ี่ยยรราามมรรผผววนนงงใใรรนนกกชชกก้้าาูู้้ ัับบปปแแ้้กกผผาาััจจลลรรััญญลลปปจจะะแแิิตตชชรรุุบบททพพภภะะาาัันนัักกททววััแแณณษษััตตลลยยกกฑฑะะิิกกะะ์์ าากก์์กกกกาากกรราาััรรญญาาััญญใใรรใใชชรรชชชชชชคค้้นนใใ้้าากกงงิิดดชช้้าาแแไไััญญ้้ววผผมมปปลลิิเเลลชชัันนคคใใะะิิาาชชตตกกรรกกแแ้้รรภภาาััญญััญญลลัักกะะััณณชชะะหหษษชชาากกฑฑ์์งงเเาาแแกกััญญททโโ์์กกลลรร่ีี่ยยาาััญญชชะะคคววงงงงกกกกชชกกททแแััญญัับบาาาาาาลลแแกกรรชชงงะะแแลลััญญกกงงลลกกพพะะาาชชดดรรัับบกกททาาออแแัักกญญแแยยาาพพาาลล์์กกนนชชททรระะาา่่าางงแแยยกกรรจจใใพพ์์แแััญญปปหหะะผผททวว้้ไไชชไไนนดดดดดดยยงง้้์์้้ ขขออบบขข่า่ายยขบบเเนนอททบอือ้้ื ททหหขี่่ี 66าา่ ยเเกกรรเัญัญน่อ่ือื งงชชอ้ื ททาาห่ี่ีแแ11าลละะปปกกรรญญัั ะะชชววตังตังกกิิกกับับาารรกกใใาาชชรร้กก้แแญญััพพชชททาายยแแ์แ์แลลผผะะนนกกปปญญัั ััจจชชจจงงุบบุ ททัันนาางงกกาารรแแพพททยยแแ์์ ผผนนปปจัจั จจบุุบันัน เเรรอือ่่ื งงทท่ีี่ 22 กกญญัั ชชาาแแลละะกกััญญชชงงทที่ี่ชช่่ววยยบบรรรรเเททาาโโรรคคแแผผนนปปัจัจจจุบบุ ันัน เเรร่่ือืองงทท่ี่ี 33 กกาารรใใชชน้้นา้้ามมนัันกกญัญั ชชาาแแลละะกกัญัญชชงงกกับับกกาารรแแพพททยยแแ์์ ผผนนปปัจจั จจุบบุ นััน เเรร่อื่อื งงทที่่ี 44 ผผลลิตติ ภภัณัณฑฑ์์กกญญัั ชชาาแแลละะกกััญญชชงงททาางงกกาารรแแพพททยย์์ 222 หนงั สือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ เพอื่ ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

22211 เเรร่ืออื งงทท่ีี 5 กกาารรใใชชผ้ผ้ ลลติิ ภภณัณฑฑก์กัญั ชชาาแและะกกญัญชชงงใใหไ้้ ดดป้้ปรระะโโยยชนนท์์ าางกการแแพพททยย์ ในปจจัั จจบุบนนั เเรร่อ่ือื งงท่่ีี 66 กกาารรใใช้ผลติติ ภณัั ฑก์ ััญชาแแลละกกญั ชชงงททางงกการรแแพททย์นนา่ จจะไไดดป้้ ระะโยยชน์ ใในนกกาารรควบคคุุมมอาากกาาร สส่ื่อือประะสกกื่อออปบบรกะาากรรอเรบยียี กนนารรรูู้้ เรยี น 1.. ชชื่ออหหนนัังงสสืออ สสุรริิยัญญกกัญญชชา อัมมฤฤตตย์์โโออสถแหห่งงคควาามมหวังง ชช่ื่ืออผูู้้แแตต่่งง ปปานนเทพพ พััวพงงษ์พันนธธ์์ โโรรงงพพิมมิ พพ์ บบ๊คุ ดด็อทท คออม ปปีทท่พ่ีพี มิิมพพ์์ 225562 22.. ชช่ืื่อบบททควาาม กััญญชชาากกัับบกการรรัักกษษาาโโรรคค ชช่ืือผผู้เเขีียยนน ดรร..ภภญญ..ผผกกาาททิพพย์์ รร่ืื่นรระะเเรริิงงศศักดิ์์ สสืบบื คค้้นนจจาากก hhttttppss::////wwwwww..pphhaarrmmaaccyy..mmaahhiiddooll..aacc..tthh//tthh//kknnoowwlleeddggee//aarrttiiccllee//445533//กกัญัญชชาา// 33.. หห้้อองงสสมมุุดดขขอองงมมหหาาววิิททยยาาลลััยยตต่่าางง ๆๆ ทท่ีี่ตตั้ั้งงออยยูู่่ใในนกกรรุุงงเเททพพมมหหาานนคครร หหรรืืออหห้้อองงสสมมุุดดใใกกลล้้บบ้้าานน ผผูเู้้เรรยียี นน เร่อ่ืองงที่ี เ11รือ่ งปปทรี่ะะ1ววัตั ปกิิกราาะรวใชชัตก้กิ ััญญารชชใชาาแแก้ ลัญะะชกกาัญญแชลงะททกาาัญงชกงาาทรแแางพพกททายยร์์แแผผพนนทปยจััแ์ จจผุุบบนันันปจั จบุ นั 11. ปปรระะววตัตั ใิใิ นนตต่าางปปรระเทศศ ใในตต่่าางงปปรระะเททศศใชช้กกัญชชาาเป็็นนยยารรัักกษษาโโรรคค ไได้้แกก่ ปรระะเเททศศออัังงกฤฤษ อนุุญาตตใใหห้ใใชช้้กััญญชาาใในน ลลกักั ษษณณะะเเปป็นน็ ผผลลติติ ภณัณฑฑ์ที่ี่ใใชชท้้ าางงกการรแพพทยย์ ในนรปูปู ขขอองงยยาาเเมม็็ด ยยาาแแคปปซซลููล นน้าามมันันกััญญชาา แแตตไ่ไ่ ม่อ่อนนุญญาาตตใใหห้้มี การสููบบ ในนปประะเเทศเยออรรมมนีี ใใหห้ใชช้ใในรูปแบบบ สสเปรรยย์ ((SSprraayy)) สส้้าหหรรัับบรัักษาาออาากกาารปปววดดเกกร็็งงกกลล้้าามเเนน้้ืือ ใในนปประะเททศสสเเปปนน มีีกการววิิจจััยยททางคคลินิิกกกกาารใช้้กกัญญชชารักกษษามมะะเเรร็็งหหรืืออเนื้ื้อองอกกชนนิิดกกลััยโออบลาาสสโโตมา (Glliioobbllassttommaa หหรรอือ GGBBMM)) ผผลลกกาารรววิจิ ัยัย ปปราากฏว่าาไไดด้ผผ้ ลลดีี ใในนปรระเททศศสสหหรรัฐฐั ออเมมริกิกาา มมีกีกาารรจดสสททิ ธิิบตัตร กััญญชชา แแลละะพบฤฤททธธ์ิิขขอองกกัญชชาา ที่ีอาจจมมีีผผลลดดีีต่ออโโรรคททางงรระะบบบปประะสสาาทท เชช่่นน ออััลลไไซซเเมออรร์์ พพาารร์์กกิินสสัันน โรรคหหลออดดเลลืืออดสสมอองง แและะโโรคคท่ีี่เกกิิดดจจาากกเเซซลลล์์ถถููกท้้าาลลาายยโดดยยออนนุุมมููลลออิิสสระะ (Oxxiidaattivvee) โโรคหหััววใใจ โโรรคคปลลออกกปปรระะสสาาททเเสสื่่ืออมมแขข็็งง โโรรคเบบาหหววาานน เปป็็นนตต้น โดดยยรรััฐฐโคโโลลรราาโโดด อนนุุญญาาตตใให้้ใใช้กัญญชาออย่่างง ถูกกกฎฎหมมาายย แแลละะออีีก 3333 รรััฐฐ ออนนุุญาาตตใใหห้ใใชช้้น้้าามมัันกกัญชชาาททางกาารแพพททยย์์ไไดด้้ นนออกกจาากนน้ี ปปรระะเเททศศออิิสสรราาเออลล โโคลมัมั เเบบียีย แและะแคคนนาาดดาา ออนนญญุ าาตตใใหใ้ ชชผ้ผลลติตภภณัั ฑจ์จากกญัั ชชาเเปน็นยาารรกัั ษษาาโโรรคค ในนปปีี คค..ศศ.. 11889933 หรรือื พพ.ศศ.. 22338822 นนาายยแแพททยย์วลิลิ เลลยียมม บบรรกกูู โออชอเเนนสสซซี่่ี ((Wiillliaam BBrroookkee OO''SShhaaugghhnesssyy)) ชชาวอัังงกกฤฤษ ปปฏิบัตติิงงานนออยูู่่ใในนประะเทศศออินเดีียย ไไดด้ท้้าากาารททดลออง แแลละะคค้้นพบบวว่่าา กกััญชาามมีสสรรรรพคุุณณททาางงกาารรแพพททยย์์ สสาามมาารรถถใชช้้รระะงงับบออากาารปวด เเพพ่ิมคคววามมออยยาากออาาหาารร ลลดดกกาารรออาาเเจจีียน คคลลาายกกล้้าามเเนนื้ื้ออ แแลละลลดออากาารรชักกั ไได้้ โดยไไดดต้้ ีพพิมมิ พพ์์ผผลงาานนวจิจิ ยัั ใในววารสสาารรททาางงยยาาในนสมมััยยนััน้้น ปีี คค..ศศ.. 193377 หรือ พพ..ศศ. 224880 มมีีรรายยงงาานวว่่าา กกาารรใใชช้้กกัญญชาาในนปปรระะเเทศศสสหรัฐอเเมรริิกกาา ทท้้าาใหห้ผผูู้้ใชช้ขขาดสสตติิ เกิิดออาากกาารรปรระะสสาทหหลลออนน ปประเเททศออัังงกฤฤษษจจึึงงเเพพิิกถอนนกกััญญชาอออกกจากบบััญญชชียา แแตต่่ใใน รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต 223 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

222 ปัจจุบันรัฐบาลอังกฤษ ประกาศให้แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา เพ่ือการรักษาทางการแพทย์ ได้อย่างถูกกฎหมาย และอนุญาตให้มีการปลูกกัญชาเพื่อใช้ในทางการแพทย์ ในทางตอนใต้ของ กรงุ ลอนดอน ปี ค.ศ. 1992 หรือ พ.ศ. 2535 ยาโดรนาบินอล (Dronabinol) ได้รับการรับรองให้ใช้ รักษาโรคเอดส์ ที่เกิดจากอาการน้าหนักลดมากจนผอมแห้ง (AIDS-Wasting Syndrome) ได้ใน ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ปี ค.ศ. 1996 หรือ พ.ศ. 2539 รัฐแคลิฟอร์เนีย (California) เป็นรัฐแรกในประเทศ สหรัฐอเมริกา ทีอ่ นุญาตใหใ้ ชก้ ัญชาทางการแพทย์ จากน้นั จงึ ตามดว้ ยประเทศแคนาดา ปี ค.ศ. 1997 หรือ พ.ศ. 2540 นายริค ซิมป์สัน (Rick Simpson) ชาวแคนาดา ซ่ึงเคย ท้างานเป็นวิศวกรอยู่ในโรงพยาบาล ต่อมาประสบอุบัติเหตุในขณะปฏิบัติงาน ล้มหัวฟาดพ้ืน เกิดอาการวิงเวียนศีรษะ และตาลาย จากการรักษาโดยแพทย์ท่ัวไปไม่ดีข้ึน เขาได้ยินสรรพคุณของ กัญชาว่ามปี ระโยชน์ จึงแอบน้ามาใช้กับตนเอง และพบว่าอาการต่าง ๆ ดขี ้ึนอย่างมาก ปี ค.ศ. 1999 หรือ พ.ศ. 2542 รัฐบาลประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จดสิทธิบัตรกัญชา หมายเลข US6630507 B1 อ้างสิทธิการใช้กัญชาในการรักษาโรคทางระบบประสาท เช่น อัลไซเมอร์ พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง โรคท่ีเกิดจากเซลล์ถูกท้าลายโดยอนุมูลอิสระ (Oxidative Stress) เปน็ ตน้ แตใ่ นขณะเดียวกัน กฎหมาย และองคก์ ารอาหารและยา ยังคงปฏิเสธกญั ชาเพือ่ ใช้เป็นยา ปี ค.ศ. 2003 หรอื พ.ศ. 2546 บรษิ ัท GW Pharmaceuticals ในประเทศองั กฤษ ได้รับ อนุญาตให้ปลูกกัญชาเพื่อการทดลอง ด้วยความหวังว่าจะได้รับอนุญาตให้ท้าการผลิต และจ้าหน่าย ผลิตภัณฑ์ทีท่ ้ามาจากกัญชา และมตี วั อย่างการใช้กัญชาในการรักษาโรคมะเร็งผวิ หนัง นายริค ซิมป์สัน (Rick Simpson) ได้สังเกตเห็น ตุ่ม ผิดปกติท่ีผิวหนังบนแขน จ้านวน 3 ตุ่ม และเม่ือไปพบแพทย์ ผลการตรวจชิ้นเนื้อยืนยันว่าเป็น มะเร็งผิวหนัง เขาจึงตัดสินใจจะใช้กัญชาในการรักษามะเร็งผิวหนัง ด้วยตนเอง เพราะเคยอ่าน และได้ยินมาว่าสาร THC สามารถฆ่าเซลล์มะเร็งในหนูทดลองได้ เขาจึง สกัดกัญชาแล้วน้ามาประคบไว้บริเวณที่เป็นตุ่มเนื้อมะเร็งบนผิวหนัง หลังจากนั้น 4 วัน พบว่า ตุ่มเน้ือนั้นมีขนาดลดลงอย่างมาก จากนั้นจึงพัฒนาสูตรในการผลิตกัญชาสกัดเป็นของตนเอง เรียกว่า ริค ซิมป์สัน ออยล์ (Rick Simpson Oil, RSO) แล้วน้ามาเผยแพร่โดยรักษาประชาชนชาว สหรัฐอเมริกา ประมาณ 5,000 ราย โดยการสกดั กัญชา และใช้สารเอทานอล ทม่ี คี วามเข้มข้นร้อยละ 99 สกัดประมาณ 2 วนั จะได้คลอโรฟลิ ล์ตดิ ออกมาดว้ ย ซ่ึงสารสกดั ทีไ่ ด้จากวิธีการนี้จะมี สารเตตรา ไฮโดรแคนนาบนิ อล (THC ร้อยละ 90) แคนนาบิไดออลออยล์ (CBD ร้อยละ 2 - 6) ปี ค.ศ. 2005 หรือ พ.ศ. 2548 บรษิ ัท GP Pharmaceuticals ไดร้ บั อนญุ าตใหจ้ ้าหน่าย ผลิตภัณฑ์จากกัญชาในประเทศแคนาดา (Canada) 224 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต เพื่อใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

223 ปี ค.ศ. 2013 หรือ พ.ศ. 2556 บริษัท โอซูก้า ฟาร์มาซูติคอล จ้ากัด โตเกียว ประเทศ ญี่ปุ่น บริษัทยาในประเทศญี่ปุ่น และประเทศอังกฤษ ได้จดสิทธิบัตรพบฤทธ์ิต้านมะเร็งของกัญชาใน หลอดทดลอง และหนูทดลอง ปี ค.ศ. 2014 หรือ พ.ศ. 2557 รัฐโคโลราโด ประเทศสหรัฐอเมริกา มีการใช้กัญชา ถูกกฎหมายอย่างเต็มรูปแบบภายใต้การควบคุมท้ังการผลิต ซ้ือขาย และเสพ เป็นสัญญาณแห่งการ จบส้นิ ยคุ มืดของกญั ชา ปี ค.ศ. 2018 หรือ พ.ศ. 2561 องค์การอาหารและยาประเทศสหรฐั อเมริกา (U.S.FDA) อนุมัติยาจากสารสกัดกัญชาตัวแรก (ไม่ใช้สารสังเคราะห์) ชื่อการค้า Epidiolex® ประกอบด้วยตัวยา แคนนาบินอยด์ ออยล์ (Cannabinoid Oil) 100 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ในรูปแบบสารละลายให้ ทางปาก (Oralsolution) โดยมีข้อบ่งใช้ในการรักษาโรคลมชักชนิดรุนแรง 2 ชนิด คือ Lennox - Gastaut Syndrome และ Dravet Syndrome ในผู้ป่วยอายุ 2 ปีขึ้นไป กล่าวโดยสรุป ประวัติการใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปัจจุบันในต่างประเทศ มกี ารใชผ้ ลติ ภัณฑ์กัญชาในทางการแพทย์หลายรูปแบบ ไดแ้ ก่ นา้ มันหยดใต้ลน้ิ แคปซลู สเปรย์ฉดี พ่น ใต้ลิ้น ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะบนผิวหนัง มีการศึกษาวิจัย และใช้กัญชาเป็นยา รักษาโรค เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา และแคนาดา เป็นต้น นอกจากน้ีในประเทศ สหรัฐอเมริกา มีการจดสิทธิบัตร และพบฤทธ์ิของกัญชาท่ีอาจมีผลดีต่อโรคทางระบบประสาท เช่น อัลไซเมอร์ พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง และโรคที่เกิดจากเซลล์ถูกท้าลายโดยอนุมูลอิสระ (Oxidative) เป็นต้น แต่ยังตอ้ งการการศกึ ษาวจิ ัยในมนษุ ยเ์ พิ่มเตมิ อีกในอนาคต 2. ประวตั ิในประเทศไทย ประวัติการใช้กัญชาในการแพทย์แผนปัจจุบันในประเทศไทย ไม่ปรากฏข้อมูลหลักฐาน สืบเน่ืองจากกัญชา ได้ถูกบรรจุให้เป็นยาเสพติดให้โทษ ประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติด ให้โทษ พ.ศ. 2522 จึงท้าให้ขาดการศึกษาวิจัย มาพัฒนาเพ่ือใช้เป็นยาในทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ส่งผลให้ไม่มีประวัติการใช้กัญชาในประเทศไทย ที่ถูกต้องตามกฎหมาย แต่ในปัจจุบันได้มีการแก้ไข กฎหมายเพ่ิมเติม ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 ก้าหนดให้ใช้เพ่ือ ประโยชน์ทางราชการ ประโยชน์ทางการแพทย์ ประโยชน์การรักษาผู้ป่วย และประโยชน์ในการ ศึกษาวจิ ัย ในปจั จุบันจึงอยรู่ ะหวา่ งการศกึ ษาวจิ ยั รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพือ่ ใช้เป็นยา หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 225 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

224 เรอื่ งที่ 2เรก่ือัญงทช่ี า2แลกะัญกชญั าชแงลทะี่ชก่วัญยชบงรทรี่ชเทว่ ายโบรครรแเผทนาปโรัจคจแุบผนั นปัจจุบัน 1. กัญชาและกัญชงกับโรคพารก์ ินสนั โรคพาร์กินสัน คือ โรคทางสมองท่ีเกิดจากเซลล์ประสาทในบางต้าแหน่ง เกิดมีการตาย โดยไม่ทราบสาเหตุท่ีแน่ชัด ท้าให้สารสื่อประสาทในสมองที่ชื่อว่า โดปามีน (Dopamine) ซ่ึงเป็นสาร ท่ีมีหน้าท่ีควบคุมการเคล่ือนไหวของร่างกายมีปริมาณลดลง จึงส่งผลกระทบต่อการเคล่ือนไหวของ ผู้ป่วย และสาเหตุส้าคัญของการเกิดโรคพาร์กินสัน มี 10 สาเหตุ ได้แก่ (1) ความชราของสมอง โดยมากพบในผู้ที่มีอายุ 65 ปีข้ึนไป ทั้งเพศชายและเพศหญิง (2) ยากล่อมประสาท หรือยานอนหลับ ทีอ่ อกฤทธิ์กดหรือตา้ นการสร้างสารโดปามีน โดยมากพบในผปู้ ว่ ยโรคทางจติ เวช ท่ตี ้องไดร้ บั ยากลุ่มน้ี เพื่อป้องกันการควบคุมอาการ (3) ยาลดความดันโลหิตสูง (4) ภาวะหลอดเลือดในสมองอุดตัน (5) สารพิษทา้ ลายสมอง ไดแ้ ก่ สารแมงกานสี ในโรงงานถ่านไฟฉาย พิษจากสารคาร์บอนมอนนอกไซด์ (6) ภาวะสมองขาดออกซิเจน ในกรณีท่ีจมน้า ถูกบีบคอ เกิดการอุดตันในทางเดินหายใจจากเสมหะ หรืออาหาร เป็นต้น (7) ศีรษะถูกกระทบกระเทือนจากอุบัติเหตุ (8) เกิดการอักเสบของสมอง (9) โรคทางพันธุกรรม เช่น โรควิลสัน เป็นต้น และ (10) ผู้รับยากลุ่มต้านแคลเซียมที่ใช้ในโรคหัวใจ โรคสมอง ยาแก้เวียนศีรษะ และยาแก้อาเจียนบางชนดิ การรักษาโรคพาร์กินสัน มี 3 วิธี คือ รักษาด้วยยา ส้าหรับยาที่ใช้ในปัจจุบัน คือยากลุ่ม เลโวโดปา (LEVODOPA) และยากลุ่ม โดพามีน อะโกนสิ ต์ (DOPAMINE AGONIST) เปน็ หลกั (การใช้ ยาแต่ละชนิดขึ้นอยู่กับการวินิจฉัยจากแพทย์ ตามความเหมาะสม) และการท้ากายภาพบ้าบัด การผ่าตัด ผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน จ้าเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากคนรอบข้างในการพัฒนาฟ้ืนฟู ทางดา้ นรา่ งกาย รวมถงึ จติ ใจ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา กล่าวว่า จากข้อมูลภาวะ และโรคท่ีควร รวบรวมบรรจุเพ่ิมเติมอยู่ในรายการท่ีกัญชาจะสามารถน้ามาใช้ได้ในคนป่วยในประเทศไทย อาทิ อาการแข็งเกร็ง ท่ีอาจร่วมกับการบิดของกล้ามเนื้อที่เกิดจากความผิดปกติของสมอง รวมถึง โรคทางสมอง เชน่ โรคพารก์ นิ สัน จากการศึกษางานวิจัยพบว่า สาร THC ช่วยป้องกันเซลล์สมองจากอันตราย โดยอนุมูล อิสระ ส่วนสาร CBD จะช่วยป้องกันเซลล์สมองจากการเสื่อมสภาพ และพบว่าหลังจากใช้สารสกัด กัญชา 30 นาที ก็ทา้ ใหอ้ าการของโรคดีขึ้น และหลาย ๆ งานวิจยั แสดงผลการวจิ ัยตรงกนั ว่าสาร CBD ท้าใหอ้ าการของโรคดีขึน้ ชัดเจน หลงั จากใชย้ าไป 1 อาทติ ย์ กล่าวโดยสรุป สาร CBD เป็นสารสกัดที่ได้จากกัญชงและกัญชา ไม่มีฤทธ์ิต่อจิต และ ประสาท ช่วยให้ผู้ป่วย ลดความวิตกกังวล บรรเทาอาการเกร็งของกล้ามเน้ือ มีฤทธิ์ระงับปวด และ มีกลไกท่ีเชื่อว่าอาจท้าให้ลดอาการส่ันจากโรคพาร์กินสัน ท้าให้การเคลื่อนไหวดีข้ึน ปัจจุบันยัง ไม่ทราบกลไกการออกฤทธ์ิที่ชัดเจน คาดว่าสาร CBD มีส่วนช่วยชะลออาการของ โรคพาร์กินสัน 226 หนังสอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ เพ่ือใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

225 จากฤทธิต์ ้านอนมุ ลู อิสระ ลดการอักเสบ และปกป้องเซลลส์ มอง ซ่งึ ตอ้ งการงานวิจัยเพิม่ เติมในอนาคต ถึงสดั สว่ นสารสา้ คัญที่ใช้ในโรคพารก์ นิ สัน 2. กัญชาและกัญชงกบั โรคมะเรง็ มะเร็ง เป็นโรคที่สามารถพบได้ในผู้ป่วยทุกเพศ ทุกวัย ต้ังแต่เด็กแรกเกิดไปจนถึง ผู้สูงอายุ แต่โดยส่วนใหญ่จะพบในผู้ป่วยที่เป็นผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก และจะพบได้มากในผู้ป่วยที่อายุ ตัง้ แต่ 50 ปีข้นึ ไป “มะเร็ง” หรือทางการแพทย์เรียกว่า “เน้ืองอกท่ีเป็นเนื้อร้าย” เป็นกลุ่มโรคท่ีเก่ียวข้อง กบั การเจริญของเซลล์ทม่ี ีความผิดปกติ คือ เซลลจ์ ะแบ่งตวั และเจริญเติบโตอย่างควบคุมไม่ได้ก่อเป็น เนื้อร้าย และรุกรานไปยังอวัยวะส่วนข้างเคียง หรือแพร่กระจายไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายท่ีอยู่ ห่างไกล ผ่านระบบน้าเหลืองหรือกระแสเลือด แต่ไม่ใช่เน้ืองอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะเนื้องอก ไม่รา้ ยจะไม่ลุกลามไปยังอวยั วะข้างเคยี ง และไมก่ ระจายไปทวั่ รา่ งกาย สาเหตขุ องการเกิดโรคมะเร็ง ร้อยละ 90 - 95 ของสาเหตุหลักของการเกิดโรคมะเร็ง มาจากปัจจัยสิ่งแวดล้อม ส่วนท่ี เหลืออีก ร้อยละ 5 – 10 มาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม ค้าว่า “ส่ิงแวดล้อม” ที่ใช้โดยนักวิจัย มะเร็ง หมายถึง ปัจจัยทางเศรษฐกิจ และพฤติกรรม ปัจจัยที่พบบ่อยท่ีน้าไปสู่การตายของโรคมะเร็ง ได้แก่ ยาสูบ ร้อยละ 25 - 30 อาหาร และโรคอ้วน ร้อยละ 30 – 35 การติดเช้ือ ร้อยละ 15 – 20 การสัมผัสกับรังสี ร้อยละ 10 นอกจากนี้ยังมีสาเหตุมาจากความเครียด ขาดการออกก้าลังกาย และ มลพิษจากส่งิ แวดล้อมอีกด้วย อาการของโรคมะเรง็ ในระยะแรกของการเกิดโรคมะเร็งขึ้นในร่างกาย อาจไม่ทราบได้ว่ามีอาการอย่างไร แต่เม่ือระยะเวลานาน หรือหลายปี ผู้ป่วยโรคมะเร็งส่วนใหญ่จะมีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร รับประทานอาหารไดน้ ้อยลง อม่ิ เรว็ ผอมซูบ น้าหนักลด ร่างกายเรมิ่ ทรุดโทรมลง ไม่สดช่นื เหมอื นเดิม ต่อมาเม่ืออยู่ในระยะท่ีมะเร็งเร่ิมลุกลามมากข้ึน จะเริ่มปรากฏอาการอย่างชัดเจน โดยในระยะนี้ จะรู้สึกเจ็บปวด และทรมานเป็นอย่างมากตามจุดต่าง ๆ ท่ีเกิดมะเร็งขึ้น ทั้งน้ีจะมีอาการมากน้อย อย่างไรขึ้นอยู่กับเป็นมะเร็งชนิดนั้น ๆ และการกระจายของเซลล์มะเร็งภายในร่างกายไปเบียดบัง อวยั วะส่วนใดในขณะน้ัน ๆ 2.1 กัญชาและกัญชงกบั โรคมะเรง็ ปอด ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภญ.สุรางค์ ลีละวัฒน์ ผู้อ้านวยการสถาบันวิจัยกัญชาเพ่ือ การแพทย์ กล่าวว่าเคยมีการรายงานวิจยั พบว่า สารบริสุทธ์ิท่ีแยกได้จากกัญชา ได้แก่ สาร THC และ สาร CBD ที่สามารถลดการเพ่ิมจ้านวนเซลล์มะเร็งปอดของมนุษย์ในหลอดทดลอง ดังน้ันจึงได้น้าไป ศึกษาต่อ ด้วยการฉีดสารท้ัง 2 ตัวลงไปท่ีเซลล์มะเร็งปอดของมนุษย์ ในหนูทดลองทุกวัน เป็นเวลา รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพอื่ ใช้เป็นยา หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 227 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

226 3 สัปดาห์ พบวา่ หนูทดลองท่ีไดร้ ับสารมีขนาดของก้อนมะเร็งเล็กลง จงึ สรปุ ได้ว่า สารทัง้ 2 ตวั มฤี ทธ์ิ ต้านมะเร็งปอดของมนษุ ย์ในหลอดทดลอง และสัตวท์ ดลอง 2.2 กญั ชาและกัญชงกบั โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวแบบรุนแรงเฉียบพลัน (Acute Leukemia) คือ กลุ่ม โรคมะเรง็ ทางโลหิตวิทยาทเี่ กิดจากความผดิ ปกติของเซลล์ต้นกา้ เนิดเม็ดโลหติ กรณีศึกษาตีพิมพ์ในวารสาร Case Reports in Oncology ในหัวข้อ Cannabis Extract treatment for terminal Acute Lymphoblastic Leukemia with a Philadelphia Chromosome Mutation ซึ่งรายงานโดย Yadvinder Singh และ Chamandeep Bali เป็นการรายงานของผู้ป่วย โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว (Acute Lymphoblastic Leukemia) อายุ 14 ปี ซ่ึงผ่านการรักษาตาม แพทย์แผนปัจจุบัน ท้ังการคีโมบ้าบัด และการฉายแสงเป็นเวลา 34 เดือน แต่ล้มเหลว แพทย์จึงยอม ให้ครอบครัวใช้สารสกัดแคนนาบินอยด์ ในรูปของน้ามันกัญชง (Hemp Oil) คร้ังแรกผู้ป่วยได้รับ น้ามันกัญชงด้วยการหยดใต้ลนิ้ ทยอยเพ่ิมขึ้นจากน้อยไปหามาก ปรากฏว่า มะเร็งเม็ดเลือดขาวลดลง หลังการใช้น้ามันกัญชงในระยะเวลาไม่ถึง 2 สัปดาห์ แต่เน่ืองจากมีการเปล่ียนแปลงแหล่งที่มาของ กัญชงแต่ละช่วง พบว่าเซลล์มะเร็งกลับขยายตัวมากข้ึน และเซลล์มะเร็งกลับลดลงได้อีก เม่ือ เปล่ียนแปลงแหล่งท่ีมาของกัญชง ซ่ึงรายงานดังกล่าวได้ระบุอาการอย่างละเอียด จนถึงวันท่ี 78 ปรากฏว่า แม้เซลล์มะเร็งจะลดลงอย่างเห็นได้ชัด แต่ผู้ป่วยกลับป่วยด้วยอีกโรคหนึ่ง คือเกิดเลือดไหล ในกระเพาะอาหาร และเสียชีวิตด้วยโรคล้าไส้ทะลุในที่สุด แม้สุดท้ายผู้ป่วยรายดังกล่าวจะเสียชีวิต แต่ท้าให้รู้ตัวแปรการใช้น้ามันกัญชงในหลายมิติ ทั้งในเรื่องความถ่ีและปริมาณท่ีใช้ รวมถึงศักยภาพ ของพันธุ์กัญชง ซ่ึงเป็นปัจจัยที่สา้ คัญอย่างยิ่งในการใช้กัญชงรักษาโรค และอย่างน้อยก็ท้าให้เห็นเร่อื ง ของการลดปริมาณเซลลม์ ะเร็งเม็ดเลอื ดขาวได้จริง ส้าหรับในประเทศไทย รองศาสตราจารย์ ดร.นพ.วโิ รจน์ ศรีอฬุ ารพงศ์ อดตี นายก สมาคมมะเร็งวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย และหัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์โรคมะเร็ง ครบวงจร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กล่าวถึงเร่ืองบทบาทของ “กัญชา” กับโรคมะเร็งไว้วา่ ในปัจจุบนั มีแรงผลักดันให้มีการน้ากัญชามาใช้ในประเทศไทยอย่างมาก จากหลายภาคส่วนเน้นเป้าหมายว่า กัญชาไม่ควรท่ีจะถูกจัดกลุ่มอยู่ในสารเสพติด และควรเปิดกว้างให้มีการใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้น เสียงเรยี กร้องที่ออกมาคลา้ ยกับว่า กัญชาเปน็ พืชท่ีมีแตป่ ระโยชน์สูงมาก มผี ลเสียน้อย ไม่ควรที่จะถูก ปิดกั้นให้อยู่ในกลุ่มสารเสพติด หน่ึงในประเด็นส้าคัญที่มีการอ้างอย่างมาก คือ ประโยชน์ของกัญชา ในการรักษาโรคมะเร็ง ด้านฤทธ์ิต่อต้านมะเร็ง มีการศึกษาในประเทศไทย พบว่า กัญชาสามารถออกฤทธ์ิ ฆ่าเซลล์มะเร็ง ในการเพาะเล้ียงเซลลใ์ นห้องทดลอง แตย่ ังไมม่ ีการศึกษาถงึ ผลของกัญชาต่อโรคมะเร็ง ในมนุษย์ กล่าวคือ แม้ว่าจะมีการศึกษากัญชาในห้องปฏิบัติการมานานแล้ว กลับไม่มีหลักฐาน 228 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ เพ่อื ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

227 การน้าเอากัญชามาใช้วิจัยเพื่อรักษามะเร็งในมนุษย์ นอกจากนี้ปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลการน้ากัญชามา ใชบ้ รรเทาอาการ หรือผลขา้ งเคยี งจากโรคมะเร็งได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากพอ จากหลกั ฐานท่ีตีพิมพ์ เผยแพร่ทางวชิ าการ กล่าวโดยสรุป ในต่างประเทศ มีผลการศึกษาวิจัยสารในกัญชา สาร THC และ สาร CBD ที่สามารถเช่ือถือได้ ในการรักษาโรคมะเร็งปอด และมะเร็งเม็ดเลือดขาว ในประเทศไทย มีการศึกษาการใช้กัญชาต่อต้านมะเร็งพบว่า กัญชาสามารถออกฤทธ์ิฆ่าเซลล์มะเร็งในการเพาะเล้ียง เซลล์ในหอ้ งทดลอง แต่ยังไมม่ ีการศกึ ษาถึงผลของกัญชาต่อโรคมะเร็งในมนษุ ย์ 3. กัญชาและกญั ชงกบั การลดอาการปวด มีการศึกษาการน้ากัญชามาใช้ลดอาการปวด ส่วนใหญ่พบว่า สามารถบรรเทาอาการ ปวดแบบเรื้อรัง (Chronic Pain) ท่ีเป็นการปวดทางระบบประสาท (Neuropathic Pain) เช่น ปวดเสียวแปลบเหมือนไฟช็อต แสบร้อน รู้สึกยิบ ๆ ชา ๆ ท่ีมีอาการรุนแรง หรือไม่ตอบสนองต่อ การรักษาในยามาตรฐาน เป็นต้น สามารถบรรเทาอาการปวดได้ ส่วนการบรรเทาอาการปวด เฉียบพลัน เช่น หลังผ่าตัด เป็นต้น ยังไม่ได้ให้ผลท่ีดีนัก เภสัชกรหญิง ดร.ผกาทิพย์ ร่ืนระเริงศักด์ิ กล่าวว่า มีการทดลองทางคลินิก พบว่า สาร THC ในขนาด 2.5 หรือ 2.7 มิลลิกรัม สามารถช่วย ลดอาการปวดเรื้อรังท่ีเกิดจากระบบประสาทส่วนกลาง (Central Neuropathic Pain) และช่วยให้ ผู้ป่วยนอนหลับได้เพ่ิมข้ึน มีการตั้งต้ารับยาสเปรย์ (Oromucosal Spray, Nabiximols) โดยใช้ ส่วนผสมของสาร THC และ สาร CBD ซงึ่ สามารถชว่ ยลดอาการปวดข้อ (Rheumatoid Arthritis) แต่ ส้าหรับอาการปวดเร้ือรังในผู้ป่วยมะเร็งน้ัน ยังไม่มีข้อสรุปทางคลินิกท่ีชัดเจน สารสกัดกัญชาอาจมี ประโยชน์ในการรักษาอาการปวด แต่ยังขาดข้อมูลจากงานวิจัยสนับสนุนที่ชัดเจนเพียงพอในด้าน ความปลอดภัย และประสทิ ธิผล ซ่งึ ยังตอ้ งศึกษาวจิ ยั ตอ่ ไปเพื่อใหผ้ ้ปู ่วยไดร้ บั ประโยชน์สงู สุด กล่าวโดยสรุป มีการศึกษาการน้ากัญชามาใช้ลดอาการปวด ส่วนใหญ่พบว่า สามารถ บรรเทาอาการปวดแบบเรื้อรัง (Chronic Pain) ที่เป็นการปวดทางระบบประสาท (Neuropathic Pain) สามารถบรรเทาอาการปวดลงได้ ส่วนการบรรเทาอาการปวดเฉียบพลัน เช่น หลังผ่าตัด ยังไม่ได้ให้ผลท่ีดี ส้าหรับอาการปวดเรื้อรังในผู้ป่วยมะเร็ง ยังไม่มีข้อสรุปทางคลินิกที่ชัดเจน สารสกัด กัญชาอาจมีประโยชน์ในการรักษาอาการปวด แตย่ ังขาดข้อมูลจากงานวจิ ัยสนับสนุนท่ชี ัดเจนเพียงพอ ในด้านความปลอดภยั และประสทิ ธิผล ซงึ่ ยังต้องศึกษาวิจัยต่อไปเพือ่ ใหผ้ ู้ปว่ ยไดร้ ับประโยชนส์ งู สดุ 4. กัญชาและกัญชงกับโรคลมชัก โรคลมชักชนิดรุนแรงมี 2 ชนิด คือ Lennox - Gastaut Syndrome และ Dravet Syndrome พบได้ในผู้ป่วยอายุ 2 ปีขึ้นไป อาการชักที่มักพบได้บ่อย มี 7 อาการซึ่งข้ึนอยู่กับแต่ละ บุคคล ได้แก่ (1) อาการชักแบบเหม่อลอย (Absence Seizures) (2) อาการชักแบบชักเกร็ง (Tonic Seizures) (3) อาการชักแบบกล้ามเนื้ออ่อนแรง (Atonic Seizures) (4) อาการชักแบบชักกระตุก รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่ือใช้เป็นยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ 229 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

228 (Clonic Seizures) (5) อาการชักแบบชักกระตุกและเกร็ง (Tonic – Clonic Seizures) (6) อาการชัก แบบชกั สะดุง้ (Myoclonic Seizures) และ (7) อาการชักเฉพาะส่วน (Partial หรอื Focal Seizures) สาเหตุของโรคลมชักยังไม่เป็นที่แน่ชัด บางกรณีสามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่ก็มีหลายรายที่ ไมส่ ามารถรักษาให้หายไดท้ ้าได้เพียงยับยั้งไมใ่ หเ้ กิดอาการชกั ดว้ ยการรบั ประทานยาควบคุมอาการ การใช้ยาผู้ป่วยโรคลมชักส่วนใหญ่ จะรักษาโดยการใช้ยาต้านอาการชัก (Anti - Epileptic Drugs, AEDs) เพื่อควบคุมอาการชัก ส้าหรับสรรพคุณกัญชาทางการแพทย์ท่ีใช้รักษาโรคลมชัก พบว่าในกัญชา มีสาร CBD มีคุณสมบัติลดอาการชักเกร็ง ซ่ึงมีงานวิจัยท่ีระบุว่า กัญชามีสรรพคุณรักษาโรคลมชัก ในเด็กท่ี รกั ษายาก หรือในผปู้ ว่ ยเดก็ โรคลมชักที่ด้ือต่อการรักษาด้วยวิธตี ่าง ๆ โดยแพทยห์ ญงิ อาภาศรี ลสุ วสั ด์ิ กุมารประสาทวิทยา สถาบันประสาทวิทยา กล่าวว่า การใช้น้ามันกัญชาท่ีมีสาร CBD สูง หรือ แคนนาบินอยด์ ออยล์ (Cannabinoid Oil) ร้อยละ 99 ในผู้ป่วยโรคลมชักในเด็ก มีผลการศึกษาว่า ใช้ได้ผลดีกับกลุ่มอาการชักรักษายาก คือ ชักเกร็งกระตุกท้ังตัวอย่างรุนแรง และชักแบบผงกหัวท่ีเสี่ยงต่อ การหัวแตก ส่วนหลักเกณฑ์ในการขอใช้แคนนาบินอยด์ ออยล์ (Cannabinoid Oil) นายแพทย์ อรรถสิทธ์ิ ศรีสุบัติ ผู้อ้านวยการสถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กล่าวว่า สถานพยาบาล ที่จะใช้แคนนาบินอยด์ ออยล์ (Cannabinoid Oil) จะต้องขออนุญาตกับ ส้านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ก่อนการน้ามาใช้กับผู้ป่วยต้องเป็นผู้ป่วยท่ีมีความ จา้ เปน็ จริง ๆ เช่น การใช้ยาหรอื ผา่ ตดั แลว้ ไม่ได้ผล เป็นต้น ในประเทศไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ประกาศเม่ือวันที่ 8 พฤศจิกายน 2561 ถึงประโยชน์ของสารสกัดจากกัญชาทางการแพทย์ ในการน้าสาร CBD มาใช้กับโรคลมชัก ที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา ซึ่งกัญชาเองก็ไม่ได้ท้าให้โรคลมชักหายขาด แต่ช่วยลด ความถ่ีของการชกั ได้ กล่าวโดยสรุป ส้าหรับกญั ชาที่องค์การอาหารและยา (Food and Drug Administration) ของประเทศสหรัฐอเมริกา อนุมัติยาจากสารสกัดกัญชาตัวแรก (ไม่ใช่สารสังเคราะห์) ช่ือการค้า Epidiolex® ประกอบด้วยตัวยา CBD 100 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ในรูปแบบสารละลายให้ทางปาก (Oral Solution) โดยมีข้อบ่งใช้ในการรักษาโรคลมชักชนิดรุนแรง 2 ชนิด คือ Lennox - Gastaut Syndrome และ Dravet Syndrome ในผปู้ ว่ ยอายุ 2 ปีขนึ้ ไป ในประเทศไทย กรมการแพทย์ ประกาศถึงประโยชน์ของสารสกัดจากกัญชาทาง การแพทย์ ในการนา้ ตัวยา CBD มาใช้กบั โรคลมชักทร่ี กั ษายาก และโรคลมชักทดี่ ือ้ ตอ่ ยารักษาเทา่ น้ัน 5. กญั ชาและกญั ชงกับโรคผิวหนงั โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis) คือ โรคผิวหนังเร้ือรัง เป็นสภาพผิวท่ีน้าไปสู่การสะสมของ เซลลบ์ นพื้นผิวหนงั ทา้ ให้เกิดการอักเสบเป็นผ่ืนหนาหยาบขนาดใหญส่ ีแดง และมสี ะเกด็ สเี งนิ ปกคลุม 230 หนงั สือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ เพือ่ ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

229 ท่ีผิวหนัง ซ่ึงเกิดที่ต้าแหน่งใดของร่างกายก็ได้ ผู้ป่วยจะมีอาการที่แตกต่างกันออกไปตามชนิดของ โรคสะเก็ดเงินท่ีผู้ป่วยเป็น ความผิดปกติท่ีพบได้บ่อยตามร่างกาย เช่น ผิวหนังมีลักษณะแดง ตกสะเก็ดเป็นขุยสีขาว เป็นผ่ืนแดงนูน เกิดการอักเสบของผิว ผิวแห้งมากจนแตก และมีเลือดออก หนังศีรษะลอกเป็นขุย เล็บมือและเล็บเท้าหนาขึ้น มีรอยบุ๋ม ผิดรูปทรง ปวดข้อต่อ และมีอาการบวม ตามข้อต่อ และยังท้าให้ผู้ป่วยมีอาการเจ็บ คัน หรือรู้สึกแสบร้อนบริเวณผิวหนัง ซึ่งอาการของโรค แต่ละชนิดมีความคล้ายคลึงกัน อาการอาจคงอยู่นานหลายวันไปจนถึงหลายสัปดาห์ แล้วค่อย ๆ บรรเทาลง แต่เมื่อมีส่ิงมากระตุ้นก็อาจท้าให้อาการของโรคก้าเริบข้ึนมาได้ สาเหตุการเกิดโรคสะเก็ดเงิน ยังไม่ชัดเจน แต่คาดการณ์ว่าปัจจัยส้าคัญ ท่ีท้าให้เกิดการพัฒนาของโรคอาจมาจากเซลล์ เมด็ เลือดขาว ในระบบภูมิคมุ้ กนั เกิดความผิดปกติ จึงไดท้ า้ ลายเซลลผ์ วิ หนังแทนสงิ่ แปลกปลอมที่เข้าสู่ ร่างกาย และมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดโรคได้ เช่น การบาดเจ็บบริเวณผิวหนัง การติดเช้ือ HIV ยาหรืออาหารบางชนิด ความเครียด เป็นต้น ซึ่งปัจจัยที่เป็นตัวกระตุ้นเหล่านี้จะแตกต่างกันไปในแต่ละ บคุ คล การรักษา โรคสะเก็ดเงินไม่สามารถรักษาได้หายขาด แต่การรักษาท้าได้เพียงบรรเทา อาการให้ผู้ป่วยรู้สึกดีขึ้น ลดการอักเสบ และผิวหนังท่ีตกสะเก็ด ชะลอการเติบโตของเซลล์ผิวหนัง และขจัดผิวหนังที่เป็นแผ่นแข็ง ซึ่งการรักษาสามารถท้าได้หลายวิธี ผู้ป่วยที่มีอาการเพียงเล็กน้อยถึง ปานกลาง อาจรักษาด้วยการใช้ยาทาภายนอก ส่วนในรายที่มีอาการปานกลางไปจนถึงรนุ แรง แพทย์ อาจรักษาด้วยการให้ยารับประทาน ยาฉีดหรือการฉายแสงด้วยรังสีอัลตราไวโอเลต การรักษาอาจใช้ หลายวิธีควบคู่กัน เพื่อช่วยให้อาการดีขึ้น นอกจากน้ีผู้ป่วยควรมีการดูแลเรื่องการรับประทานอาหาร ระมัดระวังการรบั ประทานวิตามินเสริม หลีกเล่ียงการดื่มแอลกอฮอล์ หรือสูบบุหร่ี ควบคุมน้าหนักให้ อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ ส้าหรับกัญชาที่ใช้รักษาโรคสะเก็ดเงิน นายแพทย์เวสารัช เวสสโกวิท ที่ปรึกษา ผู้อ้านวยการด้านวิชาการ สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ศึกษาวิจัย เกี่ยวกับการน้าน้ามันกัญชา เมดิคัลเกรด ที่องค์การเภสัชกรรมจะผลิตมาใช้ในการวิจัยรักษาโรค โดยในส่วนของสถาบันโรคผิวหนัง เบื้องต้นจะด้าเนินการศึกษาวิจัยสารสกัดน้ามันกัญชา ส้าหรับโรค ผิวหนัง 2 โรค ได้แก่ โรคสะเก็ดเงิน และกรรมพันธุ์ผิวหนัง ชนิดหนังหนาแต่ก้าเนิด ส้าหรับ ในต่างประเทศ มีการค้นพบการรักษาโรคมะเร็งผิวหนังด้วยกัญชา ในปี ค.ศ. 2003 นายริค ซิมป์สัน (Rick Simpson) สังเกตเห็น “ตุ่ม” ผิดปกติท่ีผิวหนังบนแขน จ้านวน 3 ตุ่ม และเมื่อไปพบแพทย์ ผลการตรวจช้ินเน้ือยืนยันว่าเป็น “มะเร็งผิวหนัง” เขาจึงตัดสินใจจะใช้กัญชาในการรักษามะเร็ง ผวิ หนงั ดว้ ยตัวเขาเอง เพราะเคยอา่ นได้ยนิ มาวา่ สาร THC สามารถฆา่ เซลลม์ ะเรง็ ในหนูทดลอง เขาจึง สกัดกัญชาแล้วน้ามาประคบไว้บริเวณที่เป็นตุ่มเนื้อมะเร็งบนผิวหนัง หลังจากนั้น 4 วัน เขาพบว่า ตุ่มเนื้อ มีขนาดลดลงอย่างมาก จากนั้นมาเขาก็พัฒนาสูตรในการผลิตกัญชาสกัดเป็นของตนเอง รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต 231 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

230 230 เรียกว่า ริค ซิมป์สัน ออยล์ (Rick Simpson Oil, RSO) แล้วน้ามาเผยแพร่แก่ประชาชนชาวสหรฐั อเมริกา เแรลียะกปว่ราะรเิคทศซอิมังปก์สฤันษอทอายงลอ์ ิน(RเiทckอรS์เimน็ตpsแoตn่ใOนiปl,รRะSเOท)ศแไทล้วยนย้าังมไามเ่มผีกยาแรพวริจ่แัยกท่ป่ีชรัดะเชจานชเนกี่ยชวาวกสับหปรรฐั ะอสเิทมธริผิกลา ขแอลงะกปารระใเชทส้ ศาอรังสกกฤดั ษนทา้ มางนั อกินญั เทชาอรรกั ์เนษ็ตา ทแตัง้ ่ใ2นปโรรคะนเท้ี ศไทย ยังไม่มีการวิจัยท่ีชัดเจนเก่ียวกับประสิทธิผล ของการใชส้ ารกสลก่าดั วนโด้ายมสนั รกุปัญนชาายรกัแพษทายท์เวั้งส2ารโชัรคเวนสี้ สโกวิท ศึกษาวิจยั เก่ียวกับการน้าน้ามันกัญชามาใช้ใน โรคสะเก็ดเงินกแลล่าะวโกดรยรสมรพุปันธน์ุผายิวแหพนทังยช์เนวิดสหารนชั ังหเวนสาสแโกตว่กทิ ้าเศนกึิดษสาว้าจิหัยรเับกใ่ยี นวตก่าับงกปารระนเา้ทนศ้ามนันากยัญริคชาซมิมาปใช์ส้ใันน โ(RรคicสkะSเกim็ดเpงsินonแ)ลมะกีกรารรมคพ้นันพธบุ์ผกิวาหรนรังักชษนาิดโรหคนมังะหเนรา็งแผติว่กห้านเันงดิด้วสย้ากหัญรชับาในโตด่ายงผปลริตะนเท้าศมันนกาัญยรชิคา ซเริมียปก์สวัน่า (รRิคicซkิมSปim์สันpsอoอnย)ลม์ (ีกRiาcรkคS้นimพpบsกoาnรOรัiกl,ษRาSโOร)คแมละ้วเรน็ง้าผมิวาหเผนยังแดพ้วยร่แกกัญ่ปชราะโชดายชผนลชิตานวส้ามหันรัฐกอัญเมชาริกเารียแกลวะ่า รปิคระซเิทมปศ์อสงัันกอฤอษยทล์า(งRอicนิ kเSทiอmรp์เนso็ตn Oil, RSO) แล้วน้ามาเผยแพร่แก่ประชาชนชาวสหรัฐอเมริกา และ ประเทศองั 6ก.ฤกษัญทชาางแอลนิ ะเกทัญอรช์เงนกต็ ับโรคต้อหนิ 6. กกัญารชศากึ แษลาะวกจิ ัญยั ชเกงยี่กวบั กโับรคกตารอ้ รหกั นิ ษาโรคต้อหินดว้ ยกัญชา พบว่าการใช้กัญชา ท้าให้ความดัน ในลูกตาลดลงกไาดร้ศมึกีฤษทาธวิ์จิอัยยเู่ไกดย่ี ้เวพกียบั งก3ารชรั่วกั โษมางโรแคลตะ้อขหึ้นินอดย้วู่ยกกับัญปชริามาพณบกวาา่ กราใชรใ้กชัญ้กชัญาชดา้วทยา้ ซให่ึงค้อวาาจมเพดัน่ิม กในารลเูกกติดาผลลดขล้างงเไคดีย้ งมจีฤาทกธกิ์อารยไู่ไดดร้ ้เับพขียนงา3ดยชาั่วกโัญมงชาแมลาะกขเก้ึนนิ อไยปู่กัไบดปแ้ รกิม่ คาวณากมาดรันใโชล้กหัญติ ตช่้าาลดง้วยแลซะึ่งหอัวาใจจเเพต้น่ิม กเรา็วรขเก้ึนิดผดล้วขยา้เหงเตคุผียงลจทา่ีวก่ากมาีหรไลดา้รยับปขัจนจาัยดเยขา้ากมัญาชเกาม่ียาวกขเ้อกงนิ ใไนปกไาดร้แคกว่ บคควุามมคดวันาโมลดหันิตลตูก้่าลตงา แไลมะ่วห่าัวจใะจเเปต็น้น รเระ็วยขะ้ึนเวลดา้วกยาเรหอตอุผกลฤทที่วธ่า์ิ คมวีหาลมาแยรปงขัจอจงัยยเาขก้าัญมาชเากี่ยทว้าขให้อ้ใงนใทนากงากราครวแบพคทุมยค์แผวนามปดัจันจุบลูันกยตังาไมไม่ยอ่ว่มาจรับะเกปา็นร นระ้ายกะัญเวชลาากมาารใอชอ้รกักฤษทาธโริ์ คควตา้อมหแินรงเขนอื่องยงจากากัญยชาาแทผ้านใปหัจ้ในจทุบาันงสกาามรแาพรถทคยุม์แผคนวาปมัจดจันุบัในนยลังูไกมต่ยาอไมดร้อับยก่าางมรี นป้ราะกสัญิทชธาภิ ามพาคใชงท้รั่ีกแษลาะโสรมค้า่ ตเส้อมหอินมาเนก่ืกอวง่าจากยาแผนปัจจุบันสามารถคุมความดันในลูกตาได้อย่างมี ประสิทธิภาพคงท่ี และสม้า่ เสมอมากกว่า กญั ชาชถถว่ ยาาลมมดความดันจรงิ หรือไม่ กัญชาช่วยลดความดันจริงหรอื ไม่ จตตรออิง สบบารในกัญชามผี ลท้าใหห้ ลอดเลอื ดขยาย ดงั นั้นจึงมีผลทา้ ให้ความดัน จลรดิงลสงไาดร้จในริงกัญแตช่ไามมค่ ผี วลรทใช้าใ้แหทห้ นลยอาดลเดลคอื วดาขมยดาันย เดนงั อ่ื นง้ันจจาึงกมยผีังลมทผี ลา้ ใขห้า้คงเวคาียมงดอนั นื่ ผลูป้ดลว่ ยงไคดวจ้ ารมิงดแนั ตคไ่ วมรค่ รวับรปใชระ้แททานนยยาาลตดาคมวทา่ีแมพดนัทยเ์สนง่ัอื่ งจากยงั มีผลข้างเคียงอ่นื ผู้ป่วยความดันควรรบั ประทานยาตามท่ีแพทย์ส่งั เเรรือ่อื่ งงทท่ีี่ 33เร1ื่อ.กกงาานทรร้าใใม่ี ชช3ัน้น้นก้้าาัญกมมาชัันนรากกใคญญััชอื ชช้นอาาะ้�ำแแไมรลลันะะกกกญัััญญชชชงงากกแับบั ลกกะาากรรแแญั พพชททงยยกแ์แ์ ับผผกนนาปปรัจจั แจจพุุบบทนันั ยแ์ ผนปัจจบุ นั 1. นน้้าามมนัันกกัญัญชชาาคือคอือะไสรารสกัดกัญชา (Cannabis Extract) ที่เจือจางอยู่ในน้ามันตัวพา (Carrier Oils นห้ารมอื ันDกilัญueชnาt)คสือ่วนสมาารกสนกยิัดมกใัญช้นชา้ ามนั(CมaะnกnอaกbiแsลEะxนtrา้ aมcันt)มทะพี่เจรือ้าวจสากงัดอเยยู่ใน็ นนโด้ายมหันาตกัวผพ่านา (Carrier Oils หรือ Diluent) ส่วนมากนยิ มใช้น้ามันมะกอก และนา้ มันมะพร้าวสกัดเยน็ โดยหากผ่าน 232 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวิต เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

231 การผลิตที่ได้มาตรฐานจะมีการควบคุมคุณภาพของปริมาณสารส้าคัญ หรือตัวยาให้มีสัดส่วน และ ปริมาณตรงตามท่ีระบุในฉลากหรือเอกสารก้ากับยา แต่น้ามันกัญชาท่ีผลิตขึ้นมาใช้เอง และไม่ผ่าน การควบคุมคุณภาพ ผู้ใช้จะไม่สามารถทราบได้เลยว่าปริมาณความเข้มข้นของตัวยา THC และ CBD มีอย่ปู รมิ าณเทา่ ใด เน่ืองจากความเข้มขน้ ของตวั ยาไม่ขนึ้ อยู่กับความเขม้ ของสีนา้ มนั กัญชาแต่อย่างใด 2. ลกั ษณะของน้ามันกัญชา น้ามันกัญชาที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย ปัจจุบันมักจะเป็นรูปแบบของ น้ามันท่ีมีสีเหลอื งอ่อนไปจนถึงสนี ้าตาล ลักษณะข้นหนืด ข้ึนอยู่กับการเตรียมต้ารับ และการสกัดของ ผผู้ ลิต และนิยมบรรจุในขวดแก้วทึบแสงทีม่ ีหลอดหยด 3. สูตรของน้ามนั กญั ชา น้ามันกัญชาที่มีการผลิตอย่างได้มาตรฐานในประเทศไทย มีท้ังจากองค์การเภสัชกรรม (GPO) และโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในที่นี้ขอน้าเสนอเฉพาะสูตรน้ามันกัญชาของ โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภเู บศร โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ สูตรที่ 1 น้ามันสูตร THC สูง (ร้อยละ 1.7 หรือ 0.5 มิลลิกรัมต่อหยด) ข้อบ่งใช้ ภาวะ คล่ืนไส้อาเจียนจากเคมีบ้าบัด กระตุ้นความอยากอาหารในผู้ป่วยโรคเอดส์ และอาจใช้ในภาวะปวด จากระบบประสาท เพิม่ คุณภาพชีวิตในผปู้ ่วยมะเรง็ ระยะสุดทา้ ย หรือใช้ตามแพทย์สงั่ สูตรที่ 2 น้ามันสูตร THC : CBD ในอัตราส่วนเท่า ๆ กัน (ร้อยละ 2.7 : 2.5) ข้อบ่งใช้ ภาวะกล้ามเนือ้ หดเกรง็ ผปู้ ว่ ยโรคปลอกประสาทเสอ่ื มแข็ง และอาจใช้ในภาวะปวดจากระบบประสาท หรือใชต้ ามแพทยส์ ง่ั สูตรท่ี 3 น้ามันสูตร CBD สูง (มี CBD ร้อยละ 10) ข้อบ่งใช้ รักษาโรคลมชักท่ีรักษายาก หรือด้อื ตอ่ การรักษา โรคพาร์กินสนั หรอื ใช้ตามแพทยส์ ง่ั ภาพที่ 77 ตัวอย่างน้ามันกญั ชา โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยา หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต 233 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

232 นอกจากน้มี ีตวั อย่างนา้ มันกญั ชาจากองค์การเภสชั กรรม (GPO) ให้ไดศ้ ึกษา ดงั ภาพ ภาพท่ี 78 ตวั อยา่ งน้ามนั กัญชาทง้ั 3 สตู รขององคก์ ารเภสัชกรรม (GPO) ในต่างประเทศ อาจจะพบน้ามันกัญชาสูตรอื่น ๆ ท่ีแตกต่างกับประเทศไทย เนื่องจาก ในบางประเทศมีการอนุญาตให้ใช้มานานมากกว่าในประเทศไทย น้ามันกัญชาจึงมีการพัฒนา และ คิดค้นไว้หลากหลายสูตร แต่โดยทั่วไปแล้วผลิตภัณฑ์ที่มีการวางขายอย่างถูกต้อง จะมีการควบคุม คุณภาพ และระบุปริมาณตัวยาส้าคัญคือ THC และ CBD อย่างชัดเจน เช่น ในประเทศแคนาดา มีน้ามันกัญชาสูตรท่ีมี THC สูงกว่า ร้อยละ 20 มีสูตร THC : CBD ในอัตราส่วนแตกต่างกัน ต้ังแต่ 0 : 1, 1 : 2, 1 : 1, 2 : 1, 1 : 0, 30 : 1 และ 1 : 30 เป็นต้น 4. วิธกี ารสกัดน้ามนั กญั ชา การสกัดน้ามันกัญชาด้วยตนเองเป็นวิธีการท่ีไม่ปลอดภัย และเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ควร ใช้ผลิตภัณฑ์น้ามันกัญชาที่มีมาตรฐาน ได้รับจากคลินิกกัญชาที่มีแพทย์อนุญาตให้ใช้น้ามันกัญชาใน การรักษาโรค จงึ จะมคี วามปลอดภัย 5. วิธกี ารใชน้ ้ามนั กัญชา ขนาดการใช้น้ามันกัญชา จะอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ และเภสัชกร โดยมีหลักการ คือเริ่มใช้น้ามันกัญชาท่ีขนาดต้่า ๆ โดยแนะน้าให้เริ่มที่ 0.05 - 0.1 ซีซี หรือเท่ากับ 1 - 2 หยด และ ปรับเพ่ิมขนาดมากขึ้นตามคาแนะนาของแพทย์เท่านั้น การหยดน้ามันให้หยดก่อนนอน บริเวณใต้ลิ้น เพ่ือให้ตัวยาสามารถซึมผ่านเส้นเลือดใต้ลิ้น และออกฤทธ์ิอย่างรวดเร็ว เพ่ือหลีกเล่ียงการถูก เปล่ียนแปลงยาที่ตับ เน่ืองจากอาจท้าให้ประสิทธิภาพของยาลดลง หลังหยดน้ามันกัญชา ห้ามด่ืมน้า กลืนนา้ ลาย และรบั ประทานอาหาร หลงั หยดนา้ มันกัญชาทนั ที ควรเว้นระยะใหต้ วั ยาดูดซึมประมาณ 234 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ติ เพื่อใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

233 5 นาที หากลมื ใชย้ าไมค่ วรเพิ่มขนาดยาเป็น 2 เทา่ น้ามันกญั ชาอาจจะท้าให้มภี าวะง่วงซึม จึงแนะน้า ให้ใช้เวลากอ่ นนอน และหลกี เลี่ยงการทา้ งานใกล้เคร่ืองจกั ร หรือขับรถ กลา่ วโดยสรปุ น้ามันกญั ชา คือ สารสกดั กัญชา (Cannabis Extract) ท่เี จอื จางอยู่ในน้ามัน ตัวพา (Carrier Oils หรือ Diluent) ส่วนมากนิยมใช้น้ามันมะกอก และน้ามันมะพร้าวสกัดเย็น โดยหากผ่านการผลิตที่ได้มาตรฐานจะมีการควบคุมคุณภาพของปริมาณสารส้าคัญ ปริมาณ ความเข้มขน้ ของตวั ยา THC และ CBD รูปแบบของนา้ มนั กญั ชามสี ีเหลืองอ่อนจนถึงสีน้าตาล ลักษณะ ข้นหนืด น้ามันกัญชาท่ีมีการผลิตอย่างได้มาตรฐาน ในประเทศไทยจากองค์การเภสัชกรรม และ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภูเบศร ปัจจบุ นั มอี ยู่ 3 สตู ร สูตรที่ 1 นา้ มนั สูตร THC สงู สตู รที่ 2 นา้ มัน สูตร THC : CBD ในอัตราส่วนเท่า ๆ กัน สูตรท่ี 3 น้ามันสูตร CBD สูง วิธีการสกัดน้ามันกัญชา ด้วยตนเองเป็นวิธีการท่ีไม่ปลอดภัย และเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ ควรใช้ผลิตภัณฑ์น้ามันกัญชาท่ีมี มาตรฐาน ได้รับจากคลินิกกัญชา ท่ีมีแพทย์อนุญาตให้ใช้น้ามันกัญชาในการรักษาโรคจึงจะมี ความปลอดภัย ขนาดการใช้น้ามันกัญชาจะต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ และเภสัชกร โดยมีหลักการ คือ เริ่มใช้น้ามันกัญชาท่ีขนาดต้่า ๆ โดยแนะน้าให้เริ่มท่ี 0.05 - 0.1 ซีซี หรือเท่ากับ 1 - 2 หยด และปรับเพ่ิมขนาดมากข้ึนตามคาแนะนาของแพทย์เท่านั้น น้ามันกัญชาอาจจะท้าให้มี ภาวะง่วงซึม จึงแนะนา้ ให้ใชเ้ วลาก่อนนอน และหลีกเล่ยี งการทา้ งานใกล้เคร่ืองจกั ร หรือขบั รถ ถาม การดืม่ หรอื กนิ ผลติ ภัณฑ์ท่มี ีกัญชาเปน็ สว่ นประกอบท้าใหเ้ มาคา้ งนาน มากกวา่ การสูบกัญชาหรอื ใชน้ ้ามันกัญชาหยดใตล้ ิน้ จริงหรอื ไม่ ตอบ จรงิ ในปริมาณท่ีเท่ากันการด่ืมหรอื กินผลติ ภัณฑ์ทีม่ ีกัญชาเปน็ ส่วนประกอบจะถกู เปลย่ี นแปลงทต่ี บั ท้าให้เปล่ยี นแปลงไปเป็นสารที่มีฤทธ์ิ เมาแรงข้ึน และเกดิ การขบั ออกจากร่างกายได้ช้ากว่า รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา หนงั สือเรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวติ 235 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

234 234 ถาม การดืม่ ถหารอื มรับประทานผลติ ภัณฑท์ มี่ ีกัญชาเปน็ ส่วนประกอบท้าให้ออก ฤกทาธร์ชิ ด้าม่ืกหวา่รกอื ารรับสปบู รกะญัทาชนาหผลรอืิตใภชณั น้ ฑ้ามท์ ัน่ีมกีกญััญชชาาหเปยน็ดสใต่ว้ลนิน้ปรจะรกงิ อหบรือทไ้ามให่ ้ออก ตฤทอธบช์ิ ้ากว่าการสูบกัญชาหรอื ใชน้ า้ มนั กัญชาหยดใตล้ นิ้ จรงิ หรือไม่ ตจอรงิ บเน่อื งจากการดม่ื หรอื รบั ประทานผลิตภณั ฑท์ ม่ี กี ญั ชาเป็น จสร่วงิ นเปนรอื่ ะงกจอาบกจกะาตรดอ้ ื่มงผห่ารนือทรบัางปเดระินทอาานหผาลรกิตอ่ภนณั จฑงึ จท์ ะี่มเีกกญัดิ กชาารเปด็นูดซึม ท้าให้ อสอ่วกนฤปทรธะิ์ชกา้ อแบตจ่กะาตร้อสงบูผก่านัญทชาางหเดรอืินใอชา้นหา้ ามรนักกอ่ ญันจชึงาจหะยเดกใดิ ตกล้ า้นิ รจดะูดซซึมมึ ทา้ ให้ อเขอา้ กสฤูก่ ทรธะชิ์แา้สเแลตือ่กดาโรดสยบูตกรงญั จชึงาอหอรกือฤใทชธน้ ์เิ ้ารมว็ กนั วก่าญั ชาหยดใต้ลิ้นจะซึม เขา้ สกู่ ระแสเลอื ดโดยตรงจงึ ออกฤทธ์เิ ร็วกวา่ เร่อื งท่ี 44เผรลผผือ่ ิตลลงภทิติตัณ่ีภภ4ฑณัณั ์สฑฑผ้าเลก์ก์ร็จติญญัั รภชชูปณั จาาาแแฑกลล์กกะะัญัญกกชชััญญาาเชชพแงง่ือลททใะชาาก้ปงงญั กกระาาชโรรงยแแทชพพนาท์ททงกายยงา์์กราแรพแพททยย์ ์ส้าหรับคน ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ เร่ืองที่ กัญชา ท่ีไดผ้รลับิตกภาัณรฑขึ้น์สท้าเะรเ็จบรียูปนจใานกปกรัญะชเทาเศพส่ือหใชรั้ปฐอระเมโยริกชนาท์ หารงือกผารลแิตพภทัณยฑ์ส์ก้าัญหรชับาคทน่ีใชป้ในัจทจุบางันกผาลริตแภพัณทฑย์์ กมัญีหลชาายทรี่ไูปดแ้รบับบกาเรชข่นึ้นทรูะปเแบบียบนนใน้าปมันระหเยทดศใสตห้ลร้ินัฐอทเม่ีมรีกิกาารสห่ังรใือชผ้โดลยิตแภพัณทฑย์ก์ใัญนชปารทะี่ใเชท้ใศนอทิสารงากเาอรลแพแทละย์ ปมีหร ะลเาทยศรูปไ ทแบย บรู ปเชแ่นบ รบูปแแคบปบซนู ล้ามสันเ ปหรยยด์ ฉใตี ด้ลพ้ิน่ น ใทตี่ม้ ลีกิ้ นารยสา่ังเใมช็ ด้โดยยาแเพหทนย็ บ์ในทปวราะรเทหศรอื อิสรรู ปาแเอบลบ แแผล่ นะ ปแประะบเทนผศวิไหทนยัง รซูป่ึงผแลบติ บภแณั คฑป์กซัญูลชาสจเะปมรีสยูต์ฉรีดแตพก่นตใา่ ตง้ลกิ้ันนตยามาเสมดั ็ดสว่ ยนาแเหลนะป็บรทิมวาณารสาหรรสือ้าครัญูปแสบารบแTผH่นC แแปละะสบานรผวิCหBนDัง แซลึง่ ผะใลชิต้ใภนณั กลฑุ่ม์กโญั รคชทาจ่ีแะตมกีสตูต่ารงแกตันกผตล่าิตงกภนั ัณตฑาม์กัสญดั ชสา่วทนี่ไดแ้รลับะกปารริมขาึ้นณทสะาเบรสีย้านค(ัญReสgาisรteTrHeCd แDลruะgส)าขรณCะBนDี้มีอแยลู่ ะ3ใชร้ใูปนแกบลบุ่มโนรคอทกจี่แาตกกนตี้ย่าังงมกีันกาผรพลิตัฒภนัณาผฑล์กิตัญภชัณาทฑี่ไ์สด้า้รหับรกับาสรัตขวึ้น์เทพะ่ือเใบชีย้ในนก(าRรeรgักisษteาrโeรคd Dในrตu่าgง)ปขรณะเะทนศ้ีมดีอ้วยยู่ 3 รูปแบบ นอกจากน้ียังมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ส้าหรับสัตว์เพ่ือใช้ในการรักษาโรค ในตา่ งประเ1ท.ศผดล้วิตยภณั ฑ์ THC สงั เคราะห์ (Synthetic THC) 1. 1ผ.ล1ติ ภยณั าโฑด์รTนHาบCนิ สองั ลเค(รDาrะoหn์a(bSiynnotlh)eชt่อื icกาTรHคC้า)คือ มารินอล (Marinol®) เป็นเม็ดเจลลาติน แคปซูล บรรจ1ุต.1ัวยยาาโTดHรนCามบีคนิ อวลาม(แDรroงnตa้ังbแiตno่ 2l).5ช่ือ- ก1า0รคมา้ ิลคลือิกมราัมรินมอีขล้อบ(M่งaใชrin้ เoพl®่ือ)ลเดปอ็นาเมก็ดาเรจคลลล่ืานตไินส้ แอาคเปจียซนูลจบากรยรจาเุตคัวมยีบา้าบTัดHใCนผมู้ปีค่ววยามมะแเรร็งงตใั้งนแกตร่ณ2ีท.5ใ่ี ช-ย้ 1า0อ่นื มแิลลลว้ ิกไมรัม่ไดมผ้ ลีข้อแบล่งะใกชร้ ะเพตนุ้่ือคลวดาอมาอกยาารกคอลา่ืนหไาสร้ อในาผเจูป้ ีย่วนยจเอากดยสา์ ทเคี่มมีภีบาา้วบะัดนใ้านหผนู้ปักว่ ลยดมแะเลระ็งเบในอื่ กอราณหาีทรใี่ รชุนย้ แารอง่นื (แAลnว้ oไมre่ไxดiผ้a)ล และกระตนุ้ ความอยากอาหาร ในผ้ปู ่วยเอดส์ ทม่ี ภี าวะน้าหนกั ลด และเบ่ืออาหารรุนแรง (Anorexia) 236 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต เพอื่ ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

235 ภาพที่ 79 โดรนาบนิ อล (Dronabinol) 1.2 นาบิโลน (Nabilone) ช่ือการคา้ คอื ซีซาเมท (Cesamet®) เป็นผลิตภณั ฑ์รูปแบบ แคปซูลตัวยา คือ อนาล็อก ของสาร THC ขนาดความแรง 1 มิลลิกรัมต่อเม็ด ใช้ป้องกัน การคล่ืนไส้ การอาเจยี น ที่เกิดจากยารกั ษาโรคมะเรง็ ใชใ้ นกรณที ี่ใชย้ าอ่ืนไม่ได้ผล ภาพที่ 80 นาบิโลน (Nabilone) รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ 237 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

236 2. ผลิตภัณฑ์สารสกัดแคนนาบินอยด์จากธรรมชาติ (Natural Purified Cannabinoid) ได้แก่ นาบิกซีมอล (Nabiximol) ช่ือการค้า คือ ซาติเวกซ์ (Sativex®) เป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบสเปรย์ ใช้ในช่องปากบริเวณฉีดพ่นใต้ลิ้น ปริมาณ THC : CBD อัตราส่วน 1.08 : 1 ใช้บรรเทาอาการเกร็ง และปวดในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง (Multiple sclerosis) ในกรณีท่ีใช้ยาอื่นแล้วไม่ได้ผล และบรรเทาอาการปวดในมะเรง็ ระยะรกุ รานทไ่ี ม่ตอบสนองต่อยาในกลุ่ม Opioids ภาพที่ 81 ซาตเิ วกซ์ (Sativex) 3. ผลติ ภณั ฑ์สารสกัด CBD ช่อื การคา้ คือ เอพิดิโอเล็กซ์ (Epidiolex®) เปน็ ยานา้ (Oral Solution) ทส่ี กดั สาร CBD และ THC จากต้นพืชกัญชา พัฒนาโดยบริษัท GW Pharmaceuticals (UK) เป็นยาท่ีใช้ในการรักษา ควบคมุ อาการของโรคลมชกั (Epilepsy) ลมชักชนิดรนุ แรง คอื Lennox - Gastaut Syndrome และ Dravet Syndrome ในผู้ใหญ่ และเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 2 ปีข้ึนไป ท่ีไม่ตอบสนองต่อยารักษามาตรฐาน EPIDIOLEX® เป็นยาท่ีสกัดมาจากพืชกัญชาโดยมีความเข้มข้น CBD 100 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ได้รับการอนุมัตจิ าก องคก์ ารอาหารและยาของสหรฐั อเมรกิ า เม่อื เดอื น มิถนุ ายน ค.ศ. 2018 238 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพื่อใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

237 ภาพที่ 82 เอพิดโิ อเลก็ ซ์ (Epidiolex ) 4. ผลติ ภัณฑส์ ้าหรับสัตว์ ในต่างประเทศ มีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยในสัตว์ ข้อบ่งใช้ จะคล้ายกับการรักษาในมนุษย์ คือ ใช้ในสัตว์ที่ได้รับผลกระทบจากการได้รับเคมีบ้าบัด เพ่ือเพ่ิม ความอยากอาหาร ลดอาการเจ็บปวดหรืออักเสบ รักษาอาการชัก ช่วยให้สัตว์เล้ียงผ่อนคลาย ไม่ต่ืนตกใจ มีทั้งรูปแบบเป็นน้ามันหยด ที่มีสูตร THC และ CBD ในอัตราส่วนต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารส้าหรับสัตว์เลี้ยง โดยใช้น้ามันจากกัญชาผสมในคุกกี้ส้าหรับสุนัข เพ่ือให้สุนัขกินได้ง่าย รูปแบบคล้ายกับขนมปังกรอบ (Snack) แต่ในประเทศที่มีการอนุญาตให้ใช้ในสัตว์ เช่น ประเทศ แคนาดา การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพ่ือการรักษาในสัตว์ ห้ามใช้เพื่อเป็นขนมทานเล่นของสัตว์ แต่อนุญาต ใช้เพ่ือวตั ถุประสงค์ในการรักษาเท่านนั้ เภสัชกรหญิง ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร เลขาธิการมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ให้ข้อมูลว่า ในอดีตทางกลุ่มชาติพันธ์ุกะเหรี่ยงมีการใช้พืชกัญชาในการขุนหมู เพ่ือให้หมูกินอาหารได้ มีลกั ษณะอ้วนพี แตไ่ ม่ระบุว่ามีการใช้เพือ่ เป็นการรกั ษาโรคในสตั ว์ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต 239 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

238 ภาพท่ี 83 น้ามนั กญั ชาในรูปแบบคกุ ก้สี า้ หรับสนุ ัข ภาพท่ี 84 น้ามนั กัญชาส้าหรับรกั ษาสัตว์ กล่าวโดยสรุป ผลิตภณั ฑส์ ้าเร็จรูปจากกญั ชาเพื่อใช้ประโยชนท์ างการแพทย์ ส้าหรับคน มีรูปแบบน้ามันหยดใต้ล้ิน แคปซูล สเปรย์ฉีดพ่นใต้ล้ิน ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะ 240 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ เพอื่ ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

223399 ผผTTบบนนHHลลออนนิิกกตตCCผผจจภภิิววสสาาหหััณณัังงกกนนเเฑฑนนคคัังงีีใใ้้์์กกรรนนผผััญญาาตตลละะชช่่าาิิตตหหงงาาภภ์์ปปททััณณผผรรี่่ีไไลละะดดฑฑิิตตเเ้้รร์์กกททััภภบบััญญศศััณณกกยยชชาาัังงฑฑาารรมมจจ์์สสขขีผีผะะาา้ึึ้นนลลมมรรททตติิีีสสสสภภะะููตตกกเเััณณรรัับบดดแแฑฑีีแแยยตต์ร์รคคนนกกกกัั นนตต((ษษนนRR่่าาาางงeeาาออกกggบบาาััiiนนssิินนกกttตตาาออeeาารรยยrrมมเเeeจจดดสสddบบ็็์์ ััดดจจปปDDสสาา่่ววrr่่ววกกuuยยนนธธggใใรร))นนแแรรขขสสลลมมัตตัณณะะชชววปปะะ์์าารรนนตติิมมี้ี้มมิิ าาแแีีออณณลลยยสสะะูู่่ 33าาผผรรลลรรสสิิููตตปป้้าาภภแแคคัับบณณััญญบบฑฑTT์์สสคคHHาาืืออCCรรผผสสแแลลกกลลิิตตััดดะะภภCCCCััณณBBBBฑฑDDDD์์ ถถาามม กกัญัญชชาาแแลละะกกญัญั ชชงงสสาามมาารรถถใใชช้ใ้ในนกกาารรรรกัักษษาาโโรรคคใในนสสััตตววไ์์ไดดจ้้จรรงิิงหหรรอืือไไมม่่ กกกกตตจจกคกคาัญาญั รรลลีโโีรรออิงิงมมชชมุ่มุ่รราาบบกัักใใโโเเนนแแรรพพษษคคลลตต่ิม่ิมาาะะา่า่ออกกเเกกงงหหาาาาปปััญญมมกกรรรรออาาืออืชชะะรรยยนนงงเเเเาเาเททกกจจพพกกศศบับั็บบ็ อ่ื่อืออมมกกปปชชาากีกีาาว่ว่หห่ว่วรราายยยยาาใใรรใใใใรรชชใในนนนใใชชร้ร้ สสนนกกักัก้้กกัตัตสสาาษษญญัั ววรรัตัตาาชชขข์ด์ดววใใาาุนุนว้้ว์ป์ปนนแแยยหห่ว่วคคลลเเยยมมนนชชะะูใใู่นน่แแกกหหเเชชกกลลญญัั ้้ออน่่นนันัะะ้ว้วชชใในนงงชชนนใใพพ่ว่วออนนยยีีดดกกแแลลตีีตาาลลดดปปรระะกกรรรรเเาากัักคคะะรรษษยยเเปปททมมาาววศศโโีีกกรรดดไไาาคคททจจรรใใาายยนนนนกกมมา้า้ สสกกีกกีมมัตัตาาาาาาววรรรรใใรรโ์์โชชใใดดับบัชชใ้้ใยยนน้้ ไไขโขโกกเเททรรมมดด้ออ้รรีม่ม่ี ืออ่ื่ไ่ไ่ยยมมพพคีคีดดงงกกแแเจิจิณุุณ้ผ้ผรททาาพพาาลลือ่ภภรรรรีี่่ ททแแ55าางณณยยพพพพท11าา์์สสททสส..ี่ดดกกกกาา5นนยยังงัาาาา11111111ภภมมับตับต์์รร........รราาเเ43432211าา่ออ่ใใสสพพกววใใชชรรไไนนชชะะือ่อื่าปปถถ้้ผผไใไใแแไไคคนุุนใใ้้ผผรมมชชมมนนใในนลลชชลลชชใชช้ผ้ผลลแ่่แ่แแ่้ีี้ิิตะะต้ใใ้ชื่่ืนนดััด้้ลลนนนนนนผผนนิตติภภไไผเเิติตกกะะะะลลสสจจ้า้าภภััณณลภภนนนนใใาาิินนตต้้ออหหณณัั รรฑฑัณณัา้า้ติ้า้าาาภภป้ป้ดดโโใใใใเเ์์กกภฑฑััฑฑดดณณหหหหจจแููแรรััญญีียยณัยยกึึก้ใ้ใ้ใ้ใ์กก์ลลก์์กฑฑชชชชแแนนษษชชญัญัรรญััญฑ์์้ใ้ใ้ผ้ผกกบบักักจจาาาานนชชลลัักกญญาาษษชชแ่งแง่ก กกาาิติตกกเเัับบลลาาาาญัเเชชปปรรภภเเพพผผะะแแคคณณาา็น็นแแัณณัชปู้ปู้่ือื่อกกมมเเลลลลขีขีพพรร่ว่วััญญ44าฑฑีีบบะะะะออักักยยื่่ืแออ้้ก์ก์าาชชกกคคกกงงถถษษลบบรรภภญัญังงววลลััญญงึึงาาัักกใใััดดบบะปปาาุ่มุม่ออชชหหษษชชววกคครราาาา((้้ไไไไะะะะาางงCCมุุมญักกเเดดดดปปคคโโภภใใhhาาออยย้แ้้แ้ปปลลช็น็นหหรรeeาาาาชชกกรรนื่น่ืคคกกกmกmง้ไ้ไววนน่่ะะไไลลดดาาใาาะะ์์สสโโooรรหรร่นืนื่แแ้ป้ปคคยยอ้อ้ttรรขขลลไไ้ไhhชชลลรรกัักาาสสออดะะeeนน่ื่ืเเะะนนษษ้จจ้งงคคจจrr้ป์์โโททผผaaาาไไาาววียียยยสสรppกกเเู้ปูป้าาาานนรรชชมมะ้้yyออเเงงว่่วิ่ม่ิมททคคกกเเโยยนนาาสสIIตตมมวั่วั่ยnnาาเเ่ยีย่ี์ท์ท้นน้ไไีบีบจจddเเชรรปปนนงงีีาาuuแแยย้้าานขขอ่ื่ือบบccงงพพนนออ์ทงงeeกกดัดังงททจจจจddาผผททาาาาายยงลลรรี่รี่รกกNNกก์์ใใกติติแแัักกนนมมaaเเภภาคคษษพพuuปปีหหี รััณณมมsาsาััลลจจททeeแดดีีบบฑฑกัักจจaaยยว้้วพุุ้้ฐฐบบาา์์กกยย์ใ์ใaaาาบบทัััญัญนนนนววnnนนััดดิธิธยชชddปปททแแีตตีไไาาใ์ าาัจัจดดVVนนกกา่่านงง้้งงooจจ่่ออะะววปภภmmนนนนบบุุชิิชๆๆัจาาใใ้้าาาานันัiiชชttยยจแแโโกกii้้nnดดลลใใบุาาggตตยยว้้วรรนั))้้ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่ือใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ิต 241 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

1.5 ไม่แนะน�ำให้ใช้ในกรณีของภาวะคล่ืนไส้อาเจียนในหญิงต้ังครรภ์ หรือมีอาการ แพ้ท้องรนุ แรง 1.6 แนะน�ำให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเป็นการรักษาเสริม หรือควบรวมกับการรักษาตาม มาตรฐาน 2. โรคลมชักท่ีรักษายาก และโรคลมชักที่ด้ือต่อยารักษา (Intractable epilepsy) ผู้สั่งใช้ ควรเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบประสาท และได้รับการอบรมการใช้สารสกัดจากกัญชาเพื่อ การรกั ษาผปู้ ว่ ย ภายใตข้ ้อพจิ ารณาดงั ตอ่ ไปนี้ 2.1 ใช้ในโรคลมชักที่รักษายากในเด็ก ได้แก่ ดราเวท (Dravet) และเลนนอค แกสโท ซนิ โดรม (Lennox - Gastaut Syndrome) 2.2 โรคลมชกั ทดี่ อ้ื ตอ่ ยารกั ษา ตงั้ แต่ 2 ชนดิ ขน้ึ ไป หากคาดวา่ จะเกดิ ดรกั อนิ เตอรแ์ อคชนั่ (Drugs interaction) อาจพิจารณาใช้ผลิตภณั ฑก์ ญั ชาทม่ี ี CBD สงู 2.3 แพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคลมชักที่เข้าเกณฑ์โรคลมชักที่รักษายาก ควรส่งต่อผู้ป่วย ไปยงั สถานบรกิ ารสขุ ภาพระดบั ตตยิ ภมู ิ เพอ่ื พบแพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญเฉพาะทางระบบประสาทเพอ่ื ประเมนิ และให้การรกั ษาตอ่ ไป ในกรณตี อ่ ไปน้ี 2.3.1 ลมชักทยี่ งั ควบคมุ ด้วยยาไม่ได้ 2.3.2 ผปู้ ่วยเดก็ ที่มอี ายตุ ำ�่ กวา่ 2 ปี 2.3.3 ผู้ป่วยลมชักที่มีความเส่ียง หรือไม่สามารถทนต่อผลข้างเคียงของการรักษา ลมชักได้ 2.3.4 มีความผดิ ปกตทิ างจติ หรอื มโี รคจิตร่วมดว้ ย 2.3.5 มีขอ้ สงสัยในการวนิ จิ ฉัยลกั ษณะลมชัก หรอื กลมุ่ อาการลมชกั 3. ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง (Spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง (Multiple sclerosis) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา เพื่อบรรเทาอาการปวดและเกร็ง ในกรณีท่ีรักษาภาวะ กลา้ มเนอ้ื หดเกร็งที่ดือ้ ต่อการรักษาภายใตข้ ้อพิจารณาดังต่อไปนี้ 3.1 ไมแ่ นะน�ำใหใ้ ช้ผลิตภณั ฑ์กัญชาเป็นการรักษาเร่ิมต้น 3.2 แนะน�ำใหป้ รึกษากบั ผปู้ ่วยถึงประโยชน์ และความเสย่ี งของผลิตภัณฑก์ ญั ชาก่อนใช้ 3.3 แนะน�ำให้ใช้ในกรณีท่ีรักษาด้วยวิธีมาตรฐานอย่างเหมาะสม (รวมถึงวิธีท่ีไม่ใช้ยา) แล้วไม่ได้ผล 4. ภาวะปวดจากระบบประสาท (Neuropathic pain) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา ในกรณีท่ีรักษาภาวะปวดจากระบบประสาทท่ีด้ือต่อการรักษาด้วยยามาตรฐาน ภายใต้ข้อพิจารณาต่อ ไปน้ี 4.1 ไมแ่ นะน�ำให้ใช้ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาเปน็ การรกั ษาเร่ิมตน้ 242 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวิต เพื่อใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

224411 4444....3322 แแแแนนนนะะะะนนนนาา้้ ้้าาใใใใหหหหป้้ป้้ใใรรชชึกึก้้ใใษษนนาากกกกรรบบัั ณณผผูปูป้้ีีทท่่วว่ี่ีททยยดดถถลลึงึงปปออรรงงะะใใโโชชยย้้ยยชชาานนบบ์์ แแรรลลรรเเะะททคคาาววออาามมาาเเกกสสาา่ยียี่ รรงงปปขขออววงงดดผผลลออิติตยยภภ่่าาณัณังงสสฑฑมม์กก์ เเัญญั หหชชตตาาุุผผททลล่ี่ใีใชชแแ้้ลล้้วว ใแแในนตตปปผผ่่ ัจจัูู้ปป้ จจว่่วุบุบยยนัันยยงังัแแคคนน4ก4กงงะะมม..ลลนน44อีีอ่่าา้า้าาาววโโแแกกดดโโนนาายยดดรระะกกยยปปนนรรสสววา้า้มมรรดดใใกกหหุุปปาาใใ้้ รรชชกกแแ้ผผ้ าาพพลลรรททิติตใใยยภภชช์์ัณัณผผเเพพลลฑฑือ่อื่ ิิตตกก์์ ใใญัญัภภชชใ้ใ้ััณณชชนนาาฑฑกกเเาากกปปรรััญญ็น็นดดแูกกแู ชชลลาาาารรรรแแรรักักลลัักกษษษษะะาากกาาแเเแััญญสสลลรรชชะะมิมิ งงคคใใววหหหหบบรร้้ไไคคอืือดดุมมุคค้้ปปววออบบรราากกะะรราววาโโรรยยมมขขกกชชออัับบนนงงวว์์ททผผธิิธู้ปปู้าามีีมงงว่ว่ าากกยยตตาารรเเรรฐฐนนาาแแื่อื่อนนพพงงจจททาายยกก์์ ผ(แผอSม(ผผแอSม22ccูู้้พพาาีีลปลปหห))llเเิิตต่่ททววลลeeจจโโยยภภััrrกรกรยยีียยooคคัั์์ณณผฐผฐนน((ss33ลลาาูู้้เเจจiiฑฑชชssนน))มมาา))ี่ี่ยย์์กกททชชกกภภแแววััญญััเเกกาาาาพพชชคคงงชชทวทวาาททมมววะะาา่ีี่รรญญิิยียีบชบชกกเเัักกพพ์์สสาาดด้้าาลลษษกกาาบบื่ื่้้ออาา้้าาาามมาานนััดดรรมมยยรราาัักกรรเเาาร(ร(ททนนะะษษCCกกถถ่ีี่มมบบื้ื้ออhhาาใใีีคคแแหหบบชชภภeeุุณณลล้้ผผmmปดปดาาะะลลววเเรรภภooกกโโิิตตะะะะาารรttรรคภคภสสhhพพคค็็งงลลััาาณณeeลลสสทท่ื่ืนนr(r(ฑฑมมนนaaSSไไชชppัั์์ppกกบบแแสสัักกyyััaญaญลลสส้้ออssททะะนนาาชชIIttnnไไ่ีี่ดดเiเiุุนานาccดดddจจื้ื้ออเเiiชช้้รรีีuuttพยพยตตyyััดดัับบccนน่ืื่ออ่่ออ))เเeeกกจจบบจจยยใใddาาาารรนนนนาารรกกรรรรNNผผออเเเเััโกโกูู้้ปaปaททคคบบดดษษuu่่ววาามมรรยยssาาออยยมมีีบบแแeeาาโโกก((้้บบาาaaรรกกIInาnาบบ่่งงคคาาaaรรttเเััดดรปรปnnrrปปใใaaปปททชชลลdd็็นนccวว้้สสี่่ีรรออttVVดดัักกาาaaกก44ooแแรรbbษษปปสสmmลลกกllาารรeeกกะะลลดดiiะะttเเััดดุุ่่EEมม้้ววสiสiกกnnจจppยยรราาggไไาาiiวว็็งงททllดด))กกeeใใิิธธเเ้้แแโโนนกกppีีสตสตดดกกกกััญญss่ื่ื่่ออาายย่่yyรรงงมมชช((แแ))ณณ11แแาาพพๆๆผผ))ีีททเเขขททูู้้สสพพภภ่ี่ีรรแแ็็งงยย่ั่ังงื่่ืออัักกาาลลใใ์์สส((กกววษษชช้้ววMMาาะะาา้้าาไไคคมมรรuuมมคคดดววาารรll่่ลไลไ้้ววรรttรรัักกดดื่ื่ยยiiนนเเถถppปป้้ษษผผววไไใใll็็นนลลิิสาสาชชธธeeีี้้้้ ผอผอลื่ลื่นนิติตๆๆภภัณัณแแลลฑฑ้้วว์ก์กไไัญญั มมชช่่ไไดดาา้้ผใผในนลลกกรแรแณณลละะทีีที่รรี่ ((44กักั ))ษษภภาาภภาาาาววววะะะะปปปปววววดดดดจจจจาาาากกกกรรรระะะะบบบบบบบบปปปปรรรระะะะสสสสาาาาทททททท((่ดีี่ดNN้ื้ืออeeตตuu่่ออrrooกกppาาaaรรรรtthhัักกiiษษccาาPPดดaaว้ว้ iiยยnnยย)) าาแแมมพพาาททตตยยรรฐฐ์์สสาาาานนมมาารรถถใใชช้้ คเเครรวว่ืื่ออบบงงคคททมมุุ ี่่ี 66ออใเราาน่อืกกกกกงาาาาาทรรรรรี่คใใ6ชชว้้ผผบกลลคาิิตตมุรใอภภชาััณณ้ผกลฑฑาิตร์์กกภััญญณั ชชฑาาแแ์กญัลละะชกกาััญญแลชชะงงกททัญาางงชกกงาาทรราแแงพพกาททรยยแ์์นนพ่่าาทจจยะะ์นไไดดา่ จ้้ปปะรรไะะดโโป้ยยรชชะนนโ์์ใใยนนชกกนาา์ รร ซซึ่ง่ึงตตอ้อ้ งงกกาารรออผผขขยยลล้้ออา่า่ิิตตมมงงภภูลลู ไไรรกกััณณกกาาฑฑ็็ตตรรศศ์์าากกมมกึกึััญญษษใใชชาานนาาววกกปปิจจิ รรรรััยยณณะะเเพพทีีทเเภภืื่่ออผ่ีีผ่ ททสสปูปู้้ นนนนว่่วับับี้ี้ยยมมไไสสีีหหดดนนลล้ร้รุนุนัักกัับบตตฐฐกก่อ่อาาาาไไนนรรปปรรททกัักาาษษงงาาววดดิิชช้วว้ าายยกกววาาิธิธรรีมีมททาา่ีี่มมตตีีคครรฐฐุุณณาาภภนนาาแแพพลล้ว้วสสนนไไมมัับบ่่สสสสาานนมมุุนนาารรมมถถีีจจคค้้าาววนนบบคคววนนมุุมออจจาา้้าากกกกาาััดดรร วอโโปปตสอ((ขขอวตสอปปดดตััตออถถา้อา้อาารรีีจจถถยยงงาาจงจงะะคคโโบบนนชชปุปุชชมมสส..รรศศ่่ววกนันักรริิีคคีออททรร..ยยะะาาททููไไปปบบธธ22ดดรรชชสสึกึกิิผผแแธธณณ00ี้้ีงวงวกกขขหหลลบบคค11รริตติ าา์์ททอ้อ้าา33ข์รร์ขบบผผรรมมภภ่ีใใ่ีกก))มมออใใปู้ปู้ชชกกจจลูลูชชาาขขงงแแ้รร้่่ววาาะะผผยย้้ผผกกออ้้ัักกยยลลรรนนู้ปูป้หลหลาาษษ้้วววว้้33าารรฟฟว่่วิิตตลลิิาาจจผผวว77ยยภภื้้ืนนัังงแแผผััจิจิยยลลททจจณัณัฟฟรรูป้ปู้พพัยัยิิตตใใกุกุะะาาูนูนสส่วว่ฑฑภภททรรบบกกโโยยุุขขลลััดณณด์์กากายยไไวุวุจจภภััยยกกยยััญญดด์์่า่าออฑฑรราาออษษมม้้ปปงิชงิชาาแแ์์กกพพออคคีีณณรราาจจลลััญญ((กกววึึเเกกหหAAะะเเะะพพชชแแาาลลษษหcหcรรกกมม่ืื่อาาอบบืืttืออืออาาาามมาาuuเเรรบบกกลลปปกกกกาาัรัรกกaaใใเเดดใใััน็็นววบบววษษllหหหหชชคคิิิิธธไไจจผผาUาUป้้ปมม้้กกปปววีีกกััยยผผูู้้เเาารรััssบบาาไไชชู้ป้ปูาาเเะะeeะะดดมมผผชชีี่่ยยรรสสเเ่่ddววห้ห้ททูู้้ปปมมิิงงววททยยมมาาสสุุกกิน่่นิววRRชชเเคค่่ีียยกกฉฉยยััขขงงeeคคาาววััไไงงเเพพเเ์์ททssววญญมมรฉฉรกกไไeeาาาารรเเม่่มพพมมตตผผaaะมะมมมแแวีีว่่าาไไrrยยรรปปาาิิธธะะccลลดด((าาแแนนลลOOีกีกhรรh้้ะะยยพพพพาาออขขาา))bbไไิิยยสสรรรรแแดอดอดดโโss่ใใูู่รรรรจจลลภงภง้้eeปปรรหหกัักคคผผะะนนัับบrrยัยัฏฏ้ส้สษษvvแแู้ปปู้ดด์์คคิิญญาาaaลลแแาา้้หหาา่่ววธธววttออะเะเลลญญยยiiาาาานนาาooืน่นื่ภภะะไไรราากกมมิินนnดnดปปาาณณเเมมๆๆยยฮฮกกa้a้ววรรววชชีีลลิิดดllนนาาะะะะิิธธหหนนรซซรขุุขSSสสลลยยีีกกรรเเิิงงไไออttทิทิออกกยยาาอือืดดuกกuงงธธ็็บบรรมมพพมม้ทท้ิิddโโิผิผดดขขขขรรจจีีววิินนรรyyลลัังงออคค้้ออิธิธาาาา))ิิจจกกคคงงกกีีบกกบมมหหแแลใลใววววาาููลผผลนน่่พพ่่าาบบรรรราาววูู้้ปปกกววืืรรออคททคิจิจ่่ลววคลคักกัววกกกู่กู่ััยยยยยยิิุ่มมุ่ววษษธธนัันาาคคสสรรีีนนกกาารรไไววมมหหนนแแ้ีี้ปปาาววบบาาออ้้รราาตติิรรจจคคคคืืไไาาออรรไ่ไ่นนััปยปยกู่กู่ททมมวมมวญญ้ั้ันนจจเเมนัมนัโโิเเิ่่เเปปชชกกาาลลาาถถไไ็น็นตต่่นปนปิิดดๆๆกกกกงึึงิิ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ 243 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

242 242 ผู้ป่วยท่ีได้รับการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care) ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย (End – Sผtู้ปa่วteยทC่ีaไดn้cรeับrก) าโรรคดพูแาลรแ์กบินบสัปนรโะรคคัอบัลปไรซะเมคออรง์ โ(รPคaวlิตliaกtกivังeวลCไปarทeั่ว) (ผGู้ปe่วnยeมraะliเzรe็งdระAยnะxสieุดtyท้าDยiso(Erdnedrs–) โSรtคatปeลCอaกnปcรeะrส) าโรทคอพกั าเสร์กบิน(สDันemโรyคeอlัลinไaซtเiมnอgรD์ โiรseคaวsิตeกsก)ังเวปล็นไปต้นทั่ว (Generalized Anxiety Disorders) โรคปลอกปกราะรสใชาผ้ทลอิตกั ภเสณั บฑ(ก์Dัญemชาyeเพli่ือnบatรiรnเgทDาคisวeาaมsปeวs)ดใเปนน็ผปู้ตน้ว่ ยที่ได้รบั การดูแลแบบประคับประคอง หรอื ผปู้ ว่ ยใกนาวราใชระ้ผสลุดิตทภ้าัณยฑข์กอญังชชวี าิตเ(พE่ือnบdรoรเfทLาiคfeว)าซมง่ึปเวปดน็ ใกนาผรูป้ตว่ดั ยสทิน่ีไใดจ้รขบั อกงผารูร้ ดกั ูแษลาแมบีขบ้อปแรนะะคนับ้าปดรังะนค้ี อง หรือผู้ปว่ ยใขนอ้ วแานระะนสา้ดุ ทท่ี า้ ย1ขอไมงช่แีวนิตะน(E้าnใหdใ้ ชoผ้fลLิตifภe)ัณซฑง่ึ ์กเปญั น็ ชกาาเปรต็นัดกสานิรรใจักขษอางเรผิ่มู้รตักน้ษา มีขอ้ แนะน้าดงั น้ี ขข้้ออแแนนะะนนา้ ้าทท่ี ่ี 12 ไผมู้ปแ่ ่วนยะทนี่า้ไดให้รใ้ับชย้ผาลแติ กภ้ปณั วฑดก์ อญั ยช่าางเสปม็นเกหาตรุผรลักษแลาเ้วรย่มิ ังตมน้ ีอาการปวดมาก ทั้งที่ ยาแกป้ วดทขีไ่้อดแร้ นบั ะอนย้าู่ในทป่ี 2ริมาผณู้ปท่วีเ่ยหทมี่ไาดะ้รสับมยแาลแ้วก้ปวดอย่างสมเหตุผลแล้วยังมีอาการปวดมาก ทั้งที่ ยาแกป้ วดทขีไ่้อดแ้รนับะอนย้าใู่ ทนปี่ 3รมิ แาณนะทน่เี ห้าใมหา้ใะชส้ผมลแิตลภ้วัณฑ์กัญชาเป็นการรักษาเสริม หรือควบรวมกับวิธีการ รักษาตามมขา้อตแรนฐะานน้าที่ 3 แนะน้าให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเป็นการรักษาเสริม หรือควบรวมกับวิธีการ รักษาตามมกาลต่ารวฐโาดนยสรุป การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ น่าจะได้ประโยชน์ในการ ควบคมุ อากกาลร่าวในโดกยรณสรที ุป่ผี ู้ปก่วายรใไดช้ร้ผับลกิตาภรัณรักฑษ์กาัญดว้ชยาวแธิ ลีมะากตัญรฐชางนทแาลง้วกาไรมแส่ พามทายร์ ถนค่าวจบะคไดุม้ปอารกะาโยรขชอนง์ใโนรกคาไดร้ คหวาบกคจมุ ะอนา้ากผารลิตในภกัณรณฑ์ทีกั่ีผญู้ปช่วายมไดาร้ใชับ้กกัาบรผรู้ปักษ่วยาดเฉว้ ยพวาธิ ะีมราาตยรฐปานฏแิญลญ้ว าไมเฮส่ ลามซิางรกถิ คขวอบงคแุมพอทากยาสรมขาอคงโมรโคลไดก้ ห(ปาี กคจ.ศะ.น2้า0ผ1ล3ิต) ภรัณะบฑุว์ก่าัญมีคชวาามมาเใปช็น้กไับปผไู้ปด้ห่วยากเฉไมพ่มาีวะิธรีกายารปรักฏษิญาญอ่ืนาเฮๆลหซิรงือกิมขีวอิธีงกแาพรรทักยษสามแาตค่ไมม่เโกลิดก (ปปรี ะคส.ศิท.ธ2ิผ0ล13ภ)ารยะหบลุวัง่าจมาีคกวไดา้ปมเรปึก็นษไาปกไับดผ้หู้เาชกี่ยไวมช่มาีวญิธีกแาลระรไักดษ้ราับอคื่นวาๆมยหินรือยมอีวมิธจีกาากรผรู้ปัก่วษยาแหตร่ไือมญ่เกาิดติ ปโดรยะชสอิทบธธิผรลรมภแาลย้วหแลัพงจทายก์อไาดจ้ปเรลึกือษกาวกิธีกับาผรู้เใชช่ีย้ผวลชิตาภญัณแฑล์กะัญไดช้ราับมาคชว่วายมชยีวินิตยผอู้ปม่วจยากฟผ้ืนู้ปฟ่วูสยุขภหารพือญหารตือิ โลดดยคชวอามบทธกุรรขมท์ แรมลา้วนแขพอทงผยปู้ ์อ่วายจเลือกวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชามาช่วยชีวิตผู้ป่วย ฟื้นฟูสุขภาพ หรือ ลดความทกุ ข์ทรมานของผปู้ ่วย กจิ กรรมท้ายบท กิจกรกริจมกท1ร้า.รยกมบจิ ทกทา้รยรมบทท่ี 1 1. กคิจ้าชก้ีแรรจมงท:ี่ โ1ปรดเลือกตัวอักษรหน้าข้อที่ผู้เรียนคิดว่าข้อนั้นเป็นค้าตอบท่ีถูกต้องที่สุด เพยี งขอ้ เดยี ว คแ้าลช้วี้แเขจยี งน:คโา้ ปตรอดบเลลงือใกนตกัรวะอดักาษษรขหอนง้าผขู้เร้อียทนี่ผู้เรียนคิดว่าข้อนั้นเป็นค้าตอบที่ถูกต้องท่ีสุด เพียงขอ้ เดยี ว ขแอ้ลว้ 1เขียผนปู้ คว่ ย้าตทอแ่ี บพลทงยใแ์นนกะระนด้าาใหษ้ใขชอ้นง้าผมูเ้ รนั ียกนัญชามาหยดเพ่ือรักษาหรอื บรรเทาอาการป่วย ขอ้ 1 คผู้ปวรว่ หยยทดแ่ี ลพงทบยรแ์ิเวนณะนใดา้ ใถหึง้ใจชะ้นถ้าูกมตนั อ้ กงัญในชทามางากหายรดแเพพท่ือยรัก์ ษาหรือบรรเทาอาการปว่ ย กค.วรหหยยดดลลงงบบรริเเิววณณใใตด้ลถิน้ ึงแจละะถกูกรตะ้อพงใงุ้ นแทกม้างการแพทย์ ขก.. หหยยดดลลงงบบรรเิเิ ววณณขใต้าล้งลน้ิ ้ินแแลละกะกระรพะพงุ้ แุ้งแกกม้ ม้ คข.. หหยยดดลลงงบบรรเิิเววณณโขคา้ นงลล้ินนิ้ แแลละะกกรระะพพ้งุุ้งแแกก้มม้ งค.. หหยยดดลลงงบบรรเิิเววณณโปคลนาลยน้ิล้ินแลแะลกะรกะรพะุง้พแุ้งกแ้มก้ม ง. หยดลงบริเวณปลายลิ้น และกระพ้งุ แกม้ 244 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ิต เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

243 ข้อ 2 การหยดน้ามนั กัญชาในทางการแพทย์ควรหยดน้ามันกัญชาในช่วงเวลาใด ก. เวลาเช้า ข. เวลาบ่าย ค. เวลาเย็น ง. เวลาก่อนนอน ขอ้ 3 ข้อใดคือสรรพคุณของผลติ ภัณฑ์ ซาติเวกซ์ (SativexR) รูปแบบสเปรยใ์ นช่องปาก ใตล้ ้ิน ปรมิ าณ THC : CBD อัตราสว่ น 1.08 : 1 ที่ถูกต้องท่ีสดุ ก. เพื่อรักษาโรคปลอกประสาทอักเสบ ข. เพ่ือรักษาโรคปลอกประสาทอักเสบ บรรเทาอาการเกรง็ ท่ีเกิดข้ึนจากโรค ค. เพ่อื รักษาโรคปลอกประสาทอักเสบ บรรเทาอาการเกรง็ ที่เกิดขึ้นจากโรค และอาการปวดของเส้นประสาท ง. เพ่ือรักษาโรคปลอกประสาทอักเสบ บรรเทาอาการเกรง็ ท่เี กิดขน้ึ จากโรค และอาการปวดของเส้นประสาท โรคเครยี ด กรณีศกึ ษา นายรามิล ป่วยมีภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ของโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง ต่อมา นายรามิล ได้ข้อมลู จากกลุ่มเพ่ือน และศึกษาข้อมูลจากอนิ เตอรเ์ นต็ ว่านา้ มันกัญชา สามารถใช้ รักษาโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็งได้ จึงไปหาซื้อน้ามันกัญชามาเอง และใช้หยดใต้ล้ิน รักษาโรคปลอกประสาทเสอ่ื มแขง็ ให้กับตนเอง ข้อ 4 จากกรณีศึกษา นายรามิล ควรหรอื ไม่ควร ท่จี ะใชน้ ้ามนั กัญชาในการรกั ษาภาวะ กลา้ มเน้ือหดเกร็ง ของโรคปลอกประสาทเสือ่ มแข็ง ก. ควร เนอ่ื งจากได้ข้อมูลจากกลมุ่ เพ่อื น ข. ควร เนอ่ื งจากศึกษาจากอนิ เทอรเ์ น็ตสามารถรักษาได้ ค. ไมค่ วร เน่อื งจากโรคปลอกประสาทเสื่อมแขง็ สามารถหายไดด้ ว้ ยยาอ่ืน ง. ไมค่ วร เน่ืองจากแพทย์ยังไม่ไดว้ นิ ิจฉยั ตรวจสาเหตุของโรคทีต่ นเองเป็นอยู่ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 245 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

244 ขอ้ 5 จากกรณศี กึ ษา การศกึ ษาหาข้อมูลจากอนิ เทอร์เนต็ และการแนะนา้ จากเพ่ือน ในการน้ากญั ชามารักษาโรคปลอกประสาทเสื่อมแขง็ ได้ผลจริงหรือไม่ ก. จริง เน่ืองจากนา้ มนั กัญชาดดู ซึมได้งา่ ย ข. จรงิ เนอ่ื งจากนา้ มันกญั ชาสามารถรกั ษาโรคปลอกประสาทเสื่อมแขง็ ได้ ค. ไม่จริง เนือ่ งจากน้ามันกญั ชาไมส่ ามารถรกั ษาโรคปลอกประสาทเสื่อมแขง็ ได้ ง. ไมจ่ ริง เนื่องจากการใช้น้ามนั กัญชาปรมิ าณเทา่ ใดขึน้ อยู่กบั การควบคมุ ดูแล ของแพทย์ 2. กิจกรรมท่ี 2 ค้าช้ีแจง : โปรดจับคู่ข้อมูลท่ีอยู่หลังตัวอักษรที่ตรงกับตัวเลขของข้อนั้น ๆ หรือมี ความสัมพันธต์ รงกับหวั ข้อเลขนนั้ ๆ ใหถ้ กู ตอ้ งแล้วน้าตวั อักษรของหน้าข้อมลู มาใส่หน้าตัวเลขตรงกับ ขอ้ นั้น ๆ .......... 1. โรคทางสมองที่เกิดจากเซลลป์ ระสาทในบางตา้ แหน่ง ก. โรคพาร์กินสนั เกดิ การตายโดยไมท่ ราบสาเหตทุ ี่แน่ชัด ข. โรคลมชัก .......... 2. โรคที่สามารถใชก้ ญั ชารักษาไดผ้ ลพอสมควร ค. โรคตอ้ หนิ .......... 3. น้ามันกญั ชาทมี่ ีการผลิตอยา่ งไดม้ าตรฐานในประเทศไทย ง. องคก์ ารเภสชั กรรม .......... 4. โรคทไ่ี มส่ ามารถรกั ษาใหห้ ายขาดได้ท้าได้เพียงควบคุมอาการ จ. องค์การอาหารและยา .......... 5. กลุม่ โรคท่ีเก่ียวข้องกบั การเจรญิ ของเซลล์ทม่ี คี วามผิดปกติ ฉ. โรคสะเก็ดเงนิ ช. โรคมะเร็ง ซ. คลนิ คิ กญั ชา 3. กจิ กรรมท่ี 3 ค้าชี้แจง : โปรดท้าเคร่ืองหมายถูก () หรือเครื่องหมายผิด () ลงหน้าข้อตัวเลข ทผี่ ู้เรียนอ่านข้อมูลแล้วคดิ ว่าค้าตอบนี้ถูก ใหท้ า้ เครื่องหมายถูก () ถา้ คดิ ว่าข้อมูลที่อา่ นเป็นค้าตอบ ที่ผิดใหท้ า้ เคร่อื งหมายผดิ () .......... 1. ในปี พ.ศ. 2542 รฐั บาลประเทศสหรัฐอเมรกิ า จดสิทธบิ ัตรกญั ชา อา้ งสทิ ธิในการใช้กัญชา รกั ษาโรคทางระบบประสาท .......... 2. โรคมะเรง็ เม็ดเลอื ดขาวแบบรุนแรงเฉยี บพลนั (Acute Leukemia ) คือ กลุ่มโรคมะเรง็ ทางโลหติ วิทยาท่ีเกิดจากความผิดปกติของเซลล์ตน้ ก้าเนดิ เม็ดโลหิต .......... 3. กญั ชาท่ีองคก์ ารอาหารและยา (Food and Drug Administration) ของประเทศ สหรฐั อเมริกา อนมุ ตั ยิ าจากสารสกดั กัญชาตวั แรก (ไม่ใช่สารสังเคราะห)์ ชอื่ การค้า ซีซาเมท (Cesamet®) 246 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ เพ่อื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

245 .......... 4. น้ามนั กัญชาท่มี กี ารผลติ อยา่ งไดม้ าตรฐานในประเทศไทย จากโรงพยาบาลเจ้าพระยา อภัยภเู บศร ปจั จบุ ันมอี ยู่ 4 สูตร .......... 5. ในปี พ.ศ. 2556 บรษิ ทั โอซกู า้ ฟามัซยู ทิแคล็ จ้ากัด มหาชน โตเกียว ประเทศญปี่ ุ่น บรษิ ทั ยาในประเทศญีป่ ุน่ และประเทศองั กฤษ ได้จดสทิ ธบิ ตั รใชก้ ัญชารกั ษาโรคมะเรง็ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ 247 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

246 7บทที่ ใชก้ ัญชาและกญั บชททง่ี เ7ปน็ ยาอยา่ งรคู้ ณุ ค่า ใชแ้กลญั ะชาชแาลญะกญัฉชลงาเปด็นยาอย่างร้คู ณุ ค่าและชาญฉลาด สาระสาคสญัาระส�ำ คัญ 1. ความเชื่อและความจริงเกย่ี วกับกญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์ 1.1 ความเช่ือเก่ียวกับกัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ได้แก่ ตาราสมุนไพรโบราณ กัญชาและกัญชงรักษาโรคมะเร็งได้ และกัญชาและกัญชงเป็นยารักษาชีวิตได้ ซ่ึงความเช่ือบางอย่าง ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยรองรับ แต่ความเชื่อบางอย่างยังอยู่ในการศึกษาวิจัย จึงไม่ควรปฏิบัติตาม จนกว่าจะมผี ลการวจิ ัยความเชื่อทไี่ ด้ศกึ ษา ในหวั ขอ้ ดังกล่าว 1.2 ความจริงเกี่ยวกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ จากการวิจัยเกี่ยวกับการใช้ กัญชาและกัญชงช่วยในการรักษาอาการ และโรคดังน้ี (1) อาการปวดเร้ือรังจากเส้นประสาท (2) อาการ คล่นื ไส้อาเจียน และเพ่ิมความอยากอาหาร (3) โรคปลอกประสาทเสื่อม และ (4) โรคลมชัก 2. การใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ เช่น โรคมะเรง็ โรคสมองเสื่อม โรคเบาหวาน และโรคไตเร้ือรัง เป็นต้น จาเป็นต้องมีการศึกษาวิจัยถึงความปลอดภัย และประสิทธิผลอย่างละเอียด ซึ่งปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) ยังมีข้อมูลหลักฐานทางวิชาการไม่เพียงพอ ผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาตามวิธีมาตรฐานทางการแพทย์ในปัจจุบันหากเลือกใช้ เฉพาะผลิตภัณฑ์ กญั ชาและกัญชงในการรักษาแล้ว อาจทาใหผ้ ้ปู ว่ ยเสยี โอกาสในการรักษาได้ 3. ข้อแนะนาก่อนตัดสินใจใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ มี 8 ข้อ ได้แก่ (1) ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กับผปู้ ว่ ย เปน็ พน้ื ฐานในการยอมรับการรักษาพยาบาล รวมถึงการประเมิน ผู้ป่วยว่าเหมาะสมท่ีจะใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงหรือไม่ (2) การประเมินผู้ป่วย ข้อมูลประวัติท่ี เกี่ยวข้องกับอาการของผู้ป่วย (3) การแจ้งให้ทราบ และตัดสินใจร่วมกัน (4) ข้อตกลงการรักษาร่วมกัน (5) เงอ่ื นไขท่ีเหมาะสม ในการตัดสินใจของแพทย์ในการส่ังใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง (6) การติดตาม อย่างต่อเน่ืองและปรับแผนการรักษา (7) การให้คาปรึกษา และการส่งต่อ และ (8) การบันทึกเวชระเบียน จะชว่ ยสนับสนนุ การตดั สินใจในการแนะนาการใช้ผลิตภัณฑ์กญั ชาและกญั ชง 4. การวางแผนการรักษาด้วยผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง แนะนาให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและ กญั ชงในการทดลองรักษาระยะส้ัน เพ่อื ประเมินประสิทธผิ ลในการรักษาผูป้ ว่ ย แผนการรักษาควรมีความ ชัดเจน ใน 6 ประเด็น ได้แก่ (1) วางเป้าหมายการเริ่มรกั ษา และการหยุดใช้ แพทย์ควรหารือร่วมกับ ผู้ป่วยให้ชดั เจน (2) การบริหารจัดการโดยแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป (3) มีกระบวนการจัดการความเส่ียง รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต 249 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

247 (4) กากบั ตดิ ตาม ทบทวนทุกสปั ดาห์ โดยแพทย์ หรอื เภสัชกรผู้เชี่ยวชาญ (5) ใหผ้ ูป้ ่วยลงนามยินยอม และ (6) ใหค้ าแนะนาผู้ปว่ ยเม่อื ใชผ้ ลติ ภณั ฑก์ ัญชาและกญั ชงทางการแพทย์ 5. การเริ่มใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงกับผู้ป่วยในทางการแพทย์ ต้องคานึงถึงข้อปฏิบัติ 2 ประการ ได้แก่ (1) การซักประวตั ิอาการป่วยในปจั จุบนั ประวตั ิการเจ็บปว่ ยในอดีต ประวัติเจ็บป่วย ทางจติ และโรคทางจิตเวช และอาการทางจิตจากการได้รับยารักษาโรคพาร์กินสัน ยารักษาโรคสมองเส่ือม และพฤติกรรมเส่ียงท่ีสัมพันธ์กับการติดสารเสพติด และ (2) การกาหนดขนาดยา และการบริหารยา ไม่มีขนาดยาเริ่มต้นท่ีแน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงแต่ละชนิด ขนาดยาท่ีเหมาะสม ข้ึนกบั ลกั ษณะของผู้ปว่ ยแต่ละคน โดยเร่ิมต้นขนาดต่า และปรับเพิ่มขนาดช้า ๆ จนไดข้ นาดยาที่เหมาะสม ส่งผลต่อการรักษาสูงสดุ และเกิดผลข้างเคยี งตา่ สดุ ขนาดยาในระดับต่ามีโอกาสเกดิ ผลข้างเคยี งนอ้ ย 6. ข้อห้ามใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีมีสาร THC และ CBD เป็นส่วนประกอบมี 4 ข้อ ได้แก่ (1) ผู้ท่ีมี ประวัติแพ้ผลิตภัณฑ์ท่ีได้จากสารสกัดกัญชาและกัญชง (2) ผู้ที่มีอาการรุนแรง หรือมีปัจจัยเส่ียงของ โรคหลอดเลือดหัวใจ (3) ผู้ท่ีเป็นโรคจิต หรืออาการของโรคอารมณ์แปรปรวน หรือโรควิตกกังวลมาก่อน และ (4) สตรีมีครรภ์ สตรีทใี่ ห้นมบุตร รวมทง้ั สตรีวัยเจรญิ พันธทุ์ ีไ่ ม่ได้คุมกาเนิด หรือสตรวี างแผนท่ีจะ ต้ังครรภ์ 7. ข้อควรระวังเก่ียวกบั การใชผ้ ลิตภณั ฑ์กญั ชาและกัญชง 7.1 ข้อควรระวังทางการแพทย์ ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงในผู้ป่วยที่มีอายุ ต่ากว่า 25 ปี เพราะมีผลข้างเคียงต่อสมองท่ีกาลังพัฒนา และไม่ควรใช้กับผู้ป่วยโรคตับ ผู้ติดสารเสพติด รวมถึงนิโคติน ผู้ดื่มสุราอย่างหนัก ผู้ใช้ยาในกลุ่มโอปิออยด์ (Opioids) ยากล่อมประสาท เด็กและ ผสู้ งู อายุ เน่ืองจากยงั ไม่มขี อ้ มูลทางวิชาการมากเพยี งพอ 7.2 ขนาดของกัญชาและกัญชงที่ใช้ในทางการแพทย์ ในการรักษาโรค ยังไม่สามารถ กาหนดขนาดการใช้ท่ีแน่นอนได้ โดยตอ้ งปรับให้เหมาะกับแต่ละบุคคล และมหี ลักสาคัญคือ เร่ิมทีละน้อย แลว้ ค่อย ๆ เพม่ิ ขนาด ซ่งึ ผ้ปู ่วยทเี่ ป็นโรค หรอื มีอาการตา่ งกัน จะใชข้ นาดยาต่างกัน โดยหากใช้ขนาดยา กญั ชาและกัญชงที่ไม่ถูกตอ้ งจะเกิดการดอื้ ยา 7.3 ห้ามใช้น้ามันกัญชาและกัญชงทาบุหรี่ เพราะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อระบบ ทางเดนิ หายใจ และไมค่ วรใชก้ ับบุหร่ไี ฟฟ้า อาจทาใหป้ อดอักเสบเปน็ อันตรายตอ่ สขุ ภาพ 7.4 สารตกค้างจากการสกัดน้ามันกัญชาและกัญชง ในการเลือกผลิตภัณฑ์กัญชาและ กัญชงต้องศึกษาว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวใช้สารสกัดชนิดใด มีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใด การสกัด โดยตัวทาละลายแนฟทา หรอื ปิโตรเลยี มอีเทอร์ มคี วามปลอดภัยน้อยกวา่ การสกัดด้วยเอทานอล หรอื การต้มในน้ามันมะกอก เนือ่ งจากพบการตกค้างของตัวทาละลายท่ีมีความเส่ียงท่ีทาให้เกดิ โรคมะเร็งได้ และวิธีการสกัดใหม่ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน ได้แก่ การสกัดโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เหลว และเอทานอล สกัดเย็น เนื่องจากมีความปลอดภัยสงู สามารถสกัดไดป้ ริมาณมาก และไดส้ ารแคนนาบินอยด์เข้มข้น 250 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวิต เพื่อใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา

248 7.5 ความปลอดภัยของน้ามันกัญชาและกัญชง ต้องคานึงถึงแหล่งที่มา ผลิตภัณฑ์ที่ได้ มาตรฐานการผลิตที่ดี ต้องผ่านการตรวจควบคุมคุณภาพ และส่ังจ่ายภายใต้แพทย์ เภสัชกร และ แพทย์แผนไทยทีผ่ า่ นการอบรมการใชก้ ญั ชาและกญั ชง เพอื่ ประโยชน์ทางการแพทยม์ าแล้ว 7.6 สายพันธ์ุกัญชาและกัญชงเหมาะกับบางโรค จากการสังเกตการณ์เก็บข้อมูลจาก งานวิจัย สารเคมีที่แตกต่างกนั ในกัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธุ์ และผลการรักษาในผู้ป่วยแตล่ ะโรค ในต่างประเทศ พบว่ากัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธุ์มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับแต่ละโรคไม่เท่ากัน แตย่ ังเป็นงานวจิ ยั ขั้นต้น ต้องมีการศึกษาในเชิงลึกต่อไป 7.7 หลักธรรมนาชวี ิตพ้นพิษภัยจากกัญชาและกัญชง การใช้พุทธธรรมเพ่ือสร้างภูมิคุ้มกัน ทางดา้ นจติ ใจใหม้ ีความเข้มแข็ง โดยใชภ้ ูมคิ มุ้ กันทางครอบครวั ท่เี ปน็ ความรักความอบอุ่น ความเขา้ ใจ ซ่ึงกันและกัน ภูมิคุ้มกันจากสังคมส่ิงแวดล้อม ภูมิคุ้มกันจากกัลยาณมิตร รวมถึงการเสริมสร้างการ เรียนรู้ท่ีเกิดจากตนเองเป็นผู้กาหนด เยาวชนของชาติส่วนใหญ่ที่หลงเข้าไปเสพยา หรือเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติด รวมทั้งกัญชาและกัญชง อาจเน่ืองจากขาดความรักความอบอุ่น ขาดความรู้ความเข้าใจ ต่อสังคม เขา้ ใจว่าตนเองไม่มีคุณค่า และขาดความรู้ทางธรรมะพืน้ ฐาน หากเราต้องการแก้ปญั หาเรื่อง ยาเสพติดของเยาวชน เราจาเป็นต้องแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของเยาวชน รวมท้ังตัวเราควรได้เรียนรู้ปรบั ทัศนคติมุมมองด้วยการใช้ปัญญา เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาของตนเอง ในด้านครอบครัว สังคม และมิตร ให้ประสานสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เสมือนเฟืองสามตัวขับเคลื่อนกลไกให้ทางาน ในเวลาเดียวกัน ดังน้ันการป้องกันมิให้เยาวชน รวมท้ังตัวเราได้มีโอกาสเข้าไปยุ่งเกี่ยว กับยาเสพติด เป็นการป้องกันในลักษณะการสร้างความพร้อมในการใช้ชีวิตเตรียมความพร้อมในการเป็นผู้ใหญ่ หรือ เป็นผู้ดูแลตนเองได้ โดยใช้ปัญญาเป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองให้อยู่ในสังคมเป็นพลเมือง ท่ีมีคุณภาพ ซ่ึงจะเปน็ ปัจจยั สาคญั ทีจ่ ะทาให้เราใช้ชวี ติ ในสังคมได้อย่างภาคภมู ิใจ เปน็ พลเมอื งที่มคี ุณภาพ มีความ เข้มแข็งท่ีเกิดจากกระบวนการใช้ปัญญาเป็นหลักท่ียึดเหน่ียว ซ่ึงจะเป็นพื้นฐานสาคัญท่ีจะทาให้ ประเทศไทยมีพลเมืองทมี่ ีคุณภาพนาพาประเทศให้มคี วามสุขสงบ เจรญิ ร่งุ เรอื งสบื ไป 8. ข้อห้ามในการใช้กัญชาและกัญชงกับบุคคลต่อไปนี้ ได้แก่ ผู้ป่วยท่ีมีอาการทางระบบ ประสาทผดิ ปกติ ผปู้ ว่ ยโรคหัวใจข้ันรุนแรงที่มีอาการความดนั โลหติ ต่าลง หรือหัวใจเตน้ เร็ว สตรีตง้ั ครรภ์ หรือให้นมบุตร บุคคลที่มีอายุต่ากว่า 25 ปี ผู้ป่วยโรคตับ โดยถ้าจาเป็นต้องใช้ต้องอยู่ในความดูแล ของแพทยผ์ ู้เชี่ยวชาญ 9. การถอนพิษเบ้ืองต้นจากการเมากัญชาและกัญชง ท่ีมีอาการมึนศีรษะ โคลงเคลง แนน่ หนา้ อกจากการใช้กัญชาและกญั ชงเกินขนาด มอี ยู่ 3 วิธี ได้แก่ วิธที ่ี 1 ให้ดืม่ นา้ มะนาวผสมน้าผ้งึ หรอื น้าตาลทราย วิธีท่ี 2 ดื่มสมุนไพรรางจืด และวิธีท่ี 3 รับประทานกล้วยน้าว้าสุก วันละ 3 เวลา เวลาเช้า กลางวัน และเย็น รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 251 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

249 ผลการเรผยี ลนกราู้ทรีค่ เราียดนหรว้ทู งั ่คี าดหวงั 1. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับความเช่ือและความจริงเกี่ยวกับกัญชาและกัญชง ทางการแพทย์ การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ ข้อแนะนา ก่อนตดั สินใจใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ การวางแผนการรักษาดว้ ยผลิตภัณฑ์กัญชา และกัญชง การเริ่มใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ข้อห้ามใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสาร THC และ CBD เป็นส่วนประกอบ ข้อควรระวังเก่ียวกับการใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง ข้อห้ามในการใช้ กัญชาและกัญชง และการถอนพษิ เบ้ืองต้นจากการเมากัญชาและกัญชง 2. เพื่อใหม้ ีทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการคิดวิเคราะห์ และทักษะในการให้คาแนะนา การใชก้ ัญชาและกัญชง กับบุคคลในครอบครวั หรอื เพอื่ น หรอื ชมุ ชน 3. เพอื่ ให้ตระหนักถึงคณุ ค่าของการนากญั ชาและกัญชงไปใช้เป็นยา ขอบข่ายขเนออื้บหขา่ายเน้ือหา บทที่ 7 ใชก้ ญั ชาและกัญชงเป็นยาอย่างรูค้ ณุ ค่าและชาญฉลาด เร่ืองท่ี 1 ความเชื่อและความจริงเก่ียวกับกญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์ เรื่องที่ 2 การใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ เรื่องที่ 3 ขอ้ แนะนาก่อนตัดสนิ ใจใชผ้ ลิตภัณฑก์ ัญชาและกัญชงทางการแพทย์ เรื่องท่ี 4 การวางแผนการรักษาดว้ ยผลิตภณั ฑก์ ญั ชาและกัญชง เรื่องท่ี 5 การเร่มิ ใชผ้ ลติ ภัณฑ์กญั ชาและกญั ชงในทางการแพทย์ เร่ืองที่ 6 ขอ้ ห้ามใช้ผลติ ภัณฑท์ ่มี สี าร THC และ CBD เป็นสว่ นประกอบ เรื่องท่ี 7 ขอ้ ควรระวังเก่ยี วกบั การใชผ้ ลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกัญชง เรอื่ งที่ 8 ข้อหา้ มในการใช้กัญชาและกัญชง เรอ่ื งที่ 9 การถอนพิษเบื้องต้นจากการเมากัญชาและกัญชง สอ่ื ประกสอ่อืบปกราะรกเรอยี บนการเรยี น 1. ช่อื หนังสือกระทอ่ มและกัญชาทางการแพทย์ ช่อื ผู้แตง่ นพ.สมยศ กิตตมิ ่ันคง ชื่อโรงพิมพ์ Go Green บรษิ ัท โกกรีน โซเซียล เวนเจอร์ จากัด ปที พี่ ิมพ์ 2562 2. ช่ือหนังสือรักษาโรคด้วยกัญชงและกัญชา ช่ือผู้แต่ง นพ.สมยศ กิตติม่ันคง ช่ือโรงพิมพ์ Go Green บรษิ ัท โกกรนี โซเซียล เวนเจอร์ จากัด ปีท่พี มิ พ์ 2562 3. บทความเร่ืองคาแนะนาการใชก้ ัญชาทางการแพทย์ (Guidance on Cannabis for Medical Use) กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ สืบค้นจาก https://www.chiangmaihealth.go.th/cmpho_web/document/190609156008311353.PDF 252 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ เพอ่ื ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

225500 44.. บบททคคววาามมเเรร่ือ่ืองงขขนนาาดดยยาาจจาากกกกัญัญชชาาทที่เี่เหหมมาาะะสสมมใในนกกาารรรรักักษษาาโโรรคค ชชอ่ือื่ ผผเูู้้เขขียียนน ผผศศ..ดดรร..นนพพ..ปปัตัตพพงงษษ์์ เเกกษษสสมมบบูรูรณณ์์ คคณณะะแแพพททยยศศาาสสตตรร์์ มมหหาาววิทิทยยาาลลัยัยขขออนนแแกก่น่น สสืบืบคค้น้นจจาากก hhttttppss::////tthhaaiiccaamm..ggoo..tthh//wwpp-- ccoonntteenntt//uuppllooaaddss//22001199//0099//ขขนนาาดดยยาาจจาากกกกัญญั ชชาาททเี่่ีเหหมมาาะะสสมมใในนกกาารรรรักักษษาาโโรรคค..ppddff 55.. บบททคคววาามมเเรร่ือ่ืองงกกัญัญชชาากกับับกกาารรรรักักษษาาโโรรคค ชชื่อ่ือหหนน่ว่วยยงงาานนคคณณะะเเภภสสัชัชศศาาสสตตรร์์ มมหหาาววิทิทยยาาลลัยัยมมหหิดิดลล สสืบืบคค้นน้ จจาากก hhttttppss::////wwwwww..pphhaarrmmaaccyy..mmaahhiiddooll..aacc..tthh//tthh//kknnoowwlleeddggee//aarrttiiccllee//445533 66.. ววัดัดพพรระะเเชชตตุพุพนนววิมิมลลมมังังคคลลาารราามมรราาชชววรรมมหหาาววิหิหาารร หหรรือือววัดัดโโพพธธ์ิ์ิ เเลลขขทท่ีี่ 22 ถถนนนนสสนนาามมไไชชยย แแขขววงงพพรระะบบรรมมมมหหาารราาชชววังงั เเขขตตพพรระะนนคครร กกรรงุุงเเททพพมมหหาานนคครร 1100220000 เเบบออรรโ์์โททรรศศพััพทท์์ 0022 222266 00333355 77.. หหอ้อ้ งงสสมมุดดุ ใใกกลลบ้บ้ ้า้านนผผ้เูเู้ รรยีียนน เเรรือ่อ่ื งงทที่ี่ 11เรคื่อควงวทาามม่ี 1เเชชอ่ื่ือคแแวลลาะมะคคเชววือ่าาแมมลจจะรรคิงิงเวเกกา่ียี่ยมววจกกรบับังิ กเกกญััญ่ียชวชากาแแับลลกะะัญกกชญัญั าชชแงงลททะาากงงัญกกชาารรงแแทพพางททกยยา์์ รแพทย์ 11.. คคววาามมเเชช่ือ่อื เเกกยี่ี่ยววกกับับกกญัญั ชชาาแแลละะกกัญัญชชงงททาางงกกาารรแแพพททยย์์ 11..11 ตตาารราาสสมมนุนุ ไไพพรรโโบบรราาณณ ตตาารราาสสมมุนนุ ไไพพรรโโบบรราาณณทท่ีชีช่ ่ือื่อ ““มมกัักขข์ซ์ซาานน”” ททเี่ี่เกกิดิดจจาากกกกาารรผผสสมมผผสสาานนคคววาามมรรดูู้้ด้า้านนสสมมุนุนไไพพรร ขขอองงออาาหหรรับับ แแลละะกกรรีกีกไไวว้ด้ด้ว้วยยกกันัน กกลล่า่าววถถึงึงกกัญัญชชาาไไวว้ว้ว่า่า ““คคาาเเนนหห์บ์บออสส ((กกัญัญชชาา)) คคือือผผู้ปู้ปรระะททาานนคคววาามมปปีตีติสิสุขุข ผผู้โู้โบบยยบบินินสสู่ฟู่ฟาากกฟฟ้า้า ผผู้ชู้ชี้ท้ีทาางงสสววรรรรคค์์ เเปป็น็นสสววรรรรคค์ข์ขอองงคคนนยยาากก แแลละะผผู้ปู้ปลลออบบปปรระะโโลลมมยยาามมททุกุกขข์ร์ระะททมม”” ใในนคคตติคิคววาามมเเชชื่อื่อขขอองงศศาาสสนนาาฮฮินินดดูู เเรรียียกกสสมมุนุนไไพพรรชชนนิดิดนนี้ว้ีว่า่า ภภังังคค์์ ((BBhhaanngg หหรรือือ BBhhaannggaa)) เเชช่ือื่อวว่า่าเเปป็น็นสสมมุนุนไไพพรร ททพี่่พี รระะศศิววิ ะะเเจจ้า้าททรรงงปปรระะททาานนแแดดม่่มววลลมมนนษุษุ ยย์์ 11..22 คคนนมมีคีคววาามมเเชช่ือื่อววา่่ากกัญญั ชชาาแแลละะกกญััญชชงงรรักักษษาาโโรรคคมมะะเเรรง็ง็ ไไดด้้ 11..22..11 นนาายยแแพพททยย์ว์วีรีรววุฒุฒิิ ออ่ิมิ่มสสาารราาญญ ไไดด้ก้กลล่า่าวววว่า่าใในนปปัจัจจจุบุบันัน ((พพ..ศศ.. 22556622)) ยยังังไไมม่ม่มีี ขข้อ้อมมูลูลยยืนืนยยันันวว่า่ากกัญัญชชาาแแลละะกกัญัญชชงงสสาามมาารรถถรรักักษษาามมะะเเรร็ง็งใในนมมนนุษุษยย์ไ์ไดด้้ จจะะมมีกีก็แ็แตต่เ่เพพียียงงกกาารรศศึกึกษษาา แแลละะววิจิจัยัยใในน รระะดดับับขข้ันั้นททดดลลอองงตตาามมกกรระะบบววนนกกาารร ไไดด้แ้แกก่่ ((11)) ททดดสสออบบกกับับเเซซลลลล์ม์มีชีชีวีวิติตใในนหหลลออดดททดดลลอองง ((22)) ททดดสสออบบใในน สสัตัตวว์ท์ทดดลลอองง แแลละะ ((33)) ททดดสสออบบใในนมมนนุษุษยย์์ โโดดยยลล่า่าสสุดุดออยยู่ใู่ในนขข้ัน้ันตตออนนกกาาลลังังททาากกาารรววิจิจัยัยวว่า่า กกัญัญชชาาแแลละะกกัญัญชชงง จจะะสสาามมาารรถถรรักักษษาามมะะเเรร็ง็งใในนมมนนุษุษยย์ไ์ไดด้ห้หรรือือไไมม่่ นนออกกจจาากกนนี้นี้นาายยแแพพททยย์ว์วีรีรววุฒุฒิิ ออิ่ม่ิมสสาารราาญญ ไไดด้ร้ระะบบุถุถึงึงววิธิธีกีกาารรใใชช้้ กกัญัญชชาารรักักษษาาโโรรคคมมะะเเรร็ง็งดด้ว้วยยววิธิธีกีกาารรนนาาเเตตาารรีดีด หหรรือือทท่ีหี่หนนีบีบผผมมมมาานนาาบบกกับับกกัญัญชชาา วว่า่าใในนฐฐาานนะะทที่เี่เปป็น็นแแพพททยย์์ แแผผนนปปัจัจจจุบุบันันนนั้น้ัน กกาารรทท่ีแี่แพพททยย์จ์จะะนนาาออะะไไรรกก็ต็ตาามมไไปปใใชช้ก้กับับผผู้ปู้ป่ว่วยยเเพพ่ือื่อททาากกาารรรรักักษษาา แแพพททยย์ต์ต้อ้องงมมีคีคววาามมรรูู้้ คคววาามมเเขข้า้าใใจจววิธิธีกีกาารรรรักักษษาาโโดดยยลละะเเออียียดด ใในนกกรรณณีทีท่ีแี่แพพททยย์แ์แนนะะนนาาผผู้ปู้ป่ว่วยยใใหห้ใ้ใชช้ก้กัญัญชชาารรักักษษาาโโรรคคมมะะเเรร็ง็ง ผผู้ปู้ป่ว่วยยจจะะ ททรราาบบไไดด้อ้อยย่า่างงไไรรวว่า่าคคววาามมรร้อ้อนนขขอองงเเตตาารรีดีดตต้อ้องงมมีอีอุณุณหหภภูมูมิเิเทท่า่าไไรร ปปรริมิมาาณณขขอองงกกัญัญชชาาตต้อ้องงออยยู่ใู่ในนรระะดดับับใใดด ใในนกกาารรรรกัักษษาาโโรรคคคครร้ัง้งั นนข้ีข้ี ณณะะนน้ียี้ยังงั ไไมม่ม่มผีผี ลลงงาานนววิจิจัยยั ใใดด ๆๆ ออออกกมมาายยืนนื ยยันนั วว่า่ากกัญญั ชชาาสสาามมาารรถถรรกัักษษาาโโรรคคมมะะเเรรง็็งไไดด้้ 11..22..22 นนาายยแแพพททยย์ส์สมมยยศศ กกิติตตติมิมั่นั่นคคงง ผผู้เู้เขขียียนนหหนนังังสสือือกกัญัญชชาา คคือือยยาารรักักษษาาโโรรคคมมะะเเรร็ง็ง ไไดด้ใ้ใหห้ข้ข้อ้อมมูลูลวว่า่าตตนนเเอองงไไมม่ไ่ไดด้เ้เหห็น็นกกับับตตาาวว่า่ากกัญัญชชาาสสาามมาารรถถรรักักษษาาโโรรคคมมะะเเรร็ง็งไไดด้จ้จรริงิงหหรรือือไไมม่่ แแตต่ม่มีผีผู้ปู้ป่ว่วยย หหรรือือ ญญาาตตผิผิ ้ปูปู้ ่วว่ ยย เเขขา้า้ มมาาพพดููดคคยุุยบบออกกเเลล่า่าใใหห้ฟ้ฟังงั วว่าา่ เเคคยยใใชชก้้กญัญั ชชาารรกัักษษาาโโรรคคมมะะเเรรง็ง็ แแลล้วว้ ไไดดผ้้ผลลดดีี รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต 253 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

251 1.3 มนษุ ยม์ คี วามเชื่อว่ากญั ชาและกญั ชงเป็นยารักษาชีวติ ได้ นายณรงค์ รัตนานุกูล อดีตเลขาธิการสานักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ได้ให้สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ว่าจากการศึกษาข้อมูลของสานักงานป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติดในช่วงที่ผ่านมา พบว่ากัญชามีโทษมากกว่าประโยชน์ แต่ในทางกลับกัน หากทา การศกึ ษาวิจัยแลว้ พบวา่ สารในกัญชาสามารถรกั ษาชีวติ ได้ หรอื สามารถใช้ประโยชนใ์ นทางการแพทย์ ก็จะดงึ ประโยชนน์ ้ัน ๆ มาใช้ และในขณะเดียวกันต้องอยู่ในขอบเขตที่ควบคุมได้ ในสว่ นของประโยชน์ ทางสาธารณสุขไม่มีใครกีดกัน หรือขวางประโยชน์ของประชาชน แต่บางท่านควรอ่านเนื้อหาของ ข้อมูล หรือข่าวให้ครบถ้วน เพราะการอ่านแค่พาดหัวข่าวอาจสร้างความเข้าใจผิด หรือหลงเชื่อใน ข้อมูลท่ีไม่ครบถ้วนได้ การเสาะหาข้อมูลเพ่ิมเติมอย่างละเอียด และรับฟังอย่างมีวิจารณญาณ เปน็ สิ่งสาคัญ และจาเป็นอย่างย่ิง นอกจากนี้หากจะทาการรักษาดว้ ยแพทย์ทางเลือกที่มีอยู่ สิง่ สาคัญคือ ไม่ควรท้ิงการรักษามาตรฐาน เพราะจากประสบการณ์ท่ีพบมา หากละท้ิงการรักษามาตรฐานแล้วจะ เกดิ ผลเสียกับผ้ปู ่วยมากกว่าผลดี หรอื อาจถงึ ข้นั เสียชีวติ 1.4 ความเช่อื กัญชากับแอลกอฮอล์ ถาม  จรงิ หรือไม่ กัญชาเสพติดยาก สว่ นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เสพติดงา่ ยกวา่ ตอบ จรงิ เพราะแอลกอฮอล์เสพติดได้ง่ายกวา่ แต่ไมใ่ ช่แปลวา่ กัญชาไมเ่ สพติด กัญชามีโอกาสติดโดยเฉล่ียประมาณร้อยละ 10 แต่ถ้าเป็นเยาวชนวัยทางาน หากเริม่ ตน้ เสพกญั ชาโอกาสติดจะเพ่ิมจากร้อยละ 10 เป็นรอ้ ยละ 16 ถาม  จริงหรอื ไม่ กญั ชารกั ษาสขุ ภาพ แต่แอลกอฮอลท์ าลายสขุ ภาพ ตอบ ไม่จริง เพราะท้ังกญั ชาและแอลกอฮอลต์ ่างก็ทาลายสขุ ภาพ 254 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ติ เพ่อื ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

252 ถาม  จรงิ หรือไม่ กัญชารกั ษาโรคมะเร็ง แตส่ รุ าทาให้เกิดโรคมะเรง็ ตอบ จริง เพราะแอลกอฮอล์ทาให้เกิดโรคมะเร็งตับ และจากการศึกษาวิจัยทดลอง ในสัตว์ พบวา่ สตั ว์มคี วามเสย่ี งเกดิ โรคมะเร็งบางชนิดได้เชน่ กนั ถาม  จริงหรือไม่ กัญชาไม่เคยทาให้มีผู้เสียชีวิต แต่แอลกอฮอล์ทาให้มีผู้เสียชีวิต ปีละล้านคน ตอบ ไม่จรงิ เพราะเครื่องดื่มแอลกอฮอลท์ าให้เสียชีวิตได้ จากหลายสาเหตุ สว่ นกญั ชา จากงานวิจัยพบว่าท่ีรัฐโอเรกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี ค.ศ. 2015 - 2017 (พ.ศ. 2558 - 2560) มีผู้เสพกัญชาต้องถูกนาส่งโรงพยาบาล 250 กว่าราย ในจานวนนี้ 8 ราย ต้องนอนหอ้ งไอซียู และมี 1 รายเสยี ชีวติ เปน็ ผ้ชู าย อายุ 70 ปี ถาม  จริงหรือไม่ กญั ชาคมุ้ คา่ ราคาไม่แพง แต่แอลกอฮอล์ทาใหเ้ สยี ทรัพย์ ตอบ ไมจ่ รงิ เพราะกัญชาไม่มีความคุ้มค่า ในรัฐโคโลราโด สหรัฐอเมรกิ าได้ปลดล็อก กัญชาทางการแพทย์ และเปิดเสรีกัญชา ทุก ๆ 1 ดอลลาร์ ที่เก็บภาษีจากการ ค้าขายกัญชา ประชาชนต้องเสียค่าใช้จา่ ย ประมาณ 4.5 ดอลลาร์ เพือ่ ไปชว่ ยเหลือ หรอื ช่วยแก้ไขผลกระทบทเี่ กิดขึน้ จากกญั ชาทาให้ได้ไม่คมุ้ เสยี สว่ นแอลกอฮอล์ ส่วนแอลกอฮอล์ก็มีโทษจานวนมากเชน่ กนั รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวิต 255 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

253 ถาม  จริงหรือไม่ กัญชาไม่มีผลกระทบเมื่อเสพเกินขนาด แต่การด่ืมสุรามีผู้เสียชีวิต เพราะดม่ื เกนิ ขนาด ตอบ ไม่จริง เพราะการเสพกัญชามีผลกระทบต่อสุขภาพมากเช่นกัน ดังตัวอย่าง ประเทศฝร่ังเศสหลงั ปลดล็อกกญั ชาอัตราเด็ก และเยาวชน เสพกญั ชาแลว้ ต้อง มารับการรักษาที่โรงพยาบาลเพิม่ ข้นึ อย่างชดั เจน ถาม  จริงหรือไม่ กัญชากระต้นุ เศรษฐกจิ แตแ่ อลกอฮอลก์ ่อเหตุวิวาท ตอบ ไม่จรงิ เพราะท้งั กญั ชาและแอลกอฮอล์ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม และ ทะเลาะวิวาทได้ ถาม  จริงหรือไม่ กัญชาช่วยป้องกันรกั ษาและเสริมสร้างเซลล์ในมนษุ ย์ได้ ตอบ ไม่จริง เพราะไม่มีหลักฐาน และงานวิจัยท่ีบ่งบอกว่ามีผลดีต่อเซลล์มนุษย์ แต่หากเสพกญั ชาในระยะยาวจะพบโครงสร้างสมองมีการเปล่ียนแปลงไป เป็น การทาลายสมอง ถาม  จริงหรอื ไม่ กัญชามสี ารในการซอ่ มแซมร่างกายของมนุษย์ ตอบ ไม่จรงิ เพราะไม่มหี ลักฐานเพียงพอวา่ กัญชามีสารซ่อมแซมรา่ งกาย มนษุ ย์ แตม่ ีสารท่ีทาให้นอนหลับสบาย คลายเครยี ด เคลิบเคล้ิม 256 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

254 ถาม  จริงหรอื ไม่ กัญชาชว่ ยลดความดนั ในลูกตาของผ้ปู ว่ ยตอ้ หนิ ตอบ จริง เพราะต้อหินเป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมของขั้วประสาทตา ส่งผลให้เกิด การสูญเสียการมองเห็น เน่ืองจากมีความดันในตาสูง มีการศึกษา ความสามารถ ของสาร THC ร้อยละ 0.01-0.1 ในยาหยอดตา เพื่อช่วยลดความดันในตา และพบว่าขนาดร้อยละ 0.05 - 0.1 ของสาร THC สามารถช่วยลดความดันใน ตาของผูป้ ่วยต้อหินได้ แต่เปน็ การออกฤทธ์ใิ นระยะส้ัน 2 - 3 ชว่ั โมงเทา่ นั้น อย่างไรก็ตามพบวา่ ยานี้ก่อใหเ้ กิดผลอนั ไม่พึงประสงค์ในระหว่างใช้ หากยา ไมไ่ ด้มาตรฐานอาจทาให้ตาบอดได้ ถาม  จริงหรอื ไม่ กัญชาป้องกันและรักษาอาการสมองฝ่อ ตอบ ยังไม่มีคาตอบว่าจรงิ เน่ืองจาก ในปี ค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531) และจากผลการ วิจัยต่อเน่ืองจนถึงปัจจุบัน พบความเป็นไปได้ในการใช้สารกลุ่ม เอซิด แคนนาบินอยด์ (Acid Cannabinoids) และ เอ็นโดแคนนาบินอยด์ (Endocannabinoids) ในการ รักษาความผิดปกติทางสมอง เช่น โรคฮันติงตัน (Huntington Disease) โรคพาร์กินสัน (Parkinson Disease) โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer Disease) และโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือด (Cerebral Ischemia /Stroke) เป็นต้น ยงั ไมม่ กี ารสรปุ ที่ชดั เจน กล่าวโดยสรุป ความเช่ือเก่ียวกับกัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ได้แก่ ตาราสมุนไพร โบราณ กัญชาและกัญชงรักษาโรคมะเร็งได้ และกัญชาและกัญชงเป็นยารักษาชีวิตได้ ซ่ึงความเช่ือ บางอย่าง ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยรองรับ แต่ความเชื่อบางอย่างยังอยู่ในการศึกษาวิจัย จึงไม่ควร ปฏิบตั ิตามจนกวา่ จะมผี ลการวิจัยความเชื่อที่ไดศ้ กึ ษา ในหวั ข้อดังกล่าว รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนังสอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต 257 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

255 2. ความจรงิ เก่ียวกบั กญั ชาและกัญชงทางการแพทย์ การศึกษาวิจัยเกย่ี วกบั การใช้กัญชา และกญั ชงในการรกั ษาอาการ และโรคตา่ ง ๆ มดี ังนี้ 2.1 อาการปวดเรื้อรงั จากเสน้ ประสาท ยาจากกัญชาและกัญชงยังถือว่าเป็นยาใหม่ซ่ึงในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาการวิจัย ทางคลินิกส่วนมากมุ่งเน้นไปท่ีการวิจัยเก่ียวกับสารแคนนาบินอยด์ท่ีให้ผลดี สาหรับการระงับอาการ ปวดเรื้อรังจากโรคเส้นประสาท รวมถึงรูปแบบของยากระตุ้นความอยากอาหารในผู้ป่วยโรคมะเร็ง และการรักษาภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งจากโรคปลอกประสาทเส่ือม และเมื่อไม่นานมานี้ มีการค้นพบ สารแคนนาบิไดออล (CBD) ว่าเป็นสารแคนนาบินอยด์เดี่ยว ซ่ึงมีแนวโน้มจะมีฤทธ์ิบาบัด รักษาโรค ลมชักในเด็กได้ การทดลองทางคลินิกช่วยให้ได้รับข้อมูลเชิงลึกเก่ียวกับภาวะโรคท่ีเกี่ยวข้อง และ ปริมาณการให้ยา ขณะที่ข้อมูลสนับสนุนใหม่ที่ตีพิมพ์ออกมาเก่ียวกับสารเคมีในพืช การเพาะปลูก การวิเคราะห์ คุณภาพ และการบรหิ ารยา ช่วยเพม่ิ คุณค่าให้กับความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัย ของผลิตภัณฑ์ และหลักปฏิบตั ิในการสัง่ จ่ายยา ในที่นี้จะสรุปเน้ือหาในส่วนของภาวะโรคท่กี ัญชาและ กัญชงน่าจะมีประโยชน์ในการรักษาอาการปวดเรื้อรังอย่างรุนแรง ถือได้ว่าเป็นสาเหตุหลักที่ผู้ป่วยใช้ กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ อาการปวดมีอยู่หลายประเภท และสารแคนนาบินอยด์ไม่สามารถ รักษาอาการปวดได้ทุกประเภท จากการศึกษาในปัจจุบันแคนนาบินอยด์จะได้ผลดีต่ออาการปวดจาก เสน้ ประสาทเทา่ น้นั ซงึ่ เป็นอาการปวดท่ีเกิดจากการบาดเจ็บ หรอื โรคซ่งึ ส่งผลกระทบตอ่ เสน้ ประสาท การรับรู้ เม่ือเทียบกันแล้วการศึกษาท่ีวัดผลต่ออาการปวดรุนแรง ดังตัวอย่าง อาการปวดหลังการผ่าตัด มักพบว่าไม่มีประโยชน์ต่อการรักษา อย่างไรก็ตามกลไกเบื้องหลังความแตกต่างที่เกิดข้ึนน้ยี ังต้องการ การศึกษาวิจัยในเชิงลึกต่อไป อาการปวดเรื้อรังจากเส้นประสาทเป็นอาการที่พบได้บ่อย และยากต่อ การรักษา รวมไปถึงทางเลือกในการรักษาท่ีจากัด จึงทาให้ยาจากกัญชาและกัญชงจาเป็นต่อผู้ป่วย กลุ่มน้ี จากการศึกษาในผปู้ ่วยแสดงให้เห็นว่า ผปู้ ่วยสามารถทนต่ออาการข้างเคียงจากสารแคนนาบินอยด์ ได้ดีกว่าการให้ยาประเภทโอปิออยด์ที่มีฤทธิ์แก้ปวดรุนแรง แน่นอนว่ามีผู้ศึกษาการใช้กัญชาและกัญชง ทางการแพทย์ร่วมกับยาอื่น ๆ มากมาย ดังตัวอย่าง มอร์ฟีน ซ่ึงพบว่าสารแคนนาบินอยด์ และโอปิออยด์ ทางานร่วมกันได้ฤทธแ์ิ กป้ วดได้ดขี ้นึ 2.2 อาการคล่ืนไสอ้ าเจียนและเพิ่มความอยากอาหาร สารแคนนาบินอยด์ให้ผลที่ดีมากต่อการรักษาอาการคลื่นไส้ และอาเจียนซึ่งเป็น ผลมาจากการใช้เคมีบาบัด หรือรังสีบาบัดรักษาโรคมะเร็ง โรคตับอักเสบซี หรือการรักษาโรคเอดส์ ยา THC สังเคราะห์ในช่ือการค้า Marinol® มีการใช้ในหลายประเทศท่ัวโลกเพื่อเป็นยาแก้อาเจียน สาหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งท่ีอยู่ในระหว่างการให้เคมีบาบัด มีงานศึกษาวิจัยสนับสนุนข้อมูลว่าการให้ THC โดยตรงก่อน และหลังการทาเคมีบาบัดจะส่งผลดีมากกว่าการใช้ยาแก้อาเจียนแผนปัจจุบัน แบบเดิม (อย่างไรก็ตามการศึกษาเหล่าน้ีไม่ได้เปรียบเทียบกับการให้ยาแก้อาเจียนแผนปัจจุบันล่าสุด 258 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

256 ซ่ึงมีประสิทธิภาพมากกว่ายาแผนปัจจุบนั แบบเดิมมาก) สารแคนนาบินอยด์จะช่วยกระตุ้นความอยาก อาหารทมี่ ีไขมัน และนา้ ตาลสูง ตงั้ แต่ ค.ศ. 1980 (พ.ศ. 2523) มกี ารใช้ Marinol® เป็นยากระตนุ้ ความ อยากอาหารในผปู้ ว่ ยโรคเอดส์ ทน่ี า้ หนักลดลง สาหรบั ผปู้ ว่ ยทรี่ ู้สกึ เบ่ืออาหารการรบั ประทานอาหารที่ ให้พลังงานสูงอาจส่งผลให้น้าหนักตัวเพ่ิมขึ้น และเพ่ิมการดูดซึมสารอาหารได้ดีข้ึน มีการใช้ในภาวะ โรคผอมแหง้ (ภาวะผอมหนังหุ้มกระดูก) แม้ว่าจะมียาอ่ืน ๆ ให้เลอื กใช้เพื่อรักษาอาการคลื่นไส้อาเจียน แต่มักจะทาให้ความอยากอาหารลดลง แต่แคนนาบินอยด์ช่วยรักษาอาการเหล่าน้ีได้ทั้งหมด ทาให้ยา กญั ชาและยากญั ชงเปน็ อีกทางเลือกหนึ่ง เพอ่ื ช่วยในการเพิ่มคุณภาพชวี ติ แก่ผู้ป่วยได้ 2.3 โรคปลอกประสาทเสือ่ ม โรคปลอกประสาทเส่ือม (MS) เป็นโรคชนิดหน่ึงซ่ึงมีอาการปวดเร้ือรังร่วมด้วย จากการศึกษาฤทธ์ขิ องสารแคนนาบินอยด์ในระยะยาวต่อโรคนแ้ี สดงใหเ้ หน็ ว่าผู้ปว่ ยไม่มีการต้านฤทธิ์ การรกั ษาโรค และไมต่ ้องเพิ่มปริมาณยา เพอื่ ให้ผลการรักษาเท่าเดิม เมือ่ มกี ารใชย้ ามาเป็นระยะเวลา หน่ึง แม้ว่าหลักฐานทางการแพทย์ท่ีสนับสนุนการใช้กัญชาและกัญชงสาหรับโรค MS ยังมีข้อจากัด แต่การรักษาโรค MS ด้วยยาแผนปัจจุบันส่วนใหญ่ก็มีอยู่อย่างจากัดเช่นกัน ผู้ป่วยโรค MS มักมี ประสบการณ์รักษาด้วยทางเลือกอื่นร่วมดว้ ย รวมถึงการใชก้ ัญชาและกัญชงเพ่ือเพิ่มคุณภาพชีวิตของ ตนเอง การรักษาแบบมาตรฐานมักไม่สามารถบรรเทาอาการได้ตามต้องการ และอาจถูกจากัดด้วย อาการข้างเคียงของยา หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่มีอยู่ต่างสนับสนุนการใช้กัญชาและกัญชงทาง การแพทย์ในการรักษาอาการปวดท่ีเกี่ยวข้องกับโรคกลุ่มอาการเกี่ยวกับทางเดินปัสสาวะ อาการสั่น และภาวะกล้ามเน้ือหดเกร็ง นอกจากนั้นในผู้ป่วยหลายราย สารแคนนาบินอยด์ยังมีส่วนช่วยในการ นอนหลับ โดยทาให้สามารถนอนหลบั ได้ลกึ และนานยง่ิ ขึ้น 2.4 โรคลมชกั โรคลมชักโดยทั่วไปสามารถควบคมุ อาการได้ดว้ ยการใหย้ า อย่างไรกต็ ามมีผู้ป่วย โรคลมชักจานวนมากที่ไม่สามารถควบคุมอาการชักได้ดี ในช่วงต้นปี ค.ศ. 1979 (พ.ศ. 2522) มีผล การศึกษาจากห้องปฏิบัติการยนื ยันวา่ ฤทธ์ิต้านอาการชักของสารบริสทุ ธ์ิ CBD ในการศึกษาทางคลินิก ขนาดเล็ก และในสัตว์ทดลองพบว่าสาร CBD สามารถลดความถ่ี และความรุนแรงของอาการชักได้ และสาร CBD ยังไม่ก่อให้เกิดผลต่อจิตประสาทด้วยแล้ว แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของสาร CBD ในการพัฒนาเป็นยาใช้ในการรักษาโรคลมชักในมนุษย์ได้ อย่างไรก็ดีข้อมูลงานวิจัยยังมีไม่มากพอ ซึ่งทาให้ไม่สามารถหาข้อสรุปท่ีแน่นอนเกี่ยวกับศักยภาพของสารแคนนาบินอยด์ในการรักษาโรคลมชักได้ นอกจากนน้ั ข้อมูลดา้ นความปลอดภัย และการทนต่อยาแคนนาบินอยด์ในผู้ป่วยเด็กยังไม่เป็นท่ีแน่ชัด แม้ว่าสาร CBD จะมีประสิทธิภาพในการลดอาการชกั ในผูป้ ่วยโรคลมชัก แต่ก็ยังจาเป็นต้องมีการวจิ ยั ท่ีมีการควบคุมอย่างรัดกุมมากข้ึน เพ่ือทาความเข้าใจประโยชน์ทางคลินิกของผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ ได้อยา่ งสมบูรณ์ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอื่ ใชเ้ ป็นยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชีวติ 259 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

257 257 กล่าวโดยสรปุ ความจริงเกย่ี วกบั กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ จากการวจิ ยั เกย่ี วกับการ ใช้กัญชาแลกะลกา่ัญวโชดงยชส่วรยปุ ในคกวารมรจักรษงิ เากอ่ียาวกาบั รกญั แลชาะแโรลคะดกัญงนช้ี ง(ท1า) งอกาากราแรพปทวยด์ เจราื้อกรกังาจราวกจิ ยัเสเก้นีย่ ปวรกะับสกาาทร ใ(2ช)้กอัญากชาารแคลละ่นืกไัญสชอ้ างเชจ่วยี ยนในแกลาะรเพรัม่ิกคษวาาอมาอกยาารกอแาลหะาโรค(3ด)ังโนร้ี ค(1ป)ลอกากปารระปสาวทดเสรือ่้ มรังแจลาะกเ(ส4้)นโปรรคะลสมาชทกั (2) อาการ คล่นื ไส้อาเจียน และเพ่มิ ความอยากอาหาร (3) โรคปลอกประสาทเสื่อม และ (4) โรคลมชัก 22ใเรห่ือกกปไ้ งดัาาจทรรจ้ปใใ่ีุบร2ชชันะ้ผ้ผโม กยลลีกาชติติารรนภภใว์ณัณัชิจ้ผัยฑฑลแก์ก์ ติ ลัญญั ภะชชพัณาาัฒฑแแน์กลลาญัะะยกกาชัญัญจาาชชแกลงงกททะัญกาาชงงญั ากกแชาาลงรระทแแกาพพัญงททชกยยงา์ใ์ใรเนนพแื่ออพในนทชาา้ปยคคร์ใตตนะใใโอยหหนช้้ไไาดดนค์้ป้ปทตารรงะะกโโายยรชชแนนพ์์ ทย์ เรอื่ งท่ี เรื่องท่ี มากข้ึน หลังปจัาจกจหุบลันามยีกปารระวเทิจศัยมแีกลาระอพนัฒุญนาาตยใหาจ้ใชา้ผกลกติัญภชัณาฑแล์กะัญกชัญาแชลงะเกพัญื่อชใงชท้ปารงะกโายรชแพน์ทยา์งไดก้มาีงราแนพวทจิ ยั ์ มแลากะขรา้ึนยหงาลนังกจารกใหชล้ผาลยิตปภรัณะเฑท์กศัมญีกชาารแอลนะุญกาัญตชใงห้ใช้ผกลับิตผภู้ปณั ่วยฑบ์กาัญงโชราคแทล่ีเะหก็นัญวช่างผทลาิตงภกัณารฑแ์พกัญทยช์ไาดแ้มลีงะากนัญวจิชัยง อแลาจะจราะยมงปี ารนะกโายรชในช์ไ้ผดล้ ิตเชภ่นัณโฑรค์กมัญะชเารแง็ ลโะรคกสัญมชองงใเสชอ่ื้กมับผโู้ปรค่วเยบบาาหงวโราคนทโี่เรหค็นไตว่าเรผ้ือลริตังภเัณปน็ฑต์ก้นัญชาและกัญชง อาจจะมปี ระแโตย่ทชน้ังนไ์ ดี้ก้ าเชรใ่นช้กโรัญคชมาะแเรลง็ ะโกรัญคสชมงรอักงเษสา่ือโมรคโมรคะเบร็งาหแวลาะนโรโครคอไ่ืนตเๆรือ้ ทรี่ยังังเไปม็น่ไตด้นมีประกาศให้ใช้ จากกรมกาแรตแ่ทพั้งทนย้ีก์ าแรลใะชย้กังญมชีคาวแาลมะจกาัญเปช็งนรตัก้อษงาศโึกรคษมาะวเิจรัย็งถแึงลปะรโะรสคิอท่ืนธิผๆลขทอ่ียงั กไมัญ่ไดช้มาีปแลระกาัญศชใหงใ้ นช้ หจาลกอกดรทมดกลาอรงแพเพทื่อยต์ แรวลจะสยอังมบีความจปาลเอปด็นภตัย้องแศลึกะษปารวะิจสัยิทถธึงิผปลรใะนสสิทัตธวิผ์ทลดขลอองงกกัญ่อชนากแาลระศกึ ัญษาชวงิจในัย หในลมอนดุษทยด์เปล็นอลงาดเพับื่อตต่อไรปวจเนส่ืองบจคากวใานมปปัจลจอุบดันภขัย้อมแูลลหะลปักรฐะานสทิ าธงิผวลิชใานกสารัตทวี่ส์ทนดับลสอนงุนกว่อากนัญกาชราศแึกลษะกาัญวิจชัยง มในีปมรนะุษโยยช์เนป์ใ็นนลกาาดรับรตัก่อษไาปโรเคนมื่อะงเจรา็งกชในนิดปตัจ่าจงุบๆันขห้อรมือูลโรหคลอัก่ืนฐาๆนทยางั งมวไี ิชมา่เพกาียรงทพ่ีสอนแับตสส่นมุนควว่ารกไัญด้รชับาแกลาระศกึกัญษชาง มวิเีปครระาโะยหช์อนย์ใน่ากงลาระรเอักียษดาโดรคังนม้ันะเรผ็งู้ปช่วนยิดจตึงา่คงวรๆไดห้รรับือกโราครอรักืน่ ษๆาตยางั มมวีไิธมีม่เพาียตงรพฐาอนแทตาส่งกมาครวแรพไดทร้ ยบั ์ใกนาปรัจศจึกุบษันา วหิเาคกรเาละือหก์อใชยเ้่าฉงพลาะะเอผียลดิตภดณั ังนฑ้ัน์กญั ผชู้ปา่วแยลจะึงกคญัวรชไงดใ้รนับกกาารรรักักษษาาแตลาว้ มอวาิธจีมทาาตใรหฐ้ผาปู้นว่ทยาเงสกยี าโรอแกพาทสใยน์ในกาปรัจรจักุบษนั า ทหา่ีมกีปเรละือสกิทใชธิผ้เฉลพดา้วะยผวลธิ ิตีมภาตัณรฑฐ์กานัญไชดา้ และกัญชงในการรกั ษาแลว้ อาจทาให้ผปู้ ว่ ยเสยี โอกาสในการรกั ษา ทีม่ ปี ระสทิ ธิผกลด่าว้ ยโดวยิธีมสารตุปรฐกานรใไชด้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ เช่น โรคมะเกรล็ง่าโวรโคดสยมสอรงุปเสก่ือามรโใรชค้ผเลบิตาภหัณวาฑน์กัญแลชะาโแรลคะไกตัญเรช้ืองรทังาเงปก็นาตร้นแพจทายเป์ใน็ อตน้อางมคีกตาใหรศ้ไดึก้ปษราะวโิจยัยชถนึง์ เคชว่นามโปรลคอมดะภเรัย็ง แโรลคะปสมระอสงทิเสธ่ือิผมลอโยรค่างเลบะาเหอวียาดนซแึง่ ลพะ.โศร.ค2ไ5ต6เร2้ือยรงั ังมเีขปอ้ ็นมตลู ้นหลจักาฐเปาน็ ทตา้องงวมิชีกาากราศรึกไษมเ่าพวียจิ งัยพถอึง ผควู้ปา่วมยปจลึงอคดวภรไยั ดแ้รัลบะกปาระรสักิทษธาผิตลาอมยว่าิธงีมลาะตเอรฐียาดนซทึ่งาพงก.ศา.ร2แ5พ6ท2ยย์ในงั มปีขัจอ้ จมุบูลันหหลากั กฐเาลนือทกาใงชว้ชิ เาฉกพาาระไผมล่เพิตภียงัณพฑอ์ กผู้ญัป่วชยาจแลึงคะกวรัญไชดง้รใับนการรักษาแตลาว้มวอิธาีมจาทตารใหฐา้ผนู้ปทว่ ยางเสกียาโรอแกพาทสใยน์ใกนาปรัจรจักุบษันาไหดา้ กเลือกใช้ เฉพาะผลิตภัณฑ์ กัญชาและกัญชงในการรักษาแลว้ อาจทาใหผ้ ู้ป่วยเสียโอกาสในการรักษาได้ ถาม รบั ปรถะทาามนกัญชาเพื่อลดนา้ ตาลในผปู้ ่วยโรคเบาหวานได้จรงิ หรือไม่ รับปรตะทอาบนกัญชาเพ่ือลดน้าตาลในผูป้ ่วยโรคเบาหวานได้จริงหรือไม่ ไม่จรติง เอพบราะไม่มีผลการวิจัยที่ยืนยันมากพอ ดังน้ันผู้ป่วยโรคเบาหวานควร รไมับ่จปรริงะทเพานรายะาไแมล่มะีผอลยกู่ภารยวใติจก้ัยาทร่ียดืนูแยลันขมองาแกพทอยด์ ังน้ันผู้ป่วยโรคเบาหวานควร รบั ประทานยาและอยภู่ ายใต้การดแู ลของแพทย์ 260 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดำ�เนนิ ชีวิต เพอื่ ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

258 เร่อื งท่ี 3เร่ือขงอ้ ทแ่ี น3ะขนอ้ าแกน่อะนนต�ำ ัดกส่อินนใตจดัใชสผ้ินลใจติ ใภชณั ้ผลฑิต์กภัญัณชฑาแ์กลัญะชกาัญแชลงะทกาัญงชกงาทรแาพงกทายร์แพทย์ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย (Physician-Patient Relationship) เป็นพ้ืนฐาน ในการใหก้ ารยอมรับการรกั ษาพยาบาล แพทย์ควรมนั่ ใจวา่ มคี วามสมั พันธก์ ับผปู้ ว่ ยดเี พยี งพอก่อนการ ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง ผู้ป่วยควรได้รับการตรวจร่างกายจากแพทย์ผู้เช่ียวชาญ และบันทึกใน เวชระเบียนผู้ป่วย รวมถึงการประเมินผู้ป่วยว่ามีความเหมาะสมท่ีจะใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง หรือไม่ 2. การประเมินผู้ป่วย (Patient Evaluation) ควรบันทึกข้อมูลการตรวจทางการแพทย์ และ รวบรวมข้อมลู ประวัติทเ่ี กีย่ วข้องกับอาการทางคลนิ ิกของผู้ป่วย 3. การแจง้ ใหท้ ราบและตดั สนิ ใจร่วมกัน (Informed and Shared Decision Making) โดย ใหข้ ้อมูลรายละเอยี ดของการรักษาที่ได้รับอยใู่ นปัจจุบันด้านประสิทธิผล ผลข้างเคียง และคณุ ภาพชีวิต การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงกับผู้ป่วยควรเป็นการตัดสินใจร่วมกันระหว่างแพทย์ผู้รักษา และ ผู้ป่วย แพทย์ควรอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความเสี่ยง และประโยชน์ของผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง ความหลากหลาย และมาตรฐานการเตรียมผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง อาจทาให้ผลท่ีเกิดกับผู้ป่วยมี ความแตกต่างกัน กรณีท่ีผู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง แพทย์ควรแจ้งให้ญาติ หรือผู้ดูแล ทราบถึงความเส่ียง และผลท่ีคาดว่าจะได้รับจากการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง ซึ่งส่งผลต่อการ วางแผนการรักษา และการยนิ ยอมรกั ษา 4. ข้อตกลงการรักษาร่วมกัน (Treatment Agreement) วัตถุประสงค์ และแผนการรักษา ควรแจ้งให้ผู้ป่วยทราบตั้งแต่แรก และทบทวนอย่างสม่าเสมอ รวมถึงความเหมาะสมในการเลือกวิธี รักษาของแต่ละบคุ คล 5. เง่ือนไขท่ีเหมาะสม (Qualifying Condition) ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานทางวิชาการ ด้านประสิทธิผลของการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์เพียงพอ การตัดสินใจสั่งใช้ ขึ้นอยู่กับความเช่ียวชาญ และประสบการณ์ของแพทย์ในประเด็นข้อบ่งใช้ ความเหมาะสม และความ ปลอดภัย ของผ้ปู ่วยแตล่ ะคน 6. การติดตามอย่างต่อเนื่องและปรับแผนการรักษา (Ongoing Monitoring and Adapting The Treatment Plan) แพทยค์ วรประเมนิ การตอบสนองของการใช้ผลติ ภณั ฑ์กัญชาและ กัญชงกับผู้ป่วยอย่างสม่าเสมอ ทั้งสุขภาพในภาพรวม และผลลัพธ์เฉพาะด้าน รวมถึงผลข้างเคียง ทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ 7. การให้คาปรึกษาและการส่งต่อ (Consultation and Referral) ผู้ป่วยท่ีมีประวัติการ ใช้สารเสพติด และปัญหาโรคทางจิต จาเป็นต้องได้รับการประเมิน และให้การรักษาเป็นกรณีพิเศษ แพทยผ์ ้รู ักษาควรขอคาปรึกษา หรอื ส่งตอ่ ผปู้ ่วยไปพบผู้เชย่ี วชาญเฉพาะด้าน รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ติ 261 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

225599 จจะะชช่่ววยยสสนนัับบ88สส..นนุุนนกกกกาาาารรรรบบตตัันนััดดททสสึึกกิินนเเใใววจจชชใใรรนนะะกกเเาาบบรรีียยแแนนนนะะ((นนMMาาeeกกddาาiiccรรaaใใllชช้้RRผผeeลลccิิตตooภภrrddััณณss))ฑฑ์์กกกกััาาญญรรชชบบาาัันนแแททลลึึกกะะกกขขัั้้ญญออมมชชููลลงงผผเเูู้้ปปพพ่่ื่ื่ออววยยววััตตออถถยยุุปป่่าางงรรเเะะหหสสมมงงาาคคะะ์์ททสสาามมงง กกคคววาารรรรลลแแงงพพววททนนัั ยยทท์์ ่ีี่กกแแาาลลรระะบบลล8888ัันนาา....1122ยยททมมึึกกผผปปือือใในนชชลลรระะเเื่ือ่อกกววววกกาาชชััตตาารรรริผผิกกรระะู้ปู้ปัับัับกกเเบบ่วว่ษษไไววยยีียยาา้้ใในนททนนกกคคกก่่ีีไไาาดดาาววรรรร้้รรรรททบบัับบมมบบัันนีีขขมมทททท้้ออาาววึึกกมมกกนนแแูู่่ลลออปปตตขขนนจััจ่ลล่ออกกจจะะงงาายััยคคผผรรเเรรูู้ปป้สสปป้้ัังงียย่่ี่่ววรรยยงงโโะะดดตตคคเเยย่า่ามมรรงงขขบบิินนออ้้ ๆๆถถผผมม้้ววูู้้ปปลููลนน่่ววททสสยย่ี่คีคมมววกกบบรราารูรูปปรรณณรรววาา์์ ิินนกกซซิิฏฏจจึ่ึ่งงออฉฉใในนาาััยยจจเเววมมแแชชีีผผลลรรลละะะะเเททใใบบหหาาียยี้้กกงงนนกกาาฎฎรรมมรรหหีดีดัักกมมังังษษนนาายยาาี้ี้ แแผผรรววลลลลมมะะขขถถไไ้า้ามมึงงึงงผผเเนน่่ คคลลาายีียผผตตงงลลรรววแแตติิ จจลลภภททะะััณณ88888888าาผผ........ฑฑ5566งง4433ลลหห์์กกกกออ้้ญััญาากกสสผผกกงงรรลลาาาาาาชชปปรรรรเเกกรราานนัักกฏฏใใาาแแมมหหษษาาบบิิรรลลีีผผ้้คคกกปปาาตตััะะาาาาททลลรริกกิกกแแรระะออ่ี่ีปปาาญัญัลลนนเเาารรมมรรงงะะชชจจิินนนนะะนนงงพพผผโโาาไไาาบบปปยยมมปูู้้ปผผไไใใใใชช่่ววูู้้ปปดดหหนนยยนน่่ววห้ห้ ผ้ผ้ขขออยย์์ททลล้อูอู้้้ออยยาาััืืน่น่บบตตรร่า่ากกววงงกกซซหหตตมมลล้้ออ่่ออลลถถงงนนเเาาึึงงรรนนยยกกัักกขขอืื่อ่ าาษษอองงรราางงททแแแแาาลลรรคคพพววะะววมมกกททาาถถาายยมมรรึึงง์์เเกกคคขข((าาาาPP้้าากกแแใใhhัับบจจนนyyกกตตะะssัับบดิดิiiนนccตตคคาาiiaaาาววใใnnนนมมาาผผมมกกCCลลเเาาooสสททรรnn่ีี่ยยดด่เีีเ่ ffงงกกููแแllิิiiดดลลปปccกกttคครรssัับบะะววผผooโโาายยูู้้ปปมมffชชปปว่ว่IInnนนยยลลtt์์ททออee่่ีีไไrrดดดดeeภภ้้รรssัััับบยยtt)) ((รแมกแขมรกกขก88ววพพ้้ออััาญาญีี ))88มมรรมมททกกชชรรถถููลลขขยยาางงัักกงึึงปป้ออ้รรผ์ผ์ กกษษ((บบรรสูู้้ส66าาไไาาันนัะะงั่ัง่))ดดรรรรใใววททปป้้แแกก่่ววชชััตตกกึกกึรรกกมมาาผผ้้ ิิททะะลลเเรร่่กกลลวว((เเ่ี่ีเเตต่่าา11ัันนชชมมติิตกกววิิดด))รรภภ่ีี่ินินยยโโ((ตตะะคควว55ผผณัณัดดเเาาววขขบบ))ป้้ปููยยมมฑฑาา้้ออเเีียยว่่วสสมมอองงก์ก์งงนนยยรร่่ืืออสสยยกกญัญั ววุุปปนนัมมั่่าาัับบจจ่่าาชชงงพพไไะะเเออาาขขตตขขหหชชันนัาาแแทท่่้้ออออมมว่่วกกธธลลเเ่่ีีเเแแยยาา์์าานนหหะะรรสสะะนนรรกก่ื่ืออมมะะสสนนขขะะญัญังงหหาามมัับบออนนแแะะชชววททงงสสาาลลสสา่่างงผผนนจจ่่ีี กกะะงงมมูู้้ปปะะนนุุตตแแ่่ปปออใใ่่ววใใ้้ออกกพพนนรรชชนนยยาางงััททบบ้ผผ้ตตกกรรไไยย((แแมมลลััตตดดาา33์ก์กผผิติตมม่่ดัดัรรสส))บัับนนภภผีผีตตสสิินนกกผผลลััดดกกััณณนนิิ าาใใ้ปูู้ปปปสสาาใใจจรรฑฑจจรร่่ววิินนรรแแใใใใกก์์รรยยะะชชจจใในนัักกััญญจจโโ้้ผผ้้งงกกยยเเษษขขใใปปชชลลาาชชหหออาาาารริิ็็นนตตนน้้ททงงแแแแพพภภ((ท์ท์แแรรนนลล77นนื้ื้ััณณพพาาับบั))ะะะะฐฐบบททซซกกนนกกฑฑาา้ออ้ััญญาายยาานนแแ์์กกรรกกนน์์ใใชชลลใใััญญใในนาาททนนหหงงะะรรกกชชหหั้งง้ักก้้ตตคคใใาาททชชาาาารรััดดาารรรร้ผผ้แแาาอืือปปสสสสยยงงลลไไลลรริินน่ั่ังงตตมมออติติึึกกะะใใใใรร่่มมภภชชษษจจกก((งงรร22้้ผผััณณรรััาาญญบับั))แแ่่ววลลฑฑแแชชกกลลมมกกิิตตลล์์กกงงาาะะกกาาภภะะรรญญััททรรททัันนััณณกกรรปปาาาาชชักักาาฑฑ((งงรรงงาา44รรษษออะะกกแแ์์กกสส))าา้อ้อเเลลาาััญญ่่มมงงขขพพมมะะรรตตนิิน้้ชชออยยกกแแ่่ออผผตตาาาาญััญพพแแูู้้ปปกกบบแแชชททลลลล่่ววลลาางงะะยยยยลลงงะะ์์ ใใใใเเรรนนนนอ่่ือืปปกกงงาารรรรททะะรรเเ่ีี่ดดกััก44เน็น็ษษรททาา่อื 11กกแแผผเ่เี่ี งกกนน..ู้ปปู้าาท่ียยี่ะะรรวว่่ ววววนนี่ยยววาา4ขขาาาางง้้แแออใใเเงงหหปปผผงงกแแ้้ใใกก้้นนาาชชาผผัับบหหกกผ้ผ้รนนมมออาาลลวาารราากกิิตตายยรรกกภภาากกัังกกาารรััณณแษษรราารรรรขขผฑฑาาัักกรรออคคน์์กกัักกษษงงววััญญษษกผผรราาาาปูปู้้ชชมมาดดาา่่ววรคีคีกก้วว้แแยยรววาาลลยยททรราากั ะะเเมมผผ่รร่ีีษรรกกชชัับบลลิ่ิ่มมาััญญดดัักกิติตดแแชชเเาาจจภภลลว้งงรรนนใใะะรรณััณยนนกกักักผใใกกฑฑาาษษนนาาลรราาปป์์กกรรหหติดดททรรัญัญยยวว้้ภะะดดุุดดยยเเชชลลณั ใใดดผผชชออาา็็นนลลฑงง้้แแแแตตรริิตตก์ลลพพัักกอ่อ่ภภัญษษะะไไททณััณปปกกาายยชฑฑนนรรญญัั์์คคะะา์์กก้ีี้ววยยแชชัญญัรระะหหลงงชชสสาาะาาั้ั้นนรรกแแืออื เเลลัญพพรระะว่ว่ ืออ่ื่ชกกมมปปัญัญงกกรรัับบชชะะเเผผงงมมู้ปู้ปเเิินนชชว่ว่ ปป่น่นยยรรใใะะหหหหสส้ชช้ยยิิททัดดัุดดุ ธธเเเเจจมมิิผผนนือ่ือ่ลล เเเเออฉฉออาาพพกกกกสสาาาาะะาารรรรรรคคาาจจลลยยาา่นื่ืนกกดดไไแแ22สสัังงพพ..ตต้้ หหททัววั ยยรรกกออืืออ์์ผผาายยออรรูู้้เเ่า่าชชาาบบงง่่ีียยเเรรจจกกววิิหหยียีชชาานนาารราารรรรญญลลักักจจดดเเััฉฉษษดดลลพพกกาางงแแาาาาเเะะบบรรปปททโโบบน็น็ ดดาาปปตตงงยยรรน้น้รรแแะะัับบพพออคครราาททบบััออกกงงปปยยาากก์์เเรรรราาววะะปปรรชชคคใใววปปชชออดด้้ผผฏฏงงดดลลิิบบขขีี ิิตตััตต้้ึึนนภภิิททใใัันนณณ่ั่ัววกกฑฑไไรรปป์์กกณณััญญ((ทีที GGชช่ี่ีคคeeาาน้้นแแnnพพลลeeบบะะrraaกกสสllััญญาาPPเเชชหหrraaงงตตccุุ รรttแแiiัักกttลลiiษษooะะาาสสnnออาาeeาามมrrกกาา;;าารรรรGGถถขขPPรรออกััก))งงษษผผคคาาูู้้ปปววไไรร่่ววดดมมยย้้ ีี 262 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ เพือ่ ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

226600 คกคลหคคลหกหหผผปปใใโโดดนนงงลลัญญัววววาารร้ออ้ ยยนนกกรระะาารรติติงงชชกกปปืืออาาโโมมมมาาภภาายยรราามมรรฏฏีีเเคคแแณณััชชรรสสรร่่ววยยบบิิววลลจจัักกนนมมี่ี่ยยฑฑินินาาะะัตตัาา่่ษษ์์กกงง์ก์กมมยยกกกิกิยยาาัับบญัญัออชชััญญาา((ยยกก5566443344ผผรรมมััผผดดาา........ลลชชชช))ูู้้ปปลลเเเเ่า่าาากกงงปปแแจจกก่่ววใใใใกกมมววขขแแใใาาลลหหนนหห็น็นนนยยาาโโ้้ีีาาาากกลลรรดดะะกก้ผผ้ใใ้้รรกกคคกกงงรรททะะใใหหยยเเาาััู้ปปู้บบาาะะัับบาานนกก((คคบบสสยย้้ชช66รรบบแแ่ว่วตตตตญััญีียยททรรททสสัั))ดด66ยยนนววิิดดิิดดงงุปปุชชววปปััเเดดใใลลนนททะะตตจจตตหหปปนนงงลลดดงงกกกกนนนนี่่ีาาออาาททค้้คโโรรนนออาาาาาามมมมาาดดาาาาะะาาหหงง((าารรรรจจผผ22งงยยแแรรเเมมจจโโวว์ห์หททเเดดกก))ูู้้ดดัักกปปผผนนาาััดดกกยยาาบบาา็็นนกกยยษษงงเเูู้้่่ะะววกกิิดดิินนกกชชรรแแาาททกกนนาายยาาขขมมแแยยไไยี่่ียผผรราารรววรรววดดาาึ้ึ้นนพพีขีขออบบววนนรระะคคนนผผ่่าา้้แแ้้ออชชมมททททรรยยกกววแแู้้ปูปไไททกกสสาาิิหหะะบบาายยมมาาลล่ว่วโโุุ่่กกญญงงรรสสาามม์์ททดด่่((คคะะยยสสรรสสรร11ั้ั้นนเเยยววเเววเเสสัักกกกยััยจจััปป))ปปมมนนไไรร่่ีียยษษววััาาดดเเดดดดวว้้าาอื่ื่อพพททขขรร่าา่งงกกาาหหาา้้รราาใใััผผอื่อ่ืตตุุบบกกดดาาชชงงบบััหหเเมมปปูู้ป้ปรรสสชชรรว้้วขขเเผ้ผ้ททาา์์ปปววโโรรััยย่่ปปนน่ว่ว่่ีียยลลโโยยดดรรจจะะ้้าายยผผดดดดาาติติขขาายยกกเเออหหลลออยยาานนมมบบภภออแแาา่่ืืนนมมิิตตหหาาแแิินนพพงงพพณณััขขรรจจภภาา์์พพกกบบปปๆๆ้้ออททาา22เเยยฑฑััณณาาพพททรรมมหหรรยยกกรรตตกก์์สสิิหหะะิมมิ่่ยยฑฑููลล์์นนเเรราาััััญญาาปปววสสาา์์ขขเเ์กก์ัักกรระะมมชชกกหหรริิททดดชชนนเเััญญษษคคยยปป่ีี่ยยรราารรธธาาาาแแาาาาชชววิ่ิ่หหมมววืืฏฏออิิผผแแดดลลาากกาารร์์ลลเเลลรริิบบแแยยะะแแภภมมแแััับบักกววใใะะลลาาััตตททลลนนลลจจสสมมษษผผกกดดะะิิททะะะะาากกาาััชชททลลััญญคคาาว้ว้ ั่่ัววททเเกกงงาากกิิตตยย้ั้ัปปงงววไไชชาารรแแััญญุุกกกกรรปปาาตตภภน็น็รรนนงงลลเเมมผผาาชชนนดดััณณััททกกโโกกะะ((รรถถูู้้เเงงดด33เเืืษษออาาชชััหหกกบบฑฑออีี่่ขขยย))งงนนแแาาี่่ียยาายยงงออเเ์์กกกกเเมมผผนนคครรววฉฉุุดดงงรรััญญาาีีกกูู้้ปปะะหหชชรรกกพพววเเรรรรนนชชมมวว่่่่ืืออาาาายยมมแแาาะะยยาาาาื่่ืออรรญญุุงงดดะะถถพพบบใใจจแแกกจจดดึึใใงงหหแแททวว่่าาลลชชััาา((กกกก้้ผผาา้ใ้ในน55ยยยยรระะ้้ชชาารรนนนนแแ))กก์์ยยรรกกรร้้กกผผกกกกััพพกกาาาาตตใใััญญลลลลาาาารรหหษษรรททเเิิตตรรรรชชเเจจปป้้ววผผาามมยยรรรรภภััดดงงจจไไูู้้ปป็็นนัักกัั่ืื่์์กกคคออททมมัักกณณทท่่ตตววษษษษววใใ่ี่ีาาใใ่่ไไาาฑฑยย้้ชชนนชชดดรรรราาาางง้้์์้้้้ ((เเบบ(อเเอ(CCSหหSรรยยรรcchhื่ออ่ืตตรรา่า่ hhooผผุุงงเเงงiททiลลllลลททzziiาาnnooะะททีี่่ ออเเeepp55ห่หี่ีออาาsshhเยยียยีกกรttrreeุุดดดดกกเ1เ1าา่ือeeมมrr))รร..กกnnาางaa่ืื่ออ่อ่อiiทรรssaaพพ111111กก11นนeeเเ))่ี........ิิจจาารร44เเ3322115IรรIแแรราามิ่ม่ิnnซซรริิ่่มมลลใใhhณณปปปป11ปป11ออกกัักกกะะชชii....าาbbปปรรรราาอรรอาา2222าผผ้้กกะะะะรรiiแแรร....าาะะรtt2211ลลววววสสาาะละลooกกเววัตัตตััตรร่งั่งัรววตติิ้วว้rrาาััตตใใสส))กิกิเิิเกกโโััตตม่ิววรรภภชชจจรริิาาาา่าา่เเาาิิททใ็บ็บ้้คคณัณัคคจจจจรรรรชดดาาหหปปเเาา็็รรััญญบบังังจจ้ผงงฑฑเเััลลกก่วว่นนปปจจ็บบ็ปปปปลยยออษษ์ก์ก้ีี้ิิตตนน็็ปปััจจ่่ใใิตววดดาาญญััจจนนตตว่่วจจเเยยททภาาลล้้ออยยปปุุบบชช่่ีีททไไกกัณืออืใใงงััจจัันนดดนนาาใใกกดดาาจจชช้้ททรรฑแแออาาหหงงบบุุัั้ผ้ผบบีี่่จจดดรรลลก์จจัวัวันนัลลมมะะไไตตีีะะใใิิญัตตตติิดดใใจจาาโโกกชชภภ้้รรกกดดชญญััโโ้้ััผผบบแแณัณั่่ยยออรราลลยยเเลลคคนนชชฑฑแฉฉิิตตาาตตแแะะ์์กกงงพพลรรภภบบััลลใใโโััญญาาััะกกััณณนน้้รรววะะชชกแแษษไไคคททฑฑาาลลมมัญาาททแแ์์กกาาะะโโ่่เเลลรปปรชััโโงงญญาารรคะะคกก็็นนงงงชชคคกกพพใาาจจผผาาไไััญญนาารริิตตลลตตแแรรชชแแทลลเเ์์กกงง((พพววาะะรรกกิินนววงชชกกททัับบสสมมกััญญผผยยัันนถถาโโู้้ปูปชช์์ึึดดงงร่ว่วยยงงรรแยยยยมมาาะะพรรเเาายยผผฉฉัักกใใทะะูู้้สสชชษษพพเเังัง่่ย้้ใใววาาใใาานน์ลลชชโโะะกกรราา้ค้คโโาาคคททววรรรรรรสส่ี่ีรรรรซซคคััมมกกัักกัักกจจษษออษษปปิิงงตตาาาารรเเเเสสะะหหแแภภวว่ืื่ออลลรรััตตททืืมมออะะิิ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เป็นยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 263 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

261 1.5 พฤติกรรมเสีย่ งท่ีสัมพนั ธ์กับการตดิ สารเสพตดิ ผ้ทู ่เี คยใช้ หรือใช้ผลิตภณั ฑ์กัญชา และกัญชง ในปจั จุบนั อาจไม่เปน็ ขอ้ ห้ามแตค่ วรระมัดระวงั และจัดการความเสยี่ งของการเสพติด 1.5.1 การตดิ นิโคตนิ ในบหุ ร่ี 1.5.2 การติดแอลกอฮอล์ 1.5.3 การใช้ยาท่ผี ดิ กฎหมายมาก่อน 1.6 ประวัติด้านสุขภาพของครอบครัว รวมสุขภาพจิต โดยเฉพาะโรคจิตเภท (Schizophrenia) 1.7 ประวัติทางสังคม (การสนับสนุนจากสังคม และครอบครัวในการใช้ผลิตภัณฑ์ กญั ชาและกัญชงในการรกั ษาโรคของผูป้ ว่ ย) 1.8 ตรวจรา่ งกายตามความเหมาะสม 1.9 ตรวจเพ่มิ เตมิ อืน่ ๆ ตามความจาเปน็ 1.10 ทบทวนการใช้ยา 1.11 ยาบางชนดิ ที่ผปู้ ่วยใช้อาจมีปฏกิ ิริยา กับยากัญชาและกัญชง 1.12 ความเสีย่ งของผลข้างเคยี งต่าง ๆ จากการใชย้ ากญั ชาและกัญชง หมายเหตุ ข้อ 1.4 , 1.5 และ 1.6 อาจพิจารณาใช้ตารับยากัญชาและกัญชง แบบไม่ออกฤทธต์ิ อ่ จติ ประสาท (Non-Psychoactive Cannabis Preparation) 2. ขนาดยาและการบริหารยา 2.1 ขนาดยาท่ใี ช้ในผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงแต่ละชนดิ มีความไม่แนน่ อนขึ้นอยู่กับ ลักษณะของผู้ป่วยแต่ละคน ปรับตามแต่ละผลิตภัณฑ์ โดยเร่ิมต้นขนาดต่า และปรับเพิ่มขนาดช้า ๆ จน ได้ขนาดยาที่เหมาะสมให้ผลการรักษาสูงสุด และเกิดผลข้างเคียงต่าสุด ขนาดยาในระดับต่ามีโอกาส เกิดผลข้างเคยี งน้อย 2.2 ผู้ที่เร่ิมต้นรักษา และได้รับผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงเป็นคร้ังแรกควรเร่ิมต้นท่ี ขนาดต่ามาก ๆ หากเกิดผลขา้ งเคยี ง ควรปฏิบตั ิดงั นี้ 2.2.1 ปรับลดขนาดยา เมื่อพบอาการ 1) มึนเวียนศีรษะ (Dizziness) 2) เสียความสมดุล (Loss Of Co-Ordination) 3) หัวใจเต้นช้า (Bradycardia) 4) ความดนั โลหติ ผดิ ปกติ (Abnormal Pressure) 2.2.2 หยดุ ใช้ทนั ที เม่อื พบอาการ 1) สบั สน (Disorientation) 2) กระวนกระวาย (Agitation) 264 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพอ่ื ใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

262 3) วติ กกังวล (Anxiety) 4) ประสาทหลอน (Hallucination) และโรคจิต (Psychosis) 2.3 การให้สารสกัดจากกัญชาและกัญชงในครั้งแรกควรใช้เวลาก่อนนอน และมี ผ้ดู ูแลอยา่ งใกล้ชิด เน่ืองจากอาจเกิดผลขา้ งเคียงได้ 2.4 เน่ืองจากยังไม่มีข้อมูลการใช้สารสกัดจากกัญชาและกัญชงในรูปน้ามัน หาก เทียบเคยี งกบั การใช้ 2.4.1 สารสกัดจากกัญชาและกัญชงที่มี แคนนาบิไดออล (Cannabidiol หรือ CBD) สูง ข้อมูลของการวิจัยคลินิกของยาเอพิดิโอเล็กซ์ (Epidiolex หรือ CBD ในลักษณะน้ามัน) ควรให้ใช้ CBD ขนาด 5-20 มิลลิกรัม ต่อ กิโลกรัม ซ่ึงเป็นขนาดยาสาหรับเด็ก ก่อนเริ่มการรักษาควร ตรวจการทางานของตับ (Liver Function Test) เป็นข้อมูลเบื้องต้น ภายหลังเร่ิมต้นให้การรักษา 2 สปั ดาห์ และทุก 2 สัปดาห์ ภายหลงั เพิ่มปริมาณท่ีใช้ในแต่ละคร้ัง เน่อื งจาก CBD จะเพ่ิมระดับของยา หลายชนิด รวมถึงยากันชัก เมื่อใช้ร่วมกับ CBD ซ่ึงพบอุบัติการณ์ของตับอักเสบสูงขึ้น ดังน้ันเมื่อเริ่ม คมุ อาการชักของผู้ปว่ ยไดแ้ ลว้ ควรลดขนาดยาอนื่ ๆ ท่ใี ช้ลง 2.4.2 สารสกัดกัญชาและกัญชงท่ีข้ึนทะเบียน ยาซาทิเวกซ์ (Sativex) และยา นาบิซิมอล (Nabiximol) ในรูปสเปรย์ ซ่ึงมีสัดส่วนโดยประมาณของ THC : CBD = 1 : 1 แนะนาให้ใช้ 1 สเปรย์ (THC 2.7 mg และ CBD 2.5 mg) ต่อวัน และเพ่ิมปริมาณการใช้ได้สูงสุด 12 สเปรย์ต่อวัน (THC 32.4 mg และ CBD 30 mg) 2.5 แพทย์ผู้ส่ังใช้สารสกัดจากกัญชาและกัญชงต้องเฝ้าระวัง และติดตามความ ปลอดภัยของการใช้สารสกัดจากกัญชาและกัญชง และเก็บรวบรวมข้อมูลของขนาดยาท่ีใช้โดยเฉพาะ เม่ือใช้ในผ้สู งู อายุ และผ้ทู ่ีมอี ายนุ ้อย กลา่ วโดยสรุป การเร่มิ ใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงกับผู้ปว่ ยในทางการแพทย์ ตอ้ งคานึงถึง ข้อปฏิบัติ 2 ประการ ได้แก่ (1) การซักประวัติอาการป่วยในปัจจุบัน ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ประวัติเจ็บป่วยทางจิต และโรคทางจิตเวช และอาการทางจิตจากการได้รับยารักษาโรคพาร์กินสัน ยารักษาโรคสมองเสื่อม และพฤติกรรมเส่ียงที่สัมพันธ์กับการติดสารเสพติด และ (2) การกาหนด ขนาดยา และการบริหารยา ไม่มีขนาดยาเริ่มต้นที่แน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงแต่ละชนิด ขนาดยาท่เี หมาะสมขึ้น กบั ลกั ษณะของผู้ป่วยแต่ละคน โดยเร่มิ ต้นขนาดต่า และปรับเพิ่มขนาดช้า ๆ จน ได้ขนาดยาท่ีเหมาะสม ส่งผลต่อการรักษาสูงสุด และเกิดผลข้างเคียงต่าสุด ขนาดยาในระดับต่ามี โอกาสเกิดผลขา้ งเคยี งนอ้ ย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ 265 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

226633 อAหมสอAมหสเเไวปใใวปไรรนนดดิิตตน่ืนื่ตตcีcีรรททัจัจอ่่อืื้้แแนนttืออืกกรรจจาาiiๆๆกกงง้าา้ีีvvววสสกกัยยัรรนนทท่่eeััยยตตกกเััเงงหห((สสมมเเ1วว1ี่ี่รรเคครรMMจจ่ยีีย่66รลลแแ))วีวีืออืลลรรงงอื่าาooมมมมผผสสออิิญญขขงงงoo่ไ่ไาาูู้้ททาา2342341ก1กขขดดออแแดดพพทกกddรร........ี่่ีมมลลงงผผกก้อ้อ้้ ัันน่่ททออ่ีโโีีปป่่าานน่่ออDDหห6รรผผหผผหผผนนธธีเ่เี่ววรรททปปนนคคiiุ์ททุ์า้้าู้ทู้ททู้้ทููู้้ททลลssโโะะ่จี่ีจ็นห็นหแแกกooดดมมี่่ีไไี่มี่่ีมี่ม่มีมี่มีีกกขววะะมมลลตตลลาาrrยยอีีอปีปีปีปีััเเตตใใ้อddตตลลหห่่ไไออะะัววัชชสสาาิิรรแแรรดดeeง้ั้ังหี่ี่ททยยดดนนกกะะรระะ้ผ้ผพพคค้้คค((rrงงาาเเวว้าุุปปาา44ววดด))รร้้ลลลลผผุุมมกกลลัตตัรรมตัตั))หหรรืืออลลกกาาิติตรระะิิแแททขขิิเเภภใสสรรรรดดิิตตปปนุนุาาลลพพภภช้้ออาาอือื์์ตตใใเเหหภภ็น็นแแาารรผ้้ผชชนนหหณัณัผ้โโรรยยวััวรรััณณโโกกรรลล้้ผผิิด้้ดีีมมาาลรรงงใใคคฑฑิิมมตต((มมลลจจฑฑคคีีคคติSSววหหแแภภีีนนิิตตใใจจท์ท์รร์์ททooติิตภ((ลลรรชชัณัณ้้ภภติติรราา33่ี่ีllมี่่มีไไกกืืออะะ้้ผผณัvvหหภภ))ดดมมััณณฑฑกกสสมมีีสสeeลล์์้้จจนนาาผผท์ท์งังัฑตตฑฑีปีปสสnnาาิิตตกกาาู้ทู้ทััววกก่ีี่ไไรรตตจััจรรtt์์กกกกท์ภภ่่ออลลดด่ีเเ่ีตต))ีีททจจปปรรััญญสสนนััณณ้้จจีม่ััTTววทที่ี่ววีีทท((ััยยน็็นาาาาAAชชนนีสาาใี่่ใีฑฑHHหหเเี่ี่ใใรรกกโโสสnnชชาางง้้หหออรราสสรรสส์์ททCCแแแแยี่่ยีใ้ใ้xxคค้้อืยือยรนนกกาานน่ีี่มมiiผผลลงงeeจจรรมมััดดมมกกขขแแีีนนสสะะTรรสสttิตติอีอีกกบบออาาyyลลกกววาาจจกกHาารรััญญงงุุตตหหรรมมััญญะะััดดะะDDกกสสโโCรรตตรรถถชชกกรราาชชiiกกTTCCssือือคค้ั้ัึึงงาางงััญญรรงงดัดัรรooHHแคคออพพแแขขหหBBววชชrrCCลรราาลลใใออบบลลddDDมมาานนกกรระะะงงแแออeeสสททแแภภาาสสโโกกลลดดrrเเาารรลล้ั้ังงรรC์์ตต))ปปััญญะะเเเเคครรสสขขะะลลนนรรกกBแแ็็นนออชชออตตีีมมอืือื่่ืออััญญDCCคคาางงงงรรสสดดีีคคงงรรโโBBชชีนีนวว่ว่วจจรรหหรร((มมเDDงังัยย22นนคครราาปนนวัวัณณเเ))ซซภภกกาาออใใจจเเปปน็ จจแ์แ์บบ่ึงงึ่ผผปปมมาา์์รรออสรรสสปปูู้้รรททิิีี็็รรนนนนิิญญาามมะะตตาา่วรร่ี่ีมมออสสจจพพยยกกณณปปรรนีีออ่่เเยยววััีีนนกกททงงออรราา์์แแนนดดปาาิิดดววธธี่่ีใใกกบบปป์์นนปปหหรนนจจ์ุุ์ททาา((รรกกรระาา้้CCนนรร่ี่ีไไปป((กกะะาามมกรรaaมมCCรรรรสสกกุุนนnn่่ไไอบบooววศศดดว่่วออnnแแบnnุุตตนนนนึึกก้้คคaaบบรรccรรปปษษbbุุมมงงหมมหuuรรiiาากกรรnnีีrrรรหหะะrrพพววาา44ooืออืกกeeรรมมเเบบiiโโออnnืืออนนddขขรรถถววบบttมมssิิดด้้คคออึึงง่า่า))ีี ปตกเตเกปวออวเเบบรรเิเิาาอลลอรรคคออ่ืื่นนยยบับัุุ่่บบมมรรงงโโุุตตขขนนสสาาซซทท่่าานนะะนนี้้ีไไกก่ี่ีดดกกหหเาาออ77รววดดออรรค์์คงงื่อ่่าาะะเเะะววตตพพงเเบบาา1ขข1่่ออ22ซซท่ิมมิ่มม..วว55อ้้อผผปปขขเเ่ีนนลลสสคคีนีน7ึ้นนึ้1111111111ขขปปกกิิี่ยยี่ตตวว..........อ้อ้ชชีี4433251521าา((งงภภเเรรคคBB้า้าขรรททนนััณณรรeeววเเๆๆอ้อ่ีี่อหหผผผผผผผกผกื่ื่ออผผรระะnnฑฑาาาาู้ปูู้้้ปูู้ป้ปูทูู้ท้ททคมมงงรราาววzzจจรรจจ์์กกะะา่วาว่่วว่เี่ี่เี่ี่ใใผผoวoงงััสสปปเเชชาายยววยยยยััญญกกลลddรเเั่่ังง้้็น็นกกยยังงัเเเเททกกดิิดาารiiใใหหดดชชททaaาาผผโโชช่ตีตี่ย่ีย่ีญญขขะก็็กาาตตรรออzzาาลล้้ผผิดิด้นึ้ึนววแแคคแแeeุุงง่ืื่นนออขขลลขขสสกกลลลลกกตตกกังppาา้้าาิิตตอ้อ้าาๆๆะะาาะะเ่ออ่บับัiiหหับับงงnnรรกภภรรผผกกนนเเ11าาโโเเeeผผแแ่ยีััคคณณู้ปู้ปััสสญญดดกก..รรss33พพลลีียยว่วว่พพยยาาฑฑ))ชชททยยงง((รรติติเเกแแตตเเงง์์กกฉฉMMททสสสสปปยยลลภภดิดิับไไพพััญญููง่ัง่ังงี่่ีดดเเ์์e็นน็eะะััณณกกผใออใาารรชช้้สสttตตชชะะิิ11ดดาาaaววลาาููงงฑฑน้น้้ผ้ผยยยย..มbbมขขแแกก44ิตลลาาุุถถoo์กก์้ึึ้นนลลววเเกกภติิตออนนงึงึllะะ่่ญััญาาสสลลiiภภนนาาัณssอื่ือ่กก่่งงุุ่่มมดดจจmmัณัณชชโิโิงงััผผญญคคฑพพโโัังงจจาาลลออฑฑ))ชชนนตตาาิจจิ์กแแตตปปกจ์กจ์งงขขั้้ันิินนนาาัญทท่่ลลออิิออาายยรรออกกหหกกณณสสี่ี่ออมมััะะงงงงาาชไไกกยยรรมมผีผีกกสสรราามมาืออืัญญัลลูู้้สสออาาใใใใัญญั่่มมแชชชชเเ์์รรููงงงงชชปปีีขข((ก้ก้ล้้จจชชททออOOาาTT็น็น้้ออญัญัึึงงะาาแแี่่ีงงกกppHHมมผผคคยยกลลชชาาiiCCูลูลoูด้oู้ดววุุจจลละะาาัญททiiม่ื่ืมรรแแddะะกกััเเงงเเปปาาสสชบบพพssชชญัญัรรงง))ุรุร็็นน่ิ่ิมมบบ้้งาาััฒฒววชชาาแแสสกกตตชิิชไไอองงนนมมลล่่ววาวาว้้นนยยะะนนาา่่ออกก่่าาใใ่าา่ ยยไไออปปาานนงงดดจาจารรกกรรหหปป้้กกมมึึงงะะฤฤดดนนรรลลดดาากกททิิมมัังงกักักก่่ออููเเออธธนนหหาาเเมมบบิท์ิ์ทพพณณ้ั้ันนมมปปใใาาีียยืืออนนททรรงงผผงงะะจจนนผผี่่ีนนพพูู้้สสสสติิตูู้้ปปวว้้ออออั่ั่งงาา่่าา่่ววใใยยใใททชชนนมมยยแแ้้คคีีสสกกเเททชชลลววออาา่่นน่ี่ีะะมมรรรรงงีี 266 หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ติ เพอ่ื ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

264 กล่าวโดยสรุป ข้อควรระวังทางการแพทย์ ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงในผู้ป่วย ท่ีมีอายุต่ากว่า 25 ปี เพราะมีผลข้างเคียงต่อสมองที่กาลังพัฒนา และไม่ควรใช้กับผู้ป่วยโรคตับ ผู้ติด สารเสพติด รวมถึงนิโคติน ผู้ด่ืมสุราอย่างหนัก ผู้ใช้ยาในกลุ่มโอปิออยด์ (Opioids) ยากล่อมประสาท เด็กและผูส้ ูงอายุ เน่ืองจากยงั ไม่มขี ้อมลู ทางวิชาการมากเพียงพอ 2. ขนาดของกัญชาและกัญชงทใ่ี ช้ในทางการแพทย์ จากเอกสารประกอบการบรรยายเมื่อวันท่ี 13 กันยายน 2562 ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ได้ให้ขอ้ มลู ไวด้ งั น้ี 2.1 ขนาดยากัญชาและกัญชงที่เหมาะสม ข้อสรุปจากงานวิจัยยาจากกัญชาและกัญชง มีความแตกต่างจากยาแผนปัจจุบันอ่ืน ๆ อย่างมาก ไม่สามารถกาหนดขนาดการใช้ได้อย่างตายตัว จาเป็นต้องปรับให้เหมาะกับแต่ละคน หลักการสาคัญ คือ “เร่ิมทีละน้อย แล้วค่อย ๆ เพ่ิมขนาดจน ควบคมุ อาการเจ็บปว่ ยได้ (Titration)” 2.2 ปัจจัยทม่ี ีผลตอ่ ขนาดกญั ชาและกัญชงทเ่ี หมาะสม มี 3 ประการ ได้แก่ ประการท่ี 1 ชนิดของยากัญชาและกัญชงที่ใช้ รวมถึงยากัญชาและกัญชงจาก พืช สกัดหรือไม่ สายพันธ์ุ ความเข้มข้นของยาสกัด วิธีใช้แบบสูบ แบบพ่น แบบหยอดใต้ลิ้น แบบ รับประทาน แบบสวนทวาร แบบทาภายนอก หรือการผสมผสานหลายวิธี ยากัญชา 2 ชนิด ที่มีขนาด ของ THC เท่ากัน แต่ถ้ามีส่วนผสมของเทอร์ปีนส์ (Terpenes) ท่ีแตกต่างกัน ก็ให้ผลลัพธ์ในการรักษา แตกตา่ งกนั ประการท่ี 2 โรคที่ผู้ป่วยเป็น รวมถึงระยะเวลา และระดับความรุนแรงของโรค การรกั ษาแบบอ่นื ๆ ที่ไดร้ ับการรกั ษารว่ มกับโรคอนื่ ๆ ประการท่ี 3 การตอบสนองต่อยากัญชาและกัญชงของแต่ละคน รวมถึงระดับ เอนโดแคนนาบินอยด์ (Endocannabinoid) เดิมในร่างกาย หรือเรียกว่า เอนโดแคนนาบินอยด์ โทน (Endocannabinoid tone) และการดื้อยา เมือ่ ใช้ไปนาน ๆ 2.3 คาแนะนาการใช้ขนาดของนา้ มนั กญั ชาและกัญชง อาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น โดยท่ัวไปผู้ป่วยจะทนต่อฤทธ์ิยากัญชาและกัญชง ได้เป็นอย่างดี อาจจะพบอาการข้างเคียงอยู่ช่ัวครู่หน่ึง มักจะไม่เป็นอันตราย และค่อย ๆ หายไป เม่ือทนต่อยาได้ดีขึ้น อาการข้างเคียงส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นเมื่อได้รับยาในปริมาณมาก หรือใช้ร่วมกับ สารอ่นื ๆ โดยมักจะเกดิ ข้นึ หลงั การใช้ทันที อาการของผลคา้ งเคยี งการใชก้ ัญชาและกญั ชง ได้แก่ 2.3.1 ปากแหง้ 2.3.2 ตาแดง 2.3.3 ความอยากอาหารเพ่ิมข้นึ (ซ่ึงอาจเปน็ อาการข้างเคยี งท่พี ึงประสงค)์ 2.3.4 ภาวะเคล้ิมสขุ อย่างอ่อน ๆ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต 267 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

265 2.3.5 ความต่นื ตัวลดลง โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในช่วงเวลาไม่กีช่ วั่ โมงหลังได้รับยา 2.3.6 อัตราการเต้นของหวั ใจเพ่ิมขึ้น 2.3.7 ความดันโลหิตลดตา่ ลง และมีอาการเวียนศรี ษะ ปกติแล้วอาการข้างเคียงท้งั หมดจะค่อย ๆ ลดนอ้ ยลง และหายไปภายใน ไม่ก่ีชั่วโมง ท้ังน้ีขน้ึ อยกู่ ับปริมาณที่ได้รบั และวธิ กี ารให้ยา การใช้ยาเกินขนาด การได้รับสาร THC เป็นส่วนประกอบในปริมาณมาก เกนิ ไป ผปู้ ่วยอาจประสบกับภาวะเป็นพิษได้ ซึ่งมักจะระบุวา่ เกิดภาวะเคลิม้ สุขอย่างอ่อน ๆ หรือส่งผลให้ ผปู้ ว่ ยเงยี บสงบ หรอื ง่วงซมึ สาหรบั บางกรณีผู้ป่วยอาจเผชญิ กบั ภาวะที่ความคิดบิดเบือนไปจากความ เป็นจรงิ ความวติ กกงั วลระดับเล็กน้อย รวมถึงอัตราการเต้นของหัวใจ และความดันโลหิตท่ีเปล่ียนแปลงไป ในกรณีต่าง ๆ ที่กล่าวถึงเหล่านี้ ส่วนใหญ่แล้วการให้ผู้ป่วยนงั่ ลง หรือนอนลงในบริเวณท่ีสงบ และสบาย นับว่าเพยี งพอแล้ว แตถ่ า้ จะให้ดีย่ิงขึ้น ควรมบี ุคคลที่ใกล้ชิดคอยพูดคุยกับผู้ปว่ ยด้วยเช่นกัน การใช้ยา เกินขนาดในปริมาณที่สงู มากอาจก่อใหเ้ กิดภาวะวิกลจรติ หรือภาวะทางจิตเวชอ่ืน ๆ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งกับผู้ป่วยท่ีมีความบกพร่องทางพันธุกรรมอยู่ก่อนแล้ว ขนาดการใช้อยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ และเภสชั กร โดยมีหลักการ คอื เร่มิ ใช้ยากัญชาและกัญชงท่ีขนาดต่า ๆ โดยแนะนาใหเ้ ร่ิมที่ 0.05 - 0.1 ซซี ี หรือเท่ากับ 1 - 2 หยด และปรับเพิ่มขนาดช้า ๆ ตามคาแนะนาของแพทย์ (Start Low Go Slow And Stay Low) การหยดน้ามันให้หยดก่อนนอน บริเวณใต้ล้ิน เพ่ือให้ตัวยาสามารถซึมผ่านเส้นเลือด ใต้ลิ้น และออกฤทธ์ิอย่างรวดเร็ว โดยหลีกเล่ียงการถูกเปลี่ยนแปลงยาที่ตับ เน่ืองจากอาจทาให้ ประสิทธิภาพของยาลดลง ยากัญชาและกัญชงอาจจะทาให้มีภาวะง่วงซึม จึงแนะนาให้ใช้เวลาก่อนนอน และหลกี เลยี่ ง การทางานใกล้เคร่ืองจักร หรอื ขับข่ยี านพาหนะ พิษจากการใชส้ ารสกดั กัญชาและกญั ชง และการดแู ลเบื้องต้น การใช้สารสกัดกัญชาและกัญชงที่มีขนาดสูงทาให้เกิดผลเสียต่อร่างกาย โดยเฉพาะ สาร THC มฤี ทธิ์ตา้ นอาการปวด และลดอาการคลื่นไสอ้ าเจียนผ้ทู ่ีใชส้ ารสกัดกัญชาท่ีมีสาร THC ในขนาดสูงต่อเนื่องกันเป็นเวลานานอาจทาให้ใชใ้ นปริมาณน้อยแลว้ ไม่เห็นผล จงึ ต้องเพิ่มปริมาณ การใช้มากขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุของการเสพติดได้ในท่ีสุด สาร CBD ไม่มีฤทธิ์เสพติด และต้านฤทธ์ิเมาเคล้ิม ของสาร THC อย่างไรก็ตาม สาร CBD สามารถกระต้นุ ใหเ้ กิดอาการคลื่นไส้อาเจยี นได้ ดังนน้ั ผู้ป่วยที่ ใช้สาร THC เพ่ือลดอาการคล่ืนไส้อาเจียน หากได้รับสารสกัดกัญชาและกัญชงชนิดท่ีมีสาร CBD สูง จะทาให้มีอาการคลื่นไส้อาเจียนเพ่ิมขึ้นได้ อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้สารสกัดกัญชาและกัญชง ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณท่ีได้รับต่อครั้ง (Unit Dose) ความทน (Tolerance) ของผู้ใช้ เป็น ต้น วิธีการนาเข้าสู่ร่างกาย การใช้กัญชาและกัญชงท่ีไม่ถูกวิธีอาจทาให้เกิด โอเวอร์ โดส (Overdose) หรอื การรับประทานยามากเกนิ ขนาด ระยะเวลาการออกฤทธ์ขิ องกญั ชาเมอ่ื เขา้ ส่รู า่ งกาย วธิ ใี ช้ที่แตกตา่ งกัน จะทาใหก้ ารออกฤทธ์ิแตกตา่ งกัน เช่น (1) ชนดิ สดู (Inhalation) ระยะเวลาออกฤทธเิ์ รว็ ถงึ ระดับสูงสุด 268 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต เพอื่ ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

266 ภายในเวลา 15-30 นาที มีระยะเวลาคงอยู่ประมาณ 3-4 ชั่วโมง (2) ชนิดรับประทาน เริ่มออกฤทธิ์ ประมาณ 30 นาที และ (3) ชนดิ หยดใตล้ ิน้ (Sublingual Drop) สารสกัดกัญชาออกฤทธ์เิ ร็วประมาณ 15 นาที เป็นต้น พษิ ของกัญชาและกัญชงต่อระบบประสาทส่วนกลาง เมื่อรา่ งกายได้รับ สาร THC ในปริมาณมาก สาร THC จะไปจับกับตัวรับ (Receptor) CB1 ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง ท่าทาง และเสียการควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อ เกิดอาการเคลิ้ม ประสาทหลอน และติดยาได้ สาร THC ทาใหม้ ีความเสย่ี งในการเกิดอาการทางสมอง ได้แก่ การเปล่ียนแปลงของสติ ความสนใจสมาธิ ความจาระยะส้นั การทางานของสมองผดิ ปกติได้ พิษของกัญชาและกัญชงต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด สาร THC และ CBD จะทาให้เกิดการขยายตัวของหลอดเลือดได้ หากได้รับปริมาณมาก ความดันโลหิตอาจจะต่าลงได้ อาจทาใหเ้ กิดอาการวูบ หน้ามืด หมดสติเม่ือลกุ ยนื กัญชาชนิดสูบ ทาใหอ้ ตั ราการเต้นของหัวใจเพ่ิมข้ึน ไดร้ อ้ ยละ 20 - 100 เปน็ เวลา 2 - 3 ช่ัวโมง เพิม่ ความเสยี่ งให้เกิดเส้นเลือดหวั ใจตีบได้ เพิม่ ความเสี่ยง ของการเกดิ กล้ามเน้ือหัวใจขาดเลือด หวั ใจเต้นผดิ จังหวะ อาจจะมผี ลต่อกลุ่มอาการหลอดเลือดสมองหด ชวั่ คราว หากผู้ปว่ ยมภี าวะเมากัญชาและกญั ชง หรือเกดิ ผลข้างเคยี งจากการใช้ยากัญชาและยากัญชง ควรหยุดใช้ทันที และควรปรึกษาแพทย์ อาจจะช่วยให้ผู้ป่วยด่ืมน้าให้มากเพื่อขับพิษของกัญชาและ กัญชงออกจากร่างกาย ควรระวังการพลัดตกหกล้ม เนื่องจากผู้ป่วยจะมีภาวะการทรงตัวที่ลดลง อาการอาเจียนรุนแรงจากกัญชาและกัญชง มักเกิดกับผู้ที่ใช้กัญชาและกัญชาอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ เวลานาน และใชใ้ นปริมาณที่ถี่มากกว่า 20 ครง้ั ต่อเดือน แกอ้ าการโดยให้อาบน้าอุ่น และหยดุ ยา อาการ จะทเุ ลาลงเมื่อผา่ นไป 2 - 3 สปั ดาห์ กล่าวโดยสรุป ขนาดของกัญชาและกัญชงท่ีใช้ในทางการแพทย์ ในการรักษาโรค ยังไม่ สามารถกาหนดขนาดการใช้ท่ีแน่นอนได้ โดยต้องปรับให้เหมาะกับแต่ละบุคคล และมีหลักสาคัญคือ เริ่มทีละน้อย แล้วค่อย ๆ เพิ่มขนาด ซึ่งผู้ป่วยท่ีเป็นโรค หรือมีอาการต่างกัน จะใช้ขนาดยาต่างกัน โดยหากใชข้ นาดยากัญชาและกญั ชงท่ีไมถ่ ูกตอ้ งจะเกดิ การด้ือยา 3. หา้ มใชน้ า้ มันกัญชาและกัญชงทาบุหร่ี มีคนเคยเอาน้ามันกัญชาและกัญชงท่ีผสมน้ามันมะพร้าวไปทาบุหร่ีสูบ เรื่องนี้มีข้อ ถกเถียงกันว่า อาจเกิดอันตรายต่อทางเดินหายใจได้ ดังน้ันจึงไม่ควรทาโดยเด็ดขาด เนื่องจากน้ามัน กัญชาและกัญชงเม่ือถูกเผาไหม้ท่ีอุณหภูมิสูง จะเกิดสารอนุมูลอิสระเหมือนกับการสูบบุหร่ี และน้ามัน มะพร้าวที่ผสมเข้ากับน้ามันกัญชาและกัญชงเพ่ือให้ลื่นขึ้น ไม่ควรใช้กับบุหร่ีไฟฟ้า หรือทาบนบุหรี่เพื่อสูบ เพราะอาจทาให้ปอดอักเสบได้ น้ามนั กญั ชาและกัญชง สาหรบั บุหรไ่ี ฟฟ้าจึงต้องพิจารณาวา่ ใช้สารอะไรเป็นตวั ทาละลาย และมีโอกาสที่จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพหรือไม่ ตัวทาละลายท่ีอาจเป็นอันตรายต่อทางเดินหายใจ ได้แก่ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต 269 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

267 โพลีเอทิลีน ไกลคอล (Polyethylene Glycol (PEG) โพพิลีน ไกลคอล (Propylene Glycol (PG) และกลเี ซอรนี (Glycerin) อุปกรณ์บุหรี่ไฟฟ้า ท่ีใช้สาหรับน้ามันกัญชาและกัญชง มีกระบวนการใช้ความร้อนทา ให้เกิดไอ สาหรับสูดเข้าปอด ที่ไม่ผ่านการเผาไหม้จึงมีความปลอดภัยมากกว่าใช้ตัวทาละลายท่ีอาจมี สารตกคา้ งทเ่ี ปน็ อนั ตราย ดงั ที่กลา่ วมาแล้วขา้ งต้น กลา่ วโดยสรุป ห้ามใชน้ า้ มนั กญั ชาและกัญชงทาบหุ ร่ี เพราะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อระบบ ทางเดนิ หายใจ และไม่ควรใชก้ บั บุหรีไ่ ฟฟา้ อาจทาใหป้ อดอกั เสบเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ 4. สารตกค้างจากการสกัดนา้ มนั กญั ชาและกัญชง การตกค้างของตัวทาละลายในสารสกัดกัญชาและกัญชง จากข้อมูลงานวิจัยของ Romano LL และ Hazekamp A. พบว่าการสกัดกัญชาและกัญชงโดยใช้ตัวทาละลายแตกต่างกัน จะสามารถสกัดสารสาคัญกลุ่มต่าง ๆ ออกมาได้แตกต่างกัน ได้แก่ สารกลุ่มแคนนาบินอยด์ เทอร์ปีน และพบสารตกค้างที่เป็นอันตรายแตกต่างกัน จากผลการวิจัยพบว่าการสกัดกัญชาและกัญชงด้วย ตัวทาละลายแนฟทา หรือปิโตรเลียมอีเทอร์มีความปลอดภยั น้อยกว่าการสกัดด้วยเอทานอล หรอื การ ต้มในน้ามันมะกอก เน่ืองจากพบการตกค้างของตัวทาละลายท่ีมีความเสี่ยงท่ีทาให้เกิดโรคมะเร็งได้ (ข้อมูลความเสี่ยงจากเอกสารข้อมูลความปลอดภัย Material Safety Data Sheets (MSDS) ของ แนฟทา และปิโตรเลียมอีเทอร์) นอกจากนี้ยังมีวิธีสกัดอื่น ๆ ท่ีไม่ใช้ตัวทาละลายอินทรีย์ (Solvent- Free) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้แก่ผลิตภัณฑ์มากย่ิงขึ้น เช่น การหีบน้ามันจากช่อดอก การสกัดแห้ง โดยผ่านแร่ง และน้าแข็งแห้ง เป็นต้น แต่วิธีดังกล่าวยังเป็นข้อจากัดในการผลิตระดับอุตสาหกรรม วิธีการสกัดกัญชาและกัญชงท่ีนิยมใช้ และได้รับการยอมรับสาหรับใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยากัญชา และกัญชง โดยการสกัดคาบอนไดออกไซด์เหลว และการสกัดด้วยเอทานอลเย็นท่ีอุณหภูมิต่ากว่า -60 ºC เนอ่ื งจากมคี วามปลอดภัยสงู สามารถสกดั ไดป้ ริมาณมาก และไดส้ ารแคนนาบนิ อยด์เข้มขน้ กล่าวโดยสรุป สารตกค้างจากการสกัดน้ามันกัญชาและกัญชง ในการเลือกผลิตภัณฑ์ กัญชาและกัญชงต้องศึกษาว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวใช้สารสกัดชนิดใด มีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใด การสกัดโดยตัวทาละลายแนฟทา หรือปิโตรเลียมอีเทอร์ มีความปลอดภัยน้อยกว่าการสกัดด้วยเอทานอล หรือการตม้ ในนา้ มนั มะกอก เนื่องจากพบการตกค้างของตัวทาละลายท่ีมีความเสย่ี งท่ีทาใหเ้ กิดโรคมะเร็งได้ และวิธีการสกัดใหม่ท่ีเป็นท่ีนิยมในปจั จุบัน ได้แก่ การสกดั โดยใช้คารบ์ อนไดออกไซด์เหลว และเอทานอล สกัดเยน็ เนื่องจากมคี วามปลอดภัยสูง สามารถสกดั ได้ปรมิ าณมาก และไดส้ ารแคนนาบนิ อยด์เข้มขน้ 5. ความปลอดภยั ของน้ามนั กัญชาและกัญชง แหล่งท่ีมาของยาต้องได้รับการอนุญาตให้ผลิตยาจากกัญชาและกัญชาอย่างถูกต้อง ตามกฎหมาย ยาจากกัญชาและกัญชงต้องผ่านการตรวจสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์ตามข้อกาหนดของ 270 หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต เพือ่ ใชเ้ ป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

268 มาตรฐานการผลิตยาท่ีดี (GMP) โดยมีการควบคุมปริมาณสารสาคัญ (THC, CBD) โลหะหนัก ได้แก่ แคดเมยี ม ปรอท ตะกั่ว และสารหนู เชอ้ื จุลนิ ทรยี ก์ อ่ โรค สารปนเป้อื น และยาฆา่ แมลง นอกจากนี้การรับยากัญชาและกัญชงมาใช้ ต้องอยู่ภายใต้การดูแล และปรึกษาโดย แพทย์ เภสัชกร หรือแพทย์แผนไทยที่ผ่านการอบรมการใช้ยากัญชาและกัญชงเพ่ือประโยชน์ทาง การแพทย์ จากกระทรวงสาธารณสุขมาแล้ว เน่ืองจากการตอบสนองต่อยากัญชาและยากัญชงในผู้ป่วย แต่ละคนอาจจะไม่เท่ากัน ดังนั้นแพทย์จะต้องตรวจติดตามอาการ เพ่ือปรับยาให้เหมาะสมกับผู้ป่วย แตล่ ะราย กล่าวโดยสรุป ความปลอดภัยของน้ามันกัญชาและกัญชง ต้องคานึงถึงแหล่งท่ีมาผลิตภัณฑ์ ที่ได้มาตรฐานการผลิตที่ดี ต้องผ่านการตรวจควบคุมคุณภาพ และสั่งจ่ายภายใต้แพทย์ เภสัชกร และ แพทย์แผนไทยทีผ่ ่านการอบรมการใช้กญั ชาและกัญชง เพอ่ื ประโยชน์ทางการแพทย์มาแลว้ 6. สายพันธุ์กัญชาและกัญชงเหมาะกับบางโรค จากการสังเกตการณ์เก็บข้อมูลจากงานวิจัย สารเคมีที่แตกต่างกันในกัญชาและกัญชงแต่ ละสายพันธุ์ และผลการรักษาในผู้ป่วยแต่ละโรค ในต่างประเทศพบว่ากัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธ์ุมี คณุ สมบัติทเี่ หมาะสมกับแตล่ ะโรคไม่เทา่ กัน นอกจากนี้การวจิ ยั ในประเทศอสิ ราเอล พบวา่ กัญชาและกญั ชง แต่ละสายพันธุ์มีคุณสมบัติในการทาลายเซลล์มะเร็งแต่ละชนิดไม่เท่ากัน แต่การวิจัยส่วนใหญ่ยังเป็น เพียงการวิจัยในหลอดทดลองเท่านั้น ข้อมูลการรักษาโรคมะเร็งโดยการใช้กัญชาและกัญชงจึงจาเป็นต้อง ศึกษาต่อไป ข้อมูลงานวิจัยแสดงให้เห็นว่า กัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธ์ุจะมีความจาเพาะ ต่อโรคมะเร็งแต่ละชนิด ทาให้ความรู้เรื่องการใช้สารสกัดกัญชาและกัญชงในการรักษาโรคมะเร็ง ก้าวหน้าไปมากขึ้น ทาให้ในขณะน้ีการใช้กัญชาและกัญชงรักษาโรคต้องลงลึกไปในรายละเอียดว่ากัญชา และกัญชงสายพันธไุ์ หน เหมาะกบั โรคอะไร กล่าวโดยสรุป สายพันธ์ุกัญชาและกัญชงเหมาะกับบางโรค จากการสังเกตการณ์เก็บข้อมูล จากงานวจิ ัย สารเคมีทแ่ี ตกตา่ งกนั ในกัญชาและกัญชงแต่ละสายพนั ธุ์ และผลการรกั ษาในผปู้ ่วยแต่ละ โรคในต่างประเทศพบว่ากัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธ์ุมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับแต่ละโรคไม่เท่ากัน แตย่ ังเป็นงานวจิ ยั ขนั้ ต้น ต้องมกี ารศึกษาในเชงิ ลกึ ตอ่ ไป 7. หลกั ธรรมนาชีวิตพ้นพษิ ภัยจากกัญชาและกญั ชง กัญชาและกัญชง เป็นทั้งพืชยาท่ีใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ และเป็นพืชท่ีมีสารเสพติด ใหโ้ ทษ มฤี ทธ์กิ ลอ่ มประสาท ทาลายร่างกายทัง้ ปอดสมอง และประสาท มผี ลต่อความรู้สึกนึกคดิ และจิตใจ ท่ีผิดปกติ ทาให้ขาดสติ เป็นการเบียดเบียนตัวเองอย่างรุนแรง ผิดท้ังกฎหมายและศีลธรรม ในทาง พระพุทธศาสนาถือว่า กัญชาและกัญชงเป็นสิ่งเสพติด คือ เมรัย ตามท่ีบัญญัติไว้ในข้อท่ี 5 ท่ีว่า สุราเมรยะมัชชะ ปมาทัฏฐานา เวรมณี คาว่า “มัชชะ” หมายถึงของมึนเมาอันเป็นท่ีต้ังแห่งความ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพอื่ ใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ติ 271 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

269 ประมาท ซึ่งหากใช้กัญชาและกัญชงในลักษณะสารเสพติด จะทาให้ขาดสติสัมปชัญญะในการประกอบ กิจการงาน และประการสาคัญ คอื ขาดสติในการวนิ จิ ฉัย ผิด ชอบ ชัว่ ดี จึงถือไดว้ ่า ผดิ ศลี ขอ้ 5 เพื่อ หลีกเล่ียงพิษภัยของกัญชาและกัญชงที่เป็นสารเสพติด จึงต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประชาชน โดยใช้ หลักพุทธธรรมในการดาเนินชีวิต เพื่อให้ประชาชนปฏิบัติตนตามหลักธรรมเปน็ เคร่ืองยึดเหน่ียวจิตใจ จะช่วยให้เกิดความสงบสุขในสังคม คาสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นหลักสัจธรรมที่ผู้ปฏิบัติ สามารถ นามาปรับใช้ในชีวิตเพื่อเยียวยารักษาจิตใจ ให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้นั้น มีหลักธรรมท่ีสามารถ นามาประยุกต์ใช้ได้ ดงั น้ี หลักธรรมท่ี 1 หลักทิศ 6 เป็นหลักในการปฏิบัติต่อบุคคลรอบข้าง ซึ่งประกอบด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในระดับต่าง ๆ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างมารดาบิดา กับบุตรธิดา ความสมั พนั ธร์ ะหว่างอาจารย์กับศิษย์ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งภรรยากับสามี ความสัมพนั ธร์ ะหว่างมิตร กับมิตร ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และความสัมพันธ์ระหว่างนักบวชกับชาวบ้าน ความสัมพันธ์ในครอบครัวที่ได้กาหนดหน้าท่ีท่ีทุกคนจะต้องปฏิบตั ิ และมีสิทธิอันชอบธรรมท่ีจะไดร้ บั การปฏิบัติตอบ ประกอบด้วยบุคคลประเภทต่าง ๆ ท่ีเราต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์ทางสังคม ดุจทิศท่ีอยู่ รอบตวั ที่สาคัญ คือ ทิศเบื้องหน้า คือ ทศิ ตะวันออก ได้แก่ มารดา บิดา เพราะเปน็ ผู้มีอุปการะแก่เรา มาก่อน จะเป็นภูมิคุ้มกันประชาชน โดยเฉพาะเด็ก และเยาวชนจากยาเสพติดได้ เน่ืองจากพ่อแม่เป็น ผู้ให้โดยเฉพาะการให้ความรัก ความอบอุ่น การปกป้องคุ้มครอง การศึกษา และทรัพย์สิน โดยไม่ ต้องการสง่ิ ใดตอบแทน มีเพียงตอ้ งการใหล้ ูกได้เติบโตมชี วี ิตท่ีดีมีคุณภาพ ดังนนั้ หากประชาชนร่วมกัน สร้างครอบครัวให้อบอุ่น อบรมส่ังสอนบุตรหลานให้ประพฤติตนอยู่ในศีลธรรมอันดีงาม ก็จะนาพาชีวิต บคุ คลในครอบครวั ใหป้ ลอดภัยหา่ งไกลจากยาเสพติด รวมทง้ั พิษภัยจากกัญชาและกญั ชงได้ หลักธรรมที่ 2 หลักคบมิตร ความเป็นมิตรเป็นสิ่งที่จาเป็นของผู้ที่อยู่รวมกันในสังคม เราจะอยู่ลาพังคนเดียวไม่ได้ ต้องมีมิตรเป็นองค์ประกอบในสังคม ดังนั้นการจะเลือกคบมิตรจึงควร พิจารณาเลอื กคบแตค่ นดีที่นาความเจริญรุ่งเรืองมาให้ ดังปรากฏจากคาสอนในพระไตรปิฎกเก่ียวกับ มติ รให้เลอื กคบมิตร ดงั นี้ มิตรประเภทท่ี 1 มิตรอุปการะ เป็นมิตรที่มีคุณธรรม ซึ่งแสดงออกด้วยพฤติกรรม 4 ประการ คือ (1) ป้องกัน รักษา มติ รไม่ให้ประพฤติผดิ ศีลธรรมอนั ดีงาม (2) ป้องกนั ทรัพย์สมบัติของ มิตรไม่ให้เสียหาย (3) เม่ือมีภัยก็เป็นที่พ่ึงพานักได้ และ (4) เมื่อมีกิจที่จาเป็นเกิดขึ้น ก็ให้ทรัพย์สิน ช่วยเหลือได้ เน่ืองจากการดาเนินชีวิตย่อมมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา มีเรื่องราวมากมายผ่าน เข้ามาในชีวิต มีความโชคดี มีความเดือดร้อนกายเดือดร้อนใจ ในบางคร้ังได้รับทรัพย์ ในบางครั้งเสีย ทรัพย์ ในยามที่เรามีความลาบาก หากมีมิตรท่ีให้ความช่วยเหลือ ดูแลปกป้องภัยอันตราย ส่งเสริมให้ อยู่ในสถานท่ีปลอดภัยโดยไม่ได้หวังสิ่งตอบแทนใด ๆ แสดงถึงเราเป็นผู้มีมิตรดี ดังน้ันมิตรจึงมีความ จาเป็นอย่างมากในการดาเนินชีวิต ดังจะเห็นตัวอย่างการคบมิตรของเยาวชนในปัจจุบันท่ีชวนกันไป 272 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต เพื่อใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

270 ทากิจกรรมทีเ่ ป็นการเสริมความรทู้ างวชิ าการ ไปเรยี นรวู้ ิชาการเพ่มิ เติม หรอื ทเี่ รียกว่า “ติววชิ า” เพ่ือ เสริมทักษะความรู้ในการที่จะสอบเข้าในระดับสูง ซึ่งเป็นการปกป้องให้อยู่ในสถานท่ีท่ีเหมาะสมถูกต้อง ด้วยกาลเทศะ และสง่ เสริมความเจริญใหเ้ ป็นการเพมิ่ เตมิ ทรัพย์ให้กับเยาวชน ซึง่ เปน็ ทรพั ย์ทางปญั ญา ที่อันมีค่ามหาศาลติดตวั ไปกบั เยาวชนตลอด มิตรประเภทท่ี 2 มติ รร่วมสขุ ร่วมทุกข์ การอยรู่ ่วมกัน จาเป็นตอ้ งมีน้าใจไมตรีต่อกัน โดยอาศยั คุณธรรมของการอยู่ร่วมกัน ชว่ ยเหลือกนั ในยามจาเป็น ดังคาสอนท่ปี รากฏในพระไตรปิฎกที่ว่า มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์แสดงออกด้วยพฤติกรรม 4 ประการ คือ (1) บอกความลับแก่มิตร (2) ปิดความลับ ของมิตร (3) ไม่ละท้ิงมิตรในยามอันตราย และ (4) แม้ชีวิตก็อาจจะสละเพ่ือประโยชน์ของมิตรได้ จากคาสอนจะเห็นได้ว่า การปฏบิ ตั ติ ่อมิตรในลักษณะ มที กุ ข์ร่วมทุกข์มีสุขร่วมสุข ในสังคมไทยทุกวันน้ี ปฏิบัติได้ยากย่ิงนัก โดยเฉพาะข้อท่ี 4 ส่วนใหญ่ในสังคมไทยจะเห็นได้ว่า สมาชิกของสังคมจะปฏิบัติ แตกต่างจากคาสอน เช่น มักพูดโกหกขยายความลับของมิตรให้ไม่เป็นความลบั เอาตัวรอดในยามมีภัย และโดยเฉพาะอย่างย่ิง การทีจ่ ะยอมเสียสละชีวิตเพ่ือมติ ร เปน็ ต้น ดงั น้ัน เยาวชนควรไดร้ ับการฝึกฝน อบรมในเร่ืองของความมีน้าใจในขณะอยู่รว่ มกนั ในสงั คม มิตรประเภทที่ 3 มิตรแนะนาประโยชน์ เป็นคุณธรรมที่สร้างความมีน้าใจ เอาใจใส่ ดูแลมิตร โดยการตักเตือนสิ่งต่าง ๆ ต่อมิตร จะคอยตักเตือนมิตรเม่ือเห็นว่ามิตรปฏิบัติตนไม่ถูกต้อง เพื่อให้มิตรทาแต่ความดี มิตรแนะนาประโยชน์ แสดงออกด้วยพฤติกรรม 4 ประการ คือ (1) ห้าม มิให้ทาความชั่ว (2) แนะนาให้ต้ังอยู่ในความดี (3) ใหฟ้ งั สิง่ ท่ียังไม่เคยฟัง และ (4) บอกทางสวรรค์ให้โดย จะถ่ายทอดประสบการณ์ และความรู้ที่มีประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต เพื่อให้มิตรมีความเจริญก้าวหน้า ตลอดจนแนะนามิตรในการทาความดสี ร้างกศุ ล เพอ่ื ประโยชนใ์ นวนั ขา้ งหน้า มติ รประเภทท่ี 4 มิตรมคี วามรักใคร่ เปน็ มติ รท่มี จี ติ ใจงดงาม แสดงออกด้วยพฤติกรรม 4 ประการ คือ (1) ไม่พอใจความเส่ือมของมิตร (2) พอใจความเจริญของมิตร (3) ห้ามปรามคนท่ีนินทา มิตร และ (4) สนับสนุนคนที่สรรเสริญมิตร เป็นการกล่าวถึงมิตรที่มีความห่วงใยพร้อมส่งเสริม สนับสนุน และยินดีให้มิตรได้ดีมีภาพลักษณ์ท่ีเหมาะสม ระแวดระวังไม่ให้เกิดความเสื่อมเสียกับมิตร เม่ือมิตรได้รับรางวัลก็พลอยยินดี และร่วมสนับสนุนสรรเสริญกล่าวถึงไปด้วยจะคอยเป็นหูเป็นตาไม่ ยอมใหใ้ ครเขา้ มาทาลายมิตรไม่วา่ จะเป็นวิธใี ด ๆ จึงกลา่ วไดว้ ่ามิตรท้ัง 4 น้เี ป็นมิตรทนี่ าพาชวี ิตใหป้ ลอดภัยห่างไกลจากยาเสพติด รวมท้ัง พษิ ภัยจากกญั ชาและกญั ชงได้ หลกั ธรรมที่ 3 หลกั ปญั ญา เป็นหลกั ธรรมท่ีแนะนาให้ใช้ความคิดพิจารณาความเป็นไป ตามธรรมชาติ และละกิเลสทีท่ าใหช้ ีวิตของเราเศรา้ หมอง หรือได้รับความเดือดรอ้ นในภายหลงั หลักธรรมน้ี เป็นคาสอนมีปรากฏในพระไตรปิฎกท่ีกล่าวถึงหลักปัญญาว่า ผู้มีปัญญา คือผู้ใช้ปัญญาเป็นเคร่ือง พิจารณาเห็นท้ังความเกิด และความดับตามความเป็นจริง ชาระกิเลสให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยา หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ิต 273 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

271 พระพรหมคุณาภรณ์ ได้อธิบายความหมายของ ปัญญาสัมปทา หมายถึงความพร้อมด้วย ปัญญารู้จัก บาป บญุ คณุ โทษ ประโยชน์ มิใชป่ ระโยชน์ และเข้าใจชวี ติ น้ตี ามความเป็นจริงทจ่ี ะไม่ใหล้ ุ่มหลงมัวเมา การใช้ ความคิดพิจารณาเพื่อให้รู้อย่างไม่วิปริต ใช้สติพิจารณาคติแห่งกุศลธรรม และอกุศลธรรม รู้ส่ิงที่เก้ือกูล และสงิ่ ไมเ่ ก้ือกูลแกต่ นเอง และผูอ้ น่ื ดว้ ยปญั ญาตามความเปน็ จรงิ ดังน้ันคนเราจึงต้องพิจารณาโทษพิษภัยของสารเสพติด รวมท้ังกัญชาและกัญชาด้วย ความรู้ ความฉลาด หรือรู้เท่าทันต่อพิษภัย ท่ีเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตของเรา ควรใช้ปัญญาในการหา ทางออกแห่งปัญหา ใช้เหตุผลในการพิจารณาแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยความเฉลียวฉลาด ส่ิงใดเป็นโทษ ส่ิงใดเป็นกิเลส สิ่งใดถูกต้อง ส่ิงใดเหมาะสม ส่ิงใดเป็นประโยชน์ สิ่งใดควรให้ สิ่งใดควรเก็บ ส่ิงใดควร รับ เลือกนามาเป็นแนวทางให้ชีวิตของเรามีคุณภาพ จะทาให้เราเข้าใจตนเอง เข้าใจสังคม เข้าใจ ในการเลือกคบมิตร และนาไปสู่การนับถือตนเอง เห็นคุณค่าตนเอง เป็นที่ยอมรับของครอบครัว ชุมชน และสังคม ซ่ึงเป็นสิ่งที่สาคัญท่ีจะพัฒนาตัวเราให้เจริญก้าวหน้าเป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพ นาพาชวี ิตให้ปลอดภัยห่างไกลจากยาเสพตดิ รวมท้ังพิษภยั จากกัญชาได้ กล่าวโดยสรุป หลักธรรมนาชีวิต พ้นพิษภัยจากกัญชาและกัญชง การใช้พุทธธรรมเพื่อ สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจให้มีความเข้มแข็ง โดยใช้ภูมิคุ้มกันทางครอบครัวท่ีเป็นความรักความ อบอุ่น ความเข้าใจซึ่งกันและกัน ภูมิคุ้มกันจากสังคมส่ิงแวดล้อม ภูมิคุ้มกันจากกัลยาณมิตร รวมถึง การเสริมสร้างการเรียนรู้ท่ีเกิดจากตนเองเป็นผู้กาหนด เยาวชนของชาติส่วนใหญ่ที่หลงเข้าไปเสพยา หรือเกี่ยวข้องกับยาเสพติด รวมท้ังกัญชาและกัญชง อาจเน่ืองจากขาดความรักความอบอุ่น ขาดความรู้ ความเข้าใจต่อสังคม เข้าใจว่าตนเองไม่มีคุณค่า และขาดความรู้ทางธรรมะพื้นฐาน หากเราต้องการ แก้ปัญหาเรื่องยาเสพติดของเยาวชน เราจาเป็นต้องแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของเยาวชนรวมทั้งตัวเราควร ได้เรียนรู้ปรับทัศนคติมุมมองด้วยการใช้ปัญญา เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาของตนเอง ในด้านครอบครัว สังคม และมิตร ให้ประสานสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เสมือนเฟืองสามตัว ขับเคลอ่ื นกลไกให้ทางานในเวลาเดยี วกัน ดังนน้ั การป้องกันมใิ ห้เยาวชน รวมท้ังตัวเราได้มโี อกาสเข้าไป ย่งุ เกย่ี วกบั ยาเสพติด เป็นการปอ้ งกันในลักษณะการสร้างความพร้อมในการใช้ชวี ิตเตรียมความพร้อมใน การเป็นผู้ใหญ่ หรือเป็นผู้ดูแลตนเองได้ โดยใช้ปัญญาเป็นเครื่องมือที่จะนาพาตนเองให้อยู่ในสังคมเป็น พลเมืองที่มีคุณภาพ ซ่ึงจะเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้เราใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างภาคภูมิใจ เป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพ มีความเข้มแข็งท่ีเกิดจากกระบวนการใช้ปัญญาเป็นหลักที่ยึดเหนี่ยว ซ่ึงจะ เป็นพื้นฐานสาคัญท่ีจะทาให้ประเทศไทยมีพลเมืองท่ีมีคุณภาพนาพาประเทศให้มีความสุขสงบ เจริญรุง่ เรืองสบื ไป 274 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ติ เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา

227722 เเเเคสทยสคทยคคพพรราาตตววววาา่อือื่ิ่มมิ่เเาางงรราาปปรรงงมมคคตีตีมมน็น็ะะททววเเงั้้งัดดสสบบหหาาคค่ี่ีแููแี่ย่ียมมบบ88ลลรรลลงงเเรรเักกัปปสสตตรขขภภ))รร่ยี่ยีอื่่ออ่11ขข3232445ก5กออ์์ะะงง..หห........กกลลงงงออ้้ สสหหแแาา่่ทาารรหหาาหหสหสหใใหหัววัรรววอืือพพี่ททนนเเใใา้า้ตตโโ้า้า้้้้าาาาใใ8กกททจจดดผผหหเเมมมมรมมรมมดดดิดิขขยยยยิิีดีดตต้นน้ใใใใใใใใ็็จจกกาาชชชชสสผ์์ผขชชปปั้งั้งนนมมดดติิตออคค้้สส้้รรใใู้้้เเู้ใใอ้กกบบกกชชนนเเนนเเุุปปรราาาาลลตตภภหุตุตรราายี่่ยีรรผผยยผผืออืิิททภภรรขขรร้าววูู้้เเุุตตูู้้ปปผผTTดดปป้้์์ออใใมชช่่าาบบูู้้ปป่่ววHHหหแแ็็ชชนนหหาากกใยยุคคุ่่ลลววรรCCโโ้้กกญญน้้าาววโโยยืืออคคะะรรมมรร่่าาญัญัใใกโโคคใใลลลลนนคคใหใหรรดดตตททานน22ชชคคหหผผ้นน้ พพบับัรม่ี่ีม55กกหหปู้้ปูาาััววมมใแแัฒฒัออีีาาััววใใแแ่วว่ชบบปปรรขขาาจจใใยยนนลลตุุตก้ีีใใยยจจ็็งงขขททชชาาใใรระะุตุตขขัญั้ั้นนหห((กก้้ี่มม่ีกกหหกก่าา่้ั้ันน((รร้้าาพพััออีีออญญชกกาาญัญัรรุุนนรราาิิาาจจววกกาุุนนชชททแแจจกกา่า่าาชชจจแาาแแาาททรราารราาแแงงงงลรร22งงรราาณณเเสสลลงง55ททททะใใปปททมมหหะะาาี่่ีกมมาา็็นนปป่ี่ีกกอตอตมม้เเ้งงีีออญัดดใใีีัังงญญรรีีาาออหหผผาาก็ก็ไไะะมมาาชชชดดู้ปปู้้้กกลลใใบบกกคคนนงง้้งดดาา่วว่ บบาาววกกคครรยยยยรรปปาาัับบคครรโโาาคคมมรรรรรรววลลบบววคคภภะะเเาางงุุคคาาหหตตสสน์น์มมมมคคเเมมบัับาาา้า้ดดนนดดลลททาาหหัันนื่่ืออัันนโโตตะะผผนนดดงงตต่่โโออสสิดิดััจจกกลลยยกกไไมมปปาานนหหถถปปกกกกกกหหอ้อ้้าา้ิินนตตัักกบบตตยยจจรรตตี้้ี ััญญิิโโืืาาออไไ่่าาแแรรดดเเหหชชลลลลปปคค้้แแาางงััววะะน็น็ขขกกใใใใมมหหชชออ่่ตตจจีีพพผผ้้ตตงงรรเเอ้้อตตูู้้ปปัฒัฒผผืืออัับบงง้้นนูู้้่่ปปววหหใใใในนชชนนยยเเ่่ััววววาารร้ตต้ททกกใใยยกก็็ววจจอ้้อี่่ีาามมาาเเรรยยรรงงีีออเเตตชชกกพพออาาาา้้นน้าา้าายยเเรรกกเเพพ))จจู่ใู่ใาารราาดัดันนิ่ิ่มมะะ็็ววรร โโมโมใมมโใวโกโเเกวรรสสดดพพคคนัันัญัญะีอะอี ่ออ่ืื่น่นยยลลสสนนลลาาชชใใา้้างงงงตตกกะะาาหหาาผผเเทท์์าาขขววแแคค้้33เเ้งึึง้รรผผ้้ออีี่่ลลลลลลดด99สสหหคคเเืืออะะงงววเขีขีมมววรรรกกกกลลึ้นึน้ นนาาอืือแแือ่ัญัญก3232กเเ11กกใใาามมภภชชนน้้าานน......ลลงาาชชผผผผ้้เเสสววา้า้่่นนท่่าารรววงงิิ่่ง้ึึ้งาาธตธตรชรชดดััชชววลลเเถถหหี่นนบับัีีใใกกงงาา่ื่ืมมกกโโ9าาหหดดออนนสสลลโโดดนนิิปปรรนนเเรรซซวว้้นนชชมมาาใใยยหหขขรร้้าาืออืนนิิธธเเออา้้ากนุนุะะพพนนสสซซญญมมนนีีหหปปกกททไไาีีาารรยยกกะะิษิษา้้าิิพพงงนนรรจจรดดุาาุปปลลลลตตนนิมิมรรึ่ึ่งงเเาานนถททดดาาเเาาบบาารราากกฟฟกกกกงงอเี่่ีเรรลลสสววาาณณปปืื้้ออววกกลลซซาา..ททนงงาาผผสสันัน็นน็นนาารรงงว้ว้บบจจหหรรสสพุุภภรรถถตตยยภภอ้อ้ืดืดุุ๊๊กกาารรแแมมใใาาออนนิษยยยยมููมดดน้น้ัับบลลชชนนภภโโนน้า้าืม่ื่มปิปิเะออะจจ้้ดดกกแแ้้ววาารรววบพพญััญเเาายยััาาญญลลิธธิผผณณ้าา้ววยยกกิิื้อษษรรีทีทกกสสะะญญนันัึ้้ึงง็น็นชช์์าาะะงดดุกกุเเ่ี่ีกกลลปปาาาารรหหบบ22บบต่ืมม่ืะะชชาาิิตตเเแแ66ื้้ืรรออุุววมมน้จจดดาารริิพพลลืื33ออิิธธงงนนาาววผผ่ืมื่มเเจะะรรีีแแตตนนมมบบลลกกเเสสาศศกกกกวว้้นน้้าา้า้าาาววเเมมกััีีลลรรญญเเ้้ออลลตตนนจจ่า่ากกววนุนุษษกาาาาขขออาาาาชชลลัญญัไไกกดดะะลลาาาาากกเเพพาางงววาาโโกกังังธธรททเเชชกกเเรรคคลลนนรรชชิิกกกกาาเรราารราาลลมมมาา้า้ารรี้้ีิิาานนาารราาแแเเงงจจึึนนรรายยชชงงเเข2ข2เเะะลลมมมมศศจจกคค้า้าแแนนหหผผููลละะืืดดาาีีรรลลัญดดาากกาาลลษกษกกกนนงงงงดดยยลลแแชััญญะะิิัญัญธธไไกกเเาาจจลลปปิิโโามมมมชชลลงงโโะะะะรรชชแเเาาคคววีีออาาาาเเงงววรรงงปปันันงงลลลพพยยแแธิธิ่ื่ืออวว็็งงนนูู่่ีทีทะลลยยยยแแันันเเ33กออี่่ีะะาาคคลล33ๆๆีีกกบบกก22ญัลลววะะรรััญญิิาางงธธรรเเผถถผยยชะะลลบับัีี ชชแแ้้ลลาา็นน็ไไยยงเเปปดดเเนนงงจจะะปปแแรร้้แแ้้าา่่นนหหะะลลทท็็นนพพกกหหนนททะะี่ี่มมโโ่่รรนน่ึ่ึเเงงรราาววีีออยยะะนน้้คคาาิิธธาา็นน็ยยแแออกกเเีีททกกาาบบลลกกลล22ี่ี่าาออะะาา11ว้้วรรจจภภผผหหจจยยมมาาััยยใใลละะววนนึึกกนนหหภภคคาาา้้ากก้้ดดศศนนูู่่เเออววาาบบ่ืื่ีีมมรร้้าาคคยยรรษษศศสสนนววใใุุชชๆๆกกรระะ้้าารร้้ รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพอ่ื ใช้เป็นยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 275 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

273 ถาม จรงิ หรือไม่ การด่ืมน้ามะนาวผสมน้าผึ้งชว่ ยแก้อาการเมาค้างจากพิษของกัญชาได้ ตอบ จริง เพราะจากประสบการณ์ของชาวบ้านท่ีเล่าสืบต่อกันมายืนยันว่าช่วยแก้ อาการเมาค้างจากกัญชาให้ดีข้ึนจริง การดื่มน้ามะนาวผสมน้าผึ้ง หรือชารางจืด ถือว่าเป็นสมุนไพรท่ีค่อนข้างปลอดภัย จึงสามารถนามาใช้ช่วยในการบรรเทา อาการเมาค้างจากกัญชาได้ เภสัชกรหญิง ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร เภสัชกรเชี่ยวชาญ (ด้านเภสัชกรรมการผลิต) รองผู้อานวยการด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ได้ให้ข้อมูลเม่ือวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ที่ เซเรนิตี้ โฮเทล แอนด์ สปา อาเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ว่า “การระบาดของกัญชาและยาเสพติด เกิดจากสภาวะจิตใจ และ ความเครียด ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนไม่เข้าใจสภาวะจิตของตัวเอง ก็จะไปพ่ึงพิงสิ่ง ตา่ ง ๆ ทีอ่ ย่ภู ายนอก เช่น ตดิ เหล้า ตดิ บหุ รี่ ตดิ ยา ทาใหไ้ ม่สามารถควบคุมจิตได้ เพราะกัญชา เล่นกับจิตของคนท่ีไม่ฝึกสมาธิ และวางความทุกข์ไม่ได้ ซึ่งเป็นสภาวะเรื่องใหญ่มาก คนต่างชาติจะเช่ือว่าเมื่อมีปัญหาชีวิต การใช้กัญชาดีกว่าการฆ่าตัวตาย ซ่ึงแท้ที่จริงแล้วการมี ธรรมะทาใหเ้ กิดการฝึกสมาธิ ทาให้จิตใจเกิดความสุขได้ ฉะน้ันเราไม่ต้องใชก้ ัญชาก็ได้ หากเรา สามารถฝกึ จติ และสมาธไิ ด้เอง โดยไมต่ อ้ งพงึ่ ยา” 276 หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ เพ่อื ใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

274 กิจกรรกมิจทก้ารยรบมททา้ ยบท 1. กิจกรรมท่ี 1 คาชี้แจง : โปรดเลือกตัวอักษรหน้าข้อท่ีผู้เรียนคิดว่าข้อนั้นเป็นคาตอบท่ีถูกต้องที่สุด เพียงขอ้ เดียว แลว้ เขยี นคาตอบลงในกระดาษของผูเ้ รยี น ขอ้ 1 “ตารวจจับกุมนายสายฟ้า พร้อมของกลางเป็นเฮโรอีน 4 แท่ง น้าหนัก 10 กโิ ลกรมั รถยนต์ 1 คนั เงนิ สดอกี 50,000 บาท นายสายฟา้ สารภาพกบั เจ้าหนา้ ทต่ี ารวจว่า ตนเอง ทาหนา้ ท่ขี นยามาส่งเท่านัน้ ไม่ใชผ่ ูค้ ้ายาเสพตดิ ” จากขอ้ ความดังกลา่ วนายสายฟา้ ขาดคุณธรรมข้อใด มากทสี่ ดุ ก. ฉนั ทะ ข. วิริยะ ค. จิตตะ ง. วมิ ังสา ขอ้ 2 นายเอ มีอาการป่วยกินข้าวไม่ได้ นอนไม่หลับ มีเพื่อนแนะนาว่าผลิตภัณฑ์ กัญชาและกัญชงสามารถรักษาได้ นายเอจึงตัดสินใจไปซ้ือผลิตภัณฑ์กัญชามาใช้เอง กรณีดังกล่าวจะ เป็นผลดี หรอื ผลเสียอยา่ งไรต่อร่างกายนายเอ ก. เปน็ ผลดี เพราะใชผ้ ลติ ภณั ฑก์ ญั ชาตามคาแนะนาของเพือ่ น ข. เปน็ ผลเสีย เพราะใชผ้ ลิตภณั ฑก์ ัญชาที่ไม่ได้มาตรฐาน ค. เปน็ ผลดี เพราะมผี ู้ใชผ้ ลิตภณั ฑ์กญั ชาใช้แลว้ ได้ผลดสี ามารถรกั ษาโรคที่ เป็นอย่ไู ด้ ง. เป็นผลเสีย เพราะผู้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาไม่ได้ไปปรึกษาแพทย์ และเภสัชกร ผ้เู ชย่ี วชาญ ขอ้ 3 “นายแพทย์นรินทร์ให้คาปรึกษา กับผู้ป่วยท่ีใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงใน การรักษาโรคด้วยจิตใจจดจ่อ ระมัดระวัง” จากข้อความดังกล่าวนายแพทย์นรินทร์นาหลักธรรมข้อใด มาใชป้ ฏิบตั งิ านในหนา้ ท่ีมากท่สี ุด ก. ฉันทะ ข. วริ ยิ ะ ค. จิตตะ ง. วมิ ังสา รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวิต 277 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

275 ขอ้ 4 ผปู้ ่วยในขอ้ ใดที่แพทย์สามารถส่ังใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาและกัญชงในการรกั ษาได้ ก. นายแดง ปว่ ยเปน็ โรคอว้ น ข. นายนพ ปว่ ยเปน็ โรคคางทูม ค. นางสาวจิม ป่วยเป็นโรคพาร์กินสัน ง. นางสาวนวล ป่วยเปน็ โรคปากเทา้ เปื่อย ข้อ 5 จากรายงานการวิจัยพบว่า ในอนาคตมนุษย์สามารถนากัญชาและกัญชงไปใช้ รกั ษาโรคในข้อใดได้บ้าง ก. โรคมะเรง็ ข. โรคเทา้ ช้าง ค. โรคคอพอก ง. โรคเหงอื กอักเสบ 2. กจิ กรรมที่ 2 คาชี้แจง : โปรดจับคู่ข้อมูลท่ีอยู่หลังตัวอักษรที่ตรงกับตัวเลขของข้อมูลน้ัน ๆ หรือมี ความสัมพันธ์ตรงกับหัวข้อเลขน้ัน ๆ ให้ถูกต้อง แล้วนาตัวอักษรของหน้าข้อมูลมาใส่หน้าตัวเลขตรง กับขอ้ นนั้ .......... 1. จากรายงานการวิจยั พบว่าในอนาคตจะสามารถ ก. ประเมนิ ผู้ป่วย ใช้ผลิตภณั ฑก์ ญั ชาและกญั ชงกับโรคใด ข. โรคอ้วน .......... 2. ขอ้ แนะนาก่อนตดั สนิ ใจใชผ้ ลติ ภัณฑ์กญั ชา ค. ส่ังจ่ายภายใต้แพทย์ และกัญชงทางการแพทย์ ง. โรคสมองเสอ่ื ม .......... 3. การเริม่ ใชผ้ ลิตภัณฑ์กญั ชาและกัญชง จ. โรคถุงลมโป่งพอง ในทางการแพทย์ ฉ. ปรกึ ษาผูท้ ่ีเคยใชก้ ญั ชา .......... 4. ข้อหา้ มใชผ้ ลติ ภัณฑ์ท่มี ีสาร THC และ CBD ช. ปรกึ ษาแพทย์ เป็นสว่ นประกอบ ซ. ผู้ที่มีประวัติแพผ้ ลิตภณั ฑ์ .......... 5. ความปลอดภัยของน้ามันกัญชาและกญั ชง ท่ไี ดจ้ ากการสกัดกัญชา 3. กจิ กรรมท่ี 3 คาชี้แจง : โปรดทาเครื่องหมายถูก () หรือเครื่องหมายผิด () ลงหน้าข้อตัวเลขที่ ผู้เรียนอ่านข้อมูล แล้วคิดว่าคาตอบน้ีถูกให้ทาเคร่ืองหมายถูก () ถ้าคิดว่าข้อมูลท่ีอ่านเป็นคาตอบที่ ผิดใหท้ าเคร่ืองหมายผดิ () .......... 1. กัญชาและกญั ชงช่วยปอ้ งกันรักษาเสริมสรา้ งเซลล์ .......... 2. การรกั ษาดว้ ยผลิตภัณฑก์ ญั ชาและกญั ชงเปน็ คร้ังแรกควรเริ่มต้นทข่ี นาดต่ามาก ๆ .......... 3. อัตราการเตน้ ของหัวใจตา่ ลง คอื อาการของผลข้างเคียงจากการใช้กัญชาและกัญชง 278 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชีวิต เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา

276 .......... 4. การใช้กัญชาและกญั ชงในลักษณะสารเสพตดิ จะทาให้ขาดสตสิ ัมปชัญญะ .......... 5. หา้ มใชส้ าร THC ในคนไข้ที่มีอาการทางระบบประสาทผดิ ปกติ รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพอ่ื ใช้เป็นยา หนังสือเรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 279 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

279 / / / / / / / บรรณานกุ รม / / / / / / / / / / / /

280 บบรรรรณณาานนกุ กุ รรมม กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา. )ม.ป.ป.). กฎหมายทรัพย์สนิ ทางปัญญาไทย. สบื ค้นจาก กกกกกกกttps://www.ipthailand.go.th/th/dip-law-2/category/acts.html กกกกกกก)สืบคน้ เมื่อ 7 ตุลาคม 2562) กองบรรณาธกิ าร HONESTDOCS. )2562). บทความเร่ืองกัญชารวมเรื่องน่ารู้ และสรรพคุณทาง กกกกกกกการแพทย์รแู้ ลว้ ต้องอึง้ . สืบค้นจาก https://www.honestdocs.co/interesting- กกกกกกกcannabis-medicinal-properties. )สืบคน้ เมอื่ 11 ตลุ าคม 2562) ขา่ วประชาสมั พนั ธเ์ ขต 1. )2562). ข่าวหมอพืน้ บา้ นกบั ราชกจิ จานุเบกษา ทีร่ ับรองหมอพืน้ บา้ น. กกกกกกกสืบค้นจาก https://www.facebook.com/PRD1KK/?_tn_=kC-R&eid กกกกกกก)สบื ค้นเม่ือ 31 ตุลาคม 2562) คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด, สานักงาน. )ป.ม.ท.). กฎหมายเกี่ยวกับกญั ชา. กกกกกกกสบื คน้ จาก https://www.tci-thaijo.org/. )สบื คน้ เม่อื 7 ตลุ าคม 2562) คณะกรรมการอาหารและยา, สานักงาน. กองควบคุมวตั ถุเสพตดิ . )2562). กฎหมายสาคัญ/กฎหมาย กกกกกกกออกใหม่ พระราชบัญญตั ิวัตถุท่ีออกฤทธต์ิ ่อจติ และประสาท พ.ศ. 2559. สบื ค้นจาก กกกกกกกhttp://www.fda.moph.go.th/sites/Narcotics/SitePages/AllNewlaw.aspx# และ กกกกกกกhttp://www.fda.moph.go.th/sites/Narcotics/SitePages/Psychotropic.aspx กกกกกกก)สืบค้นเมื่อ 7 ตลุ าคม 2562) จงกล บญุ พิทักษ์. )2562). พุทธธรรม : ภมู ิคุ้มกันเยาวชนจากยาเสพตดิ . สืบคน้ จาก กกกกกกกhttps://lanmakhamvan.wordpress.com/2016/02/25/พทุ ธธรรม-ภมู ิคุ้มกันเย-2/ กกกกกกก)สืบคน้ เมื่อ 10 ตุลาคม 2562) จอหน์ ดอลลินส์. )2562). กญั ชา : ทาไมหลายประเทศในโลกถึงเปดิ รบั กญั ชากนั มากขนึ้ . กกกกกกกสบื ค้นจาก http://www.bbc.com/thai/international )สบื คน้ เมื่อ 7 ตุลาคม 2562.) จุฬาพัฒน์ ชา่ งเกตุ. )ม.ป.ป.). กฎหมายเกยี่ วกบั กัญชา. เข้าถงึ ได้จาก https://www. กกกกกกกparliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=2247 กกกกกกก)สืบค้นเม่ือ 11 ตลุ าคม 2562) จุฬาลงกรณ์, มหาวิทยาลยั . )ม.ป.ป.). สรปุ เวทีจุฬา ฯ เสวนา คร้ังที่ 19 “กญั ชา เพ่ือเยียวยา กกกกกกกสุขภาพ?” สืบค้นจาก http://www.chula.ac.th/news/19179/ กกกกกกก)สบื ค้นเมื่อ 27 สงิ หาคม 2562) รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชีวิต 283 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

281 ชีวจิต. )ม.ป.ป.). คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย ดีเดย์เปดิ บรกิ าร 13 แห่งทกุ เขตสขุ ภาพ. กกกกกกกสบื คน้ จาก http://www.bbc.gooddlifeupdate.com/healthy-body/ กกกกกกก)สบื คน้ เมื่อ 27 สงิ หาคม 2562) ถนดั ม่วงมณี. และประยนต์ ทรพั ยเ์ จริญ. )ม.ป.ป.). กัญชาสุดยอดยาวเิ ศษศาสตร์แหง่ การรักษา กกกกกกกโรคยคุ ใหม่. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์บรษิ ัทเอกพิมพ์ไท จากดั . ทมี งานวิชาการบริษัท ไซเบอรบ์ คุ ส์ แอนด์ ปรนิ้ ท์ จากดั . )ม.ป.ป.). หนงั สอื กัญชาสุดยอดยาวเิ ศษ กกกกกกกศาสตรแ์ หล่งการรกั ษาโรคยุคใหม.่ สานกั พมิ พ์ บรษิ ัทเอกพิมพ์ไท จากดั . ไทยรัฐ. )2562.). สารผสมเอง นา้ มนั กญั ชา “หยอดแลว้ ตาย” โดนแจง้ จบั พบเงินสดกว่า กกกกกกก3 ลา้ น. สืบค้นจาก http://www.thairath.co.th/news )สืบคน้ เม่ือ 25 กนั ยายน 2562) ไทยรัฐออนไลน์. )ม.ป.ป.) ไขขอ้ คาใจ กัญชารักษามะเร็ง‘มโนม่ัว’หรือ‘ยาสวรรค์. กกกกกกกสืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/content/616855 กกกกกกก)สืบคน้ เมื่อ 25 กันยายน 2562) ไทยรัฐออนไลน์. )ม.ป.ป.). ประวัติศาสตร์ฉบบั ยอ่ ของ “กญั ชา” สบื ค้นจาก กกกกกกกhttps://www.thairath.co.th/news/society/1570476 )สืบค้นเมอื่ 25 กันยายน 2562) ไทยรฐั ออนไลน์. )ม.ป.ป.). ความแตกระหว่าง \"กัญชง\" และ \"กัญชา\" สืบค้นจาก กกกกกกกกกก กกกกกกกhttps://www.thairath.co.th/content/849370 )สบื ค้นเม่ือ 25 กันยายน 2562) ไทยรัฐออนไลน์. )2562). สาวผสมเอง น้ามนั กัญชา \"หยอดแล้วตาย\" โดนแจง้ จบั กกกกกกกพบเงินสดกว่า 3 ลา้ น. สืบคน้ จากhttps://www.thairath.co.th/ กกกกกกกnews/local/north/1665323 )สบื คน้ เม่ือ 31 ตลุ าคม 2562) ธิติ มแี ตม้ ฐติ ิพล ปัญญาลิมปนันท์. )ม.ป.ป.). พชื รา้ ยหรอื สมนุ ไพรทางเลือก. กกกกกกกสบื คน้ จาก http://www.bbc.com/thai/thailand-42748753 กกกกกกก)สบื คน้ เม่ือ 27 สงิ หาคม 2562) ธิติ มแี ตม้ กานต์ธีรา ภูริวกิ รยั . )2562.). เม่อื กญั ชาแคนนาดาไฟเขียว : เบอ้ื งหลังและ กกกกกกกคาแนะนาจาก ดร.เจอร์เกน ไรหม์ นักวทิ ยาศาสตรอ์ าวโุ ส. กกกกกกกสบื คน้ จาก https://www.the101.world/cannabis-canada-experience/ กกกกกกก)สบื คน้ เมื่อ 11 ตุลาคม 2562) ธรี ะ วรธนารตั น์. )ม.ป.ป.). บทความเร่ืองกัญชา นโยบายที่ควรทบทวน. กกกกกกกสบื ค้นจาก http://www.tcijthai.com/news/ )สืบคน้ เมอ่ื 27 สิงหาคม 2562) 284 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

282 ธรี ะวฒั น์ เหมะจฑุ า. )2562). โรคใช้กญั ชารกั ษาได้ท้งั พาร์กินสนั อลั ไซเมอร์ ปวดจากระบบกกกก กกกกกกกประสาทผิดปกติ. สบื คน้ จาก https://www.thaipost.net/tag/กญั ชารักษาโรค กกกกกกก)สบื ค้นเม่ือ 10 ตุลาคม 2562) นิพนธ์ พวงวริทร์. )2562). โรคพารก์ นิ สันกับผสู้ ูงอาย.ุ สืบค้นจาก https://www.si.mahidol.ac.th/ กกกกกกกsidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=112 )สบื ค้นเมื่อ 7 ตุลาคม 2562) บา้ นและสวน. )2562). กญั ชา vs กัญชง ประวัตคิ วามเป็นมาและความต่างในความเหมือน. กกกกกกกสบื คน้ จาก https://www.baanlaesuan.com/145563/plant-scoop/marijuana กกกกกกก)สบื ค้นเม่ือ 7 ตุลาคม 2562) ประชาสัมพันธ์,กรม. )2562). สานักข่าว NATIONAL NEWS BUREAU OF THANILAND. )ม.ป.ป.). กกกกกกกย้าการโพสต์ซ้ือ – ขาย“กัญชา” หรอื ยาเสพตดิ ทุกชนดิ ผา่ นส่อื สงั คม ออนไลน์ เปน็ การ กกกกกกกกระทาทผ่ี ดิ กฎหมาย. สบื ค้นจาก http://www.thainws.prd.go.th/th/news/detail/ กกกกกกก)สืบค้นเม่ือ 27 สงิ หาคม 2562) ประชาไท. )2561). ศาลมาเลเซียตัดสนิ ประหารชวี ิตชายผู้แจกจ่ายกญั ชาทางการแพทย์ฟรี. กกกกกกกสบื คน้ จาก https://prachatai.com/journal/2018/09/78582 กกกกกกก)สืบค้นเมื่อ 31 ตุลาคม 2562) ปตั พงษ์ เกษสมบูรณ์. คณะแพทยศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . )2562). ขนาดยาจาก กกกกกกกกัญชาทเ่ี หมาะสมในการรักษาโรค. กรุงเทพฯ : กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ปานเทพ พัวพงษ์พันธ.์ )ม.ป.ป.). สรุ ิยนั กัญชาอมั ฤตย์โอสถแห่งความหวัง. กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์ กกกกกกกบา้ นพระอาทิตย์ ผกาทิพย์ ร่นื ระเริงศักดิ์. )2562). กญั ชากบั การรักษาโรค. สบื ค้นจาก https://www.pharmacy. กกกกกกกmahidol.ac.th/ )สบื ค้นเม่ือ 7 ตลุ าคม 2562) ผจู้ ัดการออนไลน.์ )ม.ป.ป.). เคาะใช้ น้ามนั กัญชา สตู ร CBD สงู ของ อภ.กลมุ่ ลมชักในเดก็ . กกกกกกกสืบคน้ จาก https://maronline.com/gol/8503/start=0 )สบื คน้ เมอื่ 11ตุลาคม2562) พงศ์ นพเกต.ุ )ม.ป.ป.). กัญชา ประโยชน์ หรือ โทษ. กกกกกกกสืบคน้ จาก http://www.nidapoll.nida.ac.th )สืบคน้ เมอ่ื 27 สิงหาคม 2562) พรทิพย์ ทองดี. )ม.ป.ป.). มองกญั ชาให้รอบด้าน. สบื คน้ จาก http://www.kornchadluek. กกกกกกกnet/news/breaking-news/370287 )สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2562) พินจิ จนั ทร.์ )พ.ศ.2562). กัญชงหรือเฮมพ์ ปลกู ก่อนรวยกอ่ น. สานกั พิมพ์ปญั ญาชน รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่อื ใช้เปน็ ยา หนังสือเรยี นสาระทักษะการดำ�เนินชวี ิต 285 อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

283 พีรพจน์ ปิน่ ทองดี. )ม.ป.ป.). กญั ชา : กฎหมายยาเสพตดิ อันเป็นอุปสรรคตอ่ การพัฒนากญั ชา กกกกกกกการแพทย์. สบื ค้นจาก https://www.tci-thaijo.org/ )สืบคน้ เมือ่ 7 ตลุ าคม 2562) แพทย์สภา. )2561). กัญชาทางการแพทย์. สืบคน้ จากhttps://www.tmc.ot.th/cannabis.php กกกกกกก)สืบค้นเม่ือ 7 ตุลาคม 2562) โพสต์ทูเดย์ รอบโลก. )2562.). เมอื งหลวงออสซี่ รับรองกฎหมายใช้กัญชาเพอ่ื สันทนาการ. กกกกกกกสบื คน้ จาก http://www.posttoday.com/world/601830 )สบื คน้ เม่อื 11ตลุ าคม2562) โพสตท์ เู ดย์ สังคมทั่วไป. )ม.ป.ป.). หนุนนากญั ชา–กระท่อมมาใช้ทางการแพทย์. กกกกกกกสบื คน้ จาก http://www.posttoday.com/social/general/)สบื คน้ เมอื่ 27สิงหาคม2562) ภาสนิ เหมะจฑุ า. )2562). กญั ชง กัญชา กบั ฤทธก์ิ นั ชกั โรคลมบา้ หม.ู สืบคน้ จาก กกกกกกกhttps://www.thairath.co.th/news/society/1570550 )สบื คน้ เมื่อ 7 ตลุ าคม 2562) รุจริ ะ บนุ นาค. )2561). สิทธิบตั รกบั กญั ชา. สืบค้นจาก https://martbunnag.com/artide/607/ กกกกกกก)สบื ค้นเม่ือ 7 ตุลาคม 2562) วสันต์ ศรีแกว้ นิตย์. )2562). ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเสพกญั ชาของผู้เข้ารับการตรวจพิสจู น์ : กกกกกกกกรณีศกึ ษา สถานควบคมุ ตัวและสถานท่เี พ่ือการตรวจพิสูจน์ เรอื นจากลาง กกกกกกกคลองเปรม. สบื ค้นจาก https://www.rsu.ac.th/cja/IS/18- กกกกกกกWASAN_%20SRIKAEWNIT-2560.pdf (สืบคน้ เม่ือ 27 กันยายน 2562) วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. )2562). ศลิ าจารกึ ตารายาวดั ราชโอรสาราม กกกกกกกราชวรวิหารทีส่ ญู หาย. สืบค้นจาก http://digi.library. tu.ac.th/index/0122/7 กกกกกกก-1-Jan-Apr-2552/08PAGE39-PAGE53.pdf )สืบคน้ เมื่อ 9 ตุลาคม 2562) วารสารสันตศิ กึ ษาปรทิ รรศน.์ )2562.). กัญชา : กฎหมายยาเสพตดิ อนั เป็นอปุ สรรคตอ่ การ กกกกกกกพัฒนากญั ชาการแพทย์. สืบค้นจาก https://www.tci-thaijo.org›index.php›journal- กกกกกกกpeace›article›download )สืบค้นเม่ือ 11 ตลุ าคม 2562) วชิ ยั โชควิวัฒน.์ (2562). วารสารทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก บทความ กกกกกกกกัญชาเป็นยาวิเศษจริงหรอื . )2562). กญั ชา กัญชา เป็นยาวเิ ศษ จริงหรือ. นนทบุรี : กกกกกกกสถาบันพฒั นาการคมุ้ ครองการวจิ ัยในมนษุ ย์ สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสุข เวสารสั เวสสโกวิท. )2562). แนวทางการใชส้ ารสกดั กญั ชาเมดคิ ลั เกรดกบั โรคผวิ หนงั . สืบค้นจาก กกกกกกกhttps://www.gpo.or.th/LinkClick.aspx?fileticket=PX_EM8lbhJM%3D&tabid= กกกกกกก414&mid=1297 )สืบค้นเมื่อ 10 ตลุ าคม 2562) 286 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ เพื่อใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา

284 ศนู ยพ์ ษิ วทิ ยารามาธิบดี คณะแพทย์ศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. )2562). กกกกกกกขอ้ ระวังการใช้ผลิตภัณฑก์ ัญชา. )สบื คน้ เม่ือ 28 สิงหาคม 2562) สถาบันสารวจและติดตามการปลูกพชื เสพตดิ . )ม.ป.ป.). ชุดองค์ความรู้พชื เสพติดกัญชง (HEMP) กกกกกกกโรงพมิ พส์ ถาบันสารวจและตดิ ตามการปลูกพืชเสพตดิ สานักงานคณะกรรมการป้องกันและ กกกกกกกปราบปรามยาเสพตดิ )ป.ป.ส.) กระทรวงยตุ ธิ รรม สมนกึ ศิริพานทอง. )2562). สถานการณก์ ารใช้ยาผลิตจากพชื กญั ชา. สืบคน้ จาก กกกกกกกhttps://www.gpo.or.th/Default.aspx?tabid=338&language=th-TH กกกกกกก)สบื คน้ เม่อื 7 ตุลาคม 2562) สมยศ กติ ติมัน่ คง. )2562). รกั ษาโรคดว้ ยกัญชงและกัญชา. )2562). กระทอ่ มและกัญชาทาง กกกกกกกการแพทย.์ กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์บริษัท โกกรนี โซเชียล เวนเจอร์ จากดั . สมยศ ศภุ กจิ ไพบลู ย์ พรรคเขียว จรรโลงโลก. (2562). กญั ชายาวเิ ศษ กัญชารักษามะเร็ง. กกกกกกกกรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พป์ ญั ญาชน. สยามรัฐออนไลน์ 1. )2562). การระดมความคดิ เตรยี มปลูกกญั ชา. กกกกกกกสืบค้นจาก today.line.me.th/article )สืบค้นเม่อื 31 ตลุ าคม 2562) สมศักดิ์ อรรฆศิลป์. )2562). Health Policy for Cannabis on Medical Use. อธิบดกี รม กกกกกกกการแพทยป์ ระธานคณะทางานเพ่ือพิจารณาการนากัญชามาใช้ทางการแพทย์ : กระทรวง กกกกกกกสาธารณสุข. สาธารณสุข, กระทรวง กรมการแพทย์. )2562). คาแนะนาการใช้กัญชาทางการแพทย์. กกกกกกกสืบค้นจาก http://www.dms.moph.go.th/dms2559/download/Final_Guidance.pdf กกกกกกก)สืบคน้ เมื่อ 7 ตลุ าคม 2562) สาธารณสุข, กระทรวง. )2562). ประกาศกาหนดตารับยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5 ทีม่ ีกญั ชา กกกกกกกปรุงผสมอยู่ ที่ใหเ้ สพเพื่อรักษาโรคหรือการศกึ ษาวิจัยได้. กรุงเทพฯ : กรมการแพทย์ สานักข่าว Hfocus. เจาะลกึ ระบบสุขภาพ ปลดล็อกใช้ประโยชนจ์ ากสาระสาคัญใน กกกกกกก“กัญชา – กัญชง” ได้ ยกเวน้ ไม่เปน็ ยาเสพตดิ . )2561). สบื ค้นจาก กกกกกกกhttps://www.hfocus.org )สบื คน้ เมื่อ 7 ตลุ าคม 2562)กกกกกกก สานักข่าวไทย อสม. )2562). ขอ้ มลู เปรยี บเทียบแอลกอฮอลก์ บั กัญชา. สบื ค้นจาก กกกกกกกhttps://tna.mcot.net/view )สืบคน้ เมื่อ 7 ตุลาคม 2562) สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. กกกกกกก)2562). หนังสอื เรยี นทักษะการดาเนินชีวิต รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา (ทช31002) กกกกกกกระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ฉบับปรับปรงุ 2560. ลิขสทิ ธ์ิเปน็ ของสานกั งาน กศน. กกกกกกกสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารเอกสารวชิ าการลาดับที่ 14/2555. รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใชเ้ ป็นยา หนงั สือเรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ิต 287 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

285 ส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ สานักงาน. )ม.ป.ป.). ผลติ ภณั ฑ์สารสกัด CBD (cannabidiol) กกกกกกกในออสเตรยี . สืบค้นจาก https://www.ditp.go.th/contents_attach/376953/376953.pdf กกกกกกก)สืบคน้ เม่ือ 27 สิงหาคม 2562) สวุ ัฒน์ แก้วสงั ขท์ อง. (2555). สาระทกั ษะการดาเนินชีวิต รายวิชาสขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา ทช21002. กกกกกกกกรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ปยิ มิตร มลั ตมิ เี ดยี จากัด. เสาวลกั ษณ์ เชอื้ คา. )2562). กญั ชาในอาหาร ชูรส เสพติด หรอื คิดไปเอง. กกกกกกกสืบคน้ จาก http://krua.co/food-story/food-feeds/ )สบื ค้นเม่ือ 25 กนั ยายน 2562) อภยั ภเู บศร. )2562). องคค์ วามรูก้ ญั ชาอภัยภเู บศรโมเดล. สืบคน้ จาก http://www.abhaiherb.com/ กกกกกกก)สบื คน้ เม่ือ 9 ตุลาคม 2562) อัมรนิ ทรท์ วี ี. )2562). อภัยภูเบศร เผยภมู ิปญั ญาชาวบ้านใชก้ ญั ชาปรงุ อาหารไทย กกกกกกกยา้ อยา่ ใสม่ ากเดยี๋ ว เมา. สบื คน้ จาก http://www.amarintv.com/news-update/news กกกกกกก)สบื ค้นเมื่อ 25 กนั ยายน 2562) BBC News บีบซี ีไทย. )2560). อิสราเอลเล็งลดโทษผเู้ สพกัญชา ให้เสียคา่ ปรบั ในสองคร้งั แรก. กกกกกกกจาก https://www.bbc.com/thai/international-39176802 กกกกกกก)สบื คน้ เมื่อ 31 ตลุ าคม 2562) BRIGHT today. (ม.ป.ป.). อย.ย้าออกใบอนญุ าตให้มี กัญชา ไมเ่ ก่ยี วปลูก/เสพ โพสตล์ ง กกกกกกกโซเชียลเส่ียงคกุ . สืบคน้ จาก http://www.brighttv.co.th/news กกกกกกก)สบื คน้ เมื่อ 27 สงิ หาคม 2562) CatDump News. (2018). เปิดภาพอุตสาหกรรมกัญชาในยุค 70 จากหนงั สือท่เี ป็นเหมือนคัมภีร์ กกกกกกกของสายเขียว. สืบคน้ จาก https://www.catdumb.com/mel-frank-007/ )สบื ค้นเมื่อ กกกกกกก27 สงิ หาคม 2562) Chiang Mai News. (ม.ป.ป.). แม่โจ้โพลล์ช้ี คนไทยเหน็ ด้วย นากัญชามาเป็นยา ช่วยลดต้นทนุ กกกกกกกนาเขา้ ยานอก. สบื คน้ จาก https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/871420 กกกกกกก)สบื ค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2562) Delivered by FeedBurner. )2562). ประวัตศิ าสตรก์ บั การใชก้ ญั ชาทางการแพทย์ในอดตี . กกกกกกกสืบค้นจาก https://www.กญั ชาทางการแพทย์ com//2019/05marijuana-cannabis- กกกกกกกdrugs-medical-use-history.htm (สืบคน้ เม่ือ 10 ตุลาคม 2562) Ganjathai. (ม.ป.ป.). กญั ชาสายพนั ธ์ตุ า่ งๆ. สบื คน้ จาก https://ganjathai.com/articles/cannabis- กกกกกกกvarieties/ (สบื ค้นเมือ่ 10 ตลุ าคม 2562) H focus. )2562.). เจาะลึกระบบสุขภาพ. สืบคน้ จาก https://www.hfocus.org/ )สบื ค้นเมื่อ 28 กกกกกกกสิงหาคม 2562) 288 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพื่อใช้เป็นยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

286 Hfocus. (ม.ป.ป.). เปดิ แลว้ คลนิ ิกกญั ชาแพทยแ์ ผนไทย เบื้องต้น “3 รพ” พรอ้ มจ่ายยาตารบั กกกกกกก“ศุขไสยาสน์” สืบคน้ จาก http:// hfocus.org/conten/2019/09/17653 กกกกกกก)สบื ค้นเมื่อ 27 สงิ หาคม 2562) KXLY news. (ม.ป.ป.). Straight Smokin Spokane กกกกกกกสบื คน้ จาก http://straightsmokinspokane.weebly.com/#/ กกกกกกก)สบื ค้นเม่ือ 27 สงิ หาคม 2562) livinggreenbotanicals.com. )2018). Does CBD Come From Industrial Hemp? กกกกกกกสืบคน้ จาก https://livinggreenbotanicals.com/2018/12/01/does-cbd-come- กกกกกกกfrom-industrial-hemp/ )สืบคน้ เม่ือ 10 สงิ หาคม 2562) Martin Woodbridge. )2562). ขอ้ มูลเบ้ืองต้นเกี่ยวกับกัญชาทางการแพทย์. ประเทศนิวซแี ลนด์ : กกกกกกกบริษัท Bedrocan International. )สืบคน้ เมอื่ 10 สิงหาคม 2562) Medibis. (ม.ป.ป.). ซีบีจี (CBG) รวมเอาความสุดยอดของ THC และ CBD มาไว้ด้วยกนั . กกกกกกกสืบคน้ จาก https://www.medibis.shop/post/cbg-oil )สบื คน้ เมื่อ 10 สงิ หาคม 2562) MGR Online. (ม.ป.ป.). เปดิ งานวิจยั การ“สูบกัญชา”ทาใหเ้ พิม่ หรือลดความเสี่ยงมะเรง็ กันแน่. กกกกกกกสบื ค้นจาก https://mgronline.com/daily/detail/9600000126015 กกกกกกก)สืบค้นเมอ่ื 10 สงิ หาคม 2562) MThai.com. (2562). เทรนดป์ ลูก-แปรรูปกญั ชงใช้ทาอาหาร-นมกญั ชง กาลังบูม. กกกกกกกสบื คน้ จาก http://today.line.me/th/pc/article )สืบค้นเม่ือ 11 ตลุ าคม 2562) NEW18. )2562). ฮือฮา เปิด “คลนิ กิ กัญชา” รพ.เจ้าพระยาอภยั ภูเบศร. กกกกกกกสบื ค้นจาก. https://www.newtv.co.th/news/37136 )สบื ค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2562) Paniti Wongkumjan. (ม.ป.ป.). สาร THC และ CBD ในกัญชา แตกตา่ งกันอยา่ งไร. กกกกกกกสบื คน้ จาก https://www.billionmindset.com/how-thc-cbd-difference/ กกกกกกก)สืบค้นเมื่อ 10 สงิ หาคม 2562) Pobpad. (ม.ป.ป.). โรคลมชกั . สืบคน้ จาก https://www.pobpad.com/ กกกกกกก)สืบค้นเม่อื 8 ตุลาคม 2562) Porraphat Jutrakul. (ม.ป.ป.). แพทย์แนะ 4 ข้อควรปฏิบตั ผิ ู้ปว่ ยโรคพารก์ ินสัน. กกกกกกกสืบคน้ จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/42483-.html กกกกกกก)สืบคน้ เมื่อ 9 ตุลาคม 2562) Rattapon Sanrak. (ม.ป.ป.). ประวตั ิศาสตร์กัญชา. สบื คน้ จาก https://highlandnetwork.asia กกกกกกก)สบื คน้ เมื่อ 8 ตลุ าคม 2562) รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพ่อื ใช้เป็นยา หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต 289 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

287 The Bangkok Insight. )2562). แห่งแรก อนุทิน เปิดคลินิกกัญชารกั ษาทางการแพทย์. กกกกกกกสืบค้นจาก http://www/thebangkokinsight.com )สบื ค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2562) TNEWS ONLINE. (ม.ป.ป.). สมนุ ไพรสาคัญในอารยธรรมตา่ ง ๆ ที่พระศิวะเจ้าทรงประทานแด่มวล กกกกกกกมนษุ ยท์ ี่นยิ มใชเ้ พื่อ \"ตดิ ตอ่ กบั พระเจา้ . สบื ค้นจาก https://www.tnews.co.th/ religion กกกกกกก)สืบคน้ เม่ือ 8 ตลุ าคม 2562) Workpoint News. )2562). กญั ชา ในมมุ มองของจิตแพทย์. สบื คน้ จาก กกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกhttps://workpointnews.com./2018/11/15/กญั ชา-ในมมุ มองของ จติ แพทย์ กกกกกกก)สบื ค้นเมื่อ 25 กนั ยายน 2562) 290 หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ิต เพอื่ ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

บรบรรณรณานานุกุกรมรมภภาาพพ ภาพหน้าปกหนังสือเรยี น มาจาก https://www.thairath.co.th/news/society/1662411 ไทยรัฐ กกกกกกกออนไลน์ https://www.technologychaoban.com/featured/article_106309 กกกก กกกกกกกเทคโนโลยีชาวบ้าน https://www.thairath.co.th/news/society/1570476 ไทยรัฐ กกกกกกกออนไลน์ https://oryor.com/%E0%B8%AD%E0%B8%A2/infographic/detail/ กกกกกกก73/1744 สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) https://www.matichon กกกกกกกweekly.com/column/article_81038 มตชิ นสุดสปั ดาห์ https://th.pngtree.com/กก กกกกกกกfreepng/wood- floor-background_3612574.html pngtree https://28309guy. กก กกกกกกกblogspot.com/2019/03/blog-post.html https://voicetv.co.th/read/B1Id7u_9X กกกกกกกVOICEonline https://1th.me/qQQqS pixabay https://1th.me/b1qTw Articlekey กกกกกกกและ https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84% E0%B8%A5%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%81 พบแพทย์ ภาพปกหลงั หนังสือเรียน มาจาก https://www.medibis.shop/post/cbg-hemp Medibis กกกกกกกhttps://images.theconversation.com/files/233891/original/file-20180828- กกกกกกก86153-12l36j6.jpg?ixlib=rb-1.1.0&q=45&auto=format&w=754&fit=clip กกกกกกกคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหิดล และ https://www.simplycbdwales.com/2019/ กกกกกกก03/15/cbd-an-introduction-and-history/ ภาพท่ี 1 มาจาก https://www.thairath.co.th/news/local/north/1665323 ภาพที่ 2 มาจาก facebook สานักประชาสัมพนั ธ์เขต 1 ภาพที่ 3 มาจาก Line today.line.me.th/article ภาพท่ี 4 มาจาก https://www.youtube.com/watch?v=QZ1cP4_3As8 ภาพท่ี 5 มาจาก https://www.thairath.co.th/tags ภาพที่ 6 มาจาก https://thailandhivtestplace.lovefoundation.or.th/ ภาพท่ี 7 มาจาก โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภูเบศร ภาพที่ 8 มาจาก โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร ภาพท่ี 9 มาจาก โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภูเบศร ภาพที่ 10 มาจาก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวิต 291 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

289 ภาพท่ี 11 มาจาก โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภูเบศร ภาพท่ี 12 มาจาก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร ภาพที่ 13 มาจาก โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภเู บศร ภาพที่ 14 มาจาก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร ภาพท่ี 15 มาจาก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภเู บศร ภาพที่ 16 มาจาก มลู นธิ ิโรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร ในพระอุปถัมภ์ สมเดจ็ พระเจา้ ภคนิ เี ธอ กกกกกกก เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิรโิ สภาพัณณวดี ภาพที่ 17 มาจาก World Health Organization (WHO). Cannabis and cannabis resin. กก กกกกกกก Geneva; 2018. p. 10. ภาพที่ 18 มาจาก www.gpo.or.th/LinkClick.aspx?fileticket=sjyxuXZvxNU%3d&tabid กกกกกกก =388&mid=1186&language=th-TH ภาพท่ี 19 มาจาก www.gpo.or.th/LinkClick.aspx?fileticket=sjyxuXZvxNU%3d&tabid กกกกกกก =388&mid=1186&language=th-TH ภาพที่ 20 มาจาก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร ภาพที่ 21 มาจาก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ภาพที่ 22 มาจาก โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภเู บศร ภาพที่ 23 มาจาก https://www.catdumb.com/mel-frank-007/ ภาพท่ี 24 มาจาก World Health Organization (WHO). Cannabis and cannabis resin. กกกกกกก Geneva; 2018. p. 10. ภาพท่ี 25 มาจาก https://www.who.int/medicines/access/controlled- substances/Cannabis-and-cannabis-resin.pdf?ua=1 ภาพท่ี 26 มาจาก https://chroniccreation.com/thc-diamonds/ ภาพที่ 27 มาจาก https://getcannabisonline.ca/product/thc-distillate/ ภาพที่ 28 มาจาก https://terpenesandtesting.com/live-resin-cannabis-concentrates/ ภาพท่ี 29 มาจาก https://cannabisnow.com/what-is-shatter-marijuana-concentrate/ ภาพที่ 30 มาจาก https://www.coloradopotguide.com/marijuana-glossary/budder/ ภาพที่ 31 มาจาก https://mcleoneldispensary.com/product/budder/ ภาพที่ 32 มาจาก https://gramho.com/media/2150538646963720535 ภาพที่ 33 มาจาก https://keytocannabis.com/blogs/cannabis/what-are- cannabis-concentrates-a-guide-to-extraction-techniques ภาพท่ี 34 มาจาก https://keytocannabis.com/blogs/cannabis/what-are- 292 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ เพื่อใช้เป็นยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา

290 cannabis-concentrates-a-guide-to-extraction-techniques ภาพท่ี 35 มาจาก https://keytocannabis.com/blogs/cannabis/what-are- cannabis-concentrates-a-guide-to-extraction-techniques ภาพท่ี 36 มาจาก https://www.eastbayexpress.com/oakland/a-little-dab-could-doom- ya/Content?oid=3518696 ภาพท่ี 37 มาจาก https://www.justbob.shop/products/cannabis/ ภาพที่ 38 มาจาก https://merryjane.com/culture/how-long-do-weed-edibles- stay-in- your-system,https://board.postjung.com/1080669, https://www.thedrinksbusiness.com/2018/06/heineken-has-launched-a-non- alcoholic-cannabis-beer-under-the-lagunitas-brand/ ภาพท่ี 39 มาจาก https://www.indiamart.com/proddetail/hemp-seed-oil-19402298555.h ภาพที่ 40 มาจาก https://drive.google.com/drive/folders/0B9Pd9rJRFMPde FMwcy1jX1lPTzA? fbclid=IwAR1Ak1Ede4Fu-QYbZ6cfu72_ZghK6FSb YebVAJmAOp-LM7EbHIuL_Ci-cbs ภาพที่ 41 มาจาก https://oryor.com/%E0%B8%AD%E0%B8%A2/ detail/media_ printing/1395 ภาพที่ 42 มาจาก https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid= 1544703225673230&id=216848761792023 ภาพที่ 43 มาจาก https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1656914 ภาพที่ 44 มาจาก https://today.line.me ภาพที่ 45 มาจาก https://www.medicinalthaicannabis.com/thai-cannabis- laws?fbclid= IwAR3McpGoOdJOItiE9ESg_DzjXXoe4zQhUXHzjHWXoYVOp9S-RtydDIH0ykw ภาพที่ 46 มาจาก https://oryor.com/%E0%B8%AD%E0%B8%A2/detail/media_ printing/1744 ภาพท่ี 47 มาจาก https://www.twipu.com/pathrx495/tweet/1167841776930963456 ภาพที่ 48 มาจาก https://oryor.com/%E0%B8%AD%E0%B8%A2/detail/media_news/1707 ภาพที่ 49 มาจาก http://eyespimlapas.blogspot.com/2017/ ภาพท่ี 50 มาจาก http://www.tloubi.cmu.ac.th/tloubi1_detail.php?ID=68 ภาพที่ 51 มาจาก https://www.prachachat.net/facebook-instant-article/news-254286 ภาพท่ี 52 มาจาก http://www.diripatent.org/single_page/23 ภาพท่ี 53 มาจาก https://workpointnews.com/2018/12/26/ไทยไม่ได้ประโยชน์จาก/กม- รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอื่ ใชเ้ ป็นยา หนังสือเรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ 293 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

291 ภาพที่ 54 มาจาก https://www.facebook.com/592927530849788/posts/13224770 64561494?sfns=mo ภาพที่ 55 มาจาก https://www.moj.go.th/view/8027 ภาพท่ี 56 มาจาก https://www.moj.go.th/view/34714?fbclid=IwAR3Dm5K8BBoPlJBCTT- if_RM2kZHEXMpkqhgXyP7V_eD9glW_tH4dXEFwD8 ภาพที่ 57 มาจาก https://www.bltbangkok.com ภาพท่ี 58 มาจาก https://www.slideshare.net/benzwongumpornpinit/ss-76607009 ภาพที่ 59 มาจาก https://mgronline.com/daily/detail/9610000106793 ภาพท่ี 60 มาจาก https://hi-in.facebook.com/fondokmaipd/posts/547718048993010 ภาพที่ 61 มาจาก digi.library.tu.ac.th/index/0122/7-1-Jan-Apr-2552/08PAGE39-PAGE53.pdf ภาพที่ 62 มาจาก http://lexnoy.blogspot.com/2018/09/blog-post_511.html ภาพท่ี 63 มาจาก https://www.samunpri.com/medicine/category/thai-medicine/page/2/ ภาพท่ี 64 มาจาก https://www.samunpri.com/medicine/category/thai-medicine/page/3/ ภาพที่ 65 มาจาก https://www.samunpri.com/medicine/category/thai-medicine/page/3/ ภาพท่ี 66 มาจาก https://www.samunpri.com/medicine/category/thai-medicine/page/3/ ภาพที่ 67 มาจาก https://www.matichon.co.th/local/news_470042 ภาพที่ 68 มาจาก https://www.sentangsedtee.com/health-beauty/article_117535 ภาพท่ี 69 มาจาก https://www.sentangsedtee.com/health-beauty/article_117535 ภาพที่ 70 มาจาก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภเู บศวร ภาพท่ี 71 มาจาก https://www.thairath.co.th/news/society/1647300 ภาพที่ 72 มาจาก https://www.facebook.com/abhaiherb.center/ ภาพที่ 73 มาจาก มาจาก https://www.facebook.com/228319977850497/posts/ 393498127999347/ ภาพที่ 74 มาจาก https://www.naewna.com/likesara/363190 ภาพท่ี 75 มาจาก https://www.77kaoded.com/content/612967 ภาพที่ 76 มาจาก https://www.bbc.com/thai/thailand-47944088 ภาพท่ี 77 มาจาก https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/1081132 ภาพท่ี 78 มาจาก มูลนิธโิ รงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภเู บศรในพระอปุ ถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจา้ ฟา้ เพชรรัตนราชสุดา สิรโิ สภาพณั ณวดี ภาพท่ี 79 มาจาก https://www.xn--12carlo5dc9cwbh2moabc0urg.com/2019/04/ synthetic- cannabinoids-drug.html 294 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชวี ติ เพอื่ ใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

292 ภาพท่ี 80 มาจาก https://www.xn--12carlo5dc9cwbh2moabc0urg.com/2019/04/ synthetic-cannabinoids-drug.html ภาพท่ี 81 มาจาก https://www.xn--12carlo5dc9cwbh2moabc0urg.com/2019/04/ synthetic-cannabinoids-drug.html ภาพที่ 82 มาจาก https://www.cannhealth.org/content/5824/epidiolex ภาพท่ี 83 มาจาก https://www.leafly.com/news/strains-products/8-cbd-dog-treats ภาพที่ 84 มาจาก https://www.sativaisticated.com/medical-cannabis-medical- กกกกกกก marijuana-tincture- thc-cbd-treatwell-health-by-sativaisticated/ // / / / / รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ติ 295 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

294 / /ภาคผนวก / / / / / / / / / / / /

296 /ภาคผนวก ก. นิยามศพั ท์

297 นยิ นายิมาศมัพศทพั ์ท์ กกกกกกก1. พืชกัญชา (Cannabis sativa L.) เป็นพืชในสกุล Cannabis ทั้งนี้หมายรวมถึงพืชกัญชา และพชื กญั ชง กกกกกกก2. กัญชา (Cannabis) ซึ่งเป็นพืชในสกุล Cannabis ท้ังน้ีให้หมายความรวมถึงทุกส่วน ของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น และวัตถุหรือสารต่าง ๆ ที่มีอยู่ในพืชกัญชา เช่น ยาง นา้ มัน ท่มี ีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล )tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอก เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้ง โดยตรวจวิเคราะห์ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการ ประกาศกาหนด (ตามกฎหมายไทย) กกกกกกก3. กัญชง (Hemp) มีลักษณะเป็นพืชซ่ึงมีช่ือทางวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา )Cannabis sativa L.) ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดร แคนนาบินอล )tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอก ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้ง โดยตรวจวเิ คราะห์ ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารทีค่ ณะกรรมการประกาศกาหนด (ตามกฎหมายไทย) กกกกกกก4. แคนนาบินอยด์ (cannabinoids) เป็นกลุ่มสารเคมีหลักที่พบในกัญชาและกัญชง ซึ่ง เป็นสารออกฤทธ์ิทางชีวภาพ ปริมาณของสารแคนนาบินอยด์จะแตกต่างกันไปตามส่วนของพืช พบ สงู สดุ ในดอกเพศเมยี ท่ียังไม่ไดผ้ สมพันธุ์ กกกกกกก5. เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) เป็นสารแคนนาบิ นอยดช์ นดิ หนึง่ ซึง่ พบมากในกญั ชา มีฤทธติ์ อ่ จิตประสาท ทาให้มึนเมา แตก่ ม็ ฤี ทธใ์ิ นการรักษาดว้ ย กกกกกกก 6. แคนนาบไิ ดออล (cannabidiol, CBD) เป็นสารแคนนาบินอยด์ชนดิ หนงึ่ ซงึ่ พบมาก ในกัญชง ไม่มีฤทธิ์ต่อจติ ประสาท ไม่ทาให้มึนเมา และมีฤทธ์ิในการรักษา ตามกฎหมายไทย เป็นสารทสี่ กัด จากกัญชงซ่ึงมีความบริสุทธ์ิมากกว่า หรือเท่ากับร้อยละ 99 โดยมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล )tetrahydrocannabinol, THC) ไม่เกนิ รอ้ ยละ 0.01 โดยน้าหนัก กกกกกกก7. แคนนาบิเกอโรลิค แอซดิ (Cannabigerolic acid, CBGA) เป็นสารต้นกาเนดิ ของ สารแคนนาบินอยด์ทุกชนดิ ของตน้ กัญชาและกัญชง เมื่อถูกความร้อนจะเปลย่ี นเป็นแคนนาบิเจอรอล (Cannabigerol, CBG) รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพือ่ ใช้เป็นยา หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนินชวี ิต 299 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

298 / / / / / / /ภาคผนวก ข. เฉลยกจิ กรรมท้ายบท

299 เฉลยกจิ เฉกลรยรกมิจทกา้ รยรบมททา้ ยบท บทที่ 1 เหตุใดตอ้ งเรยี นรกู้ ัญชาและกัญชง 1. กจิ กรรมที่ 1 ข้อ 1 ง. ขอ้ 2 ค. ข้อ 3 ค. ขอ้ 4 ง. ขอ้ 5 ข. 2. กจิ กรรมท่ี 2 .......ช........1. .......ซ........2. .......ค........3. .......ง........4. .......ก........5. 3. กิจกรรมท่ี 3 ....... .......1. ....... .......2. .......  .......3. ....... .......4. ........ .......5. บทท่ี 2 กญั ชาและกญั ชงพชื ยาทีค่ วรรู้ 1. กิจกรรมท่ี 1 ขอ้ 1 ง. ข้อ 2 ก. ขอ้ 3 ค. ขอ้ 4 ข. ขอ้ 5 ง. รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา เพื่อใชเ้ ป็นยา หนังสอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนินชีวติ 301 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

300 2. กิจกรรมที่ 2 .......จ........1. .......ซ........2. .......ก........3. .......ง........4. .......ข........5. 3. กจิ กรรมที่ 3 …….…1. ……….2. ....…….3. ………..4. …….…5. บทท่ี 3 รู้จกั โทษและประโยชน์ของกญั ชาและกญั ชง 1. กจิ กรรมท่ี 1 ข้อ 1 ง. ขอ้ 2 ค. ข้อ 3 ก. ข้อ 4 ง. ข้อ 5 ข. 2. กิจกรรมที่ 2 .......ค........1. .......ง........2. .......จ........3. .......ฉ........4. .......ช........5. 3. กิจกรรมท่ี 3 .............1. .............2. ............3. 302 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ เพ่ือใช้เปน็ ยา อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศกึ ษา

301 ............4. ............5. บทที่ 4 กฎหมายที่เก่ยี วขอ้ งกับกญั ชาและกัญชง 1. กิจกรรมที่ 1 ขอ้ 1 ก. ขอ้ 2 ก. ขอ้ 3 ก. ขอ้ 4 ข. ขอ้ 5 ก. 2. กิจกรรมที่ 2 .......จ........1. .......ง........2. .......ข........3. .......ค........4. .......ซ........5. 3. กจิ กรรมที่ 3 ....... ....1. .............2. ............3. ............4. ...... .....5. บทที่ 5 กญั ชากบั การแพทยท์ างเลือก 1. กิจกรรมที่ 1 ขอ้ 1 ง ข้อ 2 ก ข้อ 3 ข ข้อ 4 ค ข้อ 5 ค รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยา หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการด�ำ เนินชีวติ 303 อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

302 2. กิจกรรมท่ี 2 .......ง........1. .......ค........2. .......ข........3. .......ฉ........4. .......ก........5. 3. กจิ กรรมท่ี 3 ....... ....1. ....... ...2. ....... ...3. ....... ....4. ...... .....5. บทที่ 6 กญั ชาและกัญชงกบั การแพทยแ์ ผนปัจจุบัน 1. กจิ กรรมที่ 1 ข้อ 1 ก. ขอ้ 2 ง. ข้อ 3 ค. ข้อ 4 ง. ขอ้ 5 ง. 2. กิจกรรมท่ี 2 .......ก........1. .......ค........2. .......ง........3. .......ข........4. .......ช........5. 3. กิจกรรมท่ี 3 ....... ......1. ....... ......2. ...............3. 304 หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดำ�เนนิ ชวี ิต เพอ่ื ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา

303 ....... .......4. ....... ......5. บทท่ี 7 ใช้กัญชาและกัญชงเปน็ ยาอยา่ งรคู้ ุณคา่ และชาญฉลาด 1. กจิ กรรมท่ี 1 ขอ้ 1 ง ข้อ 2 ง ข้อ 3 ค ขอ้ 4 ค ขอ้ 5 ก 2. กิจกรรมที่ 2 .......ง........1. .......ก........2. .......ช........3. .......ซ........4. .......ค........5. 3. กจิ กรรมท่ี 3 ....... ........1. ....... .......2. ................3. ....... .......4. ....... .......5. รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพอ่ื ใช้เป็นยา หนังสือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชีวติ 305 อยา่ งชาญฉลาด | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

304 / / / / / / /ภาคผนวก ค. การอนุมตั ิใชห้ นังสอื เรยี น / / / / / / / /

306 ประกาศสานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร เร่ือง การอนมุ ัตใิ ชห้ นงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวิต รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชง ศึกษา เพ่อื ใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย __________________________________________ กกกกกกกตามท่ีสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร ได้จัดทาหลักสูตรรายวิชาเลือก สาระทักษะการดาเนินชีวิต รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชง ศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซ่ึงจัดทาขึ้นตามโครงสร้างของ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 นั้น เพื่อให้การจัด การศึกษาหลักสูตรรายวิชาเลือกน้ีบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ จึงได้จัดทาส่ือหนังสือเรียนสาระทักษะ การดาเนินชีวิต รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เพอ่ื ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ของผู้เรยี นและเป็นส่ือการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ของครูผู้สอนให้กับผู้เรียน โดยได้ผ่านการตรวจสอบจากคณะกรรมการพิจารณาความสอดคล้องของ เนื้อหาหลกั สตู รในสอ่ื หนงั สอื เรยี นเรียบรอ้ ยแล้ว กกกกกกกดังนั้น เพื่อให้การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่อื ใช้เปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยเขต ในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กรุงเทพมหานคร เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ให้ครูผู้สอนนาสื่อหนังสือเรียน สาระทักษะการดาเนินชีวติ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ไปใช้เป็นส่ือประกอบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้ศึกษา เรียนรู้ ตั้งแตภ่ าคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 เป็นตน้ ไป กกกกกกกประกาศ ณ วนั ท่ี 25 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2562 )นายปรเมศวร์ ศิรริ ัตน)์ ผอู้ านวยการสานักงาน กศน.กทม. รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพอ่ื ใช้เป็นยา หนงั สือเรียนสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต 307 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

308 / /ภาคผนวก ง. รายช่อื คณะทางานจัดทาส่ือหนงั สือเรยี น

รายชอ่ื คณะท�ำ งานจดั ท�ำ ส่อื หนงั สือเรียน ท่ีปรกึ ษาการจดั ทำ�สอ่ื หนงั สือเรยี น ผอู้ ำ�นวยการ ส�ำ นกั งาน กศน.กทม. 1. ดร.ปรเมศวร ์ ศริ ริ ัตน ์ 2. เภสชั กรหญิง ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร เภสัชกรเช่ียวชาญ หวั หน้ากลุ่มงานเภสชั กรรม รองผอู้ �ำ นวยการดา้ นการแพทย์แผนไทย และสมนุ ไพร โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภเู บศร 3. ดร.จรุ ัญญา ออ่ นล้อม ทีป่ รกึ ษามูลนิธิ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพระอุปถมั ภ์ สมเด็จพระเจา้ ภคินีเธอเจ้าฟา้ เพชรรัตนราชสุดา สริ ิโสภาพณั ณวดี คณะวิทยากรจัดท�ำ 1. รองศาสตราจารย์ ดร.พชั รี ศรสี งั ข์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ขา้ ราชการบ�ำ นาญ 2. นายสงั คม โทปรุ ินทร ์ ผู้อ�ำ นวยการสถานศกึ ษาเชย่ี วชาญ สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 36 ข้าราชการบำ�นาญ บทที่ 1 เหตุใดต้องเรียนรู้กญั ชาและกัญชง 1. นางสาวนภาภคั รุ่งช่วง ผอู้ �ำ นวยการ กศน.เขตราษฎรบ์ รู ณะ 2. นางผกามาศ เรอื งจิรษั เฐยี ร ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตราษฎรบ์ ูรณะ 3. นางสาววิภาวรรณ เฉยชติ ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตราษฎรบ์ รู ณะ 4. นางสาวอไุ รวรรณ ฟักฉิม ครู กศน.ต�ำ บล กศน.เขตราษฎรบ์ ูรณะ 5. นางสาวทรายเพช็ ร อุไรพงษ ์ ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตราษฎร์บรู ณะ 6. นางสาวอัมรา เงินโพธ์ิ ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตราษฎร์บูรณะ บทท่ี 2 กัญชาและกัญชงพืชยาท่ีควรรู้ ผู้อำ�นวยการ กศน.เขตประเวศ ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตประเวศ 1. นางอ�ำ พรศิลป์ ลมิ าภิรกั ษ ์ ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตประเวศ 2. นางสาวธีรภา พกิ ุลแกว้ ครู กศน.ต�ำ บล กศน.เขตประเวศ 3. นางสาวลลติ า แก้วมณี ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตประเวศ 4. นางสาวกติ ตวิ รา ทองเฟอื่ ง 5. นางสาวพนดั ดา จเู ปยี รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา เพือ่ ใชเ้ ปน็ ยา หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดำ�เนนิ ชวี ิต 309 อยา่ งชาญฉลาด | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

บทที่ 3 รจู้ กั โทษและประโยชนข์ องกญั ชาและกัญชง 1. นางวนั เพ็ญ แจม่ อนงค์ ผูอ้ �ำ นวยการ กศน.เขตคลองสามวา 2. นางสาวยุพิน ด�ำ ดิน ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตคลองสามวา 3. นายณัฐพงษ์ ชนะกอ ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตคลองสามวา 4. นางสาวกรกนก แจม่ อนงค์ ครูศูนย์การเรยี นชมุ ชน กศน.เขตคลองสามวา 5. นายเกรกิ เกยี รติ อิ้งรตั น ์ ครศู นู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน กศน.เขตคลองสามวา บทที่ 4 กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชากญั ชง 1. นางสาวบุสรา นลิ เตะ๊ ผู้อำ�นวยการ กศน.เขตบางบอน รักษาการในต�ำ แหน่ง ผอู้ �ำ นวยการ กศน.เขตจอมทอง 2. นายนิวัฒน์ จันทร์เทศ ครู กศน.เขตจอมทอง 3. นางสาวนติ ยา คำ�เลิศ ครอู าสาสมัคร กศน. เขตจอมทอง 4. นางสาวองิ อร เอกนลิ ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตจอมทอง 5. นายวิทยา เจือจันทร ์ ครศู ูนยก์ ารเรียนชุมชน กศน.เขตจอมทอง บทที่ 5 กญั ชาและกญั ชงกบั การแพทย์ทางเลอื ก 1. นางสาวบสุ รา นลิ เตะ๊ ผู้อำ�นวยการ กศน.เขตบางบอน 2. นางมณฑาทิพย ์ จนั ทร์เพ็ญ ครูผชู้ ว่ ย กศน.เขตบางบอน 3. นางสาวชญาภา ศรสี วัสด ์ิ ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตบางบอน 4. นางสาวสุขใจ สขุ ประเสริฐ ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตบางบอน 5. นายณดล จาริยพานชิ ครูศนู ย์การเรียนชมุ ชน กศน.เขตบางบอน 6. นายจริ ะวัฒน์ วฒั นะกูลอทิ ธ ิ ครูศูนยก์ ารเรียนชุมชน กศน.เขตบางบอน บทที่ 6 กัญชาและกัญชงกบั การแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั 1. ดร.เบญจพร จ่ันเจริญ ผ้อู �ำ นวยการ กศน.เขตบางรัก 2. นางสาวอาร ี หอมชะเอม ครูผ้ชู ่วย กศน.เขตบางรัก 3. นายศกั ดิ์รวี วงศ์ศิริวัฒน ์ ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตบางรกั 4. นายกมลวัฒน์ ดอกตะไกล้ ครู กศน.ต�ำ บล กศน.เขตบางรัก 5. นางสาวจนั จริ าศริ วิ าลย์ ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตบางรกั ก บทท่ี 7 ใชก้ ญั ชาและกญั ชงเปน็ ยาอยา่ งรูค้ ุณค่าและชาญฉลาด 1. นางสาวจิราภรณ ์ ตันตถิ าวร ผู้อำ�นวยการ กศน.เขตบางกอกใหญ่ 2. นางกฤษณา เทพเมือง ครผู ชู้ ว่ ย กศน.เขตบางกอกใหญ่ 310 หนังสือเรยี นสาระทักษะการด�ำ เนนิ ชวี ติ เพอ่ื ใช้เปน็ ยา อย่างชาญฉลาด | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา

3. นางสาววรี ินทร์ วงศป์ ระชารัตน ์ ครูอาสาสมัคร กศน.เขตบางกอกใหญ่ 4. นางสาวปทิตตา วิรยิ ะธรรม ครู กศน.ต�ำ บล กศน.เขตบางกอกใหญ่ 5. นายนพวงศ ์ ดาวลั ย์ ครู กศน.ต�ำ บล กศน.เขตบางกอกใหญ่ คณะบรรณาธกิ าร ผอู้ ำ�นวยการ ส�ำ นักงาน กศน.กทม. รองผู้อ�ำ นวยการ สำ�นักงาน กศน.กทม. 1. ดร.ปรเมศวร์ ศิรริ ัตน์ รองผู้อ�ำ นวยการ ส�ำ นักงาน กศน.กทม. 2. นางภคภัทร แก้วมศี รี ผู้อ�ำ นวยการ กศน.เขตบางรกั 3. นายบญุ เลิศ ตองตดิ รัมย์ ผู้อ�ำ นวยการ กศน.เขตประเวศ 5. ดร.เบญจพร จ่ันเจริญ ผูอ้ �ำ นวยการ กศน.เขตคลองสามวา 6. นางอ�ำ พรศลิ ป ์ ลมิ าภริ ักษ ์ ผอู้ �ำ นวยการ กศน.เขตราษฎร์บูรณะ 7. นางวันเพญ็ แจม่ อนงค์ ผู้อำ�นวยการ กศน.เขตบางบอน 8. นางสาวนภาภัค รุง่ ช่วง ผู้อำ�นวยการ กศน.เขตบางกอกใหญ่ 9. นางสาวบุสรา นลิ เตะ๊ นักวชิ าการศึกษาช�ำ นาญการ 10. นางสาวจิราภรณ ์ ตันตถิ าวร สำ�นักงาน กศน.กทม. 11. นางทศั นีย ์ นวิ าศะบุตร ครู กศน.ตำ�บล กศน.เขตคลองสามวา ผู้ออกแบบปก นักวชิ าการศกึ ษา สำ�นักงาน กศน.กทม. นกั จดั การงานทัว่ ไป ส�ำ นักงาน กศน.กทม. นายณฐั พงษ์ ชนะกอก ผู้ประสานงาน 1. นางสาวนนลนยี ์ ประภัสร์สินธร 2. นางสาวสดุ ารัตน ์ อมรเสถียรชัย รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เปน็ ยา หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการด�ำ เนินชวี ิต 311 อย่างชาญฉลาด | ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

สินค้าอะไรบ้างไม่มีสิทธิ์ขอคืนภาษีศุลกากร

ของที่ไม่ได้รับคืนอากรตามมาตรา ๒๙เครื่องจักร เครื่องมือเครื่องใช้ที่มีลักษณะคงทนใช้ซ้ำได้ เช่น แม่พิมพ์ (Mould) เครื่องใช้ในการผลิตชนิดต่าง ๆ เช่น ลูกกลิ้งบดแร่ (Grinding Ball) ที่ใช้ในการบดแร่ เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำจากทังสเตนคาร์ไบด์ (Tungsten Carbide) ที่ใช้ในการผลิตนาฬิกา เป็นต้น

ฐานภาษีศุลกากร มีกี่ประเภท ประกอบด้วยอะไรบ้าง

1. ฐานภาษีกรณีทั่วไป.

2. ฐานภาษีการส่งออก.

3. ฐานภาษีการนำเข้า.

4. ฐานภาษีกรณีพิเศษ.

ด่านศุลกากร มี ทั้งหมด กี่ ด่าน

ด่านศุลกากร ในสังกัดกรมศุลกากรมีจำนวนทั้งสิ้น 47 ด่าน ดังนี้ สำนักงานศุลกากรภาคที่ 1 มีด่านศุลกากร จำนวน 8 ด่าน ได้แก่ คลองใหญ่ จันทบุรี ชุมพร ประจวบคีรีขันธ์ แม่กลอง ระนอง สังขละบุรี และอรัญประเทศ

สินค้าอะไรบ้างที่ต้องเสียภาษีนำเข้า

1. การนำเข้าสินค้า.

1.1 อากรขาเข้า อากรขาเข้าจะถูกเรียกเก็บเมื่อมีการนำเข้าสินค้าที่มีมูลค่าเกินกว่าอัตราที่กฎหมายกำหนด ... .

1.2 ภาษีสรรพสามิต ... .

1.3 ภาษีเพื่อมหาดไทย ... .

1.4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม.