สามัคคีเภทคําฉันท์ แปลทั้งหมด

...ในสมัยรัชกาลที่ ๖ เกดิ วกิ ฤตการณท์ ง้ั ภายในและภายนอกประเทศ
เชน่ เกดิ สงครามโลกคร้ังที่ ๑ เกดิ กบฏ ร.ศ. ๑๓๐ ซงึ่ ส่งผลกระทบ
ตอ่ ความมน่ั คงของบา้ นเมอื ง นายชิต บุรทตั โดยมนี ามปากกา คือ
เจา้ เงาะ เอกชน และแมวคราว ไดแ้ ตง่ เร่ืองสามัคคี-เภทคาฉันท์
ในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ เพอื่ มุง่ ชคี้ วามสาคญั ของการรวมเป็นหมู่คณะ
และเป็นน้าหน่ึงใจเดียวกัน

เร่ืองสามัคคีเภทคาฉันท์ เป็นนิทานสุภาษิต ในมหา
ปรินิพพานสูตร และอรรถกถาสุมังคลวิลาสินี ทีฆนิกาย
มหาวรรค ลงพิมพ์ในหนังสือธรรมจักษุ ของมหามกุฎราช
วทิ ยาลัย โดยเรยี บเรียงเปน็ ภาษาบาลี

สามัคคีเภทคาฉันท์ ถือเป็นวรรณคดีท่ีทันสมัยเรื่องหน่ึง
เพราะความสามัคคี มีความสาคัญในทุกสถานภาพ ทุก
สภาพแวดล้อม และทกุ องคก์ ร หากเรามีความสามัคคีแล้วน้ัน
ปญั หาต่างๆ ก็จะลลุ ว่ งไปได้ดว้ ยดี

-๑-

สามัคคีเภทคาฉนั ท์ แตง่ ด้วยคาประพันธ์
ประเภทฉันท์ ๑๙ ชนิด กาพย์ ๑ ชนิด ดงั น้ี

(๑) สทั ทลุ วกิ กฬี ิตฉนั ท์ ๑๙ (๙) มาลนิ ีฉันท์ ๑๕
(๒) วสันตดิลกฉนั ท์ ๑๔ (๑๐) ภุชงคประยาตฉนั ท์ ๑๒
(๓) อุปชาตฉิ นั ท์ ๑๑ (๑๑) มาณวกฉนั ท์ ๘
(๔) อีทิสงั ฉนั ท์ ๒๐ (๑๒) อุเปนทรวิเชียร์ฉันท์ ๑๑
(๕) อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ (๑๓) สัทธราฉันท์ ๒๑
(๖) วชิ ชมุ มาลาฉนั ท์ ๘ (๑๔) สาลินีฉันท์ ๑๑
(๗) อนิ ทรวงศฉ์ นั ท์ ๑๒ (๑๖) โตฏกฉนั ท์ ๑๒
(๘) วงั สัฏฐฉนั ท์ ๑๒ (๑๗) กลมฉนั ท์ ๑๒
(๑๘) จติ รปทาฉันท์ ๘
(๑๙) สรุ างคนางค์ฉันท์ ๒๘
(๒๐) กาพยฉ์ บงั ๑๖

-๒-

โดยในบทเรยี นประกอบดว้ ยฉันท์ ๑๐ ชนิด ได้แก่

๑. ภุชงคประยาต ฉันท์ ๑๒

ตวั อยา่ งบทประพันธ์

ทิชงค์ชาติฉลาดยล คะเนกลคะนงึ การ

กษตั รยิ ล์ ิจฉวีวาร ระวงั เหอื ดระแวงหาย

๒. มาณวก ฉันท์ ๘ กาลอนุกรม
ตวั อยา่ งบทประพนั ธ์ ทา่ นทวชิ งค์
ล่วงลปุ ระมาณ วทิ ยะยง
หนงึ่ ณ นยิ ม เอกกุมาร
เมือ่ จะประสิทธ์ิ
เชญิ วรองค์

๓. อเุ ปนทรวเิ ชยี ร ฉันท์ ๑๑

ตวั อย่างบทประพนั ธ์

ทชิ งค์เจาะจงเจตน์ กลห์เหตยุ ยุ งเสรมิ

กระหนา่ และซา้ เติม นฤพัทธกอ่ การณ์

- ๓-

๔. สัทธรา ฉันท์ ๒๑
ตัวอย่างบทประพนั ธ์
ลาดับนน้ั วสั สการพราหมณ์ ธ กย็ ศุ ิษยตาม
แตง่ อุบายงามฉงนงา
ปวงโอรสลจิ ฉวดี า รณิ วิรธุ ก็สา
คัญประดุจคาธ เสกสรร

๕. สาลนิ ี ฉันท์ ๑๑ ตระหนักเหตุถนัดครัน
ตวั อยา่ งบทประพันธ์ ชพจกั สพู่ นิ าศสม
พราหมณค์ รรู สู้ งั เกต
ราชาวัชชสี รร

๖. อุปฏั ฐติ า ฉนั ท์ ๑๑ ชนะคล่องประสบสม
ตวั อยา่ งบทประพันธ์ ธ กล็ อบแถลงการณ์
เห็นเชิงพเิ คราะหช์ อ่ ง
พราหมณ์เวทอดุ ม

๗. อนิ ทรวิเชยี ร ฉนั ท์ ๑๑

ตวั อยา่ งบทประพันธ์

ปน่ิ เขตมคธขัต ตยิ รชั ธารง

ย้ังทัพประทับตรง นคเรศวสิ าลี

- ๔-

๘. วชิ ชมุ มาลาฉันท์ ๘ ทราบถงึ บัดดล
ตวั อย่างบทประพันธ์ ชาวเวสาลี
ขา่ วเศกิ เอิกอึง ชนบทบรู ี
ในหมผู่ คู้ น หวาดกลวั ท่ัวไป
แทบทุกถ่ินหมด
อกส่นั ขวัญหนี

๙. จติ รปทา ฉันท์ ๘ นิวิสาลี
ตัวอยา่ งบทประพนั ธ์ พลมากมาย
นาครธา ก็ลพุ น้ หมาย
เหน็ รปิ ุมี พระนครตน
ข้ามตริ ชล
มงุ่ จะทลาย

๑๐. สทั ทูลวกิ กฬี ติ ฉันท์ ๑๙

ตวั อยา่ งบทประพนั ธ์

จอมทัพมาคธราษฎร์ ธ ยาตรพยุหกรี

ธาสวู่ ิสาลี นคร

โดยทางอันพระทวารเปิดนรนิกร

ฤๅรอตอ่ รอน อะไร

- ๕-

ประวัตผิ ้แู ตง่

นายชิต บรุ ทตั เข้าศกึ ษาเบอ้ื งต้นทโ่ี รงเรยี นวัดราชบพิธ และเข้าศึกษาจนจบ

ช้ันมัธยมบริบูรณ์ ท่ีโรงเรียนวัดสุทัศน์ เมื่ออายุได้ ๑๕ ปี บิดาจึงให้บวชเป็น

สามเณร ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยมีพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวง

ชนิ วรสริ วิ ัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจา้

นายชิตมีความสนใจการอ่านเขียน และ นายชิต บุรทัตได้สร้างผลงาน
มีความเชี่ยวชาญในภาษาไทย มีความรู้ ร้อยกรอง เร่ืองสามัคคีเภทคา
ภาษาบาลี และยังฝึกฝนภาษาอังกฤษ ฉันท์ พ.ศ. ๒๔๕๗ มีบทร้อย
อยู่ในเกณฑ์ใช้ได้ และเริ่มการประพันธ์ กรองตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์และ

เม่ืออายุได้ ๑๘ ปี โดยได้รับอาราธนา นิตยสาร ข้อความโฆษณาเป็น

จากองค์สภานายกหอสมุดวชิรญาณ ร้อยกรอง และท่านยังมีช่ือเสียง

ใ ห้ ร่ ว ม แ ต่ ง ค า ฉั น ท์ ส ม โ ภ ช ม ห า ในการแตง่ ร้อยแก้วซง่ึ สามารถ

เศวตฉัตร ในงานพระราชพิธีฉัตร อ่านอย่างรอ้ ยกรองไวใ้ น
มงคลรัชกาลที่ ๖ เมื่อลาสกิ ขาบท บทเดยี วกนั ขณะที่
ได้ทางานหนงั สือพิมพศ์ รีกรุง คาฉันท์น้นั ก็ยงั
พมิ พไ์ ทย โฟแท็กซ์ ไทยหนุม สามารถใช้คาง่ายๆ
เทิดไทย โดยใช้นามปากกา มาลงครลุ หุไดอ้ ยา่ ง
เอกชน เจ้าเงาะ และแมวคราว ผลงาน
การประพนั ธท์ ่สี าคัญ คือ เหมาะสมไดร้ ับการยก
สามคั คเี ภทคาฉันท์ ย่องเปน็ หนึ่ง
และกรุงเทพฯคาฉนั ท์
ในนักแตง่ ฉันท์ฝีมอื
เยย่ี มคนหนง่ึ ของ

ไทยแม้จนปจั จุบนั น้ี

-๖-

วัสสการพราหมณ์ : เป็นผู้มีสติปญั ญาดี รอบรู้
มีวาทศิลป์ ซื่อสัตย์ต่อบ้านเมืองของตนและภักดีต่อ
พระเจ้าอชาตศตั รู เก็บความลบั ได้ดี

พระเจ้าอชาตศตั รู : มคี วามคดิ ตรติ รอง เลือกผทู้ เ่ี หมาะสม
ใหท้ างานทเี่ หมาะกบั ความสามารถ

เหล่ากษัตริย์ลิจฉวี : เป็นกลุ่มคนที่มีความ
สามัคคีต่อกัน มีความเคารพและยึดม่ันในอปริ
หานยิ ธรรม ซึ่งเป็นธรรมท่ีใช้ในการปกครอง
บ้านเมือง เม่ือถูกยุยงให้แตกกันกลับมีทิฐิมาก
ท่ีจะกลบั มารวมกนั อกี ครัง้

เหลา่ พระโอรสของกษัตริย์ลิจฉวี :

แม้เคยเป็นมิตรกัน แต่กลับถูกยุยงให้แตก

กันไดง้ า่ ย

- ๗-

ทิชงค์ชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ
กษตั ริยล์ ิจฉวีวาร ระวังเหอื ดระแวงหาย
ปวัตน์วัญจโนบาย
เหมาะแก่การณ์จะเสกสรร สมัครสนธิ์สโมสร
มลา้ งเหตพุ เิ ฉทสาย

ถอดความได้วา่ พราหมณค์ ดิ วา่ กษตั รยิ ์ลจิ ฉววี างใจ จึงเป็นโอกาสเหมาะทีจ่ ะเรม่ิ ทา
ตามแผนเพ่อื ทาลายความสามคั คี

- ๘-

ณ วันหนึ่งลุถงึ กา ลศกึ ษาพชิ ากร
กุมารลิจฉวีวร เสดจ็ พรอ้ มประชุมกนั
สถานราชเรียนพลนั
ตระบดั วสั สการมา สนิทหนง่ึ พระองค์ไป
ธ แกลง้ เชิญกุมารฉนั กถ็ ามการณ์ ณ ทันใด
กถาเช่นธปุจฉา
ลหุ ้องหับรโหฐาน มนษุ ย์ผกู้ ระทานา
มิลีล้ บั อะไรใน ประเทยี บไถมใิ ช่หรือ

จะถูกผิดกระไรอยู่ กร็ ับอรรถอออือ
และคู่โคก็จงู มา ประดุจคาพระอาจารย์
นิวัตในมชิ า้ นาน
กุมารลิจฉวขี ัตตยิ ์ สมัยเลกิ ลุเวลา
กสิกเขากระทาคือ

ก็เทา่ นัน้ ธ เชญิ ให้
ประสิทธ์ศิ ลิ ปป์ ระศาสนส์ าร

ถอดความได้ว่า วันหน่ึงเม่ือถึงโอกาสท่จี ะสอนวิชา กุมารลิจฉวีกเ็ สด็จมา ทันใดนั้นวัสสการพ
ราหมณ์ก็มาถึงและแกลง้ เชญิ พระกมุ ารคนสนิทเข้าไปพบ เม่ือเข้าไปในห้องส่วนตัวแล้วก็ทูลถาม
ว่า ชาวนาจูงโคมาคู่หนึ่งเพอ่ื เทยี มไถใช่หรือไม่ พระกุมารลจิ ฉวีก็เห็นด้วยว่าชาวนาก็คงทาตามคา
ของพระอาจารย์ ถามแค่น้ันพราหมณ์ก็เชญิ ใหเ้ สดจ็ กลบั ออกไป เมื่อถึงเวลาเลกิ เรยี น

- ๙-

อุรสลจิ ฉวีสรร พชวนกนั เสดจ็ มา

และตา่ งซักกมุ ารรา ชองค์น้ันจะเอาความ

พระอาจารย์สิเรียกไป ณ ขา้ งใน ธ ไต่ถาม

อะไรเธอเสนอตาม วจีสตั ยก์ ะสา่ เรา
กมุ ารน้ันสนองสา รวากยว์ าทตามเลา

เฉลยพจน์กะครเู สา วภาพโดยคดมี า

กุมารอื่นก็สงสัย มิเช่ือในพระวาจา

สหายราช ธ พรรณนา และต่างองค์ก็พาที
ไฉนเลยพระครูเรา จะพดู เปลา่ ประโยชน์มี

เลอะเหลวนักละลว้ นนี รผลเหน็ บ เปน็ ไป

เถอะถึงถ้าจะจรงิ แม้ ธ พูดแทก้ ท็ าไม

แนะชวนเขา้ ณ ข้างใน จะถามนอก บ

ยากเยน็

ถอดความได้ว่า เหล่าโอรสลิจฉวีก็พากนั มารมุ ถามพระกุมารว่าพระอาจารย์เรียกเข้าไป

ขา้ งใน ไดค้ ยุ อะไรกันบา้ ง บอกมาตามความจรงิ พระกุมารก็เล่าใหฟ้ ัง แต่เหล่ากุมาร

ไม่เชอ่ื จึงพากันวจิ ารณ์วา่ พระอาจารย์ไมพ่ ูดเร่ืองเหลวไหลแบบน้ันหรอก และหากว่าจะ

พดู จรงิ ทาไมจะตอ้ งเรียกเขา้ ไปถามข้างในห้อง ถามกนั ข้างนอกห้องก็ได้

- ๑๐-

ชะรอยวา่ ทชิ าจารย์ คิดอา่ นกะท่านเปน็
รหสั เหตุประเภทเห็น ละแนช่ ัดถนัดความ
มิกลา้ อาจจะบอกตา
และทา่ นมามสุ าวาท ไถลแสร้งแถลงสาร
พจจี ริงพยายาม กส็ อดคล้องและแคลงดาล
อุบตั ิข้นึ เพราะขนุ่ เคอื ง
กุมารราชมิตรผอง ประดามนี ิรนั ดร์เนอื ง
พิโรธกาจวิวาทการณ์ มลายปลาตพินาศปลง ฯ

พพิ ิธพนั ธไมตรี
กะองคน์ ้ันก็พลนั เปลอื ง

ถอดความได้ว่า พระกุมารองค์อ่ืนๆจึงสงสัยว่าท่านอาจารย์กับพระกุมารต้องมีความลับ
อย่างแน่นอน แลว้ ก็มาพูดโกหก ไมก่ ลา้ บอกตามความเป็นจริง แกล้งพดู ไปต่าง ๆ นานา
กุมารลจิ ฉวที ัง้ หลายคิดเหมือนกันกเ็ กดิ ความโกรธเคือง จึงทะเลาะกัน ความสมั พนั ธ์อันดี
ที่เคยมีมาตลอดก็ถกู ทาลายลง

- ๑๑-

ลว่ งลปุ ระมาณ กาลอนกุ รม
หนึ่ง ณ นิยม ท่านทวิชงค์
เมื่อจะประสทิ ธิ์ วิทยะยง
เชิญวรองค์ เอกกุมาร
พราหมณไป
เธอจรตาม หอ้ งรหุฐาน
โดยเฉพาะใน ความพิสดา
จ่งึ พฤฒถิ าม โทษะและไข
ขอ ธ ประทาน

ถอดความไดว้ า่ เม่ือถงึ เวลาท่ีจะสอนกเ็ ชิญพระกมุ ารพระองคห์ นงึ่ เขา้ ไปในห้อง พราหมณจ์ งึ
ถามคาถามแปลก ๆ

- ๑๒-

อยา่ ติและหลู่ ครจู ะเฉลย
เธอน่ะเสวย ภตั กะอะไร
ในทินน่ี ดี ฤ ไฉน
พอหฤทยั ยิ่งละกระมัง
เคา้ ณประโยค
ราช ธ ก็เล่า แล้วขณะหลัง
ตนบริโภค เรื่องสปิ ระทัง
วาทะประเทือง สกิ ขสภา
อาคมยัง ราชอุรส
ต่าง ธ กม็ า
เสรจ็ อนศุ าสน์ ท่านพฤฒิอา
ลจิ ฉวหิ มด รภกระไร
ถามนยมาน
จารยปรา

ถอดความได้ว่า อย่าหาว่าตาหนิหรือลบหลู่เลย อยากรู้ว่าวันน้ีพระกุมารเสวยพระกระยาหารอะไร
รสชาติดหี รอื ไม่ พอพระทยั มากหรอื ไม่ พระกุมารก็เล่าเร่ืองเกี่ยวกับพระกระยาหารท่ีเสวย หลังจาก
นั้นก็สนทนาเรื่องทั่วไป แล้วก็เสด็จกลับออกมายังห้องเรียน เมื่อสอนจบ ราชกุมารลิจฉวีท้ังหมดก็
มาถามว่าท่านอาจารย์ได้พดู เรือ่ งอะไรบา้ ง

- ๑๓-

เธอกแ็ ถลง แจง้ ระบมุ วล
ความเฉพาะล้วน จรงิ หฤทัย
ตา่ ง บ มิเชอ่ื เม่อื ตรไิ ฉน
จึ่งผลใน เหตุ บ มสิ ม
นฤสาร
ขนุ่ มนเคือง กอ่ นก็ระ
เช่นกะกมุ าร แตกคณะกล
เลกิ สละแยก คบดจุ เดิม
เกลยี ว บ นิยม

ถอดความได้ว่า พระกุมารก็ตอบตามความจริง แต่เหล่ากุมารต่างไม่เช่ือ เพราะคิดแล้วไม่
สมเหตุสมผล ต่างไมพ่ อใจกับเรอ่ื งไรส้ าระเหมอื นพระกุมารพระองคก์ ่อน และเกิดความแตกแยก
ไมค่ บกนั อยา่ งกลมเกลยี วเหมือนเดมิ

-- ๑๓๔--

ทิชงคเ์ จาะจงเจตน์ กลห์เหตุยยุ งเสรมิ
กระหน่าและซา้ เตมิ นฤพัทธกอ่ การณ์
ทนิ วารนานนาน
ละคร้ังระหวา่ งครา ธ กเ็ ชิญเสดจ็ ไป
เหมาะท่าทชิ าจารย์
รฤหาประโยชนไ์ ร
บ หอ่ นจะมีสา เสาะแสดง ธ แสรง้ ถาม
กระนนั้ เสมอนัย น่ะแนะ่ ข้าสดบั ตาม
พจแจง้ กระจายมา
และบ้างก็พูดวา่ กเ็ พราะทา่ นสิแสนสา
ยุบลระบลิ ความ วและสดุ จะขัดสน
พิเคราะห์เชื่อเพราะยากยล
ละเมิดติเตียนท่าน ธ ก็ควรขยายความ
รพัดทลทิ ภา

จะแน่มแิ น่เหลอื
ณ ท่ี บ มีคน

ถอดความได้ว่า พราหมณ์เจตนาหาเหตุยุแหย่ซ้าเติมอยู่เสมอ ๆ เมื่อเห็นโอกาสเหมาะก็จะเชิญ

พระกมุ ารเสด็จไป แล้วก็แกล้งทูลถาม บางครั้งก็พูดว่า ขา้ พระองค์ได้ยินขา่ วเล่าลอื เขานินทาพระ

กุมารว่าพระองค์ยากจนและขดั สน เป็นแบบนั้นจริงเหรอ ดูแล้วไม่น่าเชื่อ ตรงน้ีไม่มีใคร ขอให้

ทรงเล่ามาเถดิ - ๑๕-

และบา้ งกก็ ล่าวว่า นะ่ แน่ะขา้ จะขอถาม
เพราะทราบคดีตาม วจลือระบอื มา
กเ็ พราะทา่ นสิแสนสา
ติฉนิ เยาะหมิน่ ทา่ น ยพลิ กึ ประหลาดเปน็
รพันพิกลกา มนเชือ่ เพราะไปเ่ หน็
ธ ก็ควรขยายความ
จะจรงิ มิจริงเหลอื วนเค้าคดตี าม
ผิขอ้ บ ลาเคญ็ นยสดุ จะสงสยั

กุมารองค์เสา คุรทุ า่ นจะถามไย
กระทพู้ ระครูถาม ระบุแจง้ กะอาจารย์
พระกุมารโน้นขาน
กค็ ามคิ วรการณ์ เฉพาะอยกู่ ะกันสอง
ธ ซักเสาะสืบใคร

ทวชิ แถลงวา่
ยบุ ลกะตกู าล

ถอดความได้ว่า บางคร้ังก็พูดว่าข้าพระองค์ขอทูลถามพระกุมาร เพราะได้ยินเขาลือกันว่าท่านมี
ร่างกายผิดประหลาด เป็นจริงหรือไม่ ใจไม่อยากเชื่อเลยเพราะไม่เห็น ถ้ามีอะไรก็บอกมา พระกุมาร
ได้ทรงฟังเรื่องที่พระอาจารย์ถามก็ตรัสถามกลับว่า สงสัยเหลือเกิน เร่ืองไม่สมควรเช่นน้ีท่าน
อาจารย์จะถามทาไม แล้วก็ถามกลับว่าใครเป็นผู้มาบอกกับอาจารย์ พราหมณ์ก็ตอบว่าพระกุมาร
พระองคโ์ นน้ ตรสั บอกเม่อื อยู่กนั เพียงสองต่อสอง

- ๑๖-

กุมารพระองค์น้ัน ธ มทิ ันจะไตร่ตรอง
ก็เช่ือ ณ คาของ พฤฒคิ รแู ละว่วู าม

พิโรธกมุ ารองค์ เหมาะเจาะจงพยายาม
ยุครเู พราะเอาความ บ มดิ ปี ระเดตน
ทุรทิฐิมานจน
ก็พ้อและต่อพษิ ธิพพิ าทเสมอมา
ลโุ ทสะสืบสน ทชิ ครมู ิเรียกหา
ชกุมารทิชงค์เชิญ
และฝ่ายกมุ ารผู้
กแ็ หนงประดารา ฉวมิ ติ รจิตเมนิ
คณะห่างกต็ ่างถอื
พระราชบุตรลจิ พลลน้ เถลงิ ลือ
ณ กนั และกนั เหนิ มนฮึก บ นกึ ขาม ฯ

ทะนงชนกตน
ก็หาญกระเหมิ ฮือ

ถอดความได้ว่า กุมารพระองค์นั้นไม่ทันได้คิดก็เช่ือในคาพูดของอาจารย์ ด้วยความวู่วามก็
กร้ิว พระกุมารที่ใส่ความตน จึงเกิดความโกรธเคืองทะเลาะวิวาทกันอยู่เสมอ ฝ่ายพระกุมารที่
พราหมณ์ไม่เคยเรียกเขา้ ไปหาก็ไม่พอพระทัยพระกมุ ารที่พราหมณเ์ ชิญไปพบ พระกุมารลิจฉวี
ผดิ ใจและห่างเหินกัน ต่างกค็ ดิ ว่าพระบิดาของตนมอี านาจล้นเหลอื จงึ ไม่เกรงกลัวกัน

- ๑๗-

ลาดับนนั้ วัสสการพราหมณ์ ธ กย็ ศุ ษิ ยตาม
แตง่ อบุ ายงาม ฉงนงา
ริณวริ ุธก็สา
ปวงโอรสลิจฉวีดา ธ เสกสรร
คัญประดจุ คา มิละปยิ ะสหฉันท์
ก็อาดูร
ไป่เหลอื เลยสักพระองคอ์ นั พระชนกอดศิ รู
ขาดสมัครพนั ธ์ ปวัตติ์ความ

ต่างองค์นาความมงิ ามทลู ลวุ รบิดรลาม
แหง่ ธโดยมลู ณ เหตผุ ล
นฤวเิ คราะหเสาะสน
แตกรา้ วก้าวร้ายก็ปา้ ยปาม เพราะหมายใด
ทลี ะนอ้ ยตาม

ฟั่นเฝอื เชื่อนัยดนยั ตน
สืบจะหมองมล

ถอดความได้ว่า ในขณะนั้นวัสสการพราหมณ์ก็คอยยุลูกศิษย์ ให้เกิดความผิดใจกนั พระโอรส
กษัตริย์ลิจฉวีท้ังหลายก็เชื่อคาอุบายเหล่านั้น เพราะคิดว่าเป็นเร่ืองจริง ไม่มีเหลือเลยสักพระองค์
เดียวที่จะมีความรักใคร่กลมเกลียว ต่างขาดความสัมพันธ์ เกิดความเดือดร้อนใจ แต่ละองค์นา
เรื่องไม่ดีที่เกิดขึ้นไปทูลพระบิดาของตน ความแตกแยกก็ค่อย ๆ ลุกลามไปสู่พระบิดา เนื่องจาก
หลงเช่ือโอรสของตน โดยไมไ่ ด้ไตร่ตรองจงึ เกดิ ความไม่เขา้ ใจกัน

- ๑๘-

แท้ทา่ นวสั สการใน กษณะตริเหมาะไฉน
เสริมเสมอไป สะดวกดาย
พจนยปุ รยิ าย
หลายอยา่ งตา่ งกล ธ ขวนขวาย บ เว้นครา
วัญจโนบาย สหกรณประดา
ชทงั้ หลาย
ครน้ั ล่วงสามปปี ระมาณมา มิตรภิทนะกระจาย
ลจิ ฉวีรา ก็เป็นไป
พระราชหฤทยวสิ ัย
สามคั คีธรรมทาลาย ระวังกัน ฯ
สรรพเสือ่ มหายน์

ตา่ งองค์ทรงแคลงระแวงใน
ผ้พู โิ รธใจ

ถอดความได้ว่า ฝ่ายวัสสการพราหมณ์เห็นโอกาสเหมาะสมก็คอยยุแยง ทากลอุบาย
ต่าง ๆ พดู ยยุ งตลอดเวลา เวลาผา่ นไปประมาณ ๓ ปี ความรว่ มมอื กันระหว่างกษัตรยิ ์
ลิจฉวีทั้งหลายและความสามัคคีถูกทาลายลง เกิดความแตกแยกกษัตริย์ต่างองค์ระแวง
แคลงใจ มคี วามขุ่นเคืองใจซ่งึ กนั และกนั

- ๑๙-

พราหมณค์ รูรสู้ ังเกต ตระหนักเหตุถนดั ครัน
ราชาวชั ชสี รร ชพจักสูพ่ ินาศสม
จะสัมฤทธมิ์ นารมณ์
ยนิ ดีบัดนก้ี จิ และอุตสาหแหง่ ตน
เริ่มมาด้วยปรากรม ประชมุ ขัตตยิ ์มณฑล
กษตั ริย์สูส่ ภาคาร
ให้ลองตกี ลองนัด สดับกลองกระหึมขาน
เชญิ ซงึ่ ส่าสากล ณ กจิ เพ่ือเสดจ็ ไป

วชั ชภี ูมีผอง
ทกุ ไท้ไปเ่ อาภาร

ถอดความได้ว่า พราหมณ์เห็นดังนั้น ก็รู้ว่าเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีกาลังจะประสบความพินาศ จึง
ยินดีมากท่ีภารกิจสาเร็จ หลังจากเร่ิมต้นด้วยความพยายามและความอดทนของตน จึงให้ลองตี
กลองนัดประชมุ กษัตรยิ ์ลิจฉวี เชิญทุกพระองค์เสด็จมายังท่ีประชมุ ฝ่ายกษัตรยิ ์วัชชีทั้งหลาย
ทรงได้ยนิ เสยี งกลองดัง ทุกพระองค์ไม่ทรงเป็นธรุ ะในการเสดจ็ ไป

- ๒๐-

เห็นเชงิ พเิ คราะห์ช่อง ชนะคล่องประสบสม
พราหมณเ์ วทอดุ ม ธ ก็ลอบแถลงการณ์
คมดลประเทศฐาน
ให้วลั ลภชน ภเิ ผ้ามคธไกร
กราบทลู นฤบาล สนว่ากษตั ริย์ใน
วลหลา้ ตลอดกนั
แจ้งลกั ษณสา คณะแผกและแยกพรรค์
วัชชบี รุ ไกร ทเสมือนเสมอมา
ขณะไหนประหน่งึ ครา
บดั นี้สกิ ็แตก ก็ บ ได้สะดวกดี
ไป่เปน็ สหฉัน พยุห์ยาตรเสด็จกรี
ริยยุทธโดยไว ฯ
โอกาสเหมาะสมัย
น้ีหากผิจะหา

ขอเชญิ วรบาท
ธาทพั พลพี

ถอดความไดว้ า่ เมอื่ พจิ ารณาเห็นชอ่ งทางทจี่ ะได้ชยั ชนะอย่างง่ายดาย พราหมณ์ผู้รอบรู้พระเวทก็
ลอบส่งข่าว ให้คนสนิทเดินทางกลับไปยังบ้านเมือง กราบทูลกษัตริย์แห่งแคว้นมคธอันย่ิงใหญ่
ในสาสนแ์ จ้งว่ากษตั ริยว์ ชั ชีทกุ พระองค์ขณะน้ีเกดิ ความแตกแยก แบ่งพรรคแบ่งพวก ไม่สามัคคีกนั
เหมือนแต่เดิม จะหาโอกาสอันเหมาะสมเหมือนครั้งนี้คงจะไม่มีอีกแล้ว จึงขอทูลเชิญพระเจ้าอชาต
ศตั รใู หย้ กกองทัพมาทาสงครามโดยเรว็ เถดิ

- ๒๑-

ขา่ วเศกิ เอิกอึง ทราบถงึ บัดดล
ในหมผู่ ูค้ น ชาวเวสาลี
ชนบทบรู ี
แทบทกุ ถนิ่ หมด หวาดกลัวทวั่ ไป
อกสนั่ ขวญั หนี หมดเลือดสน่ั กาย
วุน่ หว่นั พรัน่ ใจ
ต่นื ตาหน้าเผือด ซ่อนตัวแตกภยั
หลบลีห้ นีตาย ทง้ิ ย่านบ้านตน

ซุกครอกซอกครวั
เขา้ ดงพงไพร

ถอดความได้ว่า ข่าวศึกแพร่ไปจนรู้ถึงชาวเมืองเวสาลี แทบทุกคนในเมืองต่างตกใจและ
หวาดกลัวกันไปท่ัว ชาวบ้านต่างพากันหน้าตาตื่น หน้าซีดไม่มีสีเลือด ตัวสั่น พากันหนีตาย
วุ่นวาย อพยพครอบครัวหนีภัย ทิง้ บ้านเรือนไปซ่อนตวั ในปา่

- ๒๒-

เหลอื จักหา้ มปราม ชาวคามล่าลาด
พนั หวั หน้าราษฎร์ ขุนดา่ นตาบล
คิดผนั ผอ่ นปรน
หารือแกก่ นั มาคธข้ามมา
จกั ไมใ่ หพ้ ล
ปา่ วร้องทนั ที
จ่ึงให้ตีกลอง รุกเบยี นบฑี า
แจ้งขา่ วไพรี วชั ชอี าณา
ปอ้ งกันฉนั ใด
เพ่ือหมภู่ มู ี ไปม่ สี ักองค์
ชมุ นมุ บญั ชา เพอ่ื จักเสดจ็ ไป
เรียกนดั ทาไม
ราชาลิจฉวี กล้าหาญเห็นดี
อันนกึ จานง

ตา่ งองค์ดารสั
ใครเป็นใหญ่ใคร

ถอดความได้ว่า ไม่สามารถห้ามปรามชาวบ้านได้ หัวหน้าราษฎรและนายด่านตาบลต่าง ๆ
ปรึกษากันคิดจะยับยั้งไม่ให้กองทัพมคธข้ามมาได้ จึงตีกลองแจ้ง ข่าววว่ามีข้าศึกเข้า
รุกราน เพ่ือให้เหล่ากษัตริย์แห่งวัชชีเสด็จมาประชุมหาหนทางป้องกันประการใด ไม่มีกษัตริย์
ลิจฉวีแม้แต่พระองค์เดียวคิดจะเสด็จไป แต่ละพระองค์ทรงดารัสว่าจะเรียกประชุมด้วยเหตุ
ใด ผู้ใดเปน็ ใหญ่ ผู้ใดกลา้ หาญ

- ๒๓-

เชญิ เทอญท่านต้อง ขดั ขอ้ งขอ้ ไหน
ปรกึ ษาปราศรยั ตามเร่ืองตามที
เปน็ ใหญย่ ังมี
ส่วนเราเล่าใช่ รกุ ปราศอาจหาญ
ใจอยา่ งผู้ภี ความแขงอานาจ
แก่งแย่งโดยมาน
ตา่ งทรงสาแดง วชั ชรี ฐั บาล
สามคั คีขาด แม้แต่สักองค์ ฯ

ภมู ิศลิจฉวี
บ่ ชุมนุมสมาน

ถอดความไดว้ ่า เหน็ ดปี ระการใดก็เชิญเถิด จะปรึกษาหารืออย่างไรก็ตามใจ ตัวของเราน้ันไม่ได้มี
อานาจยิ่งใหญ่ จิตใจก็ข้ีขลาด ไม่องอาจกล้าหาญ แต่ละพระองค์ต่างแสดงอาการ
เพิกเฉย ปราศจากความสามัคคีปรองดองกัน กษัตริย์ลิจฉวีแห่งวัชชีไม่เสด็จมาประชุมกันแม้แต่
พระองค์เดยี ว

- ๒๔-

ปิ่นเขตมคธขตั ติยรชั ธารง
ย้ังทพั ประทบั ตรง นคเรศวสิ าลี
พิเคราะห์เหตุ ณ ธานี
ภธู ร ธ สังเกต ขณะเศกิ ประชดิ แดน
แห่งราชวชั ชี และมินึกจะเกรงแกลน
รณทพั ระงับภัย
เฉยดู บ ร้สู ึก บ มิทาประการใด
ฤๅคดิ จะตอบแทน บุรว่างและรา้ งคน
สยคงกระทบกล
น่งิ เงยี บสงบงา ลกุ ระน้ถี นดั ตา
ปรากฏประหน่ึงใน คยิ พรรคพระราชา
รจะพอ้ งอนัตถ์ภยั
แน่โดยมพิ ักสง
ท่านวัสสการจน

ภินท์พัทธสามัค
ชาวลจิ ฉวีวา

ถอดความได้ว่า จอมกษัตริย์แห่งแคว้นมคธหยุดทัพตรงหน้าเมืองเวสาลี พระองค์ทรงสังเกต
เหตกุ ารณ์ทางเมืองวชั ชใี นขณะท่ีขา้ ศกึ มาประชดิ เมอื ง ดนู ่งิ เฉยไม่รู้สึกเกรงกลัว หรอื คิดจะทาส่ิงใด
โต้ตอบระงับเหตุร้าย กลับอยู่อย่างสงบไม่ทาสิ่งใด มองดูราวกับเป็นเมืองร้างปราศจากผู้คน
แน่นอนไม่ต้องสงสัยเลยว่าคงจะถูกกลอุบายของวัสสการพราหมณ์จนเป็นเช่นนี้ ความสามัคคี
ผกู พนั แหง่ กษตั ริย์ลจิ ฉวีถูกทาลายลงและจะประสบกบั ภยั พิบตั ิ

- ๒๕-

ลูกข่างประดาทา รกกาลขว้างไป
หมุนเล่นสนกุ ไฉน ดจุ กนั ฉะนัน้ หนอ
กลแหย่ยดุ ีพอ
ครูวัสสการแส่ จะมิร้าวมิรานกนั
ปัน่ ป่วน บ เหลือหลอ ธุระจบ ธ จง่ึ บัญ
พทแกลว้ ทหารหาญ
ครนั้ ทรงพระปรารภ ฬุคะเนกะเกณฑก์ าร
ชานายนกิ ายสรร จรเข้านครบร

เรง่ ทาอุฬุมป์เว
เพ่ือขา้ มนทธี าร

ถอดความได้ว่า เหมือนกับลูกข่างท่ีเด็กขว้างเล่นได้สนุกฉันใด วัสสการพราหมณ์ก็สามารถยุแหย่ให้
เหลา่ กษัตริย์ลิจฉวแี ตกความสามัคคไี ด้ตามใจชอบและคดิ ทีจ่ ะสนกุ ฉันน้ัน คร้ันทรงคิดได้ดังนั้นจึงมีพระ
ราชบัญชาแก่เหล่าทหารให้รีบสร้างแพไม้ไผ่เพ่ือข้ามแม่น้าจะเข้าเมืองของฝ่ายศัตรู พวกทหารรับราช
โองการแล้วกป็ ฏิบตั ิภารกิจที่ไดร้ ับ

- ๒๖-

เขารับพระบณั ฑูร อดศิ ูรบดีศร
ภาโรปกรณต์ อน ทวิ รุ่งสฤษฎ์พลนั
พยหุ าธิทพั ขนั ธ์
จอมนาถพระยาตรา พลขา้ ม ณ คงคา
โดยแพและพ่วงปนั พิศเนอื งขนัดคลา
ลบิ ุเรศสะดวกดาย ฯ
จนหมดพหลเนือ่ ง
ขน้ึ ฝ่ังลุเวสา

ถอดความได้ว่า ในตอนเชา้ งานนั้นก็เสร็จทนั ที จอมกษัตริย์เคลอ่ื นกองทพั ลงในแพ
ทีต่ ดิ กนั นากาลังข้ามแมน่ ้า จนหมดทงั้ กองทพั ข้ึนฝั่งท่ีเมอื งเวสาลไี ดอ้ ย่างง่ายดาย

- ๒๗-

นาครธา นวิ สิ าลี
เห็นรปิ มุ ี พลมากมาย
ข้ามติรชล ก็ลพุ ้นหมาย
มุ่งจะทลาย พระนครตน
มนอกเต้น
ตา่ งก็ตระหนก ตะละผคู้ น
ตนื่ บ มิเวน้ มจลาจล
ทวั่ บุรคา อลเวงไป
เสยี งอลวน

ถอดความได้ว่า ฝ่ายเมืองเวสาลีมองเห็นข้าศึกจานวนมากข้ามแม่น้ามาเพ่ือจะทาลายล้าง
บ้านเมอื งของตน ตา่ งก็ตระหนกตกใจกันถว้ นหนา้ ในเมอื งเกิดจลาจลว่นุ วายไปท่ัวเมือง

- ๒๘-

สรรพสกล มุขมนตรี
ตรอมมนภี รุกเภทภยั
บางคณะอา ทรปราศรยั
ยงั มิกระไร ขณะน้ีหนอ
พระทวารม่นั
ควรบรบิ าล อรกิ ่อนพอ
ตา้ นปะทะกนั ชสภารอ
ขัตตยิ รา วรโองการ
ดาริจะขอ

ถอดความได้ว่า ข้าราชการช้ันผู้ใหญ่ต่างหวาดกลัวภัย บางพวกก็พูดว่าขณะนี้ยังไม่
เป็นไรหรอก แต่ควรจะป้องกันประตูเมืองเอาไว้ให้ม่ันคง ต้านทานข้าศึกเอาไว้ก่อน
รอใหท้ ีป่ ระชมุ เหลา่ กษตั รยิ ์มีความเหน็ ว่าจะทรงทาอยา่ งไร

- ๒๙-

ทรงตริไฉน ก็จะได้ทา
โดยนยดา รัสภบู าล
เสวกผอง ก็เคาะกลองขาน
อาณตั ปิ าน ดจุ กลองพงั
ประลุโสตทา้ ว
ศัพทอุโฆษ ขณะทรงฟัง
ลิจฉวดี ้าว และละเลยดงั
ต่าง ธ ก็เฉย ธรุ ะกับใคร
ไท้มิอินงั ณ สภาคา
บรุ ทว่ั ไป
ตา่ งก็ บ คลา และทวารใด
แม้พระทวาร สิจะปิดมี ฯ
รอบทศิ ด้าน
เห็นนรไหน

ถอดความไดว้ า่ แล้วก็ได้ดาเนนิ การตามพระบญั ชาของพระองค์เหลา่ ข้าราชการท้งั หลายก็ตีกลอง
สัญญาณขึ้นราวกับกลองจะพัง เสียงดังกึกก้องไปถึงพระกรรณกษัตริย์ลิจฉวีต่างพระองค์ก็
ทรงเพิกเฉยราวกับไม่เอาใจใส่ในเรื่องราวของผู้ใด ไม่เสด็จไปท่ีประชุม แม้แต่ประตูเมืองรอบ
ทศิ ทกุ บานก็ไมม่ ผี ู้ใดปิด

- ๓๐-

จอมทัพมาคธราษฎร์ ธ ยาตรพยหุ กรี นคร
ธาสู่วิสาลี อะไร
มคธ
โดยทางอันพระทวารเปดิ นรนิกร และโดย
ฤๅรอตอ่ รอน ประยทุ ธ์
ณ เดิม
เบ้อื งนนั้ ทา่ นคุรวุ ัสสการทชิ กไ็ ป
นาทพั ชเนนทร์ไท

เข้าปราบลิจฉวขิ ตั ติย์รฐั ชนบท
สู่เงือ้ มพระหัตถห์ มด

ไป่พักต้องจะกะเกณฑ์นกิ ายพหลโรย
แรงเปลืองระดมโปรย

ราบคาบเสร็จ ธ เสด็จลุราชคฤหอตุ
คมเขตบุเรศดจุ

ถอดความได้ว่า จอมทัพแห่งแคว้นมคธกรีธาทัพเข้าเมืองเวสาลีทางประตูเมืองที่เปิดอยู่โดยไม่มีผู้คน
หรือทหารต่อสู้ประการใด ขณะนั้นวัสสการพราหมณ์ผู้เป็นอาจารย์ก็ไปนาทัพของกษัตริย์แห่งแคว้น
มคธเข้ามาปราบกษัตริย์ลิจฉวี เมืองทั้งหมดก็ตกอยู่ในเง้ือมพระหัตถ์ โดยที่กองทัพไม่ต้องเปลืองแรง
ในการตอ่ สู้ ปราบราบคาบแลว้ เสดจ็ กลับยังเมืองราชคฤห์เหมือนเดิม

-- ๓๓-๑-

เร่ืองต้นยุกตกิ ็แต่จะตอ่ พจนเตมิ ประสงค์
ภาษิตลิขติ เสริม ตริดู

ปรงุ โสตเปน็ คตสิ ุนทราภรณจง
จบั ข้อประโยชน์ตรง

ถอดความได้ว่า เนื้อเร่ืองแต่เดิมจบลงเพียงน้ี แต่ประสงค์จะแต่งสุภาษิตเพิ่มเติมให้ได้รับ
ฟงั เพื่อเป็นคติอนั ทรงคุณค่านาไปคดิ ไตร่ตรอง

- ๓๒-

อันภบู ดีรา ชอชาตศตั รู
ได้ลิจฉวภี ู วประเทศสะดวกดี
วรราชวัชชี
แลสรรพบรรดา ฑอนตั ถ์พนิ าศหนา
ถงึ ซึ่งพิบัติบี คณะแตกและต่างมา
หสโทษพิโรธจอง
เหย้ี มน้ันเพราะผนั แผก ทนสิ้น บ ปรองดอง
ถือทิฐมิ านสา ตริมลักประจกั ษเ์ จือ
รสเล่ากง็ ่ายเหลอื
แยกพรรคสมรรคภิน คติโมหเปน็ มลู
ขาดญาณพิจารณต์ รอง ยนภาวอาดรู
ยศศกั ดิเสือ่ มนาม
เช่อื อรรถยบุ ลเอา
เหตุหาก ธ มากเมือ

จง่ึ ดาลประการหา
เสยี แดนไผทสญู

ถอดความได้ว่า พระเจ้าอชาตศตั รูได้แผ่นดินวัชชีอย่างง่ายดาย และกษัตริย์ลจิ ฉวีทัง้ หลายกถ็ ึง
ซึ่งความพินาศล่มจม เพราะความแตกแยกกันต่างก็มีความยึดมั่นในความคิดของตน ผูกโกรธ
ซึ่งกันและกัน ต่างแยกพรรค แตกสามัคคีกัน ไม่ปรองดองกัน ขาดปัญญาที่จะพิจารณา
ไตร่ตรอง เช่ือคาพูดของบรรดาพระโอรสอย่างง่ายดาย เหตุท่ีเป็นเช่นน้ันเพราะกษัตริย์แต่ละ
พระองค์ทรงมากไปด้วยความหลง จึงทาให้เกิดความสูญเสีย มีภาวะความเป็นอยู่อันทุกข์
ระทม เสียทัง้ แผ่นดิน เกียรติยศ และชอื่ เสียงที่เคยมอี ยู่

- ๓๓-

ควรชมนิยมจดั ครุ ุวัสสการพราหมณ์
เป็นเอกอุบายงาม กลงากระทามา
พิเคราะห์คดิ พิ นิจปรา
พุทธาทบิ ัณฑติ ธุสมัครภาพผล
รภสรรเสรญิ สา สุกภาวมาดล
บ นริ าศนิรนั ดร
ว่าอาจจะอวยผา คยพรรคสโมสร
ดีสู่ ณ หมูต่ น คณุ ไร้ไฉนดล

หมู่ใดผิสามคั
ไป่ปราศนิราศรอน

ถอดความได้ว่า ส่วนวัสสการพราหมณ์น้ันน่าชื่นชมอย่างย่ิงเพราะเป็นเลิศในการกระทากล
อุบายผู้รู้ทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้ใคร่ครวญพิจารณากล่าวสรรเสริญว่าชอบ
แล้วในเร่อื งผลแห่งความพร้อมเพรียงกัน ความสามัคคีทาให้พบกับความสุข ณ หมู่ของ
ตนไม่เสื่อมคลายตลอดไป หากหมู่ใดมีความสามัคคีร่วมชุมนุมกัน ไม่ห่างเหินกัน สิ่งท่ีไร้
ประโยชน์จะมาส่ไู ด้อย่างไร

- ๓๔-

พร้อมเพรยี งประเสรฐิ ครัน เพราะฉะน้นั แหละบคุ คล

ผู้หวงั เจรญิ ตน ธุระเกย่ี วกะหมเู่ ขา

พงึ หมายสมคั รเป็น มุขเป็นประธานเอา

ธรู ท่วั ณ ตัวเรา บ มเิ หน็ ณ ฝา่ ยเดยี ว

ควรยกประโยชน์ย่ืน นรอ่นื กแ็ ลเหลยี ว

ดบู ้างและกลมเกลยี ว มติ รภาพผดุงครอง

ยง้ั ทฐิ ิมานหยอ่ น ทมผอ่ นผจงจอง

อารมี มิ หี มอง มนเมอ่ื จะทาใด

ลาภผลสกลบรร ลุกป็ ันกแ็ บง่ ไป

ตามน้อยและมากใจ สุจรติ นยิ มธรรม์

พึงมรรยาทยึด สุประพฤติสงวนพรรค์

รอ้ื รษิ ยาอัน อปุ เฉทไมตรี

ถอดความได้ว่า เมื่อมีความพร้อมเพรียงกนั บุคคลใดหวังท่ีจะได้รับความเจรญิ แห่งตนและมีกิจ
ธรุ ะอันเป็นส่วนรวม ก็พึงต้ังใจเป็นหัวหน้าเอาเป็นธุระด้วยตัวของเราเองโดยมิเห็นประโยชน์ตน
แต่ฝ่ายเดียว ควรยกประโยชน์ให้บุคคลอ่ืนบ้าง นึกถึงผู้อื่นบ้าง ต้องกลมเกลียว มีความเป็น
มิตรกันไว้ ต้องลดทิฐิ รู้จักข่มใจ จะทาสิ่งใดก็เอ้ือเฟ้ือกันไม่มีความบาดหมางใจ ผลประโยชน์
ทั้งหลายท่ีเกิดขึ้นก็แบ่งปันกันไป มากบ้างน้อยบ้างอย่างเป็นธรรม ควรยึดมั่นในมารยาทและ
ความประพฤตทิ ดี่ ีงาม รักษาหม่คู ณะโดยไมม่ ีความริษยากันซ่ึงเป็นสิง่ ทีต่ ัดไมตรี

- ๓๕-

ด่ังนั้น ณ หมู่ใด ผิ บ ไรส้ มคั รมี
พร้อมเพรียงนิพัทธน์ ี รวิวาทระแวงกัน
สยคงประสบพลนั
หวงั เทอญมิต้องสง หติ ะกอบทวกิ าร
ซงึ่ สุขเกษมสนั ต์ มนอาจระรานหาญ
กเ็ พราะพร้อมเพราะเพรียงกัน
ใครเล่าจะสามารถ นรสงู ประเสรฐิ ครนั
หกั ล้าง บ แหลกลาญ เฉพาะมีชวี ีครอง
ผิวใครจะใครล่ อ
ป่วยกลา่ วอะไรฝูง พลหกั กเ็ ต็มทน
ฤๅสรรพสัตว์อนั สละลี้ ณ หมตู่ น
บ มิพรอ้ มมเิ พรยี งกัน
แมม้ ากผิก่ิงไม้
มดั กากระนน้ั ปอง

เหล่าไหนผไิ มตรี
กจิ ใดจะขวายขวน

ถอดความได้วา่ ดงั นั้นถ้าหมคู่ ณะใดไมข่ าดความสามัคคี มีความพร้อมเพรียงกันอยู่เสมอ
ไม่มีการววิ าท และระแวงกนั ก็หวังได้โดยไม่ต้องสงสัยว่า คงจะพบซึ่งความสุข ความสงบ
และประโยชน์มากมาย ใครเล่าจะมีใจกล้าคิดทาสงครามด้วย หวังจะทาลายล้างก็
ไม่ได้ ท้ังนี้เพราะความพร้อมเพรียงกันน่ันเอง กล่าวไปไยกับมนุษย์ผู้ประเสริฐหรือ
สรรพสัตว์ท่ีมีชีวิต แม้แต่ก่ิงไม้ที่มัดเป็นกา ถ้าใครจะหักก็ยากเต็มทน หากหมู่ใดไม่มี
ความสามคั คใี นหม่คู ณะของตน เมอื่ มีกจิ ใดท่ีจะตอ้ งทาและไมม่ คี วามพร้อมเพรียงกัน

- ๓๖-

อย่าปรารถนาหวัง สุขท้ังเจรญิ อัน
มวลมาอบุ ัติบรร ลไุ ฉน บ ได้มี
พภยันตรายกลี
ปวงทุกขพ์ บิ ตั ิสรร ติประสงคก์ ค็ งสม
แม้ปราศนยิ มปรี คณะเป็นสมาคม
ภนิพัทธราพึง
ควรชนประชมุ เชน่ ผวิ มีกค็ านงึ
สามคั คิปรารม จะประสบสุขาลัย ฯ

ไป่มีกใ็ ห้มี
เน่ืองเพ่ือภิยโยจงึ

ถอดความได้ว่า ก็อย่าได้หวังเลยความสุขความเจริญจะเกิดขึ้นได้อย่างไร ความทุกข์อันตราย
และความช่ัวร้ายทั้งปวง ถึงแม้จะไม่ต้องการก็จะต้องได้รับเป็นแน่แท้ ผู้ท่ีอยู่ร่วมกันควรคานึงถึง
ความสามัคคตี ลอด ถา้ ยังไม่มกี ็ควรจะมี ถา้ มอี ยแู่ ล้วกค็ วรจะรกั ษาไว้ จึงจะมีความสุขสบาย

- ๓๗-

เน้ือเร่อื ง
พระเจ้าอชาตศตั รแู ห่งแควน้ มคธ ทรงมีวัสสการพราหมณท์ ่ีมี
ความฉลาดและรอบรทู้ างดา้ นศิลปศาสตร์เป็นที่ปรึกษา และท่านมคี วามประสงค์
ท่ีจะขยายอาณาจกั รของทา่ นไปทเี่ เคว้นวัชชีของเหล่ากษัตรยิ ์ลิจฉวซี ่ึงปกครอง
ด้วยการเน้นสามัคคธี รรมเป็นหลกั วัสสการพราหมณ์จงึ เริม่ ออกอุบายในการ
ทาใหเ้ หล่ากษตั รยิ ์ลจิ ฉวีแตกคอกัน และท้ายทีส่ ดุ ความแตกความสามคั คนี ท้ี าให้
พระเจ้าอชาตศตั รูยกทพั มาตแี ควน้ วชั ชีได้สาเร็จ

รูปแบบ โครงเร่อื ง
ความสามัคคีเป็นคุณธรรมท่ีสาคัญ
แต่งด้วยคาประพันธ์ประเภทฉันท์ ๑๙ อ ย่ า ง ห น่ึ ง ใ น ก า ร ป ก ค ร อ ง
ป ร ะ เ ท ศ ช า ติ บ้ า น เ มื อ ง ก า ร ท่ี
ชนิดและกาพย์ ๑ ชนิด โดยในบทเรียน บ้านเมืองขาดความสามัคคีนั้นจะ
นาพามาซ่งึ ความหายนะและความวอด
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ฉั น ท์ ๑ ๐ ช นิ ด ไ ด้ แ ก่ วายในบา้ นเมือง
ภุชงคประยาต ฉันท์ ๑๒ ,มาณวก ฉันท์
๘ , อุเปนทรวิเชียร ฉันท์ ๑๑ ,สัทธรา
ฉันท์ ๒๑ ,สาลินี ฉันท์ ๑๑ ,อุปัฏฐิตา
ฉันท์ ๑๑ ,วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ ,อินทร
วิเชียร ฉันท์ ๑๑ ,จิตรปทา ฉันท์ ๘
และสทั ทลุ วกิ ฬิต ฉันท์ ๑๙

- ๓๘-

ละคร
วสั สการพราหมณ์ : เปน็ ผู้มสี ตปิ ัญญาดี รอบรู้ มีวาทศิลป์ ซ่ือสตั ยต์ ่อ
บา้ นเมืองของตนและภกั ดีตอ่ พระเจ้าอชาตศตั รู เกบ็ ความลับได้ดี
เหลา่ พระโอรสของกษัตรยิ ์ลจิ ฉวี : แมเ้ คยเปน็ มิตรกัน แต่กลบั ถกู ยยุ งให้
แตกกันไดง้ า่ ย
เหลา่ กษัตรยิ ล์ จิ ฉวี : เป็นกล่มุ คนที่มคี วามสามคั คตี ่อกนั มีความเคารพและ
ยึดม่ันในอปริหานยิ ธรรม ซึ่งเปน็ ธรรมที่ใชใ้ นการปกครองบา้ นเมอื ง เมือ่
ถกู ยยุ งให้แตกกันกลบั มีทฐิ มิ ากทีจ่ ะกลับมารวมกนั อีกคร้งั
พระเจา้ อชาตศตั รู : มีความคิดตริตรอง เลอื กผ้ทู ่ีเหมาะสมใหท้ างานทเ่ี หมาะ
กับความสามารถ

ฉาก : แคว้นวชั ชี กลวิธกี ารแต่ง
เปน็ นทิ านสุภาษิต มเี รื่องราวทนี่ า่ ตดิ ตาม
และให้ขอ้ คิดคติสอนใจ

- ๓๙-

การเลอื กใช้คาโดยคานึงถึงเสยี ง การเล่นสมั ผัสสระ สัมผัสพยัญชนะ
“ ใครเล่าจะสามารถ มนอาจระรานหาญ
หักล้าง บ แหลกลาญ กเ็ พราะพรอ้ มเพราะเพรียงกนั ”
สมั ผัสสระ : ราน - หาญ , เพราะ - เพราะ
สัมผัสพยญั ชนะ : ระ - ราน , ลา้ ง - ลาญ ,
เพราะ - พร้อม - เพรียง

การเลอื กใชค้ าให้ถูกต้องตามความหมายท๋ี การเลือกใชค้ าทเ่ี หมาะสมแก่เน้อื เรือ่ งและ
ตอ้ งการ ฐานะของบุคคล
“ ครัน้ ทรงพระปรารภ ธุระจบ ธ จ่ึงบญั
“ ขา่ วเศกิ เอิกองึ ทราบถึงบัดดล ชานายนกิ ายสรร พทแกลว้ ทหารหาญ ”
ในหมู่ผคู้ น ชาวสาเวสี ใช้คาท่ีเหมาะสมกับกบั ฐานะของกษตั รยิ ์

แทบทกุ ถน่ิ หมด ชนบทบรู ี
อกสัน่ ขวัญหนี หวาดกลวั ทว่ั ไป
ตื่นตาหน้าเผอื ด หมดเลอื ดสั่นกาย
หลบลี้หนตี าย วุ่นหวั่นพร่ันใจ
ซุกครอกซอกครัว ซ่อนตวั แตกภยั
เข้าดงพงไพร ทง้ิ ยา่ นบ้านตน ”
แสดงถึงความกลัวของขาวบ้านเม่ือทราบขา่ ว
ถึงการยกทัพมาของพระเจา้ อชาตศัตรู

- ๔๐-

การหลากคา เช่น ใช้คางา่ ย ทาให้ผอู้ ่านเข้าใจไดง้ ่าย เชน่
ขนุ คอคชคมุ กุมอัง กุสกรายท้ายยงั
ขุนควาญประจาดารี ตอนวสั สการพราหมณเ์ ข้าแคว้นวัชชี
ขุนคชข้ึนคชชนิ ชาญ คมุ พลคชสาร
ละตัวกาแหงแขง็ ขนั ผกู ไมตรจี ติ เชงิ ชดิ ชอบเชอื่ ง
คาวา่ คช ดารแี ละคชสาร ล้วนหมายถงึ ช้าง
กบั หมูช่ าวเมือง ฉนั ทอ์ ชั ฌาสัย

เลา่ เรือ่ งเคืองขนุ่ ว้าวนุ่ วายใจ

จาเปน็ มาใน ดา้ วตา่ งแดนตน

การเล่นเสียงหนักเบา เชน่

อันภบู ดรี า ได้ลิจฉวีภู

แลสรรพบรรดา ถึงซ่ึงพบิ ตั บิ ี

ชอชาตศัตรู วประเทศสะดวกดี

วรราชวัชชี ฑอนตั ถ์พนิ าศหนา

มกี ารเลน่ เสยี งหนักเบา เชน่ “อนั ” เป็นเสยี งหนกั

“รา” เป็นเสียงเบา

ใชค้ าที่กอ่ ให้เกิดความรสู้ ึก เชน่
ตอนพรรณนากองทพั ของพระเจ้าอชาตศตั รู

แรงหัตถ์กวัดแกวง่ ซึง่ สรรพ์ ศัสตราวุธอัน
วะวาบวะวาวขาวคม

- ๔๑-

สมั ผสั สระ เช่น สัมผสั พยญั ชนะ เชน่

ล่วงลุประมาณ กาลอนกุ รม ทิชงค์ชาติฉลาดยล คะเนกลคะนึงการ

หนึ่ง ณ นิยม ทา่ นทวชิ งค์ กษตั รยิ ล์ จิ วีวาร ระวังเหอื ดระแวงหาย

มกี ารเลน่ เสียงสระคาวา่ “ประมาณ - มกี ารเล่นเสียงพยญั ชนะคาว่า “คะเนกล - คะนงึ

กาล” การ”

กบั “อนุกรม -นิยม” กับ “ระวงั เหอื ด - ระแวงหาย”

การเพิ่มสัมผัส มีการเพม่ิ สัมผสั นอกเขา้ ไปเพอ่ื ใหไ้ พเราะย่งิ ขึ้น

นอกจากนีย้ ังเพ่ิมครุ ลหุเข้าไปในกาพย์สรุ างคนางค์ ๒๘ ทาใหเ้ กิด

ลีลาคกึ คกั เหมาะสมกับทอ้ งเรื่อง เช่น ตอนบรรยายการจดั กองทัพของ

พระเจา้ อชาตศัตรู

สะพรึบสะพรั่ง

ณหนา้ และหลัง ณซ้ายและขวา

ละหมู่ละหมวด ก็ตรวจกต็ รา

ประมวลกะมา สมิ ากประมาณ

- ๔๒-

พรรณนาโวหาร เช่น คุรวุ ัสสการพราหมณ์
ควรชมนยิ มจดั กลงากระทามา
เป็นเอกอบุ ายงาม พเิ คราะหค์ ิดพินิจปรา
พทุ ธาทบิ ัณฑิต ธุสมัครภาพผล
รภสรรเสริญสา รสเล่ากง็ า่ ยเหลือ
เชือ่ อรรถยบุ ลเอา คตโิ มหเปน็ มลู
เหตุหากธมากเมือ ยนภาวอาดูร
จ่งึ ดาลประการหา ยศศักดิเส่ือมนาม
เสยี แดนไผทสูญ

สาธกโวหาร เช่น นรอื่นกแ็ ลเหลียว
ควรยกประโยชน์ยน่ื มติ รภาพผดงุ ครอง
ดูบ้างและกลมเกลยี ว ทมผอ่ นผจงจอง
ย้ังทฐิ ิมานหยอ่ น มนเม่ือจะทาใด
อารมี ิมหี มอง ลุกป็ นั ก็แบง่ ไป
ลาภผลสกลบรร สจุ รติ นยิ มธรรม์
ตามน้อยและมากใจ สุประพฤตสิ งวนพรรค์
พงึ มรรยาทยดึ อุปเฉทไมตรี
รอื้ รษิ ยาอัน

- ๔๓-

อปุ ลักษณ์ เชน่ ตอนพระเจ้าอชาตศตั รทู รงเปรยี บเทียบการ
ตอนวัสสการพราหมณ์กลา่ วเปรยี บเทยี บ
ทหารของแควน้ วัชชกี บั ทหารของแควน้ มคธ แตกสามัคคขี องกษตั ริย์ลจิ ฉวี
หิง่ หอ้ ยสิแขง่ สุรยิ ะไหน จะมิน่าชวิ าลาญ
ลูกขา่ งประดาทา รกกาลขวา้ งไป

หมุนเล่นสนุกไฉน ดจุ กนั ฉะน้นั หนอ

เทศนาโวหาร เชน่

สอนให้ทุกหมู่ความสามคั คี

ควรชนประชมุ เชน่ คณะเปน็ สมาคม

สามคั คิปรารม ภนพิ ทั ธราพึง

ไป่มกี ใ็ หม้ ี ผิวมกี ็คานึง

เนือ่ งเพื่อภิยโยจงึ จะประสบสขุ าลัย

ตอนวัสสการพราหมณเ์ ปรยี บนา้ พระราชหฤทยั
กษตั รยิ ์ลจิ ฉวี
เมตตาทยาลศุ ุภกรรม อุปถัมภการุณย์
สรรเสรญิ เจริญพระคุณสนุ ทรพนู พิบูลงาม
เปรยี บปานมหรรณพนที ทะนุทปี่ ระทงั ความ
รอ้ นกายกระหายอุทกยาม นรหากประสบเหน็
เอบิ อม่ิ กระหยม่ิ หทยคราว ระอผุ า่ วก็ผอ่ นเยน็
ยงั อณุ หมผุ ญจนะและเปน็ สขุ ปีตดิ ีใจ

- ๔๔-

๑. เป็นวรรณคดที ่ีถกู แต่งขึ้นในยามทบี่ ้านเมืองน้นั เกิด
วกิ ฤตการณต์ ่าง ๆ เนอื้ เรื่องจงึ สอดคล้องกบั
สถานการณ์ในขณะนั้น โดยมงุ่ ชี้ถงึ ความสาคญั
ของการเปน็ หมคู่ ณะ

๒. ในบทชมเมืองราชคฤห์ในแควน้ มคธ ของพระเจา้ อชาตศตั รู
นกั วรรณคดหี ลายท่านใหค้ วามเหน็ วา่ ปราสาทราชมณเฑยี รเหลา่ น้นั
ก็คือพระท่ีน่งั จกั รีบรมมหาปราสาทกับพระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท
และเรือ่ งชีวิตความเป็นอยู่อยา่ งสุขสบายของชาวนครราชคฤห์
ก็เป็นความสะดวกสบายของพลเมืองในสมยั รัชกาลท่ี ๖

- ๔๕-

๓. ให้ความเข้าใจธรรมชาติของมนษุ ย์
๓.๑) ตอนวสั สการพราหมณถ์ ูกไล่ออกจากพระนคร

สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ มคี นรักกย็ อ่ มมีคนเกลียดเป็นธรรมดา
๓.๒) การคบคนต้องพจิ ารณาดใู หร้ อบคอบเสียกอ่ น

เพราะถา้ ไม่พจิ ารณาไตรต่ รองให้ดีแลว้ กจ็ ะเป็นดังเช่น
กษัตรยิ ล์ จิ ฉวีท่ีเสยี รแู้ ก่วัสสการพราหมณ์
๓.๓) บุคคลทจี่ ะทางานใหญ่ใหแ้ ก่ประเทศชาติ จะต้องมคี วามรักชาติ
บา้ นเมอื ง ยอมเสียสละเพอื่ ชาติ อดทน กลา้ หาญ ดงั เชน่
วัสสการพราหมณท์ ี่สามารถเกบ็ รักษาความลบั เอาไว้ได้
เป็นอยา่ งดี เขาใชเ้ วลาถงึ ๓ ปี ในการปฏบิ ัติงานท่ีย่ิงใหญ่
จนสาเร็จ

- ๔๖-

๔. ให้ความรใู้ นดา้ นต่าง ๆ
๔.๑) ความรูใ้ นดา้ นคติธรรม โดยวรรณคดเี รอ่ื งน้ี สอนใหเ้ หน็ โทษของ

การแตกความสามัคคี

๔.๒) ความร้ใู นเร่ืองหลกั ธรรม โดยสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงหลกั ธรรมประการหนึง่
คือ อปรหิ านยิ ธรรม ซง่ึ เปน็ หลักธรรมแหง่ ความเจริญของหมคู่ ณะ
โดยนามาใช้ใช้ควบคู่ไปกับทศพธิ ราชธรรม อนั เปน็ หลกั ธรรมที่ใช้
ในการปกครองบา้ นเมอื ง

๔.๓) ความรู้ในดา้ นอรรถพพิ ากษาคดแี ละการลงโทษในสมยั กอ่ น
การลงโทษเปน็ ของขนุ นางฝา่ ยนครบาล ซง่ึ มที ั้งการโบย การโกนผม
ประจาน และการเนรเทศออกจากพระนคร

๔.๔) ความร้เู ร่อื งการปกครองสมยั โบราณของอนิ เดยี มกี ารปกครอง
คลา้ ยกับระบอบประชาธปิ ไตย ท่ีเหน็ ได้ชดั คือการปกครองของแควน้ วัชชี
มกี ารประชุมกษัตริยซ์ ่งึ คล้ายกบั การประชุมสภา

- ๔๗-