วัดมหาธาตุ สุโขทัย ความ สํา คั ญ


�Ѵ��Ҹҵ� ���Ѵ����դ����Ӥѭ��������ҧ���ͧ��⢷�� ��Сͺ������ҳʶҹ��ҧ� ���ҧ����������¡�͹��õ���ҳҨѡ� ���֧���·����⢷�µ�����������û���ͧ�ͧ�ҳҨѡ���ظ��㹾ط�ʵ���ɷ�� 21 ��ҳʶҹ����Ӥѭ ��� ਴����иҹ�ç�͡��ǵ�� ������ٻ�ѡɳ�੾�Тͧʶһѵ¡���������⢷�� ��������·�������⢷�� ����Ѫ����� ��ᾧྪ�������ͧ���������� ��ҹ˹��ͧ��਴����иҹ���ͷҧ��ȵ��ѹ�͡�ͧ�Ѵ���������ǧ ���繷���д�ɰҹ�������ҡ���ع�(�Ѩ�غѹ��д�ɰҹ㹾���������ǧ�Ѵ�ط�ȹ�෾������ ��ا෾��ҹ��)��觻Ѩ�غѹ�������§��ҡ����Ҵ�˭������Ҥ�����§�ѹ�������ҧʧ�ҧ�� ���������º ��������ǧ����龺��ѡ�ҹ����Ӥѭ ��� ���Ҩ��֡��ѡ���45 ���ͷ�����¡��Ҩ��֡���ʺ���ҹ ���ͨ��֡ ���ع�Ե �ع�ʹ


�Ѵ��Ҹҵ� ��⢷�� . 2545 . ��Ҷ֧��ҡ http://kids.mweb.co.th/know_word/
วัดมหาธาตุ สุโขทัย ความ สํา คั ญ

วัดมหาธาตุ สุโขทัย ความ สํา คั ญ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์ ทต.เมืองเก่า อ.เมืองฯ จ.สุโขทัย ค่ะ

วัดมหาธาตุ สุโขทัย ความ สํา คั ญ
วัดมหาธาตุ สุโขทัย ความ สํา คั ญ
วัดมหาธาตุ สุโขทัย ความ สํา คั ญ
วัดมหาธาตุ  (จังหวัด สุโขทัย)
วัดมหาธาตุ สุโขทัย ความ สํา คั ญ
วัดมหาธาตุ สุโขทัย ความ สํา คั ญ
ชื่อสถานที่:วัดมหาธาตุที่ตั้ง:ตั้งอยู่ในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยข้อมูล:วัดมหาธาตุ
วัดมหาธาตุ ตั้งอยู่บริเวณกึ่งกลางของเมือง เป็นวัดที่มีความสำคัญมากที่สุด เปรียบดังวัดหลวงประจำราชธานีสุโขทัย ภายในวัดมีโบราณสถานมากมายประกอบด้วย เจดีย์ประธาน วิหาร มณฑป อุโบสถ(โบสถ์) และเจดีย์รายจำนวนมากถึง ๒๐๐ องค์
เจดีย์ประธานของวัด เป็นเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ หรือทรงยอดดอกบัวตูม อันเป็นรูปแบบเจดีย์ที่เป็นเอกลักษณ์ของศิลปะสุโขทัยโดยเฉพาะ รายรอบเจดีย์ประธานมีเจดีย์บริวาร จำนวน ๘ องค์ ได้แก่ เจดีย์ประจำด้าน(ทิศ)ทั้งสี่เป็นเจดีย์ทรงปราสาทแบบสุโขทัย ได้รับอิทธิพลจากศิลปะขอมและมีลวดลายปูนปั้นแบบอิทธิพลศิลปะลังกา ส่วนเจดีย์ประจำมุมทั้งสี่เป็นเจดีย์ทรงปราสาทห้ายอด ที่มีอิทธิพลของศิลปะพุกาม-หริภุญไชย-ล้านนา รอบ ๆ เจดีย์ประธานมีปูนปั้นรูปพระสาวกในท่าอัญชุลีเดินประทักษิณโดยรอบพระมหาธาตุ
ในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ได้บรรยายว่า “...กลางเมืองสุโขทัยนี้มีพิหาร มีพระพุทธรูปทอง มีพระอัฎฐารศ มีพระพุทธรูปอันใหญ่ มีพระพุทธรูปอันราม...” นอกจากนี้ในศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง ปี พ.ศ. ๑๙๐๔ สมัยพระมหาธรรมราชาลิไท ยังกล่าวถึงพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ พระพุทธรูปทอง ที่ประดิษฐาน ณ กลางเมืองสุโขทัยด้วย พระพุทธรูปทองที่กล่าวถึงนี้ เข้าใจโดยทั่วไปว่าหมายถึง หลวงพ่อโต ของชาวเมืองเก่า ที่เคยประดิษฐานอยู่ภายในวิหารหลวงวัดมหาธาตุ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญล่องแพไปประดิษฐาน ณ วิหารหลวงวัดสุทัศน์เทพวราราม กรุงเทพมหานคร ซึ่งต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ได้พระราชทานนามว่า พระศรีศากยมุนี ปัจจุบันภายในวิหารหลวงวัดมหาธาตุ จึงยังปรากฏแท่นฐานขนาดใหญ่ของพระพุทธรูปองค์นี้เหลือให้เห็น ส่วนพระอัฎฐารศ ที่กล่าวถึงในจารึกหลักที่ ๑ หมายถึงพระพุทธรูปยืนที่มีขนาดใหญ่สูง ๑๘ ศอก ประดิษฐานภายในมณฑปที่ขนาบอยู่สองข้างของเจดีย์ประธาน
ถัดจากวิหารหลวงไปทางตะวันออกเป็นวิหารสูง ที่เรียกชื่อเช่นนี้เนื่องจากวิหารหลังนี้มีฐานสูงก่ออิฐเป็นลักษณะฐานบัว มีความสูงประมาณ ๑.๕ เมตร เป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยา ซึ่งสร้างขึ้นในภายหลัง ทำให้พื้นที่ว่างระหว่างหน้าวิหารสูงกับกำแพงวัดเหลือเพียงพื้นที่แคบ ๆ ไม่ได้สัดส่วนกับความสูงของตัวอาคาร
นอกจากนี้ภายในวัดมหาธาตุยังมีกลุ่มเจดีย์ จัดแยกออกเป็นกลุ่มหนึ่งอยู่ทางทิศใต้ของเจดีย์ประธาน มีศูนย์กลางอยู่ที่เจดีย์ห้ายอด ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นที่สองรองจากเจดีย์ประธาน ได้พบหลักฐานจารึกลานทองมีข้อความระบุเป็นที่น่าเชื่อว่าเจดีย์ห้ายอดนี้ เป็นที่บรรจุอัฐิของพระมหาธรรมราชาลิไท
WAT MAHATHAT
Situated in the heart of the city, is the most important temple as the principle temple of Sukhothai. This significant temple comprises the main chedi (stupa), assembly halls (vihãra), mandapa, an ordination hall (Ubosatha) and 200 subordinate chedis.
The main chedi has the graceful shape of a lotus bud, which characterizes the art of Sukhothai. Surrounded by 8 chedis, the four at the corners belong to the Hariphunchai - Lanna style. And the four in between have prasat-shaped chedis, which were influenced by the Khmer tower and decorated with relief-stucco in the style of Sri Lankan art. The base of the main chedi is decorated with relief-stucco of Buddhist disciples walking with their hands clasped together in salutation.
Stone Inscription No.1 says “.... At the centre of Sukhothai are a vihãra, a golden Buddha image, Phra Attharot Buddha images, large Buddha images, medium Buddha images ....”
The golden Buddha image referred to in the inscription is understood to be a bronze Buddha image in the posture of subduing Mara enshrined in the royal vihãra of Wat Mahathat. In the reign of King Rama I of the Rattanakosin Period, this Buddha image was removed by raft to Wat Suthat Thepwararam in Bangkok. The Buddha image was later named Phra Si Sakkayamuni by King Rama IV. At present, the large pedestal of this Buddha image still remains in the royal vihãra of Wat Mahathat. The Buddha images called Phra Attharot refer to standing Buddha images, 12 meters in height, enshrined in the mandapa on both sides of the principle chedi.
Next to the royal vihãra to the east stands a tall vihãra, its 1.5 meter base decorated with lotus moulding. This vihãra was built later in the Ayutthaya style, and the small space between the front of the vihãra and the wall enclosing it is out of proportion to the height of the building. This is why it was called the tall vihãra.
Within the compound of Wat Mahathat is a group of chedis situated south of the main chedi. At the centre stands one with five spires, second only to the main chedi in size. According to the inscription on the golden plate, it is indicated that the relics of Phra Maha Dharmarãja Li Thai were enshrined in this chedi (stupa).
ผู้เข้าชม 832 ท่าน         
วัดมหาธาตุ สุโขทัย ความ สํา คั ญ
วัดมหาธาตุ สุโขทัย ความ สํา คั ญ
วัดมหาธาตุ สุโขทัย ความ สํา คั ญ
เริ่มนับ วันที่ 7 ส.ค. 2558

วัดมหาธาตุ สุโขทัย มีความสําคัญอย่างไร

วัดมหาธาตุ ตั้งอยู่กลางเมืองสุโขทัย เป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ถือเป็นวัดที่สำคัญที่สุดในเมืองสุโขทัย และในอดีตยังใช้เป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีต่างๆ อีกด้วย วัดมหาธาตุเป็นวัดสำคัญ จึงได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์และสร้างเพิ่มเติมอยู่เสมอ ทำให้ภายในวัดประกอบด้วยสิ่งก่อสร้างหลายยุคหลายสมัย

วัดมหาธาตุ สุโขทัย เป็นศิลปะด้านใด

วัดมหาธาตุ เป็นวัดหนึ่งที่อยู่ในเขตเมืองสุโขทัยมาตั้งแต่โบราณ และเป็นพระอารามหลวงในเขตพระราชวังอาณาจักรสุโขทัย ปัจจุบันนี้วัดมหาธาตุตั้งอยู่ในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ... .

วัดสำคัญใจกลางอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยคือวัดใด

วัดมหาธาตุ วัดใหญ่ใจกลางตัวเมืองเก่าสุโขทัย ที่ตั้งของอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยในจังหวัดสุโขทัย

วัดในสุโขทัยมีอะไรบ้าง

เที่ยว ไหว้พระ 9 วัด ทัวร์รอบ สุโขทัย สักการะ วัดดัง.
1. วัดศรีชุม ... .
2. วัดมหาธาตุ ... .
3. วัดพิพัฒน์มงคล ... .
4. วัดสะพานหิน ... .
5. วัดช้างล้อม ... .
6. วัดพระพายหลวง ... .
7. วัดเจดีย์เจ็ดแถว ... .
8. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ.