Plc fxu3 ส อสารก บเคร องว ดอ ณหภ ม

ผนวก 2.1 List programs. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2-2

ภาคผนวก 3 การใช้งาน Handy programming panel 3-1

ผนวก 3.1 การใช้ Handy programming panel (HPP). . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3-2

ภาคผนวก 4 ผงั การเช่อื มตอ่ I/O ใน Training kit (Wiring diagram) 4-1

ผนวก 4.1 I/O Wiring diagram ส�ำหรับ Training machine. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 4-2

MEMO

มาเรยี นรเู้ กยี่ วกบั ซเี ควนซ์(Sequences)กนั เถอะ

บทที่ 1 การควบคมุ ซีเควนซ์ (Sequence Control) 1 คืออะไร

มาทำ� ความรู้จกั กับ การควบคมุ ซเี ควนซ์ (Sequence Control)

“PLC หรอื ซีเควนเซอร์ (Sequencer)” ทจ่ี ะแนะน�ำใหท้ กุ ท่านรจู้ ักหลงั จากนนี้ ้ัน เปน็ อปุ กรณท์ ่ีใช้ “การควบคุม ซเี ควนซ์ (Sequence Control)” ถ้าอย่างนนั้ “การควบคมุ ซเี ควนซ์ (Sequence Control)” คืออะไรกนั แน่ ปกตเิ ราจะไม่คอ่ ยไดย้ นิ ช่อื นผ้ี ่านหสู กั เท่าไหร่ แตใ่ นความเปน็ จริงจะมีการใชง้ านผา่ นอุปกรณต์ า่ งๆ รอบตวั เรา มากมาย ซ่ึงไมว่ ่าใครกน็ ่าจะเคยสมั ผัสกนั มาแลว้ ยกตัวอย่างเชน่ เครื่องซกั ผ้า ชนดิ Full automatic ทม่ี ีระบบ “การควบคุมซีเควนซ์ (Sequence Control)” อยา่ ง เตม็ รูปแบบ

เนอ้ื หาในบทน้ี จะมีการยกตวั อย่างจากอุปกรณต์ ่างๆ ทีป่ รากฏอยรู่ อบตัวเรา โดยทีห่ วั ข้ออยู่ท่ี “การควบคุม ซีเควนซ์ (Sequence Control)” เพ่อื ให้ทุกทา่ นทำ� ความเขา้ ใจว่า “การควบคุมซีเควนซ์ (Sequence Control)” ทีว่ ่านค้ี อื อะไร

1-1

1.1 การควบคุมซเี ควนซ์ (Sequence Control) คืออะไร

1.1.1 ซีเควนซ์ (Sequence) มคี วามหมายว่าอยา่ งไร

“การควบคุมซีเควนซ์ (Sequence Control)”… โดยทั่วไปแลว้ เราอาจจะไม่คอ่ ยคุ้นเคยกบั คำ� นีส้ ักเทา่ ไหร่ แตใ่ นความเปน็ จรงิ แลว้ รอบๆ ตัวเราจะมกี ารใช้ค�ำนี้อยอู่ ย่างกว้างขวาง รวมถึง รูปร่างลกั ษณะของอปุ กรณ์ตัวนี้เราก็น่าจะเคยเห็นหรอื เคยสัมผสั กนั อย่บู า้ ง ก่อนอ่นื ถา้ เราลองค้นหาความหมายในพจนานกุ รมคำ� วา่ “ซเี ควนซ์ (Sequence)” จะไดค้ วามหมายวา่

① การเกดิ อยา่ งตอ่ เน่อื ง, ต่อเนอื่ งกนั , การเกิดขน้ึ หลายคร้ังตดิ กนั ② ดำ� เนนิ ตอ่ , ความตอ่ เนือ่ ง ③ ล�ำดับ, ควิ ④ เหตุการณ์ทเี่ กดิ ขน้ึ ตามมาอาทเิ ชน่ , ผลกระทบ, ผลลพั ธ์... เพราะฉะน้ันคำ� ว่า ซีเควนซ์ (Sequence) คอื สิง่ ทเ่ี กดิ ต่อเนือ่ ง หรอื ล�ำดับของการเกดิ ขึน้ ของปรากฏการณ์ คำ� ว่า “การควบคุมซเี ควนซ์ (Sequence Control)” มาจากค�ำวา่ “ซีเควนซ์ (Sequence)” ซงึ่ มีความหมายวา่ การท�ำงานที่ปฏบิ ัติตามล�ำดบั ข้ัน ตอนที่ได้มีการก�ำหนดไว้ล่วงหนา้ อีกท้งั คำ� ว่า “การควบคุม (Control)” หมายความว่า การท�ำงานท่ตี อ้ งเป็นไปตามทีว่ างแผน

1.1.2 ยกตวั อยา่ งจากสิง่ ทอ่ี ย่ใู กล้ตวั เรา… เҐสรวจ็ Ć!

เครื่องล้างรถอัตโนมัตทิ ี่เราเหน็ กันบอ่ ยๆ ตามป๊มั เติมนำ้� มัน

QR?PR QRMN

ท�ำการหยอดเหรียญแล้วกด ุป่ม Start ัอน ัดบแรก ท�ำการล้างด้วยน้�ำ ใช้น้�ำยา �ทำความสะอาดคราบน้�ำ ี่ท ตก ้คาง ใ ้ช ้ผา �ทำความสะอาด ท�ำการล้าง ้�นำ ้�ซำอีกรอบ สุดท้าย เช็ดคราบ �้นำออก เส ็รจ ้ิสน

1-2

จากการแนะน�ำตัวอยา่ งเคร่อื งล้างรถในหน้าท่ีผ่านมา ซ่งึ ถึงแม้วา่ จะเป็นลำ� ดบั ข้นั ตอนท่ีไมย่ งุ่ ยากแต่ก็เปน็ แนวคิดของ ซเี ควนซ์ (Sequence) ซ่ึงการควบคมุ ซเี ควนซ์ (Sequence Control) นัน่ ก็คือ การควบคุมเครือ่ งใหท้ �ำงานเปน็ ระบบอัตโนมัติเพอื่ ให้การท�ำงานทกุ ครั้งออกมาถูกต้อง

ในอกี ทางหนงึ่ การควบคมุ ซีเควนซ์ (Sequence Control) นน้ั ถูกใช้กบั งานในหลายๆ ด้าน หลายๆ สาขา ซงึ่ กลายเป็นแนวคิดท่ขี าดอกี ตอ่ 1 ไปไมไ่ ด้

■ F A (Factory automation) ในโรงงานเครื่องจกั ร ■ เ คร่ืองจักรผลติ อาหาร และการแปรรูป

ใช้กบั การควบคุม สายพาน (Conveyor) หรอื การควบคมุ ใน ใช้ในการท�ำงานประเภท วัตถุดบิ , Injection, Heat-up, Cutting, เครอื่ งจกั ร Machining และเครื่องจกั ร Assembly Packing โดยมีการควบคมุ ผา่ นเครือ่ งจกั รในแตล่ ะประเภท

มีการนำ� ไปใช้อยา่ งแพร่หลายในหลายสาขา

■ อ ุปกรณก์ ารทำ� งานในแตล่ ะประเภท ■ น�ำไปใชใ้ นการควบคุมระบบอัตโนมตั ติ า่ งๆ

จำ� หนา่ ยตว๋ั

• เครอ่ื งซกั ผา้ ขนาดใหญ่ • การควบคมุ ทีจ่ อดรถอตั โนมตั ิ • การควบคุมภายในโรงเรือนเพาะปลูก • เคร่ืองออกต๋วั อัตโนมตั ิ • ควบคมุ การย้ายของบน Conveyor • การควบคุมสญั ญาณไฟจราจร หรอื • ต เู้ ย็น เคร่ืองแชแ่ ข็ง หรอื อปุ กรณ์เสรมิ ตา่ งๆ • นำ� ไปใชใ้ น • ควบคมุ การเปดิ ปิดของประตูกน้ั น้�ำ ป้ายไฟฟา้ การควบคุมระบบอัตโนมตั ติ ่างๆ • การควบคุมประตูชัตเตอร์

การควบคมุ ซเี ควนซ์ (Sequence Control) ไมใ่ ช่เร่อื งทีย่ ากเพราะเปน็ สง่ิ ทีอ่ ยู่รอบๆ ตวั เรา

1-3

1.2 อปุ กรณท์ ีเ่ กี่ยวข้องกับการควบคุมซเี ควนซ์ (Sequence Control)

1.2.1 โครงสรา้ งการควบคุมซีเควนซ์ (Sequence Control)

ในกรณีทตี่ ้องใช้การควบคมุ เป็นแบบ PLC จำ� เปน็ ต้องมอี ปุ กรณ์ดงั ตอ่ ไปนี้ อุปกรณ์ชนิดน้ีแบง่ การท�ำงานออกเปน็ หัวข้อใหญ่ๆ ได้ดังนี้ “อปุ กรณท์ บี่ ังคบั การใช้งานดว้ ยคน”, “อุปกรณ์ท่แี จ้งสภาพของเคร่ืองจกั รใหค้ นทราบ” “อุปกรณส์ �ำหรบั ตรวจสภาพของเครอ่ื งจักร”, “อุปกรณ์สำ� หรับทำ� ให้เครื่องจกั รเคลอื่ นท่”ี

อุปกรณ์ทบี่ งั คับการใชง้ านดว้ ยคน อปุ กรณ์ทแี่ จ้งสภาพของ เครือ่ งจักรให้คนทราบ Switch Lamp หรอื Buzzer

คน

ก(SาeรqคuวeบnคceุมCซีเoคnวtrนoซl)์ Solynoid valve ขนาดเลก็ หรอื อุปกรณ์ อ่นื ๆ ท่ีมี Load น้อย อาทิเชน่ Pilot lamp ท่ีสามารถตอ่ ตรงเพอื่ ที่จะขบั เคลอื่ นได้ แต่ ถ้าเป็น Solynoid valve ขนาดใหญท่ ่ีใช้ กำ� ลงั Load สงู จ�ำเป็นต้องมอี ุปกรณเ์ สริม ท่เี รียกว่า Magnet conductor หรอื รีเลย์ (Relay) เพื่อใชใ้ นการขบั เคลือ่ น

Magnet conductor หรอื Relay

Limit switch หรอื Proximity switch Motor หรือ Solinoid valve

เครอื่ งจกั ร

อุปกรณส์ ำ� หรับตรวจสภาพ อปุ กรณ์สำ� หรบั ทำ� ให้เครือ่ งจกั ร ของเครื่องจกั ร เคล่ือนที่

1-4

แบบดังตอ่ ไปนเี้ ป็นเพยี งตวั อยา่ ง ซง่ึ ในความเปน็ จรงิ ยงั มอี ุปกรณอ์ ีกหลายแบบ 1 การควบคุมซเี ควนซ์ (Sequence Control) เปน็ การกำ� หนดลำ� ดับการท�ำงานของอปุ กรณ์เพอ่ื ให้อปุ กรณ์ท�ำงานตามค�ำสัง่ ซ่ึงการทำ� งาน ของอปุ กรณ์นี้จะมีเงอ่ื นไขประกอบไปด้วย “อปุ กรณท์ ีบ่ งั คบั การใช้งานด้วยคน” “อุปกรณส์ ำ� หรบั ตรวจสภาพของเครอื่ งจกั ร” แตส่ �ำหรบั เงื่อนไข ในการทีจ่ ะเดินเครื่องนนั้ จะประกอบไปดว้ ย “อุปกรณ์ทีแ่ จ้งสภาพของเครือ่ งจกั รให้คนทราบ” “อุปกรณส์ ำ� หรบั ทำ� ให้เครอื่ งจักรเคลื่อนท”่ี

ตูป้ ฏิบตั ิการ (Operation panel) เป็นตู้ Panel ทม่ี ีการติดตงั้ อปุ กรณ์ท่ีใชค้ นในการควบคุม (อาทิเชน่ ป่มุ Button switch, Selector switch เป็นต้น) หรอื อุปกรณท์ ใี่ ชใ้ นการ แจ้งสถานะของเคร่ืองจักร (อาทเิ ชน่ Lamp หรือ Digital display machine เป็นตน้ )

ตูค้ วบคุม (Control panel) เปน็ ตู้ Panel ทมี่ กี ารตดิ ตงั้ อปุ กรณส์ ำ� หรับควบคุมการทำ� งานของเครื่องจกั ร อาทเิ ช่น Magnetic contactor, รีเลย์ (Relay) หรอื PLC เป็นตน้

ตัวอย่าง ภายในเครือ่ งลา้ งรถอตั โนมตั ิจะประกอบไปดว้ ยอปุ กรณ์ต่างๆ ที่ใชใ้ นการควบคุมซเี ควนซ์ (Sequence Control)

อุปกรณส์ �ำหรับทำ� ให้เคร่ืองจกั ร เคล่อื นท่ี

Motor สำ� หรับการหมุนแปรงหรือเดินป๊ัม เพอ่ื ใช้ในการฉดี น้�ำยาท�ำความสะอาดหรือน้�ำ

อปุ กรณ์ท่ีบงั คบั การใช้งานดว้ ยคน อุปกรณส์ �ำหรับตรวจสภาพ ของเคร่อื งจักร อาทเิ ช่น การกดปุ่ม Start, Stop Switch ทีใ่ ชต้ รวจสอบต�ำแหน่งของรถยนต์

อุปกรณท์ ีแ่ จ้งสภาพของ เครอื่ งจกั รใหค้ นทราบ

อาทิเช่น ไฟ Lamp ขณะท�ำการเดนิ เครอ่ื ง

1-5

1.3 สิ่งทจี่ �ำเป็นในการควบคมุ ซเี ควนซ์ (Sequence Control)

1.3.1 ท�ำความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ภาพรวมของการควบคมุ ซเี ควนซ์ (Sequence Control)

ลองมาคิดเกยี่ วกับการควบคุมซีเควนซ์ (Sequence Control) โดยอาศยั ผงั การเชือ่ มต่อดังตอ่ ไปน้ี อกี ท้ังตรงนี้จะอธบิ ายค�ำศัพท์ทค่ี วรจำ� ในการศึกษาการควบคมุ ซีเควนซ์ (Sequence Control) ดว้ ย

ตัวอยา่ งที่ 1 : ปุม่ Push button, ไฟ Lamp (ฟา้ , แดง), มีการใชร้ ีเลย์ (Relay) ในการเดินสายไฟในวงจรไฟฟา้

◎◎รายละเอียดของ การควบคุมซเี ควนซ์ (Sequence Control)

① สถานะของอุปกรณถ์ า้ ไมไ่ ดท้ ำ� การกด Push button เสน้ B จะเป็นเส้นทีก่ ระแสไฟไหลผ่าน ไฟ Lamp สีฟ้าจะติด ② เม่ือมีการกด Push button เสน้ A จะเป็นเส้นที่กระแสไฟไหลผ่าน ไฟ Lamp สแี ดงจะตดิ ③ เมอื่ มกี ารปล่อยปุ่ม Push button ไฟสีฟ้าจะตดิ เหมือนเช่นข้อ ① ①~③ การท�ำงานของทง้ั สามข้อนเี้ ป็นส่วนหนง่ึ ของ การควบคมุ ซีเควนซ์ (Sequence Control)

แหลง่ จา่ ยไฟ แผนผังการเชอ่ื มต่อ Power

แหล่งจ่ายไฟ B Bหlลuอeดlไaฟmสpฟี า้ Power A

สPวuทิshซ์แbบutบtoปnมุ่ กด

หลอดไฟสีแดง รีเลย์ Red lamp Relay

1-6

1.3.2 มาเรียนรู้ค�ำศพั ท์ใหมก่ ัน

● เก่ียวกบั หนา้ สมั ผสั (Contact) ประเภทตา่ งๆ 1

หนา้ สัมผสั (Contact) มีหนา้ ท่ใี นการนำ� หรือตัดกระแส เมอ่ื มกี ารเปดิ -ปิด สงิ่ ทจี่ ะเปน็ พน้ื ฐานของหนา้ สมั ผสั (Contact) คอื “หนา้ สมั ผสั ปกตเิ ปดิ a (“Normally open” contact หรอื N.O. Contacts)” และ “หนา้ สมั ผสั ปกตปิ ดิ b (“Normally closed” contact หรอื N.C. Contacts)” ซงึ่ หนา้ สมั ผสั (Contact) นน้ั จะปรากฏอยใู่ น Switch หรอื รเี ลย์ (Relay), Timer, Counter

หนา้ สัมผสั ปกตเิ ปิด a (N.O. Contacts)

หน้าสมั ผัสปกตเิ ปิด a (N.O. Contacts) จะเป็นช่ือเรยี กของหน้าสมั ผสั (Contact) ที่มสี ถานะเปดิ และเมื่อมคี ำ� ส่งั หรือมีการกระตุ้น หน้าสมั ผสั (Contact) ก็จะท�ำการปิดลง

※1 ค�ำสง่ั หมายความวา่ การควบคุมให้เกดิ การทำ� งานหรอื การเปลี่ยนแปลง ถ้าเป็น Push button การกดปุ่มกค็ ือ Command นนั่ เอง

การท�ำงาน ในกรณที ีเ่ ป็นปุม่ Button switch กรณที ี่ไมก่ ดปุ่ม Button switch ตวั หน้าสมั ผสั (Contact) จะเปิด และจะปดิ เม่อื มีการกดป่มุ

ปุม่ Push button ปุ่ม Push button

วงจรไฟฟ้าเปดิ หนา้ สมั ผสั เคลอ่ื นท่ไี ด้ หนา้ สมั ผสั สัมผัสกนั หน้าสมั ผสั เคลอ่ื นที่ได้ หน้าสัมผสั เคลอ่ื นท่ไี มไ่ ด้ กระแสไฟวงิ่

สายไฟ สปรงิ สายไฟ สายไฟ สายไฟ หนา้ สัมผสั เคลือ่ นทีไ่ มไ่ ด้ สปริง สถานะกอ่ นการกดปุม่ (In return position) สถานะหลงั การกดป่มุ (Operation)

หน้าสมั ผสั ปกตปิ ิด b (N.C. Contacts)

หน้าสัมผัสปกติปดิ b (N.C. Contacts) คอื หนา้ สมั ผัส (Contact) ทีป่ กตจิ ะเป็นสถานะปดิ เมอื่ ไดร้ ับคำ� สง่ั หรือมีการกระตุน้ หน้าสัมผัส (Contact) จะท�ำการเปดิ

การทำ� งาน ในกรณีทีเ่ ป็นปุ่ม Button switch ในกรณีทไ่ี มไ่ ดก้ ดปุ่ม Button switch ตัว หน้าสมั ผัส (Contact) จะปดิ และจะเปิดเมอื่ มีการกดปุ่ม

ปมุ่ Push button ปุ่ม Push button

สายไฟ สายไฟ สายไฟ

วงจรไฟฟา้ ปิด กระแสไฟว่งิ วงจรไฟฟ้าเปดิ หน้าสมั ผัสเคลือ่ นทไ่ี มไ่ ด้ หนา้ สัมผัสเคลือ่ นทีไ่ ด้ หน้าสัมผัสเคลือ่ นที่ไมไ่ ด้ สปรงิ หน้าสัมผัสเคล่อื นทีไ่ ด้

สปริง

อา้ งอิง ท่มี าของชอื่ หน้าสมั ผสั ปกติเปดิ a (N.O. Contacts), หนา้ สัมผสั ปกติปิด b (N.C. Contacts)

ชอื่ หนา้ สมั ผัสปกตเิ ปิด a (N.O. Contacts), หนา้ สมั ผสั ปกตปิ ิด b (N.C. Contacts) มาจากไหน

หน้าสัมผัสปกตเิ ปิด a (N.O. Contact) : Arbeit contact ··· หนา้ สัมผัสที่มีการทำ� งาน (ภาษาเยอรมัน) กลา่ วคือ การดงึ เอา “อกั ษรตวั แรก” มาใช้นัน่ เอง หนา้ สัมผสั ปกติปิด b (N.C. Contact) : Break contact ··· หนา้ สมั ผัสทมี่ กี ารหยุด

บางคร้งั ก็เรยี ก หน้าสมั ผสั ปกตเิ ปิด a ว่า “หนา้ สัมผสั ปกตเิ ปดิ ” ภาษาอังกฤษ “N.O. Contacts (Normally-open contacts)” และเรยี ก หน้าสมั ผัสปกติปดิ b ว่า “หน้าสมั ผสั ปกติปดิ ” ภาษาองั กฤษ “N.C. Contacts (Normally-closed contacts)”

1-7

● เกี่ยวกับรีเลย์ (Relay)

รีเลย์ (Relay) เปน็ ชือ่ เรียกอุปกรณ์ไฟฟา้ ชนิดหน่ึงซง่ึ มปี ระโยชนใ์ นการถ่ายทอดกระแสไฟฟา้ ในความเป็นจรงิ ภายใน Relay จะมีแมเ่ หล็กไฟฟ้า เมอ่ื แม่เหล็กไฟฟ้ามกี ารท�ำงานจะทำ� การดดู Armature ข้ึน เพ่อื ทำ� การเปิด-ปดิ หนา้ สัมผัส (Contact)

※1 หน้าสัมผสั (Contact) … ห น้าสัมผสั (Contact) เป็นช่ือเรยี กบริเวณทีม่ ีการสมั ผสั ผา่ นการเปิด-ปดิ ที่มาจากการปล่อยหรือตัดกระแส ไฟ นอกเหนอื จาก รีเลย์ (Relay) จะมี Switch, Timer, Counter ก็จะมหี นา้ สัมผัส (Contact) เชน่ เดยี วกัน อีกทงั้ ภายในหน้าสัมผัส (Contact) จะมีท้ังหน้าสมั ผัสปกตเิ ปิด a (N.O. Contacts), หนา้ สัมผสั ปกตปิ ิด b (N.C. Contacts)

หนา้ สมั ผสั ปกติเปิด a (N.O. Contacts) การทำ� งานของหน้าสัมผัส (Contact) หน้าสมั ผัส ON Contact มีกระแสไฟว่ิงผา่ น Contact จะเร่ิมทำ� งานเมอ่ื มีการปล่อย เคลอื่ นทไี่ ด้ OFF Contact กระแสไปทแี่ ม่เหล็กไฟฟ้า หนา้ สัมผสั เคลอื่ นท่ไี ด้

หนา้ สมั ผสั เมื่อมกี ารหยดุ กระแสไฟ สปริงจะทำ� หน้าที่ หนา้ สัมผสั สปรงิ เคลอื่ นทไ่ี มไ่ ด้ Return Operation หนา้ สมั ผสั (Contact) เคลอ่ื นท่ีไม่ได้ แมเ่ หล็กไฟฟ้า ให้กลับไปอย่ทู ่ีตำ� แหน่งเดิม

แมเ่ หล็กไฟฟ้า ปลอ่ ยกระแสไฟ ไปที่ Coil

หน้าสัมผัสปกตปิ ดิ b (N.C. Contacts)

หน้าสัมผสั เคล่ือนท่ไี มไ่ ด้ ON Contact มกี ระแสไฟวงิ่ ผ่าน Contact หน้าสมั ผสั เคล่ือนท่ีไมไ่ ด้ เมื่อมกี ารปลอ่ ยกระแสไฟไปท่ี OFF Contact แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ Operation หนา้ สัมผัส (Contact) จะทำ� งาน

หนา้ สมั ผัส เมอื่ มกี ารหยุดปลอ่ ยกระแสไฟ สปริงจะ หนา้ สมั ผสั สปริง เคลื่อนทไี่ ด้ ทำ� หน้าที่ Return Operation หน้าสัมผัส เคล่ือนที่ได้ แม่เหล็กไฟฟ้า (Contact) ให้กลบั ไปอยทู่ ่ีตำ� แหนง่ เดมิ

แมเ่ หล็กไฟฟา้ ปลอ่ ยกระแสไฟ ไปท่ี Coil

1-8

☆ ท�ำไม รเี ลย์ (Relay) ถงึ จ�ำเปน็ ? 1

① สญั ญาณของ รีเลย์ (Relay) เพียงเล็กน้อยก็สามารถทีจ่ ะเดิน Motor หรอื Lamp ได้ ② มีการควบคมุ กระแสตรงเพื่อใช้เดนิ มอเตอร์กระแสสลบั หรือควบคุมกระแสไฟทม่ี ีความแตกต่างกนั ได้ ดงั รปู

DC12V (กระแสตรง) AC100V (กระแสสลบั )

③ สามารถเดนิ เคร่อื ง Motor หรอื Lamp ที่อยใู่ นระยะห่างได้ ④ สามารถควบคมุ แบบซบั ซ้อนไดถ้ ้ามีการใช้ รีเลย์ (Relay) เป็นจำ� นวนมาก

1-9

1.4 ฝกึ การเดินสายไฟภายใตเ้ ง่ือนไขของซีเควนซ์กันเถอะ

1.4.1 หลังจากทไี่ ดท้ ำ� การเรยี นรศู้ พั ทใ์ หม่

หลังจากทีไ่ ด้ท�ำการเรยี นรู้เรือ่ งหน้าสัมผสั รีเลย์ (Relay contact) แล้ว มาลองซอ้ มจริงในหนา้ 1-6 ตวั อยา่ งท่ี 1

◎ รายละเอียดโดยย่อของการเดินสายรเี ลย์ Relay wiring demostration

ส่วนประกอบ หลอดไฟสีฟ้า (Blue) กระแสไฟ DC หลอดไฟสแี ดง (Red) ปุ่มกด เคเบลิ สายไฟ. . . . . . . . . 1 เสน้ ปุม่ กด. . . . . . . . . . . . . .1 อัน รเี ลย์ (Relay) หลอดไฟสแี ดง (Red). . . .1 อนั หลอดไฟสฟี ้า (Blue) . . . .1 อัน รูปท่ี 1 หลอดไฟสแี ดง (Red) รเี ลย์ (Relay) . . . . . . . . .1 อนั สายลีด cCoonmtamcot n N.C. contact Relay Pushbutton สีนำ้� ตาล (Brown), สแี ดง (Red), สีสม้ (Orange), สเี หลอื ง (Yellow), สีเขยี ว (Green), สฟี า้ (Blue), N.O. contact Coil Pushbutton switch สมี ่วง (Purple), สเี ทา (Gray). . . . . . . . . . . . . อยา่ งละ 1 เส้น ※1 แผนผังการเดนิ สายไฟ (Wiring diagram) ● มาเดนิ สายไฟกัน รูปท่ี 1 หลอดไฟสฟี า้ (Blue) 1. ตรวจสอบว่ากระแสไฟตดั หรือไม่ 2. รูปที่ 1 แสดงถงึ การเดินสายไฟ Red lamp 100 V AC

ระหวา่ ง ขว้ั ต่อ (Terminal) เบอร์ 5 [สีเขยี ว (Green)] ระหวา่ ง ขว้ั ต่อ (Terminal) เบอร์ 6 [สฟี ้า (Blue)] ระหว่าง ขว้ั ตอ่ (Terminal) เบอร์ 1 [สนี ้�ำตาล (Brown)] ระหว่าง ขัว้ ต่อ (Terminal) เบอร์ 2 [สแี ดง (Red)] ระหว่าง ขั้วตอ่ (Terminal) เบอร์ 3 [สสี ้ม (Orange)] ระหวา่ ง ขวั้ ตอ่ (Terminal) เบอร์ 7 [สีมว่ ง (Purple)] ใช้ Lead wires ในการ Connect 3. รปู ที่ 2 แสดงถึงการเดินสายไฟ Blue lamp ระหว่าง ขว้ั ตอ่ (Terminal) เบอร์ 4 [สเี หลือง (Yellow)] ระหว่าง ขั้วตอ่ (Terminal) เบอร์ 8 [สีเทา (Gray)] ใช้ Lead wires ในการ Connect

ขอ้ ระมดั ระวัง) จ ากกรณีดงั กลา่ ว ขัว้ ต่อ (Terminal) เบอร์ 4 กับ 5 ตอ้ งเป็น Common ขั้วตอ่ (Terminal)

※1 แผนผงั การเดนิ สายไฟคอื อะไร... เปน็ แผนผงั ทแี่ สดงถงึ อปุ กรณ์ไฟฟา้ ชนิดต่างๆ ที่ใชบ้ ริเวณ

วงจรไฟฟา้ หรือใช้ในการ Connect กบั วงจรไฟฟ้า อกี ท้งั แผนผังดงั กลา่ วสามารถตรวจสอบโครงสรา้ งของอปุ กรณ์ ไฟฟ้าหรอื การ Wiring ได้อยา่ งชดั เจนจงึ สะดวกสบายตอ่ การจดั ท�ำอุปกรณ์ หรอื สะดวกตอ่ การ Maintenance

cCoonmtamcot n N.C. contact Relay Pushbutton

Coil Pushbutton switch

N.O. contact

1-10

● มาตรวจสอบการท�ำงานกัน 1

จงน�ำรายละเอยี ดของ การควบคุมซเี ควนซ์ (Sequence Control) ในหน้า 1-6 และนำ� มาเรียบเรียงใหมโ่ ดยใชค้ �ำศัพทท์ ตี่ นเรยี นรู้ ① เม่อื มีการปล่อยกระแสเข้า หน้าสัมผสั ปกติเปิด a (N.O. Contacts) กระแสจะทำ� การวงิ่ ผ่าน Route B และไฟท่ีหลอดไฟสีฟ้า (Blue lamp)

จะติด ② ห ลังจากนน้ั ถ้าไดก้ ดปุ่ม Push button switch (Push button switch ก็คอื หน้าสัมผัสปกติเปิด a (N.O. Contacts)) จากการทำ� งานของ

รเี ลย์ (Relay) จะทำ� ใหห้ น้าสัมผัสปกตเิ ปิด a (N.O. Contacts) ปดิ จงึ ทำ� ให้กระแสไฟว่ิงผา่ น Route A ไฟสีแดงจะติด ③ เ ม่อื มีการปลอ่ ยปมุ่ Push button จะท�ำใหไ้ ฟสีฟา้ ติดอกี คร้งั

อธิบายการท�ำงานของ ซเี ควนซ์ (Sequence) ผ่าน Flow chart เปดิ สวทิ ซ์ ไไฟฟสสแี ีฟดา้ งตตดิ ิด Flow chart คืออะไร NO มีการกดปุ่มหรือไม่ การควมคุมซเี ควนซ์ (Sequence Control) คอื การออกแบบโครงสร้างวงจร ไฟฟา้ โดยนำ� อุปกรณต์ า่ งๆ มาผสมกนั ดังน้นั อุปกรณท์ ี่มกี ารประกอบเขา้ ไปรวมถึงรายละเอยี ดและลำ� ดบั การท�ำงาน เมอื่ นำ� มาเขยี นเปน็ รายละเอยี ดจะทำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจโดยรวมไดย้ าก สำ� หรบั Flow chart นัน้ จะใชก้ รอบสี่เหลีย่ มและสญั ลกั ษณล์ กู ศรเปน็ เครือ่ งหมาย เพอื่ สามารถทจ่ี ะสอ่ื ให้เกดิ ความเขา้ ใจไดง้ ่าย

YES

ไฟสีฟา้ ดบั หรอื ไม่ ไฟสแี ดง ดบั หรือไม่

การแสดง ซเี ควนซ์ (Sequence) จาก Time chart Push Button ปดิ กด ปล่อย ไฟตดิ รีเลย์ (Relay) ทำ� งาน ไฟตดิ ปดิ Time chart คืออะไร ไฟ Lamp สีฟา้ ท�ำงาน มีการสรุปให้เข้าใจงา่ ยในเรอื่ งการปรบั เวลาให้ตรงกบั ลำ� ดับการ ไฟ Lamp สแี ดง เดนิ เครือ่ ง ไฟตดิ ระบุอุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการควบคมุ ทแี่ กนนอน และมกี ารระบุการ เปลีย่ นแปลงของเวลาทแ่ี กนตั้ง

สังเกตท่สี ญั ลกั ษณ์เส้นประ จะทราบวา่ อุปกรณ์ไหนท่ีมีการทำ� งาน Push Button ทเ่ี ก่ยี วข้องบ้าง Realy อาจมีบางกรณที แ่ี สดงเปน็ สญั ลกั ษณ์เพอ่ื ใหม้ คี วามเขา้ ใจง่าย หรือ อาจจะสังเกตรายละเอียดของ การควบคุมซีเควนซ์ (Sequence Control) จาก Flow chart หรอื Time chart

1-11

แผนผังการเดนิ สายไฟ (Wiring diagram) และแผนผงั ซีเควนซ์ (Sequence diagram)

แผนผงั การเดินสายไฟ (Wiring diagram) หรอื โครงสรา้ งของเครอ่ื งจักรน้นั ถา้ หากส�ำหรับงานเดินสายไฟแล้วถือว่าเปน็ ภาพทเ่ี ขา้ ใจไดง้ ่าย แต่ถ้าเป็นงานวงจรไฟฟา้ ทม่ี ีความซบั ซอ้ น อาจทำ� ใหเ้ ข้าใจถงึ ลำ� ดับการท�ำงานได้ยาก และเพื่อทจ่ี ะท�ำใหเ้ กดิ ความเข้าใจได้มากยงิ่ ข้ึน เราลองมาจดั เป็นรูปแบบของ PLC drawing

การเดนิ สายไฟ (Wiring diagram)

หมายเหต)ุ ดว้ ยเครอ่ื งในการฝ กึ สอนรุน่ FX-I/O-DEMO2 ทง้ั รเี ลย์ และหลอดไฟจะทำ� งานดว้ ยแหลง่ จา่ ยไฟฟา้ กระแสตรง ขนาด 24 V อยา่ งไรกต็ าม โดยทว่ั ไปนนั้ รเี ลยจ์ ะทำ� งาน ดว้ ยแหลง่ จา่ ยไฟฟา้ กระแสตรงขนาด 24 V และหลอดไฟ จะทำ� งานดว้ ยแหลง่ จา่ ยไฟฟา้ กระแสสลบั ขนาด 100 V ซง่ึ แสดงอยู่ในรูปดา้ นลา่ งน้ี

แผนผังซีเควนซ์ (Sequence diagram) แหล่งจ่ายไฟฟา้ กระแสสลบั

กระแสตรง

PB RA RA (หน้าสมั ผัสปกตปิ ิด b) BU Blue RA (หน้าสมั ผสั ปกตเิ ปิด a) RD Red Push button Coil ของ Relay switch

แผนผงั ซเี ควนซ์ (Sequence diagrams) จะถกู จัดทำ� ขน้ึ โดยเรียงตามล�ำดับของการท�ำงานทม่ี าจากวงจรไฟฟ้าจ�ำนวนมาก และมีการ จัดเรียงเนอ้ื หาแผนผังการเชือ่ มต่อ เพอ่ื ให้การทำ� งานเปน็ ไปอยา่ งเข้าใจงา่ ย อกี ทง้ั วิธีการจัดท�ำ Diagrams ในรปู แบบนี้น้นั มีการก�ำหนด ให้เป็นวธิ ีมาตรฐาน เมื่อบุคคลท่ีสามเขา้ มาเปดิ ดกู ็จะสามารถทำ� ความเขา้ ใจไดง้ ่าย

1-12

1.4.2 ศึกษาจากตวั อย่างอ่นื ๆ

ตวั อยา่ งที่ 2 : ควบคมุ ระดบั น้�ำใน Tank 1 ◎ รายละเอยี ดการควบคุมซเี ควนซ์ (Sequence Control)

① เ มอ่ื มกี ารปดิ สวิทซก์ าร Start operation เกดิ ขึ้น เมื่อน้�ำเกิดการแห้ง Limit switch LS1 จะทำ� การปดิ Magnet conductor MC จะ เร่มิ ทำ� งานเพอื่ ทจี่ ะใหม้ อเตอรท์ ใ่ี ช้ในการเตมิ นำ�้ เร่ิมการทำ� งาน ถงึ แมว้ ่านำ้� จะอยู่ในระดับปานกลาง Magnet conductor MC จะทำ� งานเพื่อ รกั ษาระดบั ของน้�ำ

② ถ ้าน�้ำเตม็ Limit switch LS2 จะเปดิ การทำ� งานของ Magnet conductor MC เพอื่ การรักษาระดับจะถกู ยกเลกิ อกี ทงั้ มอเตอร์ท่ใี ช้ส�ำหรับ การเตมิ นำ้� กจ็ ะหยุดไปดว้ ย

③ เมอื่ น้�ำถงึ ระดบั ทจี่ ำ� เป็นต้องเตมิ นำ้� มอเตอร์ที่ใช้ส�ำหรบั การเติมน้�ำจะทำ� การเตมิ น้�ำแบบอัตโนมตั อิ ีกครง้ั

M

มอเตอรส์ ำ� หรับเติมนำ้� Pump

Magnet Conductor MC LS2 (หนา้ สมั ผสั ปกตปิ ิด b) ทำ� งาน เมือ่ น้�ำเต็มแลว้ หน้าสัมผัส (Contact) ON จะเปดิ (ไม่นำ� ไฟฟา้ ) Limit switch OFF LS1 (หน้าสัมผสั ปกตเิ ปดิ a) ทำ� งาน เมอ่ื น�้ำเกิดการแห้ง หน้าสัมผสั (Contact) Operation start switch จะปดิ (น�ำไฟฟ้า) Limit switch Tank

บ่อพักน้�ำ

จากการทำ� งานของมอเตอรผ์ า่ นการควบคุมชดุ น้ี เมอ่ื นำ�้ เกิดการแหง้ จนถงึ ระดบั ปานกลางมอเตอรจ์ ะท�ำงาน เม่ือน�้ำเกิดเต็มจนถึงระดบั ปานกลางมอเตอร์จะหยุดการทำ� งาน ถงึ แม้จะอยใู่ นระดบั ปานกลางเหมอื นกันแต่สถานะการท�ำงานจะตา่ งกัน ซง่ึ เราเรยี กการท�ำงานดงั กลา่ ววา่ Hysteresis operation (การทำ� งานตามประวตั )ิ จากวธิ ีนีเ้ ราสามารถลดปรมิ าณความถ่ีในการเดินและ การหยดุ ของมอเตอรไ์ ด้

1-13

● แผนผังซเี ควนซ์ (Sequence diagram)

Power MC ※Breaker … อ ปุ กรณ์ส�ำหรบั การตดั กระแสไฟท่ี Supply วงจรไฟฟ้า ในกรณีทเ่ี กดิ กระแส M มอเตอร์ในการเตมิ นำ�้ ทผ่ี ิดปกติ

※ Breaker MC

จากการทำ� งานของ MC จะท�ำให้มอเตอร์ ส�ำหรบั การเตมิ นำ�้ ท�ำงานไปดว้ ย

Control power supply

Start switch ※3 LS1 MC

LS2 Magnet Conductor หนา้ สมั ผัสปกตเิ ปดิ a ※1 Limit switch จะปดิ หนา้ สัมผสั ปกติเปิด a หน้าสมั ผัสปกตปิ ิด b ท�ำงานในกรณีที่มี Operation start switch Limit switch จะเปดิ น�้ำเติม นั้นจะเป็นสวิทซท์ ย่ี งั ON ท�ำงานในกรณีทม่ี ี ถงึ แม้วา่ จะมีการปล่อยมอื นำ�้ เตมิ

MC ※2

※1 ซีเควนซ์ (Sequence) ในบริเวณน้จี ะถกู เปลย่ี นไปยัง PLC ตามปกติ

※2 เกย่ี วกบั Self-holding circuit (วงจรคงสภาพตัวเอง) Self-holding circuit (วงจรคงสภาพตวั เอง) คืออะไร อปุ กรณท์ ่ตี อ้ งรับคำ� สง่ั จากภายนอกอยา่ งเชน่ รเี ลย์ (Relay), Magnet

conductor MC จากหนา้ สมั ผัส (Contact) ที่มอี ยใู่ นตัวรเี ลย์ (Relay), Magnet conductor MC จะทำ� การ Bypass และสรา้ งวงจรการทำ� งานข้นึ อีกท้งั Self-holding circuit จะแบ่งเป็นแบบปมุ่ กดซงึ่ จะมกี ารตัดเม่อื ทำ� การปลอ่ ยป่มุ หรือแบบทมี่ ีหน่วยความจ�ำ ซง่ึ จะสามารถทำ� ให้

เกดิ การท�ำงานแบบตอ่ เนื่องได้ ในกรณีนจี้ ะมกี ารต่อ Limit switch LS1 แบบขนานต่อเขา้ กับ หนา้ สัมผสั (Contact) ของ Magnet conductor MC เพื่อใชใ้ นการขับเคลื่อนมอเตอร์ ซึง่ เราเรยี กวงจรแบบนวี้ า่ Self-holding circuit

※3 สำ� หรบั Limit switch LS2 นั้นมีหน้าท่ใี นการตัดวงจรของ ※2 Self-holding circuit หรอื หยุดการทำ� งานของมอเตอร์ในการเติมน�้ำ และเมอื่ มีการต่อเขา้ กบั หนา้ สมั ผสั ปกติปิด b (N.C. Contacts) หรอื Limit switch LS2 เม่อื เกิดปญั หาหน้าสมั ผสั เกิดผดิ ปกติ ภายในวงจร หรอื สายไฟเกิดขาด Self-holding circuit จะเกิดการตดั ท�ำให้มอเตอรส์ �ำหรับเตมิ น�้ำเกดิ การหยดุ

การท�ำงานของวงจรคงสภาพตวั เอง (Time chat)

Operation start switch นำ้� เตมิ น�้ำแหง้ น้�ำแห้งถึงแมว้ า่ Limit switch LS1 จะ Limit switch LS2 นำ�้ แห้ง MC ทำ� งาน (เตมิ น�ำ้ ) เกิดการตัด แต่เนอ่ื งจาก Self-Holding Limit switch LS1 Circuit จึงทำ� ให้ Magnet Conductor Magnet Conductor MC ท�ำงาน (เติมน้ำ� ) MC ท�ำงานไดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง

1-14

1.5 มาจ�ำสัญลักษณ์ท่ีเกย่ี วกบั ซีเควนซก์ นั เถอะ

1.5.1 ตารางตรวจสอบสญั ลกั ษณ์หลกั ของซีเควนซ์

แยกตามหนา้ สัมผสั (Contacts) หนา้ สัมผสั ปกตเิ ปดิ a หน้าสัมผัสปกตปิ ดิ b (JIS C 0617) (ปกติเปิดเสมอ) (ปกติปดิ เสมอ) ทม่ี าของการขบั เคลอื่ น แยกตามผลิตภัณฑ์ เขยี นแนวนอน เขียนแนวตั้ง เขียนแนวนอน เขยี นแนวต้งั (Drive Source) 1

Push button Manual switch (Automatic Restoration)

Push button Manual switch Heater (Residual Movements Movements) Thermo Relay (OCR)

Switch Manual (General)

Limit switch Dock Cam (Machine control) รีเลย์ (Relay)

Electrode Electrode Coil Contactor (Magnet Conductor) Timer on Delay

Timer off Delay

1-15

MEMO

1-16

PLC มันเปน็ อย่างนน้ี เี่ อง!!!

บทที่ 2 2 PLC คอื อะไร

PLC คืออะไร…

PLC มชี ือ่ เรียกอีกชื่อหนง่ึ ว่า Programmable Controller (PLC) หรือ การควบคมุ ซเี ควนซ์ Sequence Control (SC) ซ่งึ มคี �ำนยิ ามเก่ียวกับอุปกรณ์นว้ี า่ “คือ สงิ่ ที่เอาไว้ควบคุมอปุ กรณ์เครื่องจกั รตา่ งๆ โดยผา่ น สิง่ ท่เี รยี กว่า Input-Output ซ่ึงเป็นอุปกรณอ์ ิเลค็ ทรอนิคทภ่ี ายในประกอบไปด้วยหน่วยความจำ� เพอ่ื จดจ�ำค�ำสง่ั ทส่ี ามารถสงั่ งานได้ดว้ ยโปรแกรม (Programmable)”

ท่ีจรงิ แล้ว…

มาถงึ ตอนนี้ ขอให้คดิ วา่ มนั คือ อุปกรณท์ ีท่ ำ� ให้ “การควบคุมซีเควนซ์ (Sequence Control)” ทเี่ คยกระทำ� โดยการเดนิ สายไฟ รีเลย์ (Relay) และ Timer ใหเ้ กิดขึ้นได้จริงดว้ ย “โปรแกรม” งา่ ย ๆ

2-1

2.1 PLC คืออะไร

2.1.1 PLC มไี ว้ท�ำอะไร

คน

Switch หลอดไฟ (Lamp) หรือ

ใชค้ นในการควบคุม แจง้ สถานะของเครอ่ื ง การควบคุมซเี ควนซ์ (Sequence Control) ให้กบั คนรู้

เพอ่ื เดนิ เคร่ืองจักร

เครอ่ื งจกั ร

Sensor Motor หรือ Solinoid Valve

ตรวจสอบสถานะ ของเคร่ืองจกั ร

ภายในการควบคุมซีเควนซ์ (Sequence Control) จะมสี ญั ญาณค�ำสง่ั เกย่ี วกบั “ใช้คนในการควบคุม” “ตรวจสอบสถานะของเครอ่ื งจักร” หรือ อาจจะเรยี กว่าสญั ญาณเกยี่ วกับเงื่อนไข อกี ทั้งมีการเรยี ก “แจง้ สถานะของเครอื่ งจกั รใหค้ นร”ู้ “ทำ� การขบั เคลอื่ นเคร่ืองจักร” ซเี ควนเซอร์ (Sequencer) หรอื PLC คอื “การควบคมุ ซเี ควนซ์ (Sequence Control)” ที่อยใู่ นรูปด้านบน มีหนา้ ท่ีในการควบคมุ อุปกรณ์เหล่า นัน้ ซง่ึ หน้าทขี่ อง PLC หรอื ซเี ควนเซอร์ (Sequencer) น้ันเป็นไปตามช่ือ น่ันกค็ อื การควบคมุ ซีเควนซ์ (Sequence Control) นั่นเอง

อา้ งอิง ซีเควนเซอร์ (Sequencer) เปน็ ค�ำศัพทท์ มี่ ิตซบู ชิ ิ อเี ล็คทรคิ สรา้ งข้ึนหรอื ?

โดยท่ัวไปมีการใชช้ ื่อ “ซเี ควนเซอร์ (Sequencer)” กันอย่างกวา้ งขวาง ในปัจจุบันสมาคมผผู้ ลติ เครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าประจ�ำประเทศญี่ปุ่น (JEMA) มชี อื่ เรยี กอยา่ งเปน็ ทางการว่า Programmable Controller (PLC) ซง่ึ จะเรียก PLC หรือ Sequencer ก็ได้ แต่ในประเทศไทย นยิ มเรยี กกนั วา่ PLC และในเอกสารชดุ น้จี ะใชค้ �ำวา่ PLC เป็นหลกั แต่เดิมชอ่ื “Sequencer” มีประวตั ิการใช้งานมากอ่ นค�ำว่า PLC ใน บางส่วน ซงึ่ หลงั จากท่ี Mitsubishi Electric ไดว้ างจ�ำหนา่ ย PLC ในช่อื Sequencer โดยท่รี นุ่ ที่เปน็ ตวั แทนหลักจะเป็น K Series และ F Series

2-2

2.2 องคป์ ระกอบของ PLC

2.2.1 การควบคมุ ซีเควนซ์ (Sequence Control) ทำ� ได้อย่างไร

(อุปกรณส์ �ำหรับการ Programmer)

《(อ入ุปก力รณ機์ In器pu》t) シSーeqケueンncサer PPソパrCoフソg(Srトコaomウfンtmwェae(アrrプe) )ロสำ� グหรラบั ミกาンร グ用 Hハanンdyデpィrogramming 2 リミLッimトitスswイitッchチ リRレelーay プログラミングパネル 切S換eleえcスtorイswッitチch 押Pしusボhタbuンttoスnイswッitチch Cコoンndタucクtoタr P電ow源er 入 สว記่ นค憶วา部มจำ� 出 力 力 Mメeモmoリry ラLaンmプp Solinoid valve イイ ンン Input interface Output interface タタ フフ ェェ ーー スス

ส演ว่ นค算ำ� น部วณ P電ow源er

マイMクicロroコcンomピpuュteーr タ 《(อ出ปุ ก力รณ機์ O器utp》ut)

PLC จะมีการเช่ือมตอ่ กับ Load ส�ำหรับการขับเคล่อื นโดยมเี งอ่ื นไขของสญั ญาณหรือค�ำสง่ั ท่เี ปน็ สญั ญาณ ในแตล่ ะอปุ กรณ์ตามเน้อื หาในหน้าซ้ายมือ อีกท้งั ส่งิ ทจ่ี ะเช่อื มต่อกับฝง่ั Input คอื “อุปกรณ์ Input” และสง่ิ ท่ีจะเชอ่ื มต่อกบั ฝ่ัง Output เรยี กว่า “อุปกรณ์ Output” ซ่ึงอุปกรณ์ Input-Output จะมกี ารเชือ่ มตอ่ ระหวา่ ง PLC กบั ขว้ั ตอ่ (Terminal) ในแตล่ ะตัว สำ� หรบั PLC สามารถเชื่อมต่อกบั อปุ กรณ์ Input-Output ในแตล่ ะตัว การเชอื่ มตอ่ เพอื่ ที่จะทำ� การควบคมุ ซเี ควนซ์ (Sequence Control) น้ัน จะมีขั้นตอนอิเล็กทรอนิกสภ์ ายใน PLC การเชื่อมต่อกับภายใน PLC จะมกี ารใชค้ ำ� ศัพทเ์ ฉพาะ (คำ� ส่งั ) สำ� หรบั Sequence ซง่ึ อปุ กรณท์ มี่ กี ารน�ำคำ� สง่ั ทงั้ หมดมาประกอบกันคอื ซีเควนซ์โปรแกรม (Sequence program) โดยท่ีเราจะมกี ารควบคมุ ซเี ควนซ์ (Sequence Control) ผา่ น Program นี้ เพราะฉะนน้ั ไมจ่ �ำเปน็ ทจี่ ะต้องเดินสายไฟภายนอก

2-3

2.2.2 หากมีการรวมระหว่าง รเี ลย์ (Relay) กับ Timer

Input relay ON/OFF ซเี ควนซโ์ ปรแกรมทำ� งานดว้ ย Output relay ON/OFF อปุ กรณ์ภายนอก Load ตามสัญญาณจากภายนอก หน้าสัมผัสของ Input relay ท�ำงานและสง่ ตอ่ ท�ำงานหรอื เคลือ่ นท่ี

シーPケLCンサ ヒュFuーseズ P電ow源er O出u力tpuリt rレelaーy

タTiイmeマr 負Loa荷d

入Inp力ut配wi線re 入Inp力utリreレlayー S補up助poリrt レrelーay E外xte部rn出al c力on用tac接t ou点tput O出u力tpu配t w線ire I入np力ut 回circ路uit 内In部sidシe sーeqケueンncスe O出ut力put回cir路cuit

อปุ กรณ์ Input อุปกรณ์ Output ซเี ควนซ์โปรแกรม (Sequence program) มีโครงสร้างตามรูปภาพด้านบน อปุ กรณ์ Input เชื่อมตอ่ กบั Input relay ของ PLC และอปุ กรณ์ Output ทำ� การควบคมุ ผ่านหนา้ สัมผสั ส�ำหรับ Output ภายนอก (External output)

●●Input relay ●●หนา้ สัมผสั ส�ำหรบั Output

Input relay มีหน้าทใี่ นการแปลงสญั ญาณทร่ี ับจากอปุ กรณ์ หนา้ สัมผสั ส�ำหรบั Output นั้น คอื หนา้ สมั ผสั ส�ำหรบั ขับเคล่อื น ภายนอกแล้วสง่ ไปยัง PLC ตามรปู ภาพด้านบน อปุ กรณ์ Input โหลด (Load) จากภายนอก โดย Input relay ที่ขบั เคลอ่ื นด้วย สามารถท�ำงานไดเ้ พียงแคเ่ ชอ่ื มตอ่ ระหวา่ ง Input terminal กับ ซีเควนซ์โปรแกรม COM terminal อีกทัง้ หนา้ สมั ผัสของ Relay โดยทว่ั ไป ถงึ แมจ้ ะ หน้าสมั ผสั สำ� หรับ External output นัน้ สามารถเชื่อมตอ่ กับ เป็นจ�ำนวนมากแตม่ แี ค่ไม่ก่ีหน้าสมั ผัสเทา่ นัน้ อุปกรณ์ทมี่ ีกระแสไฟตา่ งกัน อย่างเช่น COM ทมี่ ีหนว่ ยเปน็ AC แต่ภายในซีเควนซ์โปรแกรม มีจำ� นวนหนา้ สมั ผสั อยู่นบั ไมถ่ ้วน (กระแสสลับ) / DC (กระแสตรง)

การทำ� งาน CCOOMM การทำ� งาน PLC อุปกรณ์ อปุ “üก—รณÍ‹@์ IŠníput “Inüp—utÍt’e[Žrmqinal Output Output terminal Input relay CCOOMM PLC แห“dลŒ่งจ¹ ่ายไฟ หนา้ สมั ผสั สำ� หรบั External output Power

ภายใน PLC จะมี Power สำ� หรบั Input relay อยู่ เม่ือหนา้ เม่อื Output Relay ทอ่ี ยใู่ นซีเควนซโ์ ปรแกรม (Sequence สมั ผัส (Contact) ของอปุ กรณ์ Input มีการน�ำกระแส program) เกดิ การขับเคล่อื น หนา้ สัมผัสส�ำหรบั External กระแสไฟจะท�ำการไหลเหมอื นกบั เสน้ ประ ซง่ึ จะทำ� ให้ Input output จะปิด relay สามารถขับเคล่อื นได้ โดยทกี่ ระแสไฟทจ่ี ะใชข้ บั เคล่ือนอปุ กรณ์ Output นน้ั ตอ้ งจัด เตรียมจากภายนอกของ PLC ตามทไ่ี ดอ้ ธิบายไปในเบื้องต้นระหว่าง PLC กับอปุ กรณ์ Input นน้ั ไมส่ ำ� คัญว่าต้องเป็นหน้าสมั ผัสปกติเปิด a (N.O. Contact) 2-4 หรอื หน้าสมั ผสั ปกติปดิ b (N.C. Contact) เพราะวา่ ถ้ามกี ารนำ� กระแสเกิดขึน้ ระหวา่ ง COM กบั Input terminal ซง่ึ หนา้ สมั ผัส ท่ีปดิ จะเปน็ หน้าสมั ผัสปกตเิ ปิด a (N.O. Contact) และถา้ หน้า สัมผัสเปดิ จะเป็นหนา้ สัมผัสปกตปิ ิด b (N.C. Contact)

อปุ กรณ์ Input-Output ท่ตี ่อเข้ากับ Input และ Output terminal นั้น มกี ารแบง่ อุปกรณ์ (Device) ในแต่ละข้วั ตอ่ (Terminal) (หรืออาจจะเปน็ หมายเลข In-Output) เพอ่ื เทยี บ Input relay กบั Output relay ของซีเควนซ์โปรแกรม (Sequence program) ภายในอุปกรณ์ (Device) จะมีหมายเลขในแต่ละขว้ั ต่อ (Terminal) นอกเหนอื จากนนั้ ภายใน Sequence จะประกอบไปดว้ ย Timer และ Counter

● อปุ กรณ์ (Device) … ภายในอปุ กรณ์ (Device) จะมีสัญลกั ษณข์ องอุปกรณ์ (Device) เพือ่ การแสดงหน้าทขี่ องอุปกรณ์ (Device) และ 2 ประกอบไปดว้ ยหมายเลขอุปกรณ์ (Device) ทีม่ ีโครงสรา้ งแยกเป็นอย่างละตัว (ซึง่ บางทเี ราจะเรียกอุปกรณ์ (Device) วา่ Element number)

Input relay : X000 ~ X177 (128 จุด) *1 Timer : T0 ~ T319 (320 จุด) *1

มีหนา้ ทีเ่ ป็น Window เพ่อื เปดิ รับสัญญาณจาก Input switch Timer เปน็ อุปกรณท์ อ่ี ยู่ภายใน Sequence ท่ีอยู่ภายนอกของ Sequence จะแทนสัญลกั ษณ์อปุ กรณ์ มีหน้าท่ีในการจบั เวลา และประกอบไปด้วย Coil กบั หนา้ สัมผสั (Device) เปน็ X (Contact) เมือ่ ถงึ เวลาท่กี �ำหนด หนา้ สัมผัส (Contact) จะท�ำ ภายในประกอบไปดว้ ย Input relay ท่ีตอบสนองจ�ำนวนของ การปิด Input (จ�ำนวนข้วั ต่อ Terminal) Counter : C0 ~ C199 (200 จุด) *1 Output relay : Y000 ~ Y177 (128 จุด) *1 Counter เป็นอปุ กรณท์ ี่อยู่ภายใน PLC มีหน้าทีเ่ ปน็ Window เพื่อขับเคลือ่ น Load ทอ่ี ยูภ่ ายนอกของ มหี น้าทีใ่ นการนบั จ�ำนวน เมือ่ ถึงจำ� นวนทีก่ ำ� หนดหน้าสมั ผัส PLC จะแทนสัญลักษณ์อปุ กรณ์ (Device) เป็น Y (Contact) จะปิด ภายในประกอบไปดว้ ย หน้าสัมผสั (Contact) ส�ำหรบั Output ท่ี ตอบสนองจ�ำนวนของ Output (จำ� นวนขัว้ ตอ่ Terminal)

Auxiliary relay : M0 ~ M7679 (7680 จดุ ) *1

เป็น Auxiliary relay รเี ลยเ์ สรมิ ทปี่ ระกอบอยูภ่ ายใน PLC (บางทเี รยี กวา่ รีเลยภ์ ายใน หรือ Inside relay) ● Input relay, Output relay, Auxiliary relay, Timer, Counter จำ� นวนของอุปกรณ์เหลา่ นี้ ที่สามารถใช้ไดน้ ้นั ต่างกนั ไปขนึ้ อยกู่ บั ประเภท

ของ PLC

*1 : เปน็ ขอบเขตการทำ� งานของอุปกรณ์ (Device) รวมถงึ จำ� นวนจดุ ของ PLC ร่นุ FX3G Series

อา้ งอิง เลขฐาน 10, เลขฐาน 8, เลขฐาน 16

อุปกรณ์ (Device) จะมที ง้ั เลขฐาน 10 หรือนอกเหนอื จากนัน้ จะมีเลขฐาน 8 หรอื เลขฐาน 16 ตามตารางอกี ดว้ ย

Input relay, Output relay Auxiliary relay, Timers, Counters

Micro PLC FX Series เลขฐาน 8 เลขฐาน 10

General PLC Q/QnA/A Series เลขฐาน 16 เลขฐาน 10

เลขฐาน 10 คืออะไร โดยทัว่ ไปจะใช้ 0 ~ 9, 10 ~ 19, 20 ~ 29, … จะเป็นวิธกี ารค�ำนวณที่มีการปดั หนว่ ยทเี่ ปน็ 10 ขน้ึ เลขฐาน 8 คอื อะไร 0 ~ 7, 10 ~ 17, 20 ~ 27, … จะเปน็ วิธกี ารค�ำนวณท่มี กี ารปดั หน่วยทเ่ี ป็น 8 ข้นึ เลขฐาน 16 คืออะไร 0 ~ 9, 0A, 0B, 0C, 0D, 0E, 0F, 10 ~ 19, 1A, 1B, 1C, 1D, 1E, 1F, … จะเป็นวิธีการค�ำนวณ

ที่มกี ารปัดหน่วยที่เป็น 16 ขน้ึ

2-5

2.2.3 (แSผeนqผueังnซcเี คeวpนroซg์ (rSameq)uence diagram) และซเี ควนซ์โปรแกรม

ซีเควนซ์โปรแกรม (Sequence program) ใน PLC นน้ั มอี ุปกรณ์ Input ทมี่ ีสายตอ่ จากภายนอกเข้าไปในแตล่ ะขวั้ ตอ่ (Terminal) และมี อปุ กรณ์ Output ท่ีเปรียบเสมือนวงจรไฟฟ้าเป็นการควบคมุ ซีเควนซ์ (Sequence Control) ..... สำ� หรบั รายละเอยี ดที่เกย่ี วกับค�ำสัง่ ตรวจสอบไดใ้ นบทที่ 4 ตอ่ ไปจะเปน็ การอธบิ ายเก่ยี วกบั แผนผงั ซีเควนซ์ (Sequence diagram) และซีเควนซ์โปรแกรม (Sequence program) ตัวอย่างหนา้ 1-13 เมือ่ มองการควบคุมระดับนำ้� ในแทง๊ ก์เป็นซเี ควนซ์โปรแกรม (Sequence program)

แผนผงั ซีเควนซ์ (Sequence diagram) ซีเควนซโ์ ปรแกรม (Sequence program)

พอมกี ารมองสลับกนั แล้ว มีจุดไหนที่แตกตา่ งกันบ้างจะขออธิบายดังต่อไปนี้

① วิธกี ารแสดง หนา้ สัมผัสปกติเปดิ a (N.O. Contact) หนา้ สัมผสั ปกตปิ ดิ b (N.C. Contact)

Relay sequence diagram sequence program

(หNน.Oา้ ส. Cัมoผnัสtปacกtต) เิ ปดิ a (หNน.O้าส. Cัมoผnัสtปacกtต) ิเปิด a

(หNน.Cา้ .สCัมoผnสั tปacกtต) ปิ ดิ b ห(Nน.Cา้ .สCัมoผnสั tปacกtต) ิปดิ b

② ไม่สามารถแสดงออกเปน็ แบบวงจรไฟฟา้ ได้ ③ ส�ำหรับซีเควนซ์โปรแกรม (Sequence program) จะอธิบายโดยใช้อปุ กรณ์ (Device) (Element number) ตามทีอ่ ธบิ ายไว้ในก่อนหนา้ นี้

ข้อสำ� คญั

④ ตามแผนผงั ซเี ควนซ์ (Sequence diagram) แลว้ LS2 กค็ อื หนา้ สัมผสั ปกติปดิ b (N.C. Contact) และซีเควนซโ์ ปรแกรม (Sequence program) คอื หน้าสัมผัสปกติเปิด a (N.O. Contact) เริม่ แรกจากแผนผังซเี ควนซ์ (Sequence diagram) ของ LS2 ด้านบนมีหนา้ ท่ีตัดวงจรสภาพตัวเอง Self-hold circuit ส�ำหรบั MC ซึ่งเป็น อุปกรณท์ ่ใี ช้เพอื่ การหยุด MC โดยในปกติแลว้ จะอยใู่ นสถานะนำ� กระแสอยใู่ นวงจรไฟฟา้ อยตู่ ลอดเวลา

2-6

อา้ งองิ 2 การทำ� งานของ “หน้าสมั ผสั ปกติเปิด a (N.O. Contact)” “หน้าสมั ผสั ปกติปดิ b (N.C. Contact)” ในซเี ควนซ์โปรแกรม (Sequence program)

การทำ� งานของ “หน้าสมั ผัสปกติเปิด a (N.O. Contact)” “หน้าสัมผสั ปกตปิ ิด b (N.C. Contact)” ผา่ น Sequen program น้นั ถา้ Input relay ท�ำงานเหมอื นกับหนา้ 2-4 จะเกดิ เง่ือนไขขนึ้ ตามเน้ือหาดา้ นลา่ ง • เมอ่ื อุปกรณ์ Input มี “สถานะไมม่ ไี ฟฟ้าไหลผา่ น” เข้าไปใน PLC ก็จะท�ำให้ “วงจรภายในโปรแกรมปดิ ” ก็จะเป็น “หน้าสัมผสั ปกติ

เปดิ a (N.O. Contact)” และในทางกลับกนั จะกลายเปน็ “หนา้ สัมผัสปกตปิ ิด b (N.C. Contact)” เมอื่ “วงจรภายในโปรแกรมเปิด” • เมือ่ อปุ กรณ์ Input มี “สถานะมไี ฟฟา้ ไหลผ่าน” เขา้ ไปใน PLC ก็จะท�ำให้ “วงจรภายในโปรแกรมเปดิ ” ก็จะเป็น “หนา้ สมั ผสั ปกติเปิด a

(N.O. Contact)” และในทางกลบั กันจะกลายเปน็ “หน้าสมั ผสั ปกตปิ ิด b (N.C. Contact)” เมอ่ื “วงจรภายในโปรแกรมปิด” เพราะฉะน้ันเพื่อทจ่ี ะให้สถานะในการทำ� งานเหมอื นกันกับ Sequence diagram ในหนา้ 1-14 นนั้ จ�ำเปน็ ต้องกำ� หนดสัญญาณของ LS2 ทอี่ ยู่ใน Sequencer program ให้เปน็ “หนา้ สมั ผัสปกตเิ ปิด a (N.O. Contact)” รายละเอยี ดให้อา้ งอิงจากรูปภาพ (1) ~ (2) ในด้านล่าง

(1) สาเหตทุ ใ่ี ช้ LS2 (X2) เปน็ หนา้ สมั ผัสปกตเิ ปดิ a (N.O. Contact) ① ในกรณีท่กี �ำหนดจดุ หน้าสมั ผสั (Contact) ใหเ้ ป็นหน้าสัมผสั ปกตปิ ิด b (N.C. Contact) เหมือนกันกับ Sequence diagram

นำ้� แห้ง

เรม่ิ ต้น หน้าสมั ผสั ปกติปิด b Pump จะอยู่ เมอื่ มีการ ON จะเป็นสภาพ น้�ำแห้ง วงจรเปิด (open circuit) จะถกู ในสภาพ OFF ไมน่ ำ� กระแส น้�ำเตม็ สง่ ในฐานะสญั ญาณ ON หปนกา้ตสปิ มั ดิ ผbสั วงจรเปดิ วปงจิดร หน้าสัมผัส ปกตปิ ิด b

② ในกรณที ี่มีการกำ� หนดจดุ หนา้ สมั ผัส (Contact) ใหเ้ ป็นหนา้ สัมผัสปกติเปดิ a (N.O. Contact)

นำ้� แห้ง

เรมิ่ ตน้ หน้าสัมผัสปกตเิ ปดิ a จะนำ� กระแสเมื่อมกี าร ON น�้ำแห้ง หปนกตา้ สเิ ปมั ดิผสัa วงจรปิด วเงปจิดร น�้ำเต็ม Pump ON หนา้ สมั ผัส ปกติปดิ b

● แนวคิดในเรอื่ งโปรแกรม

เม่ือมีสัญญาณจากภายนอกเข้ามาท่ี Input … หน้าสัมผัสปกติเปิด a (N.O. Contact) จะเปน็ ตัวนำ� กระแสหนา้ สัมผสั ปกติ

ปิด b (N.C. Contact) จะเปน็ ตัวไม่น�ำกระแส

2-7

(2) Flow การควบคุมระดับน้�ำใน Tank Pump ● เมือ่ ระดบั นำ้� อยตู่ รงกลางปัม๊ จะ OFF OFF

เรมิ่ ต้น เมื่อ LS1 เกิด ON Pump น้�ำแหง้ ก็จะ ON น้�ำเตม็ Pump ● เมอื่ ระดับนำ้� ใน Tank อยู่ในระดบั แหง้ ON นำ�้ แหง้ เมื่อ LS1 เกดิ OFF ป๊มั จะเขา้ เร่มิ ต้น สโู่ หมดรักษาตวั เองซ่งึ จะ น้�ำแหง้ ทำ� การ ON อยา่ งต่อเนอ่ื ง น�้ำเตม็ ● เม่ือปัม๊ ON แสดงวา่ นำ�้ กำ� ลงั เติม Pump ON เริ่มต้น น้�ำแหง้ เม่อื LS2 เกิด ON น�้ำเตม็ ปัม๊ จะทำ� การ OFF ● เม่ือระดบั นำ�้ ใน Tank เต็ม Pump น�ำ้ แหง้ OFF

เรม่ิ ต้น น้�ำแห้ง น�้ำเต็ม

2-8

2.3 การเดินสายไฟและโปรแกรม

2.3.1 การเดนิ สายไฟของ PLC และโปรแกรมมีลักษณะอย่างไร

รูปด้านลา่ งระบุใหเ้ ห็นรายละเอยี ดของแผนผังวงจรไฟฟา้ ในหนา้ 1-14

ヒFuュseーズ

2

ส入า力ย I配np線ut ซีเควนซシโ์ ปーรแケกรンมス(Sプeqロuグenラceムprogram) ส出าย力O配ut線put

สายไฟส�ำหรับ PLC สามารถท�ำงานแยกระหว่างสาย Input-Output กับสายไฟภายในได้

ส�ำหรบั สาย Input-Output จ�ำเปน็ ต้องใช้ประแจหรอื ไขควงในการ สำ� หรบั สายไฟภายในทม่ี ีความซบั ซอ้ นนน้ั (Sequence ปฏิบัติงานเหมอื นเดิม program) สามารถใช้ Control keyboard สำ� หรบั PC หรอื Programming panel ในการควบคมุ ไดอ้ ย่างสะดวกงา่ ยดาย

อกี ทงั้ การเช่ือมโยงระหว่าง Input terminal กบั Input relay coil หรือการเชอ่ื มโยงระหว่าง External contact output กบั Output terminal นั้น จะสามารถใช้งานไดต้ ั้งแตม่ กี ารผลติ ท่ีโรงงาน

2-9

2.4 ขอ้ ดขี องการใชง้ าน PLC

2.4.1 ประโยชน์ท่จี ะได้รับจากการใชง้ าน PLC

1 ประหยัดคา่ ใช้จ่าย 2 3 ส�ำหรับตู้ควบคุม (Control panel) ทม่ี กี ารใช้ Relay หรอื Timer มากกวา่ 10 ตัว การแทนทีด่ ว้ ยการใช้ PLC จะถือวา่ ได้

4 เปรยี บกว่าในด้านเศรษฐกจิ 5 6 ชว่ ยท่นุ แรงในด้านการออกแบบ

ชว่ ยท�ำให้ขัน้ ตอนการออกแบบซเี ควนซ์และการออกแบบการเดินสายไฟส�ำหรับอุปกรณ์ต่างๆ ท�ำไดง้ ่ายข้ึน อกี ทัง้ ง่ายและ

สะดวกในการท�ำทดสอบการท�ำงานของเครือ่ ง ช่วยลดขัน้ ตอนในการออกแบบกว่าในอดตี

ลดขนั้ ตอนการทำ� งาน

ลดข้ันตอนจากการตอ้ งเตรียมช้นิ ส่วนประกอบ สามารถเตรียมเครอ่ื งจกั รพรอ้ มกบั การเตรียมตู้ควบคุมได้ในเวลาเดียวกัน

และมีความยดื หยุ่นในการเปล่ยี นรายละเอยี ดงาน ชว่ ยทำ� ให้การเดินสายไฟท�ำไดง้ า่ ยขึน้ จึงทำ� ให้สามารถลดขัน้ ตอนใน การทำ� งานได้หลายขั้นตอน

ขนาดกะทัดรัดและเป็นมาตรฐานเดียวกัน

เมือ่ เทียบกับการตดิ ต้งั แผงรเี ลย์แลว้ ถอื ว่ามีขนาดทีก่ ะทดั รัดกวา่ อีกทง้ั ยงั สามารถสร้างมาตรฐานดว้ ยการน�ำเอาโปรแกรม

ท่ีเขยี นขึน้ กลับมาใช้ใหมไ่ ดเ้ รื่อยๆ

เพ่ิมความเช่อื ม่นั

ลดปญั หาทเ่ี กิดจาก Relay หรือ Timer เพยี งแค่มกี ารตรวจเซท็ ในครง้ั แรก แลว้ จากนั้นกส็ ามารถใช้งานได้อยา่ งอุ่นใจ

พัฒนาความสามารถด้านการบำ� รงุ รักษา

บ�ำรุงรกั ษาง่ายและรวดเรว็ ดว้ ยฟังกช์ ันการตรวจสอบความเสียหาย หรือตรวจสอบอายุการใช้งานของชนิ้ ส่วนท่ีมรี ะยะอายุ

การใช้งานสั้นๆ ได้ (Self-diagnostic functions)

2-10

2.4.2 เปรยี บเทียบกบั การควบคมุ รีเลย์ (Relay control)

หวั ขอ้ วธิ ีการ การควบคมุ รเี ลย์ (Relay control) การควบคมุ PLC (PLC control)

1 ความสามารถ (Function) ถา้ ใช้ Relay หลายตัวก็สามารถควบคมุ แบบการท�ำงาน สามารถควบคมุ การท�ำงานท่ีซบั ซ้อนได้มากมาย ที่ซบั ซ้อนได้ ดว้ ยโปรแกรม

2 การเปลี่ยนแปลงเนื้อหา ไมม่ วี ธิ ีอื่นนอกเหนือจากการเปล่ียนการเดนิ สายไฟ สามารถทำ� ได้โดยอสิ ระ เพียงแคเ่ ปลีย่ นโปรแกรม 2 การควบคมุ

3 ความเชอ่ื มั่น ถ้ามกี ารใช้งานตามปกตจิ ะไม่มีปญั หา แต่จะมจี ำ� กัดใน ช้ินส่วนทีส่ ำ� คญั ใช้วสั ดุทัง้ หมดเป็นกงึ่ ตวั น�ำไฟฟา้ เรื่องของหน้าสัมผสั ไม่ดีและเรอ่ื งของอายุการใชง้ าน จึงได้รับความไวว้ างใจสูง

4 คุณสมบัตโิ ดยท่วั ไป อุปกรณท์ ่ีทำ� เสร็จนั้นไมส่ ามารถนำ� ไปใช้อย่างอ่นื ได้ ขึ้นอยกู่ ับโปรแกรมสามารถควบคมุ ประเภทไหนกไ็ ด้

What is fx3u PLC used for?

To be used when positioning control is performed with a FX3U Series relay output type or triac output type main unit. Used in place of the general-purpose outputs (Y000 to Y007)*3 of the main unit. *1. For MELSERVO Series amplifiers, use a sink input/sink output type PLC. *2. Can only be connected to the FX3U PLC. Up to 2 adapters can be connected.

How to check fx3uc plc version?

The PLC version can be checked by reading the last three digits of device D8001/D8101. Equivalent to FX3UC PLC Ver. 2.20 Functions specified as "Ver. 2.20 or later" in this manual are applicable. DVIT instruction function is added. Functions specified as "Ver. 2.20 or later" in this manual are applicable. TBL instruction is added.

What does plsv stand for in fx3uc?

This is because turning on the user interrupt input command will turn on the interrupt input signal. Using an FX3UC PLC Ver. 2.20 or later and FX3S/FX3G/FX3GC/FX3U PLC, if acceleration/deceleration operation (M8338) is turned on, the variable speed pulse output (PLSV) instruction will be activated to accelerate/ decelerate the operation.

Can fx3u

Failure to do so may cause failures in the PLC. (Read these precautions before use.) This manual describes the FX3U-1PG pulse output block and should be read and understood before attempting to install the hardware. Store this manual in a safe place so that you can take it out and read it whenever necessary. Always forward it to the end user.

FX3G กับ FX3U ต่างกันอย่างไร

FX3G – CPU รุ่นนี้มีความเหมาะสำหรับงานควบคุมเครื่องจักรหรือระบบอัตโนมัติที่มีความซับซ้อนต่ำกว่า FX3U. FX3U – CPU รุ่นนี้มีความเหมาะสำหรับงานควบคุมระบบอุตสาหกรรมที่มีความซับซ้อนมากขึ้น มีฟังก์ชันหลากหลาย เช่น การควบคุมไฟฟ้า การควบคุมการทำงานของเครื่องจักร การควบคุมการทำงานของเครื่องจักรอัตโนมัติ เป็นต้น

โปรแกรมที่ใช้เขียน PLC Mitsubishi มีอะไรบ้าง

การทำงานที่ PLCดำเนินการ จะถูกเขียนไว้เป็นโปรแกรมควบคุม โปรแกรมเหล่านี้จะถูกลงทะเบียนลงในโมดูล CPU ซึ่งทำการควบคุมสัญญาณอินพุทและเอาท์พุท (I/O) ภาษาโปรแกรมที่ใช้สำหรับ PLC ได้แก่ แลดเดอร์ อินสตรักชั่นลิสต์ (IL) และซีเควนเชียลฟังก์ชั่นชาร์ท(SFC)

โปรแกรม GX work 2 คือโปรแกรมอะไร

GX Works2 เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ทำให้สามารถเข้าถึงซอฟต์แวร์ควบคุม PLC รวมถึงฟังก์ชันการกำหนดค่าโมดูลอัจฉริยะและฟังก์ชันจำลองการทำงานของ PLC รวมถึงการออกแบบระบบ, การเขียนโปรแกรมการดีบักและการบำรุงรักษา โดย PLC ที่ใช้ GX developer แล้วก็สามารถอ่านหรือแก้ไขโดยใช้ GX Works 2 ได้ทันที ซึ่งการเขียนโปรแกรมสำหรับ PLC รุ่น ...

PLC Mitsubishi มีกี่ประเภท

3. แบ่งตามขนาดของระบบPLC แบ่งได้เป็น3ประเภทคือ 3.1 PLCสำหรับระบบขนาดใหญ่และขนาดกลาง คือ MELSEC iQ-R series, MELSEC-Q series. 3.2 PLCสำหรับระบบขนาดกลางและเล็ก คือ MELSEC- L series หรือรุ่นเก่าคือMELSEC-AnS series(PLCรุ่นรองที่แยกออกจาก MELSEC-A series) และMELSEC-QnAS series(PLCรุ่นรองของ MELSEC-QnA series)