เมื่อเราตั้ง ส มติ ฐาน ว่าอะตอม ประกอบด้วย นิวเคลียสที่มีขนาดเล็กและมีประจุ เป็น บวก เพราะเหตุใด

1.    หลังจากรัทเธอร์ฟอร์ด    พบว่าเมื่อยิงอนุภาคอัลฟาผ่านแผ่นโลหะทองคำบางๆ    แล้วเขาสรุปได้อย่างไร
        ก.    มวลของอะตอมอยู่ที่นิวเคลียส                     ข.    นิวเคลียสมีประจุบวก                    ค.    นิวเคลียสเล็กมาก
        ง.    นิวเคลียสมีความหนาแน่นมาก                      จ.    ถูกทุกข้อ    

2.    การทดลองใดที่พิสูจน์ว่าอะตอมประกอบด้วยอิเล็กตรอน
        ก.    ใช้หลอดรังสีคาโธด                                   ข.    นิวเคลียสมีประจุบวก                    ค.    ใช้อุปกรณ์ตรวจการนำไฟฟ้า

        ง.    ดูด้วยกล้องจุลทัศน์อิเลคโตรนิก   

3.    การทดลองที่แสดงว่าอะตอมมีแก่นกลางที่มีประจุบวกอยู่ตรงกลาง    สรุปได้จากข้อมูล    และเหตุผลข้อใด

        ก.    การเบี่ยงเบนเมื่อรังสีดาโธดผ่านไปในสนามแม่เหล็ก
        ข.    การเบี่ยงเบน    การสะท้อนกลับ    เมื่อยิงอนุภาคอัลฟาไปในอะตอม
        ค.    การทะลุผ่าน    เมื่อยิงอนุภาคอัลฟาเข้าไปในอะตอม
        ง.    ทั้งการที่รังสีคาโธดเบื่องเบนในสนามแม่เหล็    และการที่อนุภาคอัลฟาสะท้อนกลับเมื่อยิงไปในอะตอม

        จ.    ถูกทั้ง    ก,    ข,    ค    และ    ง

4.    ความแตกต่างของแบบจำลองอะตอมของทอมสัน    และรัทเธอร์ฟอร์ด    คือข้อใด
        ก.    ชนิดของอนุภาคที่อยู่ในอะตอม                        ข.    ตำแหน่งของอนุภาคที่อยู่ในอะตอม
        ค.    จำนวนอนุภาคที่อยู่ในอะตอม                           ง.    ขนาดของอนุภาคที่อยู่ในอะตอม

5.    ข้อมูลใดที่ทราบจากการทดลองโดยใช้    หลอดรังสีคาโธด
        ก.    นิวเคลียสของธาตุมีโปรตอน                            ข.    สสารทุกนิดประกอบด้วยอิเล็กตรอน
        ค.    รังสีบวกจะเป็นโปรตอน                                   ง.    อนุภาคอัลฟาจะหนักกว่าโปรตอน

6.    จากการทดลองของทอมสัน    อนุภาคลบในหลอดรังสีคาโธดเกิดจากอะไร
        ก.    โลหะที่ใช้ทำขั้วอาโนด    และก๊าชในหลอด
        ข.    โลหะที่ใช้ทำขั้วคาโธด    และก๊าชในหลอด

        ค.    โลหะที่ใช้ทำขั้วอาโนด,    คาโธด    และก๊าซในหลอด

        ง.    ก๊าชในหลอดรังสีคาโธดอย่างเดียว

7.    ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของแบบจำลองของอะตอมที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

        ก.    อิเล็กรอนเคลื่อนที่ไปทั่วอะตอม    กำหนดทิศทางไม่ได้

        ข.    อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นวงๆ

        ค.    โปรตอนและนิวตรอนอยู่ที่นิวเคลียสของอะตอม

        ง.    โปรตอนมีขนาดประจุบวกเท่ากับอิเล็กตรอน

         5.  เครื่องกำเนิดไฟฟ้าศักดิ์สูง            6.  แผ่นโลหะทองฃคำบางๆ

8.    ในการทดลองเพื่อสรุปว่า    งอะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลาง.....'    ใช้ข้อมูลจากหมายเลขใดได้บ้าง

        ก.    1,    3,    4,    6                    ข.    2,     3,    4,    5

        ค.    1,    5,    6                           ง.    1,     3,    4,    5

9.    ในการทดลองเพื่อค้นค้พบอิเล็กตรอน    เกี่ยวข้องกับข้อมูลหมายเลขใด

        ก.    1,    2,    4,    6                     ข.    2,    3,    4,    5
        ค.    1,    2,    3,    4,    5              ง.    2    เท่านั้น

     เฉลย ข


10.    การศึกษามนข้อใดที่ทำให้ทราบว่า    "อิเล็กตรอนอยู่กันในระดับพลังงานต่างๆ    ซึ่งมีหลังงานเฉพาะ"
        (1)    การศึกษาด้วยหลอดรังสีคาโธด                (2)    การใช้อนุภาคอัลฟายิงอะตอม
        (3)    การศึกษาสเปกตรัมของธาตุ                   (4)
    การศึกษาค่าพลังงานอิออไนเชชัน

        ก.        เฉพาะข้อ    1    เท่านั้น                    ข.        ทั้งข้อ    1    และ    2
        ค.        เฉพาะข้อ    3    เท่านั้น                    ง.        เฉพาะข้อ    4    เท่านั้น

     เฉลย ง

11.    อนุภาคซึ่งมีประจุบวกในหลอดรังสีคาโธดจากการทดลองของทอมสัน    เกิดจากอะไร
        ก.    เกิดจากโลหะที่เป้นขั้วไฟฟ้าและก๊าชในหลอด
        ข.    เกิดจากโลหะที่บรรจุในหลอดนั้นอย่างเดียว
        ค.    เกิดจากโลหะที่เป็นขั้วไฟฟ้าบวกเท่านั้น
        ง.    เกิดจากโลหะที่เป็นขั้วลบเท่านั้น

     เฉลย ข

12.    การเปลี่ยนชนิดของโลหะที่เป็นขั้วดาโธดในหลอดรังสีคาโธด    จะมีผลอย่างไร
        ก.    มวลและประจุของรังสีคาโธดต่างจากเดิม
        ข.    มวลและประจุของอนุภาคบวกที่เกิดขั้นต่างไปจากเดิม
        ค.    จุดสว่างบนฉากเรืองแสงเคลี่ยนที่ขากตำแหน่งเดิม
        ง.    ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของรังสีคาโธด

     เฉลย ง

13.       การทดลองของ    มิลิแคน    เป็นการทดลองเพื่อหา
        ก.    ประจุบนหยดน้ำมัน                                        ข.    ประจุของอิเล็กตรอน
        ค.    มวลของอิเล็กตรอน                                        ง.    อัตราส่วนประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน

     เฉลย ข

14.        ข้อใดเป็นผลงานของ    นีลส์บอห์ร    เกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม
        ก.    มวลของอะตอมส่วนใหญ่เป็นมวลของนิวเคลียส
        ข.    อิเล็กตรอนในอะตอมอยู่ในระดับพลังงานต่างๆ    ที่มีค่าเฉพาะเท่านั้น
        ค.    จำนวนอนุภาคนิวตรอนที่มีอยู่ในแต่ละอะตอมของธาตุ
        ง.    มวลอะตอมมีค่าเป็น    2    เท่า    หรือมากกว่า    2    เท่า    ของผลรวมของโปรตอนในนิวเคลียส

     เฉลย ข

15.        เมื่อเราตั้งสมมติฐานว่า    "อะตอมประกิบด้วยนิวเคลียสซึ่งมีขนาดเล็กและมีประจุบวก"    นั้นเพราะ.....
        ก.    โดยทั่วไปโลหะจะเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี
        ข.    ในแมสสเปกโตรมิเติร์    จะมีอิออนบวกเกิดขั้น
        ค.    ในการอิเลกโตรลิซันของเกลือ    ทั้งโลหะและไฮโดรเจนจะไปรับอิเล็กตรอยที่แคโธด
        ง.    อนุภาคอัลฟาบางส่วนเมื่อชนกับแผ่นดลหะต่างๆ    จะบ่ายเบนไปจากแนวเส้นตรงหรือสะท้อนกลับ

     เฉลย ง

16.        ผลการทดลองของรัทเธอร์ฟอร์ดในข้อใดที่ไม่สอดคล้องกับแบบจำลองอะตอมของทอมสัน
        ก.    อนุภาคอัลฟาผ่านทะลุแผ่นทองคำมีลักษณะเป็นเส้นตรง
        ข.    

อนุภาคอัลฟาผ่านทะลุแผ่นทองคำไปได้แต่มีการเบี่งเบน
        ค.    
อนุภาคอัลฟาวิ่งชนแผ่นทองคำแล้วสะท้อนกลับ
        ง.    ถูกทั้งข้อ    ก.    ข.    และ    ค.
     เฉลย ค17.    ผู้ใดเป็นผู้ที่ให้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของอนุภาคอัลฟา

        ก.            ทอมสัน                  ข.            รัทเธอร์ฟอร์ด

        ค.            มอสเลย์                  ง.            นีลส์   บอห์

        จ.             แชดวิก

        เฉลย       ข.

18.   นักวิทยาศาสตร์    มีประจักษ์พยานอะไรจึงคิดว่าโครงสร้างของอะตอมนั้น   อิเล็กตรอนจะอยู่ในระดับพลังงานต่างๆ  กัน

        ก.    จากการเผาสารพบว่าสารแต่ละชนิดให้เส้นสเปกตรัมต่างกัน

        ข.    จากการค่าพลังงานอิออนไนเชชันลำดับต่างๆของอะตอมมีค่าไม่เท่ากัน

        ค.    จากการที่ธาตมีสมบัตืบางประการต่างกัน

        ง.     ถูกทั้ง        และข้อ   ข.

        เฉลย       ง.

19.    ทอมสันบรรจุก๊าชชนิดอื่นๆ   ในหลอดแก้ว   รวมทั้งเปลี่ยนชนิดของโลหะที่ใช้เป็นคาโธด  เขาพบว่าไม่ว่าจะใช้ก๊าชใดบรรจุในหลอดหรือใช้โลหะใดเป็นคาโธดก็ตามจะได้รังสีที่ประกอบด้วยอนุภาคที่มี              ประจุลบ    แลเมื่อคำนวณอัตราส่วนของประจุต่อมวล (e/m)    ของอนุภาคขะได้ค่าคงที่     คือ   e / m = 1.7x 108 คูลอมบ์ต่อกรัม"    จากข้อความข้างบนจะสรุปได้อย่างไร

    ก.    ก๊าซทุกชนิดที่บรรจุในหลอดแก้วทำให้ e/m = 1.7x 108 คูลอมบ์ต่อกรัม

          ข.    อัตราส่วนe / m = 1.7x 108 คูลอมบ์ต่อกรัม ไม่ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนชนิดของโลหะที่ใช้เป็นคาโธด
          ค.    อะตอมทุกชนิดมีอนุภาคที่มีประจุลบเป็นองค์ประกอบ เหมือนกัน
          ง.    ไม่ว่าจะใช้โลหะใดทำคาโธดหรือบรรจุก๊าซใดๆ ก็ตตาม อิเล็กตรอนจะมีค่าประจุต่อมวลเหมือนกันหมด
        เฉลย    ค.
   
    20.    จากแบบจำลองของอะตอมแบบกลุ่มหมอก    ข้อใดกล่าวถูกต้อง
        ก.    การเคลื่นที่ของอิเล็กตรอนไม่มีทิศทางแน่นอน    จึงไม่อาจจะกำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ให้ตายตัวลงไปได้จะบอดได้แต่เพียงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอน ณ ตำแหน่งใดบ้าง
        ข.    โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานไม่เหมือนกัน    ขึ้นอยู่กับจำนวนอิเล็กตรอนและระดับพลังงานของอิเล็กตรอนนั้นๆ
        ค.    อิเล็กตรอนที่มีพลังงานต่ำอยู่ในบริเวณใกล้ๆ    นิวเคลียสมากกว่าอิเล็กตรอนที่มีพลังงานสูง
        ง.    ถูกทุกข้อ
        เฉลย    ง.    21.    ข้อใดเป็นข้อสรุปที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการทดลองของทอมสัน
        ก.    รังสีคาโธดประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบ
        ข.    รังสีคาโธดเดินเป็นเส้นตรงและสามารถผ่านทะลุแผ่นโลหะได้
        ค.    รังสีคาโธดเบนเข้าหาขั้วไฟฟ้าบวกและรังสีแคแนลเบนเข้าหาขั้วไฟฟ้าลบ
        ง.    อนุภาคที่มีประจุลบเป็นองค์ประกอบของอะตอมของธาตุทุกชนิด
        เฉลย   

22.    อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้แบบจำลองมีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด

ก.                  ความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่

ข.                  ปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติใหม่ๆ

ค.                  แนวความคิดใหม่ๆ     ของนักวิทยาศาสตร์

ง.                   ข้อมูลที่ได้จากทดลองใหม่ๆ

เฉลย               ง

23.          แบบจำลองอะตอมแบบใด                เป็นแบบจำลองที่เหมาะสมที่สุดในการอธิบายอะตอมของธาตุต่างๆ ในปัจจุบัน
                ก.            รัทเธอร์ฟอร์ด                       ข.            เอม         ไกเกอร์

                ค.            รัทเธอร์ฟอร์ด                       ง.             กลุ่มหมอก

เฉลย       ง.

24.          ข้อความต่อไปนี้เป็นแบบจำลองอะตอมของใคร

อะตอมประกอบด้วยนิวเครียสที่มีโปรตอนรวมตัวกันอยู่ตรงกลาง         นิวเคลียสมีขนาดเล็กแต่มีมวลมากและประจุมาก          ส่วนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบและมีมวลน้อยมากวิ่งอยู่รอบนิวเคลียสเป็นบริเวณกว้าง

ก.            รัทเธอร์ฟอร์ด                       ข.            เอม         ไกเกอร์

ค.            มาร์สแค                                 ง.             ถูกต้องทั้ง              ก.            ข.            และ        ค.

เฉลย       ง.

25.          ผลการทดลองของรัทเธอร์ฟอร์ด     ไกเกอร์  และมาร์แคนในการยิงอนุภาคอัลฟาไปยังแผ่นทองคำบางๆ     คือ

                ก.            อนุภาคส่วนน้อยจะถูกเบนไปเพียงเล็กน้อย

                ข.            อนุภาคส่วนน้อยผ่านทะลุไปเป็นเส้นตรง

                ค.            อนุภาคส่วนใหญ่จะถูกเบนไปเล็กน้อย

                ง.             อนุภาคส่วนใหญ่จะถูกเบนไปมาก

เฉลย       ก.

ยใช้หลอดรังสีคาโธด

26.          เมื่อยิงอนุภาคอัลฟาไปยังแผ่นโลหะทองคำบางๆ        คล้ายกับการทดลองของรัทเธอร์ฟอร์ด           ปรากฏการณืในข้อใดต่อไปนี้เกิดได้น้อยที่สุด

                ก.            อนุภาคอัลฟาทั้งหมดจะวิ่งผ่านทะลุแผ่นทองคำเป็นเส้นตรง

                ข.            อนุภาคอัลฟาส่วนน้อยจะวิ่งสะท้อนกลับ

                ค.            อนุภาคอัลฟาบางส่วนจะวิ่งเบนไปจากแนวเส้นตรงเล็กน้อย

                ง.             อุนภาคอัลฟาส่วนน้อยจะวิ่งเบนไปจากแนวเส้นตรงค่อนข้างมาก

เฉลย       ก.

27.    ข้อใดทราบจากทดลองโดยทอมสัน

ก.            นิวเคลียส์ของธาตุมีโปรตอน            ข.            สสารทุกรูปแบบประกอบด้วยอิเล็กตรอน

ค.            รังสีและโปรตอนเป็นสิ่งเดียวกัน    ง.             อนุภาคอัลฟามีมวลน้อยกว่าอิเล็กตรอ

เฉลย       ข.

28.          การทดลองของทอมสันเกี่ยวกับรังสีคาโธด   ถ้าต้อขั้วหลอดกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าศักย์สูงในขณะที่ภายในหลอดมีความดันต่ำ     พบว่าเกิดเรืองแสงขึ้นภายในหลอด                ซึ่งอธิบายได้ว่า

ก.            อิเล็กตรอนซึ่งมีพลังงานสูงจากคาโธดไปยังอาโนด    จึงเปล่งแสงออกมา

ข.            อิเล็กตรอนซึ่งมีพลังงานสูงวิ่งจากคาโธดไปยังอาโนดเมื่อชนกับอนุภาคก๊าซ       จึงเปล่งแสงออกมาก

ค.            อิเล็กตรอนซึ่งมีพลังงานจลน์สูงเมื่อวิ่งจากคาโดไปยังอาโนดเกิดรวมตัวกับก๊าซที่อิออนไนช์            และคายพลังงานออกมาเป็นแสง

ง.             อิเล็กตรอนที่วิ่งจากคาโธดไปยังอาโนดมีสมบัติเป็นคลื่นแสง

เฉลย       ข.

29.    ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้องมากที่สุด

ก.            ดาลตันสมบัติให้แบบจำลองอะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลม       ที่มีประจุบวกและลบแทรกกระจายอยู่ทั่วไปในทรงกลมนั้น

ข.            นีล          บอร์        สมบัติให้แบบจำลองอะตอมมีลักษณะที่มีประจุบวกรวมกัน      อยุ่เป็นนิวเคลียสเล็กๆ        และอิเล็กตรอนวิ่งอยู่รอบๆ       นิวเคลียสนั้น

ค.            รัทเธอร์ฟอร์ด       เป็นผู้ทำการทดลองหาอัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน

ง.             เจ            เจ            ทอมสันได้สรุปผลการทดลองหาอัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน

เฉลย       ง.

30.    นักวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบอิเล็กตรอนคือข้อใด

ก.            ทอมสัน                                 ข.            รัทเธอร์ฟอร์ด

ค.            บอห์ร                                     ง.             เบอร์ชีเลียส

เฉลย       ก.

31.    การทดลองของทอมสันทำให้ทราบสิ่งใด

ก.            มวลต่อประจุของอิเล็ฏจตรอน          ข.            มวลของอิเล็ฏตรอน

ค.            ชนิดของประจุในอะตอม                  ง.             แบบจำลองของอะตอมที่ถูกต้อง

เฉลย      

32.    เพราะเหตุใดแบบจำลองอะตอมจึงเปลี่ยนแปลงได้

ก.            เพราสารต่างชนิดกัน                          ข.            เพราะผู้ศึกษาต่างคนต่างเวลากัน

ค.            เพราะพบข้อมูลใหม่                           ง.             ถูกทั้งข้อ ก. ข. ค

เฉลย       ค.

33.    ข้อใดต่อไปนี้ประจุไฟฟ้าสุทธิเป็นกลาง

ก.            อนุภาคอัลฟา                        ข.            โปรตอน                                ค.            อะตอม                   ง.             นิวเคลียส์

เฉลย       ค.

34.    อะตอมใดต่อต่อไปนี้ประกอบด้วยจำนวนของนิวตรอนเท่านั้น

ก.            11248Cd                    ข.            11249In                     ค.            11247Ag                    ง.                   11447Ag

เฉลย       ง.

35.    ข้อความใดถูกต้อง

ก.                  อะตอมของธาตุเดียวกันมีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน

ข.                  อะตอมของธุเดียวกันมีมวลเท่ากัน

ค.                  อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน

ง.                   อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีเลขอะตอมเท่ากัน

เฉลย      

36.    สมบัติทางเคมีของอะตอมขึ้นอยู่กับจำนวนของอนุภาคใด

ก.            นิวตรอนเท่านั้น                  ข.            โปรตอนและนิวตรอนที่รวมกัน

ค.            อิเล็กตรอนระดับในสุด      ง.             อิเล็กตรอนระดับนอกสุด

เฉลย       ง.

37.    เมื่อจำนวนโปรตอนของอะตอมของธาตุเปลี่ยนไป ทำให้เกิดผลอย่างไร

ก.                  เกิดไอโซโทปของธาตุเดียวกันขึ้น

ข.                  เกิดประจุบวกหรือประจุลบของธาตุเดิมขึ้น

ค.                  เกิดประจุบวกของธาตุเดิมขึ้น

ง.                   เกิดเป็นอะตอมของธาตุใหม่

เฉลย       ง.

38.สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็ฏรอน 91 จำนวนนิวตรอน 140 คือข้อใด

ก.            91140Pa                     ข.            14091Pa                     ค.            23191Pa                     ง.             91 231 Pa

เฉลย       ค.

39.นิวเคลียสของ5627Co ประกอบด้วย

ก.            โปรตอน                                27           ,               นิวตรอน                               27           และอิเล็กตรอน    27

ข.            โปรตอน                                29           ,               นิวตรอน                               27           และอิเล็กตรอน    29

ค.            โปรตอน                                29           ,               นิวตรอน                               27          

ง.             โปรตอน                                27           ,               นิวตรอน                               29

เฉลย       ง.

40.ข้อใดหมายถึงนิวคลีออน             (Nucleon)

ก.            อิเล็กตรอนรวมกับโปรตอน                              ข.            นิวตรอนรวมกับอิเล็กตรอน

ค.            นิวตรอนรวมกับโปรตอน                  ง.             นิวเคลียสรวมกับโปรตอน
เฉลย       ค.

41.สิ่งที่แสดงว่าอะตอมของธาตุหนึ่งแตกต่างจากอะตอมของอีกธาตุหนึ่งคืออะไร

ก.            เลขมวล                                                  ข.            จำนวนวาเลนต์อิเล็กตรอน

ค.            จำนวนโปรตอน                                  ง.             จำนวนนิวตรอน

เฉลย       ค.

42.      126C และ 2412Mg สองอะตอมนี้มีอะไรที่เหมือนกัน

ก.            จำนวนโปรตอน                                                  ข.            จำนวนนิวตรอน

ค.            จำนวนโปนตอนเท่ากับจำนวนนิวตรอน    ง.             จำนวนโปรตอนรวมกับจำนวนนิวตรอน

เฉลย       ค.

43.ถ้าธาตุหนึ่งมีหลายไอโซโทบแต่ละไอโซโทปมีสิ่งที่เหมือนกันคือ

ก.            มวลของธาตุ                                         ข.            จำนวนของโปรตอน

ค.            จำนวนของนิวตรอน                          ง.             จำนวนของโปรตอนและนิวตรอน

เฉลย       ข.

44.ถ้าท่านสามารถดึงโปรตอนของธาตุ          P             ออกได้   2              ตัว           และดึงเอาอิเล็กตรอนออกได้            5              ตัว                ผลที่เกิดขึ้นคือข้อใด

ก.            P3+                                                          ข.            P5+                                         

ค.            Al3+                                                         ง.             Mg2+

เฉลย       ค.

45  .การที่คลอรีนมีมวลอะตอม           35.453   แทนที่จะเป็น       35.000   เนื่องจากเหตุใด

ก.            อะตอมของคลอรีนมี           17           โปรตอน

ข.            1  อะตอมของคลอรีนมีมวล   35.453   เท่าของมวล   1   อะตอมของไฮโดรเจน

ค.            คลอรีนมีไอโซโทปอย่างน้อยสองชนิดในธรรมชิ

ง.             โปรตอนและนิวตรอนมีมวลไม่เป็น    1     หน่วย

เฉลย       ค.

46.สัญลักษณ์ของธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากันเรียกว่า        ไอโซโทน             (isotone)                อะตอมคู่ใดเป็นไอโซโทน

ก.            91140Pa                                                                     ข.                   14091Pa

ค.            23191Pa                                                                     ง.             91231Pa

เฉลย       ค.

คำชี้แจง ใช้ตารางต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ47-48

อะตอม

จำนวนโปรตอน

จำนวนนิวตรอน

จำนวนอิเล็กตรอน

A

9

7

9

B

9

8

9

C

9

9

9

D

9

9

9

47.อะตอมใดเป็นอะตอมของธาตุเดียวกัน

ก.            A             และ        B                                                             ข.            B             และ        C
ค.            C             และ        D                                                             ง.             A             B             C             และ        D

เฉลย       ง.

48.การเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียส์ข้อดถูกต้อง

ก.            187A                         ข.            98B                          ค.            189C                         ง.             279D

เฉลย       ค.

49.มวลอะตอมของธาตุ      X             เท่ากับ    51.7        ถ้าธาตุ    X             ประกอบด้วย        2              ไอโซโทป             ซึ่งมีเลขมวล                50           และ        52           อยากทราบว่า        ไอโซโทปที่เบากว่าจะมีจำนวนกี่เปอร์เชนต์ในธรรมชาติ

ก.            15%                       ข.            45%       ค.            75%                       ง.             85%      

เฉลย       ก.

50.อิออน               5224Cr3+  ประกอบด้วย

ก.            โปรตอน                24           ,               นิวตรอน               24           และอิเล็กตรอน    24

ข.            โปรตอน                24           ,               นิวตรอน               28           และอิเล็กตรอน    24
ค.            โปรตอน                52          
,               นิวตรอน               52           และอิเล็กตรอน    49

ง.             โปรตอน                24           ,               นิวตรอน               28           และอิเล็กตรอน    21

เฉลย       ง.

51.  แสงที่มีความยาวคลื่นมาก  จะมีลักษณะอย่างไร

          ก.  มีพลังงานมาก               ข.  มีความถี่สูงแต่พลังงานต่ำ

          ค.  มีความถี่ต่ำแต่พลังง่านสูง          ง.  มีความถี่ต่ำและพลังงานต่ำ

เฉลย 

คำชี้แจง ใช้ข้อมูลจากตารางตอบคำถามข้อ52-53

แสง

ความยาวคลื่น(nm)

1

2

3

4

410

434

486

656

52.  จากข้อมูลแสงสีใดมีพลังงานสูงสุด

          ก.    แสงสี 1                               ข.  แสงสี  2

          ค.  แสงสี  3                                ง.  แสงสี  4

เฉลย ก

53.  จากข้อมูลแสงสีใดมีความถี่สูงสุด

ก.    แสงสี 1                               ข.  แสงสี  2

          ค.  แสงสี  3                                ง.  แสงสี  4

เฉลย ก

54.  แรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสและอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ  จะเป็นไปตามข้อใด

          ก.  อิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่1 จะถูกดึงดูดน้อยที่สุด

          ข.  อิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุด จะถูกดึงดูดน้อยที่สุด

          ค.  อิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุด จะถูกดึงดูดมากที่สุด

          ง.  อิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ จะถูกดึงดูดเท่ากัน

เฉลย 

55.  ในการเกิดสีของสเปคตรัมของธาตุต่างๆ ที่มีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้อง  ข้อความใดอธิบายได้ถูกต้อง

          ก.  อะตอมของธาตุรับพลังงานเพื่อทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอม

          ข.  อะตอมของธาตุรับพลังงานเพื่อทำให้อิเล็กตรอนย้ายไปสู่ระดับพลังงานที่สูงกว่า

          ค.  อิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุปล่อยพลังงานออกมาเพื่อย้ายจากพลังงานที่สูงกลับสู่ระดับพลังงานที่ต่ำกว่า

          ง.  อิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุปล่อยพลังงานออกมาเพื่อย้ายจากพลังงานที่ต่ำสู่ระดับพลังงานที่สูงกว่า

เฉลย ค

คำชี้แจง  ใช้ข้อมูลตอบคำถามข้อ 56

                                      A 

56.  การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนตามแผนภาพ  อิเล็กตรอนบริเวณใดมีค่าIE  มากที่สุด

          ก.  A         ข.  B         ค.  C          ง.  เท่ากันทั้งหมด

เฉลย  C

57.  ข้อความใดถูกต้อง

          ก.  เส้นสเปกตรัมแต่ละเส้นจะมีความถี่เฉพาะ

          ข.  เส้นสเปกตรัมเกิดจากอิเล็กตรอนรับพลังงานเหมือนกัน

          ค.  สารที่มีสมบัติใกล้เคียงกันจะมีสเปกตรัมเหมือนกัน

        ง.  ถ้าใช้สเปกโตรสโคปส่องดูสเปกตรัม  จะเห็นสเปกตรัมทุกเส้นมีความเข้มสีเท่ากันหมด

เฉลย  ก

58.  เมื่อให้แสงขาวผ่านปริซึมจะได้แถบแสง 7 สี  แสงสีใดมีพลังงานมากที่สุด

          ก.  ส้ม          ข.  เขียว        ค.  คราม       ง.  เหลือง

เฉลย 

59.  ข้อความใดที่ไม่ถูกต้อง

          ก.  ธาตุแต่ละธาตุมีเส้นสเปกตรัมเป็นลักษณะเฉพาะตัวไม่ซ้ำกัน

          ข.  สมบัติของแต่ละธาตุมีความสัมพันธ์กับการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม

          ค.  การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนมีทิศทางที่แน่นอน

          ง.  เมื่อเผาสารประกอบสีของเปลวไฟและเส้นสเปกตรัมที่ได้เกิดจากส่วนที่เป็นอิออน ของโลหะ

เฉลย 

60.  ธาตุ  Li   Na   K   Rb   ธาตุใดมีค่า IE1  ต่ำที่สุด

          ก.    Li        ข.   Na              ค.  K         ง.  Rb

เฉลย  ง