ขั้นตอนการทำโครงงาน 5 ขั้นตอนมีอะไรบ้าง

สวัสดีครับวันนี้จะมานำเสนอตัวอย่างการทำรายงานโครงงาน 5 บท ให้ลองนำไปศึกษาเพื่อใช้ในการจัดทำโครงงาน 5 บท ของเพื่อนๆ กันนะครับไปดูกันเลย

บทที่ 1-5 ของโครงงาน 5 บท มีดังต่อไปนี้

  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 การศึกษาเอกสารอ้างอิง
  • บทที่ 3 วิธีดำเนินงานโครงการ
  • บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
  • บทที่ 5 อภิปรายและข้อเสนอแนะ

ส่วนประกอบรายงานโครงงาน 5 บท จะประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

  • หน้าปกโคงงาน ประกอบด้วย ชื่อโครงงาน ผู้จัดทำโครงงาน ที่ปรึกษาโครงงาน เป็นส่วนหนึ่งของวิชา/กิจกรรม/ชมรม ระดับชั้น ภาคเรียน ปีการศึกษา ชื่อโรงเรียน
  • บทคัดย่อ
  • กิตติกรรมประกาศ
  • คำนำ
  • สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญรูป
  • บทที่ 1 บทนำ ประกอบไปด้วย 1.แนวคิดที่มาโครงงาน 2.วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3.ขอบเขตโครงงาน 4.วิธีดำเนินงาน 5.ประโยชน์จะได้รับ 6.นิยามศัพท์
  • บทที่ 2 การศึกษาเอกสารอ้างอิง
  • บทที่ 3 วิธีดำเนินงานโครงการ ประกอบไปด้วย 1.ตารางปฏิบัติกิจกรรมโครงงาน 2.เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา หรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา 3.ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
  • บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน ประกอบไปด้วย 1.ผลการดำเนินการ 2.การนำไปใช้
  • บทที่ 5 อภิปรายและข้อเสนอแนะ ประกอบไปด้วย 1.สรุปผลการดำเนินงานโครงงาน 2.ปัญหาและอุปสรรค 3.ข้อเสนอแนะ
  • บรรณานุกรม
  • ภาคผนวก
  • ประวัติผู้จัดทำ
ขั้นตอนการทำโครงงาน 5 ขั้นตอนมีอะไรบ้าง
ภาพตัวอย่าง รายงานโครงงาน 5 บท

ดาวน์โหลดตัวอย่างรายงานโครงงาน 5 บท

ก็จบไปแล้วนะครับสำหรับตัวอย่างการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท ไว้บทความหน้าจะนำเสนออะไรดีๆ ให้เพื่อนอีกนะครับ สำหรับบทความนี้ขอลาไปก่อน ขอบคุณที่รับชมครับ

           �·����������ç�ҹ����������� �ѡ���¹���繵�ͧ�ա�ù��ʹ��ç�ҹ���Ѻ������ͧ�����ҹ ���ʹ������Ҩ�������Ѻ�Դ�ͺ�ç�ҹ ���������͡��ù��ʹ��������ó� ���Ҩ�л�Ѻ��͢�ͤ�������Ӥѭ�Ҩҡ��§ҹ���� �͡�ҡ����ѧ�е�ͧ�ҧἹ㹡���ҸԵ��÷ӧҹ�ͧ�ç�ҹ���� ��Ф�ý֡�Ѵ͸Ժ�¡�÷ӧҹ�ͧ�ç�ҹ ����֧�֡�Ѵ�ͺ�Ӷ���������Ǣ�ͧ������

ได้กล่าวว่า โครงงานเป็นกิจกรรมที่ต้องกระทำอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งเสร็จสิ้นโครงงาน ซึ่งผู้เรียนต้องเป็นผู้ดำเนินการเองทั้งสิ้น โดยมีครู อาจารย์ที่ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา คอยให้คำแนะนำ เสนอแนะ และให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิดตลอดเวลาในการดำเนินงานโครงงาน มีขั้นตอนที่สำคัญประกอบด้วย

ขั้นตอนที่ 1 การคิดและเลือกหัวข้อ

การดำเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นการคิดหาหัวข้อเรื่องที่จะทำโครงงาน โดยผู้เรียนต้องตั้งต้นด้วยคำถามที่ว่า จะศึกษาอะไรทำไมต้องศึกษาเรื่องดังกล่าวสิ่งที่จะนำมากำหนดเป็นหัวข้อเรื่องโครงงาน จะได้มาจากปัญหา คำถาม หรือความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องต่าง ๆ ของผู้เขียนเอง ซึ่งเป็นผลจากการที่ผู้เรียนได้อ่านหนังสือ เอกสาร บทความ ยอมฟังความคิดเห็น การบรรยาย การสนทนา หรือจากการที่ได้ไปดูงานทัศนศึกษา ชมนิทรรศการ หรือสังเกตจากปรากฎการณ์ต่าง ๆ รอบข้างหัวเรื่องของโครงงาน ต้องเป็นเรื่องที่เฉพาะเจาะจง และชัดเจนว่า โครงงานนี้ทำอะไร และควรเน้นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัว หรือ มีความคุ้นเคยกับเรื่องดังกล่าว เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาในการศึกษาพอสมควร ที่จะทำให้ได้มาซึ่งคำตอบ

ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง การดำเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นการดำเนินงานต่อจากขั้นตอนที่ 1 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องนี้ รวมไปถึงการขอคำปรึกษา หรือข้อมูลรายละเอียดอื่น ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ รวมทั้งการสำรวจวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆการดำเนินงานตามขั้นตอนนี้จะทำให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในรายละเอียดต่าง ๆ ของเนื้อหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งทำให้เห็นถึงขอบข่ายของภาระงานที่จะดำเนินการของโครงงานที่จะทำผลที่ได้จากการดำเนินงานขั้นตอนนี้ จะช่วยทำให้ได้แนวคิดในการกำหนดขอบข่าย หรือเค้าโครงของเรื่องที่จะศึกษาชัดเจนว่า จะทำอะไร ทำไมต้องทำ ต้องการให้เกิดอะไร ทำอย่างไร ใช้ทรัพยากรอะไร ทำกับใคร เสนอผลอย่างไร

ขั้นตอนที่ 3 การเขียนเค้าโครงของโครงงาน การดำเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นการสร้างแผนที่มีความคิด เป็นการนำเอาภาพของงาน และภาพความสำเร็จของโครงงานที่วิเคราะห์ไว้มาจัดทำรายละเอียด เพื่อแสดงแนวคิด แผน และขั้นตอนการทำโครงงาน การดำเนินงานในขั้นนี้อาจใช้การระดมสมอง ถ้าเป็นการทำงานเป็นกลุ่ม เพื่อให้ผู้ร่วมงานและผู้เกี่ยวข้องทุกคนได้มองเห็นภาระงานตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น รวมทั้งได้ทราบถึงบทบาทและระยะเวลาในการดำเนินงาน เมื่อเกิดความชัดเจนแล้วจึงนำเอามากำหนดเขียนเป็น เค้าโครงของโครงงาน

โดยทั่วไปเค้าโครงของโครงงาน จะประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ มีรายละเอียดดังตาราง ที่ 2.1

ตารางที่ 2.1 แสดงหัวข้อ / รายการ รายละเอียดที่ต้องระบุในการเขียนเค้าโครงของโครงงาน



หัวข้อ / รายการ

รายละเอียดที่ต้องระบุ

1. ชื่อโครงงาน

2. ชื่อผู้ทำโครงงาน


3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน



4. ระยะเวลาดำเนินงาน


5. หลักการและเหตุผล


6. จุดหมาย/วัตถุประสงค์


7. สมมติฐานของการศึกษา

(ในกรณีที่เป็นโครงการทดลอง)

8. ขั้นตอนการดำเนินงาน

9. ปฏิบัติโครงงาน



10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ


11. เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม

ทำอะไร กับใคร เพื่ออะไร

ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้

ครู อาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีในท้องถิ่น

ผู้ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา ควบคุมการทำโครงงานของผู้เรียน

ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น

สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการ และความคาดหวังที่จะเกิดผล

สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงาน ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

ข้อตกลง/ข้อกำหนด/เงื่อนไข เพื่อเป็นแนวทางในการพิสูจน์ให้เป็นไปตามที่กำหนด

กิจกรรมหรือขั้นตอนการดำเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ สถานที่ วัน เวลา และกิจกรรมดำเนินการต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ในข้อ 8 ตั้งแต่เริ่มต้นจนแล้วเสร็จ

สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต

กระบวนการ และผลกระทบ

ชื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในแผนการดำเนินงาน


ที่มา ( สุชาติ วงศ์สุวรรณ , 2542 : 15 )


ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติโครงงาน การดำเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นการดำเนินงานหลังจากที่โครงงานที่ได้รับความเห็นจากครู อาจารย์ที่ปรึกษา และได้รับการอนุมัติจากสถานศึกษาแล้ว ผู้เรียนต้องลงมือปฏิบัติงานตามแผนงานที่กำหนดไว้ในเค้าโครงของโครงงาน และระหว่างการปฏิบัติงาน ผู้เรียนต้องปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบ คำนึงถึงความประหยัด และความปลอดภัยในการทำงาน ตลอดจนคำนึงถึงสภาพแวดล้อมด้วยในระหว่างการปฏิบัติงานตามโครงงาน ต้องมีการจดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ไว้อย่างละเอียดว่า ทำอะไรได้ผลอย่างไร ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขอย่างไร การบันทึกข้อมูลดังกล่าวนี้ ต้องจัดทำอย่างเป็นระบบ ระเบียบ เพื่อจะได้ใช้เป็นข้อมูลสำหรับการปรับปรุงการดำเนินงานในโอกาสต่อไปด้วย การปฏิบัติกิจกรรมตามที่ระบุไว้ในขั้นตอนดำเนินงานในโครงงาน ถือว่าเป็นการเรียนรู้เนื้อหา ฝึกทักษะต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ในจุดประสงค์การเรียนรู้ และการปฏิบัติโครงงานควรใช้เวลาดำเนินการ ในสถานศึกษามากกว่าที่จะทำที่บ้าน

ขั้นตอนที่ 5 การเขียนรายงานการดำเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นการสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงงาน เพื่อให้ผู้อื่นได้ทราบแนวคิด วิธีดำเนินงาน ผลที่ได้รับตลอดจนข้อสรุป ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน การเขียนรายงาน ควรใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย กระชัย ชัดเจน และครอบคลุมประเด็นสำคัญ ๆ ของโครงงานที่ปฏิบัติไปแล้ว โดยอาจเขียนในรูปของสรุปรายงานผล ซึ่งอาจประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้ บทคัดย่อ บทนำ เอกสารที่เกี่ยวข้อง วิธีการดำเนินงาน ผลการศึกษา สรุปและอภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และตารางที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนที่ 6 การแสดงผลงาน การดำเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทำโครงงาน เป็นการนำเสนอผลการดำเนินงานโครงงานทั้งหมดมาเสนอให้ผู้อื่นได้ทราบ ซึ่งผลผลิตที่ได้จากการดำเนินโครงงานประเภทต่าง ๆ มีลักษณะเป็นเอกสาร รายงาน ชิ้นงาน แบบจำลอง ฯลฯ ตามประเภทของโครงงานที่ปฏิบัติ การแสดงผลงาน ซึ่งเป็นการนำเอาผลการดำเนินงานมาเสนอนี้ สามารถจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การจัดนิทรรศการ หรือทำเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ การจัดทำเป็นสื่อมัลติมีเดีย และอาจนำเสนอในรูปแบบของการแสดงผลงาน การนำเสนอด้วยวาจา รายงาน บรรยาย ฯลฯ ในการดำเนินงานตามขั้นตอนการทำโครงงานที่กล่าวมานี้ สามารถปรับให้เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติในแต่ละระดับ ในระดับขั้นต้น ๆ ควรมี ครู อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นผู้คอยให้คำแนะนำช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด และการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอนควรง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อน ส่วนในระดับสูง ๆ ที่สามารถอ่านออกเขียนได้ ควรเน้นเรื่องของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ความรับผิดชอบ การตัดสินใจ และการปฏิบัติ

จิราภรณ์ ศิริทวี (2542 : 35 ) ได้กำหนดขั้นตอนการทำโครงงานเป็น 6 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 กำหนดปัญหาหรือหัวข้อที่ต้องการศึกษา

ขั้นที่ 2 กำหนดตัวแปร ตัวแปรที่ต้องการศึกษา เป็นตัวแปรต้น ผลที่ตามมาเป็นตัวแปรตาม และถ้ามีความจำเป็นต้องควบคุมตัวแปรเพื่อให้ข้อมูลน่าเชื่อถือ ตัวแปรนั้นคือตัวแปรควบคุม

ขั้นที่ 3 ออกแบบการทดลองหรือกำหนดวิธีการหรือแหล่งข้อมูลที่ต้องไปศึกษา

ขั้นที่ 4 ดำเนินการทดลองหรือศึกษาตามที่วางแผนเอาไว้ ถ้าเป็นโครงงานประเภททดลองต้องมีการทดลองหลายๆ ครั้ง (อย่างน้อย 3 ครั้ง ) เพื่อให้เกิดความแน่ใจก่อนนำผลที่ได้มาสรุป

ขั้นที่ 5 อภิปรายผล นำข้อมูลที่ได้จากการทดลองมาประเมิน อภิปรายโดยการศึกษาจากเอกสาร หลักฐานอื่น ๆ มาประกอบว่ามีข้อแตกต่างกันเพราะอะไร

ขั้นที่ 6 นำเสนอผลการศึกษาในรูปแบบรายงาน หรือจัดบอร์ดแสดงสิ่งที่ศึกษา หรือด้วยวาจา

สรุปได้ว่า การเรียนการสอนแบบโครงงาน มีขั้นตอนการทำโครงงานอย่างต่อเนื่อง โดยผู้เรียนต้องเป็นผู้ดำเนินการเอง และมีครู-อาจารย์เป็นที่ปรึกษาให้คำแนะนำ เสนอแนะ ซึ่งผู้วิจัยมีขั้นตอนทั้ง

โครงงาน5ขั้นตอนมีอะไรบ้าง

วิธีดำเนินการทำโครงงาน มีขั้นตอนดังนี้ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทำ ... .
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ... .
3. จัดทำเค้าโครงของโครงงานที่จะทำ มีรายละเอียดดังนี้ ... .
4. การลงมือทำโครงงาน ... .
5. การเขียนรายงานและจัดทำคู่มือการใช้.

การทำโครงงานมีขั้นตอนการทำอย่างไรบ้าง

การท าโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องและมีการด าเนินงานหลายขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้น สุดท้าย ดังนี้ 1. การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องที่จะท าโครงงาน 2. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3. การจัดท าเค้าโครงของโครงงาน 4. การลงมือท าโครงงาน 5. การเขียนรายงาน 6. การแสดงผลงาน

ขั้นตอนการทำโครงงานมีกี่ประเภท

แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เป็นการ บูรณาการร่วมกับการเรียนรู้ในวิชาต่าง ๆ ทักษะและเป็นพื้นฐานในการกำหนดโครงงานและปฏิบัติ 2. โครงงานตามความสนใจ เป็นโครงงานที่ผู้เรียนกำหนดขั้นตอน ความถนัด ความสนใจ ความต้องการ โดยใช้ทักษะความรู้ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆมาบูรณาการเป็นโครงงานและปฏิบัติ

ขั้นตอนการเลือกทำโครงงานมีกี่ขั้นตอน

เรื่องที่ 2 ขั้นตอนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์.
ขั้นสำรวจหรือตัดสินใจเลือกเรื่องที่จะทำ ... .
ขั้นศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ตัดสินใจทำ ... .
ขั้นวางแผนดำเนินการ ... .
ขั้นเขียนเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์ ... .
ขั้นลงมือปฏิบัติ ... .
ขั้นเขียนรายงานโครงงาน ... .
ขั้นเสนอผลงานและจัดแสดงผลงานโครงงาน.