บ คคลท ม ความบกพร องทางส ขภาพทางการเคล อ นไหว

46 ภาพหนงั สอื อักษรเบรลล์ ภาพหนังสอื เสยี ง ภาพสอื่ อกั ษรเบรลล์ประกอบภาพนนู ภาพหนงั สอื อกั ษรขยาย ภาพตวั อย่างส่ือการสอนคณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ อุปกรณ์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศกึ ษา ท่ีใช้ในการผลิตส่ือประกอบการเรยี นการสอน สาหรับนกั เรียนท่ีมคี วามบกพร่องทางการเห็น 1. สเลทและสไตลสั ( Slate & Stylus ) 2. เครอ่ื งพิมพ์ดีดอกั ษรเบรลล์ ( Brailler ) 3. เครอ่ื งเทอร์โมฟอรม์ ( Thermoform ) 4. เครอ่ื งทาภาพนูน ( Tactile Image ) 5. ปากกาทาภาพนนู ( Thermo Pen ) 6. เครื่องพมิ พอ์ กั ษรเบรลลร์ ะบบคอมพิวเตอร์ ( Braille Embosser) 7. เครอ่ื งแสดงผลอกั ษรเบรลล์ (Power Braille Display, PAC Mate, Focus, Brilliant) 8. เคร่อื งฟังหนังสอื แถบเสียงระบบวีซดี ี ดีวีดี 9. เครอ่ื งฟงั หนังสือแถบเสียงระบบเดซี (Plex Talk) 10. เคร่ืองคอมพวิ เตอรแ์ บบต้งั โต๊ะ (Desktop ) 11. เครื่องคอมพวิ เตอร์แบบพกพา (Notebook )

47 12. โปรแกรมสงั เคราะห์เสยี ง ( JAWS หรือ NVDA ) 13. Close Circuit Television ( CCTV ) 14. โปรแกรมฟังหนงั สอื แถบเสยี ง TAB Player, AMIS 15. โปรแกรมตาทิพย์ ( PPA ตาทิพย์ ) 16. โปรแกรมแปลอกั ษรปกติเป็นอกั ษรเบรลลท์ ง้ั ภาษาไทย และภาษาองั กฤษ (TBT, DBT ) 17. โปรแกรมขยายจอภาพ ( Zoom Text หรือ Magic ) 18. โปรแกรมผลติ หนงั สือเสยี งระบบ DAISY ( Sigtuna DAR3, Tobi , Plax Talk Recorder) 19. โปรแกรมบนั ทึกเสียง ( Sound Forge, Cool Edit ) 20. โปรแกรมอ่านหนงั สือ ( Open Book ) 21. Note takers (Braille Note, PAC Mate, Braille Lite, and Voice Note) 22.Large Print Keyboards ภาพ สเลท และ สไตลสั ( Slate & Stylus ) ภาพ เคร่อื งพิมพด์ ีดอักษรเบรลล์ ( Brailler) ภาพเครื่องเทอรโ์ มฟอร์ม ( Thermoform ) ภาพเครื่องทาภาพนนู ( Tactile Image ) ภาพปากกาทาภาพนนู ( Thermo Pen)

48 การผลติ สอื่ อกั ษรเบรลล์ การผลิตส่ืออักษรเบรลล์ เป็นการผลิตส่ือที่ง่ายและสะดวกสาหรับผู้ผลิตมาก เพราะสามารถผลิตได้ ด้วยเครือ่ งมอื หลายชนิด เช่น ผลิตโดยการเขียนด้วยกระดาน ( Slate ) และดินสอ ( Stylus ) ผลิตโดยการพิมพ์ ด้วยเคร่ืองพิมพ์ดีดอักษรเบรลล์ (Brailler)ผลิตโดยการใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์พิมพ์ ด้วยโปรแกรมเฉพาะท่ีพิมพ์ เป็นอักษรเบรลล์ซึ่งเหมาะสาหรับผู้ท่ีมีความรู้ความชานาญด้านทักษะการใช้อักษรเบรลล์ได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังสามารถผลิตโดยพิมพ์ด้วยอักษรปกติ หรือใช้เครื่องสแกนเนอร์ สแกนเอกสารภาษาอังกฤษ แล้ว นาขอ้ มูลทสี่ แกนเสร็จไปแปลเป็นอักษรเบรลล์ โดยใช้โปรแกรมแปลเฉพาะ ผู้ที่ไม่มีความรู้เก่ียวกับอักษรเบรลล์ ก็สามารถผลิตส่ืออักษรเบรลล์ได้ การผลิตส่ือประกอบการเรียนการสอนสาหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทาง การเหน็ สามารถผลิตได้ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ การผลิตส่ืออกั ษรเบรลล์ดว้ ยกระดาน และดินสอ (Slate & Stylus ) อุปกรณ์ท่ีใช้เขียนอักษรเบรลล์สาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น เรียกว่า สเลท (Slate) และสไตลัส (Stylus) สเลท ทามาจากพลาสติก หรือโลหะ มีจานวนบรรทัดในการเขียน 4 แถว หรือมากกว่า 4 แถวก็ได้ โดยทั่วไปนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเห็นนิยมใช้สเลทแบบพกพา ซึ่งจะมี ลักษณะเป็นแผ่นพลาสติก หรือโลหะประกบติดกัน 2 แผ่น โดยมีสลักยึดแผ่นทั้งสองให้ติดกันอยู่ทาง ซ้ายมือ ทาให้สเลทสามารถปิด-เปิดได้ สเลทแผ่นบนจะประกอบไปด้วยบรรทัดสาหรับการเขียนอักษร เบรลล์ จานวน 4 แถว ซึ่งแตล่ ะแถวจะมีช่องส่ีเหลี่ยมเล็กๆ จานวน 28 ช่อง ในแต่ละช่องจะมีรอยหยักอยู่ ทางด้านซา้ ย 3 รอย และอยทู่ างดา้ นขวา 3 รอย ซึ่งรอยหยักทั้ง 6 รอยจะเป็นตัวบังคับให้เหล็กแหลมของ ดินสอท่ีเขียนอักษรเบรลล์ตรงกับหลุมเล็กๆ คร่ึงทรงกลมจานวน 6 หลุม ท่ีอยู่บนแผ่นสเลทด้านล่าง มุม ของสเลทแผน่ ล่างจะมีปุมแหลมเลก็ ๆ สาหรับยดึ กระดาษไม่ให้เคลอ่ื นท่ีเวลาเขยี น จานวน 4 ปุม วิธีการเขยี นอักษรเบรลล์ดว้ ยกระดาน และดินสอ (Slate & Stylus) 1. ใชก้ ระดาษขนาด เอ 4 หรอื เอฟ 4 ท่มี ีความหนา 70 – 80 แกรม จานวน 2 แผ่น ประกบกัน โดยใช้กาวตดิ หรอื ใชล้ วดเยบ็ กระดาษเยบ็ ก็ได้ กระดาษในการเขียนสาหรบั นกั เรยี นท่ีมคี วามบกพร่อง ทางการเหน็ สาหรับอ่านเอง อาจใช้กระดาษท่ใี ช้แลว้ หน้าเดยี ว หรือสองหนา้ ก็ได้ แต่ถา้ สาหรับครูผู้สอนที่ ตอ้ งใช้ สายตาในการอ่านอักษรเบรลล์ ควรใชก้ ระดาษทีส่ ะอาดหน้าเดยี ว หรือ สองหน้าเพ่อื สะดวกในการ อ่าน 2. วางสเลทบนโต๊ะใหข้ นานกบั ตัวเองโดยให้ด้านที่มีสลักอยู่ทางซ้ายมือ เปิดสเลทแผ่นบนขึ้นแล้ว ใส่กระดาษให้ขอบกระดาษชิดด้านบนและด้านซ้ายของสเลท ปิดสเลทแผ่นบนลงให้ปุมแหลมเล็กๆบนส เลทแผ่นลา่ งยึดกระดาษใหอ้ ยกู่ ับที่ 3. เขียนอกั ษรเบรลลจ์ ากบรรทดั บนสุด โดยเร่ิมเขียนจากขวามือมาทางซ้ายมือ เม่ือเขียนจนหมด บรรทัด แล้วใหเ้ ปล่ียนบรรทัดใหม่ถัดลงมา เม่ือเขียนครบท้ัง 4 บรรทัดแล้ว ให้เลื่อนกระดาษข้ึนโดยเลื่อน รอยขาดของกระดาษทีอ่ ย่ขู า้ งล่างไปใส่ปุมแหลมเลก็ ๆ ข้างบน การผลิตสื่ออักษรเบรลล์ด้วยเคร่อื งพมิ พด์ ีดอกั ษรเบรลล์ (Brailler) การผลติ ส่อื อักษรเบรลลด์ ้วยสเลท และสไตลัส ผลิตไดช้ า้ เนื่องจากการเขยี นอักษรเบรลล์สามารถ เขียนได้ทีละจุด แต่การผลิตส่ืออักษรเบรลล์ด้วยเคร่ืองพิมพ์ดีดอักษรเบรลล์สามารถพิมพ์ได้ทีละตัวอักษร

49 และสามารถอ่าน และแก้ไขส่ิงที่พิมพ์ได้ทันทีโดยไม่ต้องพลิกกระดาษกลับขึ้นมาอ่านเหมือนการเขียนด้วย สเลท และสไตลัส วิธกี ารใชเ้ ครื่องพมิ พด์ ีดอักษรเบรลลม์ ดี งั นี้ 1. ใส่กระดาษลงในช่องใส่กระดาษด้านหน้า แล้วหมุนปุมม้วนกระดาษเข้าหาตนเองจนสุด กระดาษ 2. ตั้งค่าหัวกระดาษด้านซ้ายมือ และท้ายกระดาษด้านขวามือ และเลื่อนหัวพิมพ์ให้อยู่ทางด้าน ซา้ ยสดุ แล้วกดแปนู เล่ือนบรรทัดทางซ้ายมอื 1 ครัง้ 3. วางน้ิวชี้มือซ้ายตรงปุมที่ 1 นิ้วกลางมือซ้ายตรงปุมที่ 2 น้ิวนางมือซ้ายตรงปุมท่ี 3 4. วางนิ้วชี้มือขวาตรงปุมที่ 4 นิ้วกลางมือขวาตรงปุมที่ 5 นิ้วนางมือขวาตรงปุมท่ี 6 5. พิมพอ์ ักษรเบรลล์ตามตาแหนง่ จุดทีก่ าหนด เม่ือต้องการเว้นวรรคให้เคาะปุมเว้นวรรคที่อยู่ตรง กลางระหวา่ งแปนู พิมพ์ด้านซา้ ยและด้านขวา การผลิตส่อื อกั ษรเบรลล์ดว้ ยเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ การผลติ ส่ืออักษรเบรลลด์ ้วยเคร่อื งคอมพิวเตอรน์ ้ันสามารถผลิตได้หลายวธิ ี ไดแ้ ก่ 1. ผลติ โดยการพมิ พเ์ ปน็ อักษรเบรลล์ ผู้ผลิตจะต้องมีความรู้เรื่องการใช้อักษรเบรลล์เป็น อย่างดีท้ัง เร่ืองการอ่าน การเขยี น การพมิ พแ์ ละหลกั ไวยกรณต์ า่ งๆ 2. ผลิตโดยการพิมพ์ด้วยอักษรปกติแล้วแปลเป็นอักษรเบรลล์ ผู้ผลิตอาจจะมีความรู้เรื่องอักษร เบรลล์ หรือไม่มีก็ได้ เพราะการพิมพ์คร้ังแรกพิมพ์ด้วยอักษรปกติ แต่เม่ือนาข้อมูลมาแปลงเป็นอักษรเบรลล์ แล้ว การจัดรปู แบบของการพมิ พ์ ผผู้ ลติ จะตอ้ งมีความรู้เรอื่ งทกั ษะการใชอ้ กั ษรเบรลลเ์ ปน็ อยา่ งดี 3. ผลิตโดยการใช้เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) ซึ่งจะใช้กับหนังสือ หรือเอกสารที่เป็นภาษา อังกฤษ ได้ดีกว่าเอกสารภาษาไทย แล้วจึงนาข้อมูลที่ได้มาแปลเป็นอักษรเบรลล์ การสแกนข้อมูลก็ใช้หลักการสแกน ท่ัวไป แต่เมื่อนาข้อมูลมาแปลเป็นอักษรเบรลล์แล้วการจัดรูปแบบของการพิมพ์ ผู้ผลิตจะต้องมีความรู้เรื่อง ทกั ษะการใช้อักษรเบรลล์เป็นอยา่ งดี การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของการพิมพ์เป็นอกั ษรเบรลล์ 1. ขอ้ มูลทจี่ ะนามาตรวจสอบความถูกตอ้ งของการพิมพ์น้ัน ถ้าพิมพ์ด้วยอักษรปกติผู้ตรวจสอบจะต้อง แปลข้อมลู ให้เปน็ อักษรเบรลล์กอ่ น การแปลเป็นอักษรเบรลล์จะใช้โปรแกรมแปลท่ีสามารถแปลได้ท้ังภาษาไทย และภาษาอังกฤษ การแปลจากอักษรปกติเป็นอักษรเบรลล์สามารถแปลโดยใช้โปรแกรม TBT ที่สามารถ ปฏิบัติการได้ทั้งบน DOS และปฏิบัติการบน Windows แล้วจึงนาข้อมูลน้ันมาเปิดในโปรแกรม DBT Win กับ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มีเครื่องแสดงผลอักษรเบรลล์ (Braille Display) ต่อเช่ือมอยู่ข้อมูลที่ต้องการตรวจสอบจะ แสดงผลออกมาเป็นอักษรเบรลล์ผ่านเครื่องแสดงผลอักษรเบรลล์ (Braille Display) โดยผู้ตรวจสอบสามารถ อ่าน แก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อมูลให้ถูกต้องได้ผู้ท่ีจะตรวจสอบความถูกต้องของการพิมพ์จะต้องเป็นผู้ท่ีสามารถ อ่าน เขียน และพิมพ์อักษรเบรลล์ได้เป็นอย่างดี ส่วนมากจะเป็นผู้ท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น คนที่มีการ เห็นปกติก็สามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ โดยอ่านอักษรเบรลล์ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้เลย หลังจากท่ี ตรวจสอบความถูกต้อง และจัดรูปแบบการพิมพ์แล้ว ส่งข้อมูลไปยังฝุายจัดพิมพ์เพ่ือพิมพ์ให้บริการแก่ครู และ นกั เรียนตอ่ ไป 2. การจัดพิมพ์ เรียงหน้า เจาะสนั เข้าเล่ม เขยี นปกหนังสืออักษรเบรลล์ การจดั พมิ พ์ หนงั สืออักษรเบรลล์ สาหรบั นักเรยี น ป.1 – ป. 3 จะทาการจดั พิมพช์ นิดหนา้ เดยี ว

50 สาหรับนักเรยี น ป. 4 ขึน้ ไป ถงึ ระดับอุดมศึกษา จะทาการจัดพมิ พ์ชนดิ สองหน้า กระดาษสาหรับการจัดพมิ พ์ ใช้กระดาษต่อเนื่อง ความหนา 150 แกรมข้ึนไป แต่ไม่เกนิ 180 แกรมขนาดกระดาษ 11 x 12.5 น้ิว ขนาดบรรจุกล่องละ 1,000 แผ่น กระดาษเบรลล่อน เป็นกระดาษพิเศษท่ีทาจากพลาสติก ใชส้ าหรับอัดสาเนาหนังสืออักษรเบรลล์ หรอื ส่ือภาพนูนท่ีทาเปน็ ต้นฉบับไวเ้ ป็นกระดาษท่ีต้องใช้ทีละแผน่ ขนาดกระดาษ 11 x 12.5 น้วิ ขนาดบรรจุ กล่องละ 500 แผ่น การผลติ สอื่ ภาพนนู สอื่ ภาพนูน เป็นสื่อท่ผี ลิตขึ้นสาหรบั ใช้เป็นส่ือการเรียนการสอนสาหรับนักเรียนตาบอด แต่สามารถ นามาใชก้ ับนักเรียนที่มีการเห็นปกติ และนักเรียนที่มีสายตาเลือนรางได้ดว้ ย วิธีการผลิตสื่อภาพนนู 1. การผลิตสื่อภาพนนู สาหรับจัดทาหนังสือเป็นเล่ม ทาส่อื ภาพนูนต้นฉบับ ลงบนกระดาษมาตรฐานสาหรับการทาหนังสืออักษรเบรลล์ ขนาด 11 x 12.5 น้วิ มีความหนาตั้งแต่ 150 แกรมขน้ึ ไป แต่ไม่เกิน 180 แกรม โดยความสูงของภาพนูนจากพื้นผิวของกระดาษ ต้นฉบับไม่เกิน 5 มลิ ลิเมตร เพราะถ้าความสงู มากเกนิ ไป จะทาให้ยากในการอัดสาเนาหลายๆ ฉบับ และยาก ในการเยบ็ เล่มหนังสือ ถ้าต้องการสื่อภาพนูนที่ผลิตขึ้นหลายฉบับ ให้นาต้นฉบับส่ือภาพนูนไปอัดสาเนาจากเคร่ือง เทอร์โมฟอร์ม (Thermoform) โดยใช้แผ่นพลาสติกทนความร้อนที่เรียกว่า กระดาษเบรลล่อน (Braillon) ในการอัดสาเนา หนังสือท่ีผ่านการอัดสาเนาจากเคร่ือง Thermoformจะมีลักษณะเหมือนกับสื่อต้นฉบับทุก ประการ 2. การผลติ สอ่ื ภาพนูนสาหรับใชส้ อนท่ัวไป สามารถทาสื่อที่มีขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่ตามต้องการ แต่มีข้อควรคานึงว่า ไม่ควรที่จะมีขนาดเล็ก หรือใหญ่เกินไป เพราะจะทาให้นักเรียนตาบอดสัมผัสแล้วอาจไม่เข้าใจ หรือมีความกว้างเกินลานสายตาของ นักเรยี นท่ีมสี ายตาเลอื นราง สามารถเลอื กใช้วสั ดไุ ดห้ ลายชนิด หลายผวิ สมั ผัส วัสดทุ จ่ี ะนามาผลิตเป็นส่ือภาพนูนต้นฉบับควรเป็น วัสดทุ นความรอ้ น มด และแมลง ไม่กัดกินเม่ือเก็บไว้นานๆ สามารถนาไปสอนแบบบูรณาการได้ คือ การผลิตสื่อภาพนูนแต่ละคร้ังควรคานึงถึงประโยชน์ที่จะ ไดร้ ับว่าคุ้มค่าหรือไม่ ส่ือท่ีผลิตข้ึนควรใช้ได้กับนักเรียนสายตาปกติ นักเรียนที่มีสายตาเลือนราง และนักเรียน ตาบอด 3. การผลติ หนังสอื ภาพนูนดว้ ยกระดาษพเิ ศษ (Swell Touch Paper) การผลิตหนังสือภาพนูนด้วยกระดาษพิเศษน้ี จะผลิตได้โดยการวาดภาพด้วยดินสอดา (2E – 3E) หรือโดยการถ่ายเอกสารภาพท่ีต้องการผลิตลงบนกระดาษพิเศษท่ีเรียกว่า กระดาษสแวลทัช (Swell Touch Paper) แล้วนาไปผ่านความร้อนจากเครื่องแทกไทล์อิมเมจ (Tactile Image) เมื่อกระดาษได้รับความร้อนจะ ทาปฏิกิริยากับคาร์บอน จะทาให้ภาพนูนข้ึนจากพื้นผิวของกระดาษสแวลทัชมากน้อยขึ้นอยู่กับความเข้มของ คาร์บอนท่ีเกิดจากการวาดภาพ หรือจากการถ่ายเอกสารย่ิงความเข้มของคาร์บอนมากเท่าใดความนูนของภาพ กจ็ ะนนู ขน้ึ มากเท่าน้นั

51 การผลิตหนังสือภาพนูนด้วยกระดาษสแวลทัช สามารถผลิตได้อย่างรวดเร็ว สวยงามและสะดวก เพราะมขี นาดเท่ากบั กระดาษเอ 4 แตม่ ขี อ้ จากดั คือ กระดาษมรี าคาแพง การผลิตหนังสือภาพนูนด้วยกระดาษสแวลทัช สามารถผลิตหนังสือท่ีประกอบด้วยหนังสือปกติ หนังสืออักษรเบรลล์ และภาพนูนอยู่ในเล่มเดียวกันได้เป็นอย่างดี เหมาะสาหรับผลิตหนังสือส่งเสริมการอ่าน สาหรับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น ที่ภาพมีรายละเอียดไม่มากนัก เป็นภาพลายเส้นท่ีชัดเจน หรือ เป็นรูปเรขาคณิต

กรณศี ึกษา กรณศี ึกษา 1 น้องก้อย อายุ 5 ปี ตาบอดต้ังแต่กาเนิด สาเหตุจากแม่ติดเชื้อหัดเยอรมันระหว่างต้ังครรภ์ พัฒนาการปจั จบุ นั เคล่ือนไหวไม่คล่อง งุ่มง่าม นิ้วมือไม่ค่อยแข็งแรง จับช้อนรับประทานอาหารไม่ม่ันคง ไม่ถูกท่า มีพฤติกรรมส่ายหัว โยกตัว พูดโต้ตอบสื่อสารได้น้อย กลัวเมื่อต้องอยู่กับคนแปลกหน้า ข้ีโมโห เอาแต่ใจตัวเอง ต้ังแต่เล็กครอบครัวไม่ค่อยได้กระตุ้นพัฒนาการ เน่ืองจากพ่อแม่ ญาติๆ สงสารเพราะ คดิ ว่านอ้ งกอ้ ยมองไมเ่ หน็ จงึ ตามใจและช่วยเหลือทุกอยา่ ง เมื่อมาเข้าโรงเรียนสอนคนตาบอด จึงต้องได้รับ การกระตุ้นพัฒนาการและฝึกทักษะการช่วยเหลือตนเองทุกอย่าง ฝึกทักษะการทาความคุ้นเคยกับ สภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว ฝึกปรับตัวให้เข้ากับสังคม ฝึกทักษะการส่ือสาร แม่ของน้องก้อยเมื่อ เห็นพัฒนาการของลูกดีข้ึนมาก ก็เข้าใจและยินดีให้ความร่วมมือกระตุ้นพัฒนาการน้องก้อยต่อที่บ้าน แต่ พ่อยังไม่เข้าใจ ยังสงสารและเป็นห่วงน้องก้อยมาก ไม่ให้ความร่วมมือกับโรงเรียนในการกระตุ้นส่งเสริม พัฒนาการเม่อื อยู่กับคณุ พอ่ นอ้ งกอ้ ยจะได้รบั การดแู ลช่วยเหลอื ตามใจทุกอยา่ ง จากปัญหาและพฤติกรรมดังกล่าว ท่านจะมีวิธีการช่วยเหลือน้องก้อยให้มีพัฒนาการดีขึ้นได้ อย่างไร แนวตอบกจิ กรรม วธิ ีการช่วยเหลอื นอ้ งกอ้ ยใหม้ ีพฒั นาการดขี ้นึ 1. ปรบั ทศั นคติของพอ่ 2. สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ 3. ฝกึ ทกั ษะการช่วยเหลือตนเองทุกดา้ น 4. ลดพฤตกิ รรมไมพ่ ึงประสงคแ์ ละสง่ เสรมิ พฤตกิ รรมท่ดี ี 5. ฝึกทักษะทางสังคม กรณศี กึ ษา 2 น้องบอล อายุ 12 ปี มีความบกพร่องทางการเห็นภายหลัง เน่ืองจากอุบัติเหตุ ตาทั้งสองข้าง มองเห็นเลือนราง มองเห็นคน วัตถุสิ่งของในระยะ 20 ฟุต การเคลื่อนไหวค่อนข้างคล่องแคล่ว การเรียน สามารถเขียนตัวหนังสือได้ แต่ตัวหนังสือใหญ่ ไม่เป็นระเบียบ การอ่านหนังสือ ต้องอ่านใกล้ๆ ถ้า ตัวอักษรขยายใหญ่จะอ่านได้ง่ายข้ึน ตั้งแต่น้องบอลมีปัญหาทางการเห็นเมื่อ 2 ปีท่ีแล้ว น้องบอลก็ยังคง เรียนอยู่โรงเรียนเดิม แต่คุณครูไม่ได้กระตุ้นหรือสอนเสริมน้องบอลเป็นพิเศษ ยังคงให้เรียนเหมือนเด็ก ท่ัวไปทาให้ความสามารถในการเขียน และอ่านของน้องบอลถดถอยลงมาก ปัจจุบันเขียนผิดๆ ถูกๆ และ ไม่ค่อยสนใจการเรียนเพราะตามเพื่อนไม่ทัน ทากิจกรรมตามท่ีครูสอนไม่ได้ น้องบอลเกิดความรู้สึก สับสนและดอ้ ยค่า มอี าการซึมเศรา้ แยกตัวบ่อยๆ จากปญั หาดังกล่าว ท่านจะมีแนวทางแกไ้ ขปัญหาให้น้องบอลและคณุ ครไู ด้อย่างไร แนวตอบกิจกรรม 1. ให้ความร้แู กค่ รเู กย่ี วกบั เทคนคิ การสอนเด็กท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ 2. ผลติ สอื่ การเรียนการสอนใหน้ อ้ งบอล 3. สอนเสรมิ เปน็ พเิ ศษใหน้ อ้ งบอล 4. เสรมิ แรง ใหก้ าลังใจในการเรียนแกน่ ้องบอล

53 สรปุ สาระสาคญั หน่วยท่ี 1 ความหมายของบคุ คลที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเห็น บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น หมายถึง บุคคลท่ีมีความผิดปกติทางกายภาพของ ดวงตาและลูกตา จนสง่ ผลกระทบต่อความสามารถในการใช้สายตาในการดารงชีวิตประจาวัน สูญเสียการ เหน็ ต้ังแต่ระดบั เล็กนอ้ ยจนถงึ ตาบอดสนิท ซึง่ แบง่ เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. คนตาบอด หมายถึง บุคคลท่ีสูญเสียการเห็นมากจนต้องใช้สื่อสัมผัสและสื่อเสียงหาก ตรวจวัดความชัดของสายตาข้างดีเม่ือแก้ไขแล้วอยู่ในระดับ 6 ส่วน 60 เมตร (6/ 60) หรือ 20 ส่วน 200 ฟตุ (20/ 200) ลงมาจนถงึ บอดสนิทซ่ึงไมส่ ามารถรับรเู้ รื่องแสง 2. คนสายตาเลือนราง หมายถึง บุคคลที่สูญเสียการเห็นแต่ยังสามารถอ่านอักษรตัวพิมพ์ท่ี ขยายใหญ่ได้ หรือต้องใช้อุปกรณ์ เทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวกในการอ่าน หากตรวจวัดความชัดเจน ของสายตาข้างดีเม่ือแก้ไขแล้วอยู่ในระดับระหว่าง 6 ส่วน 18 เมตร (6/ 18) หรือ 20 ส่วน 70 ฟุต (20/ 70) ถึง 6 ส่วน 60 เมตร (6/ 60) หรือ 20 ส่วน 200 ฟุต (20/ 200) หรอื มีลานสายตาแคบกว่า 30 องศา สาเหตขุ องความบกพรอ่ งทางการเหน็ สาเหตุของความบกพร่องทางการเหน็ แบง่ ออกได้เปน็ 4 ประการ ได้แก่ 1. การถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม 2. การไดร้ บั อบุ ัติเหตุทกี่ ระทบกระเทือนต่อดวงตาหรอื ประสาทในการมองเหน็ โดยตรง 3. การมโี รคทางตาบางชนดิ 4. จากโรคอ่นื ๆ หรือ การขาดสารอาหาร ประวตั กิ ารจดั การศกึ ษาสาหรบั บุคคลท่ีมคี วามบกพร่องทางการเหน็ อักษรสาหรับคนตาบอดมีลักษณะเป็นจุดนูน 6 จุด เรียกว่า อักษรเบรลล์ ซ่ึงคิดค้นโดยชายตา บอดชาวฝร่ังเศสชอื่ หลยุ ส์ เบรลล์ การจดั การศึกษาสาหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นในประเทศ ไทยนัน้ เกดิ ขนึ้ ครงั้ แรกเม่อื พ.ศ.2482 โดย มิสเจนิวิฟ คอลฟลิ ด์ สตรตี าบอดชาวอเมริกัน ซ่ึงได้ริเร่ิมจัดต้ัง โรงเรียนสอนคนตาบอดแห่งแรกในประเทศไทย ไดแ้ ก่ โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ หน่วยท่ี 2 การช่วยเหลือระยะแรกเร่ิมและการเตรียมความพร้อมสาหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น หลกั การสาคัญคอื ต้องฝึกใหเ้ ดก็ รู้จกั การใชป้ ระสาทสมั ผัสส่วนทเ่ี หลืออยใู่ หเ้ กิดประโยชน์ มากทีส่ ดุ รวมถึงตอ้ งฝึกให้เด็กสามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ การอา่ นและเขยี นอกั ษรเบรลล์ อักษรเบรลล์คือ สัญลักษณ์แทนตัวอักษรตัวพิมพ์ใช้ในการอ่านและการเขียนของคนตาบอด ซงึ่ มลี ักษณะเปน็ จดุ นนู 6 จดุ จดั เรียงกันเป็น รูปส่ีเหล่ียมผืนผ้าแนวต้ังดังรูป คนตาบอดอ่านได้ด้วยการใช้ ปลายนิ้วมือสัมผัสจุดนูนนั้น และเขียนโดยการใช้อุปกรณ์การเขียนท่ีเรียกว่า สเลท (Slate) และ สไตลัส (Stylus ) เขียนให้เป็นจุดนูนตามตาแหน่งจุดอักษรที่กาหนด โดยเขียนจากขวาไปซ้าย อักษรเบรลล์ท่ีคน ตาบอดท่ัวโลกใช้อ่านเขียนกันอย่างกว้างขวางในปัจจุบันนั้นคิดค้นและพัฒนาระบบข้ึนโดย หลุยส์ เบรลล์ ชาวฝรั่งเศส โดยรหัสอักษรเบรลล์สามารถนาไปใช้ได้กับทุกภาษารวมถึงสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ต่างๆ

54 สาหรับอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษและภาษาไทย มีอยู่ 2 ระดับ ได้แก่ อักษรเบรลล์ระดับ 1 ซ่ึงเขียนใน รปู แบบของคาเต็ม และอักษรเบรลล์ระดับ 2 ซ่ึงเขยี นในรปู แบบของคาย่อ การสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคล่ือนไหว (Orientation and Mobility: O&M) การสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคล่ือนไหว คือการฝึกให้คนตาบอดสามารถ เคลื่อนไหวหรือเดินทางอย่างอิสระและปลอดภัยได้ด้วยตนเอง ซึ่งวิธีท่ีคนตาบอดจะเดินทางไปอย่าง ปลอดภยั มี 3 วิธี คือ เดนิ ทางกบั ผู้นาทาง เดินทางด้วยตนเองโดยใชไ้ ม้เท้าและเดนิ ทางด้วยตนเองโดยไม่ใช้ ไมเ้ ทา้ และผูน้ าทาง ทักษะการดารงชีวิตของบุคคลทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางการเห็น กิจกรรมทักษะการดูแลตนเองของบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็นประกอบด้วย การอาบน้า การแปรงฟัน การดูแลความสะอาดผม การใช้เคร่ืองสาอาง การโกนหนวด การใช้ห้องน้า การดูแลรักษา เสือ้ ผา้ การดธู นบตั รและเหรียญ การทาความสะอาดบ้าน งานครวั การจัดการเรียนรสู้ าหรับนกั เรยี นทมี่ ีความบกพร่องทางการเหน็ นกั เรยี นที่มีความบกพร่องทางการเห็น สามารถใช้หลักสูตรเช่นเดียวกับนักเรียนทั่วไปได้เพียงแต่ ตอ้ งมกี ารปรับวธิ กี ารสอน การใชส้ อื่ การเรียนรู้ ตลอดจนวิธีการวดั ประเมนิ ผลใหส้ อดคล้องกับสภาพความ บกพรอ่ งของนักเรียน เพือ่ ใหส้ ามารถบรรลจุ ดุ ประสงค์ของการเรียนรูไ้ ด้ จึงจาเป็นต้องมีการจัดทาแผนการ จัดการศึกษาเฉพาะบุคคล และมีการจัดทาสื่อการเรียนรู้ รวมถึงวิธีการวัด ประเมินผลการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกบั ความสามารถในการเรยี นรขู้ องนักเรยี น นวัตกรรมและเทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก ส่ือ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทาง การศึกษาสาหรบั นกั เรียนทีม่ ีความบกพรอ่ งทางการเหน็ สื่อประกอบการเรียนการสอนสาหรับผู้ที่มีความบกพร่องทางการเห็นท่ีดีที่สุด ได้แก่ สื่อของจริง แต่ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบางครั้ง ครูผู้สอนไม่สามารถนาสื่อของจริง มาให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ได้ จึงต้องใช้สื่อในรูปแบบอื่น เช่น ของจาลอง หนังสืออักษรเบรลล์ สื่อภาพนูน หนังสือเสียง/ส่ือเสียง หรือส่ืออ่ืน ใดท่ีสามารถนามาประยกุ ต์ใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนได้ ไม่ว่าจะเป็นสื่อประเภทใด การนาส่ือมาใช้ ครูผู้สอนจะต้องคานึงถึงเร่ือง การจัดหาส่ือได้ง่ายในท้องถิ่น มีความเหมาะสมไม่เล็ก หรือใหญ่จนเกินไป มี ความสะดวกและปลอดภัยในการใช้ มีพ้ืนผิวสัมผัสท่ีแตกต่างกัน มีรายละเอียดสาคัญๆ ที่ส่ือความหมายได้ ชดั เจน สนองความต้องการจาเปน็ ของผเู้ รียน และสามารถพฒั นาผู้เรียนใหเ้ กิดการเรยี นรู้ไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ

55 แหลง่ ขอ้ มลู เพม่ิ เติมทต่ี อ้ งศึกษา สาหรับผู้ท่ีศึกษาข้อมูลการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น นอกจาก หนังสือ ชุดการศึกษาด้วยตนเองแล้ว ผู้ศึกษาเองน้นั ควรหาขอ้ มูลความรูเ้ พิ่มเตมิ เพ่ือให้เข้าใจและมีความรู้ เก่ยี วกบั การจดั การศกึ ษาสาหรบั บุคคลท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการเหน็ ลักษณะของบุคคลท่ีมีความบกพร่อง ทางการเห็น ความหมายและประเภทบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น หลักการ เทคนิค วิธีการ ชว่ ยเหลอื การช่วยเหลอื ระยะแรกเริม่ และการเตรยี มความพร้อม การสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อม และการเคลื่อนไหว นวัตกรรมและเทคโนโลยี สง่ิ อานวยความสะดวก สอื่ บริการและความช่วยเหลืออ่ืนใด ทางการศึกษา เพราะปัจจบุ ันการศกึ ษาสาหรับคนพิการได้มีการพัฒนาองค์ความรู้ด้านต่างไปมาก ผู้ศึกษา จึงควรหาความรูเ้ พ่ิมเตมิ เพอื่ ใหท้ นั ตอ่ เหตุการณ์ แหลง่ ข้อมลู เพ่มิ เติมที่ตอ้ งศกึ ษา เช่น 1. พระราชบัญญตั ิการจัดการศึกษาสาหรบั คนพิการ พ.ศ. 2551 2. เวบ็ ไซต์ สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ http://special.obec.go.th/special 3. เวบ็ ไซต์ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระราชินปู ถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม่ www.cmblind.org 4. เวบ็ ไซต์ โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคใต้ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี school.obec.go.th/sbtblind 5. เว็บไซต์ สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย www.tab.co.th 6. เว็บไซต์ ศนู ย์ส่อื การศึกษาเพื่อคนพิการ http://www.braille-cet.in.th/Braille-new/ ซง่ึ หนังสอื และเวบ็ ไซต์เหล่าน้ีจะสามารถหาขอ้ มลู เก่ียวกบั การจดั การศึกษาสาหรบั บคุ คลทม่ี ีความ บกพร่อง ดังน้ี ข้อมูลสาคัญเกี่ยวกบั บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเหน็ การจดั การศึกษาการจดั การเรียนการสอน สือ่ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสาหรบั ผ้พู ิการ ทางการเหน็ หน่วยงานและสถานศึกษาท่เี กี่ยวขอ้ งกับการจัดการศึกษาสาหรับบุคคลทีม่ ีความบกพร่อง ทางการเหน็ หนงั สือที่นา่ สนใจเก่ียวกบั การจัดการศึกษาพเิ ศษ ช่อื หนังสือ เทคโนโลยีสาหรับเดก็ ทีม่ ีความต้องการพเิ ศษ ผู้เขยี น ศรยี า นิยมธรรม ปีท่พี ิมพ์ พ.ศ. 2548 รายละเอียด: เทคโนโลยีสาหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษเล่มนี้ เป็นผลงานการศึกษาค้นคว้าของ คณาจารย์กลุ่มหนึ่งท่ีกาลังศึกษา ในระดับปริญญาเอก การศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยมีจุดประสงค์เพ่ือเผยแพร่ความรู้ให้กับพ่อแม่ ผู้ปกครอง รวมท้ังบุคลากรทางการศึกษาพิเศษ และผู้

56 ทางานเก่ยี วข้องกับเดก็ ๆ โดยตรง อันจะช่วยให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการให้การช่วยเหลือแก่เด็กที่ มคี วามตอ้ งการพิเศษ ไดอ้ ยา่ งตรงจุด และชว่ ยพัฒนาศักยภาพของพวกเขาไดอ้ ย่างเต็มท่ยี ่ิงขึ้น ช่อื เรอ่ื งวจิ ัย ความหมายของชีวติ ในทัศนะผู้พิการทางสายตา ผู้เขียน มัทนาวดี ตันสกุล ปีพ.ศ. พ.ศ. 2552 บทคดั ย่อ: การศึกษาในคร้งั น้ีเป็นการศกึ ษาเชิงคุณภาพซึง่ ให้กรณศี ึกษาจานวน 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัยคือการสัมภาษณ์เชิงลึกและการศึกษาเชิงเอกสาร จากนั้นนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ ตีความเกี่ยวกับ การให้คุณค่าและการให้นิยามความหมายของชีวิต ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงเลือกใช้แนวคิดเรื่องเจตจานงเพ่ือ การมีชีวิตของอาร์เธอร์ โชเปนฮาวเออร์ นักปรัชญาชาวเยอรมัน เป็นกรอบในการวิเคราะห์ว่ามีความ สอดคล้องกันหรือไม่ ผลการศึกษาเร่ืองความหมายของชีวิตในทัศนะผู้พิการทางสายตาโดยอาศัยกรอบ แนวคิดเรื่องเจตจานงเพ่ือการมีชีวิตของอาร์เธอร์ โชเปนฮาวเออร์ พบว่ากรณีศึกษาท้ังหมดให้นิยาม ความหมายของชีวิตไว้ว่าชีวิตคือการต่อสู้ ซ่ึงได้แก่การต่อสู้กับข้อจากัดทางกายภาพและอุปสรรคต่างๆใน ชีวิต จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า การให้นิยามความหมายของชีวิตในทัศนะผู้พิการทางสายตามีความ สอดคล้องกบั แนวคิดเรือ่ งเจตจานงเพือ่ การมชี ีวิตซึ่งมีลักษณะของการตอ่ สู้ดิน้ รนตลอดเวลา

บรรณานกุ รม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2552). กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552, ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เอกสารอัดสาเนา. กระทรวงศกึ ษาธิการ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน. (2551). คู่มือครูเทคนิคการจดั การเรียนรแู้ บบการจดั กจิ กรรมสร้างเสรมิ ประสบการณ์สาหรบั นักเรียนที่มีความบกพรอ่ งทางการ เหน็ ( พมิ พ์คร้งั ที่ 1). กรุงเทพฯ : สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ. กองการศึกษาพิเศษ กระทรวงศึกษาธิการ. (2531). การฟื้นฟสู มรรถภาพของคนตาบอดในชนบทและ การฝกึ ผสู้ อนคนตาบอดในท้องถ่ิน. กรงุ เทพฯ: เอกสารประกอบการอบรม. กองทุนส่งเสริมและพฒั นาการใช้อกั ษรเบรลล์แหง่ ชาติ. (2554). ค่มู ือมาตรฐานการใชอ้ ักษรเบรลล์. ม.ป.พ. กรมสามญั ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร. (ม.ป.ป.). ชดุ เอกสารศึกษาด้วยตนเองวิชาการศึกษาพเิ ศษ. ม.ป.พ. จรรยา ชนื่ เกษม. (2547). การเตรียมทักษะในการอา่ นเขียนอกั ษรเบรลล์. คณะครุศาสตร์, มหาวทิ ยาลัย ราชภฎั สวนดสุ ติ . รัตนวดี ทองรวย. (2544). การศึกษาความสามารถในการเรยี นรทู้ างสายตาของเด็กสายตาเลือนราง ระดบั ก่อนประถมศึกษาจากการจดั กจิ กรรมฝึกทกั ษะการมองเห็น. ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมิตร. วรี ะพงษ์ แสง-ชูโต. (2550). เดก็ ทมี่ คี วามบกพร่องทางการเห็น. เชยี งใหม:่ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. ศริ ิพร วงศร์ จุ ไิ พโรจน์. (2554). การผลิตสื่อประกอบการเรียนการสอนสาหรับนักเรยี นท่ีมีความบกพร่อง ทางการเห็น. เชยี งใหม่: เอกสารประกอบการอบรม.

แบบทดสอบทา้ ยบท ชดุ เอกสารศึกษาดว้ ยตนเอง วชิ าความรพู้ ้ืนฐานดา้ นการจดั การศึกษาสาหรบั คนพิการหรือผูเ้ รยี นที่มคี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ เลม่ ที่ 7 การจดั การศึกษาสาหรบั บคุ คลที่มคี วามบกพร่องทางการเห็น 1. ข้อใดคือบุคคลทีม่ ีความบกพร่องทางการเห็น ก. คนทต่ี าบอดสนิทหน่ึงข้าง ข. คนที่มีลานสายตาแคบกว่า 30 องศา ค. คนท่ีสายตาเอียง ง. คนทีต่ าเข 2. ข้อใดไม่ใช่บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็นตามท่ีคณะอนุกรรมการฯ กระทรวงศึกษาธิการ กาหนด ก. คนท่ีสูญเสยี การเห็นมากจนต้องสอนให้อ่านอักษรเบรลล์ ข. คนทส่ี ูญเสียการเห็นสามารถมองเห็นวัตถไุ ด้ในระยะห่าง 6/60 เมตร ค. คนที่สญู เสียการเห็นแต่ยงั สามารถอ่านอักษรตัวพิมพ์ทข่ี ยายใหญไ่ ด้ ง. คนท่ีสญู เสียการเห็นและสามารถมองเห็นวัตถไุ ดใ้ นระยะหา่ ง 30/200 ฟุต 3. ข้อใดไมใ่ ช่ลักษณะของบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเหน็ ก. ขอบตาแดง นาตาคลอ มีนาตาไหลเสมอ ข. มตี ุ่มหรือผ่นื บนหนงั ตาและขอบตา ค. หนงั ตาปลินหรือขอบตาบวมแดง ง. แกว่งศีรษะตลอดเวลา 4. ข้อใดคือสาเหตุของความบกพร่องทางการเหน็ ก. กรรมพันธ์ุ ข. ติดเชือไวรัส ค. อบุ ัติเหตุ ง. ตาเป็นกุ้งยิง 5. ผู้ท่ีเร่ิมนาการจัดการศึกษาสาหรับบคุ คลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นเข้ามาในประเทศไทยคือใคร ก. หลุยส์เบรลล์ ข. มิสเจนิวิฟคอลฟิลด์ ค. นายแพทย์ฝน แสงสิงห์แก้ว ง. นางสาวพัฒน์ ภาสบุตร 6. โรงเรียนแห่งแรกของการจัดการศึกษาสาหรบั บุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็นในประเทศไทย คือข้อใด ก. โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินปู ถัมภ์ จังหวัดเชยี งใหม่ ข. โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคใต้จังหวัดสุราษฎร์ธานี ค. โรงเรยี นสอนคนตาบอดกรุงเทพ ง. โรงเรียนสอนคนตาบอดรามอนิ ทรา

7. ข้อใดคือลักษณะอักษรเบรลล์ ก. อักษรนูนมลี ักษณะเป็นจุดนูน 4 จดุ ข. อักษรนูนมลี ักษณะเป็นจุดนนู 6 จดุ ค. อักษรนูนมลี ักษณะเป็นจุดนนู 8 จดุ ง. อักษรนูนมีลักษณะเปน็ จุดนูน 10 จุด 8. อุปกรณ์การเขียนอักษรเบรลล์คือข้อใด ก. สเลท (Slate) ข. สไตลัส (Stylus) ค. เบรลล์เลอร์ (Brailler) ง .ปากกาทาภาพนนู ( thermo pen) 9. ลักษณะของอักษรเบรลล์จดั เรียงเปน็ รูปอะไร ก. จัดเรียงกันเป็นรูปสเ่ี หลย่ี มจตั รุ ัส ข. จัดเรยี งกันเป็นรูปสี่เหล่ยี มขนมเปียกปูนตามแนวตงั ค. จดั เรียงกนั เปน็ รปู สีเ่ หลี่ยมผืนผา้ ตามแนวตัง ง. จัดเรยี งกันเป็นรูปสีเ่ หลี่ยมผืนผา้ ตามแนวนอน 10. การเขียนอักษรเบรลล์จะเขยี นเรมิ่ ตน้ จากด้านไหน ก. จากด้านขวาไปซา้ ย ข. จากดา้ นซ้ายไปขวา ค. จากดา้ นบนลงล่าง ง. จากด้านล่างขนึ บน 11. อักษรเบรลล์ภาษาไทยดัดแปลงมาจากอักษรเบรลลภ์ าษาอะไร ก. ญป่ี ุน่ ข. ฝรงั่ เศส ค. อังกฤษ ง. บาลี 12. “Orientation and Mobility: O&M” หมายถงึ ข้อใด ก. การสรา้ งสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกบั คนตาบอด ข. การสร้างสภาพแวดลอ้ มให้สอดคลอ้ งกับคนตาบอด ค. การสรา้ งความคุ้นเคยกับสภาพแวดลอ้ มและการเคลือ่ นไหวสาหรบั คนตาบอด ง. การสรา้ งความคุ้นเคยกบั สภาพแวดล้อมและการเดนิ ทางไกลสาหรับคนตาบอด

13. “Orientation Skills” เป็นทักษะท่ีสาคัญสาหรับคนตาบอดเพราะเหตุใด ก. ทาให้คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น (ตาบอด) รู้ว่าตนเองอยู่ทใ่ี ดในขณะนัน และกาลัง จะไปไหน และไปได้อย่างไร ข. ทาให้คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น(ตาบอด)รู้ว่าตนเองกาลังจะไปไหน และไปได้อย่างไร ค. ทาให้คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น(ตาบอด)รู้ว่าตนเองอยู่ท่ีใดในขณะน้ัน และกาลังจะไปไหน ง. ทาให้คนท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น(ตาบอด)รู้ว่าตนเองกาลังจะไปไหน 14. ทกั ษะท่ีมคี วามสาคัญสาหรบั คนตาบอดมากท่ีสุดคือข้อใด ก. ทักษะการสมั ผสั ทางกาย ข. ทักษะการดมกลิน่ ค. ทกั ษะการฟงั ง. ทกั ษะการเห็น 15. หลักการจดั การศึกษาสาหรบั บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็นที่มีสายตาเลือนรางทีถ่ ูกตอ้ งทส่ี ดุ คอื ข้อใด ก. การใชเ้ สยี งพดู ให้ดัง ข. ใหน้ กั เรยี นน่ังที่มีแสงเข้าด้านข้างอย่างเพียงพอ ค. การใชส้ ีทอี่ ่อนหวานละมุนในส่อื การเรยี นการสอน ง. ใช้กระดาษสีสาหรบั การเขียนหนงั สือหรือการวาดรูปภาพ 16. ลกั ษณะของไม้เท้าขาวที่เหมาะสมกับผู้ใช้ควรยาวในระดบั ใด ก. จากพืนถึงระดบั เอวของผ้ใู ช้ ข. จากพืนถึงระดับอกของผใู้ ช้ ค. จากพนื ถึงระดบั คอของผใู้ ช้ ง. จากพนื ถงึ ระดับไหนก็ได้ตามความพอใจ 17. หลักสตู รสาหรบั การเรยี นการสอนนักเรียนท่มี ีความบกพร่องทางการเห็นควรเปน็ ตามขอ้ ใด ก. หลักสูตรทั่วไปแตต่ ้องปรบั ส่ือการเรียนการสอน ข. หลกั สตู รทั่วไปแต่ต้องวิธีการสอน การใช้ส่ือการเรียนรู้ ตลอดจนวิธีการวัดประเมินผล ค. หลักสูตรท่ัวไปแต่ต้องปรับกจิ กรรมการเรยี นการสอน ง. หลักสตู รทวั่ ไปแต่ต้องปรับกิจกรรม และการวดั ประเมนิ ผล 18. ข้อใดไม่ใช่สาระหรือทักษะเพมิ่ เติมของหลกั สูตรสาหรับบุคคลท่ีมีความบกพร่องทางการเห็น ก. การอา่ น การเขียนอักษรเบรลล์ ข. ทกั ษะการสารวจสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว ค. ทักษะการใช้คอมพิวเตอรส์ าหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการเหน็ ง. ทักษะชีวติ และการดาเนนิ ชีวิตอยู่รว่ มในสังคม

19. ส่ือการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับนักเรียนท่ีมีความบกพร่องทางการเหน็ มากที่สดุ คือข้อใด ก. ส่ือเทคโนโลยี ข. ส่ือของจริง ค. สื่อภูมปิ ัญญาชาวบ้าน ง. ส่ือประยุกต์ 20. อุปกรณ์ข้อใดไมส่ ามารถใช้ผลติ ส่ืออักษรเบรลล์ ก .กระดาน ( Slate ) และดนิ สอ (Stylus ) ข. เครื่องเบรลล์เลอร์ (Brailler) ค. เคร่ืองเดซี่ (Daisy) ง. เคร่ืองปรนิ เตอร์เบรลล์ (Printer Braille)

เฉลยแบบทดสอบท้ายบท ข้อ 1 ข. ขอ้ 11 ค. ขอ้ 2 ง. ข้อ 12 ค. ข้อ 3 ง. ข้อ 13 ก. ขอ้ 4 ง. ขอ้ 14 ค. ข้อ 5 ข. ข้อ 15 ข. ข้อ 6 ค. ข้อ 16 ข. ขอ้ 7 ข. ข้อ 17 ข. ขอ้ 8 ก. ข้อ 18 ง. ขอ้ 9 ค. ข้อ 19 ข. ข้อ 10 ก. ข้อ 20 ค.

แบบเขียนสะทอ้ นคิด (Reflection Paper) ----- คำช้แี จง : โปรดใชค้ ำถำมต่อไปนี้ในกำรเขียนสะท้อนคิดจำกกำรศึกษำดว้ ยตนเอง ไม่เกิน 2 หนำ้ กระดำษ 1. ทำ่ นไดท้ รำบอะไรจำกกำรศกึ ษำชุดเอกสำรศึกษำดว้ ยตนเองฉบับน้ี? 2. หำกท่ำนได้รบั ผิดชอบจัดกำรเรยี นกำรสอนแก่บคุ คลท่ีมีควำมบกพร่องทำงกำรเห็น ท่ำนจะนำ ควำมรู้ทีไ่ ด้ ไปประยกุ ต์ใช้อย่ำงไร 3. ท่ำนเคยมีประสบกำรณ์หรือมคี วำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ยี วกับกำรจัดกำรศกึ ษำสำหรบั บคุ คลท่มี คี วำม บกพร่องทำงกำรเห็น อยำ่ งไร 4. ทำ่ นวำงแผนจะนำควำมรูเ้ กยี่ วกับกำรจดั กำรศึกษำสำหรับบคุ คลทมี่ ีควำมบกพร่องทำงกำรเห็น ไปปฏบิ ัตอิ ย่ำงไร ในอนำคต

คนพิการ 9 ประเภท มีอะไรบ้าง

คำตอบ: (1) ความพิการทางการเห็น (2) ความพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย (3) ความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางรางกาย (4) ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม (5) ความพิการทางสติปัญญา (6) ความพิการทางการเรียนรู้ (7) ออทิสติก

ความพิการประเภท7คืออะไร

“ออทิสติก” อยู่ในกลุ่มความพิการประเภท 7 คือ ความพิการทางออทิสติก

ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

ประเภทความพิการมี 7 ประเภท 1. พิการทางการเห็น 2. พิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย 3. พิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย 4. พิการจิตใจหรือพฤติกรรม 5. พิการทางสติปัญญา 6. พิการทางการเรียนรู้ 7. พิการทางการออทิสติก

คนพิการประเภท 5 คืออะไร

ในประเทศไทย ได้กำหนดให้ความบกพร่องทางสติปัญญา เป็นผู้พิการประเภท 5 “ความพิการทางสติปัญญา” ตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555 ซึ่งออกในพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 หมายถึง “การที่บุคคลมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน ...