ความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี ม.4 สรุป

13 บทที่ 1 | ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี เคมี เล่ม 1 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. ครูอธิบายว่าหากต้องการข้อมูลอื่น ๆ เกี่ยวกับสารเคมี สามารถสืบค้นข้อมูลได้จากเอกสาร ความปลอดภัย (safety data sheet, SDS) ของสารเคมีนั้น ๆ เช่น การสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เนต เกี่ยวกับ HCl ทำ�ได้โดยใช้คำ�สำ�คัญว่า “SDS HCl” หรือสืบค้นข้อมูลจากแหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้ เช่น http://www.chemtrack.org 7. ครูอาจให้นักเรียนทำ�กิจกรรมเสนอแนะ โดยนักเรียนแต่ละคนสืบค้นข้อมูลเอกสารความ ปลอดภัยของสารเคมี แล้วระบุข้อมูลเบื้องต้น เช่น การป้องกันตนเอง การปฐมพยาบาลเบื้องต้น 8. ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติในการทำ�ปฏิบัติการเคมี ทั้งก่อนทำ� ปฏิบัติการ และขณะทำ�ปฏิบัติการว่ามีอะไรบ้าง ซึ่งควรได้ข้อสรุปว่า ข้อควรปฏิบัติก่อนการทำ�ปฏิบัติ การเคมี เช่น ศึกษาขั้นตอนการทำ�ปฏิบัติการ ศึกษาข้อมูลสารเคมี ข้อควรปฏิบัติขณะทำ�ปฏิบัติ การเคมี เช่น แต่งกายให้เหมาะสม โดยสวมแว่นตานิรภัย ใส่เสื้อคลุมปฏิบัติการ สวมถุงมือ จากนั้นครู อธิบายเพิ่มเติมตามรายละเอียดในหนังสือเรียน 9. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางในการกำ�จัดสารเคมีที่ใช้แล้วหรือที่เหลือใช้จากการทำ� ปฏิบัติการเคมี ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน 10. ครูตั้งคำ�ถามว่า สารประกอบของโลหะเป็นพิษ เช่น ตะกั่ว แคดเมียม ที่ใช้แล้วหรือที่เหลือ ใช้จากการทำ�ปฏิบัติการเคมี เมื่อรวบรวมไว้แล้วเทลงอ่างน้ำ�ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ซึ่งควรได้คำ�ตอบ ว่า ไม่ได้ เพราะจะทำ�ให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษจึงควรส่งให้บริษัทรับกำ�จัดสารเคมี จากนั้นครูเชื่อมโยง ว่านอกจากการกำ�จัดสารเคมีที่ถูกวิธีแล้ว ยังมีวิธีการอื่นที่สามารถนำ�มาใช้เพื่อให้เกิดความเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น เช่น ออกแบบการทดลองที่ไม่ก่อให้เกิดของเสียที่เป็นอันตราย เลือกใช้ สารเคมีและปฏิกิริยาเคมีที่ปลอดภัยและมีความคุ้มค่าในการใช้พลังงาน ใช้อุปกรณ์ทดแทนสำ�หรับทำ� ปฏิบัติการแบบย่อส่วน เพื่อเป็นการลดการใช้สารเคมีและพลังงาน อีกทั้งยังสามารถลดปริมาณของ เสียที่เกิดขึ้นได้อีกด้วย 11. ครูให้นักเรียนสะท้อนความรู้ความเข้าใจและแสดงถึงความตระหนักเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการทำ�ปฏิบัติการเคมี และความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปความรู้ และ นำ�เสนอในรูปแบบที่สามารถสร้างความเข้าใจให้กับผู้อื่นได้ดี เช่น แผนผัง แผ่นพับ วีดิทัศน์ 12. ครูให้นักเรียนทำ�แบบฝึกหัด 1.1 เพื่อทบทวนความรู้ 13. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยยกตัวอย่างข่าว สถานการณ์หรือปัญหาซึ่งอาจเป็น ข้อความ ภาพ หรือวีดิทัศน์ที่แสดงถึงความเสียหายที่เกิดจากอุบัติเหตุจากสารเคมี เช่น ภาพข่าวคน ถูกน้ำ�กรดสาด คนบาดเจ็บและเสียชีวิตจากกรณีแก๊สแอมโมเนียรั่วจากห้องทำ�ความเย็น เพื่อนำ�เข้าสู่ การอภิปรายถึงอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีในห้องปฏิบัติการ

Made with FlippingBook

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4

ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี

                    วัตถุดิบที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและอุตสาหกรรม คือ สารเคมี และสารเคมีบางประเภทคือสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตราย
          แก่ผู้ปฏิบัติงานหรือสิ่งที่เรียกว่า สารเคมีอันตราย การทำงานกับสารเคมีอันตราย สารเคมีรั่วไหล ซึ่งอาจทำให้ลูกจ้างได้รับสารเคมี
          อันตราย เช่น การผลิตการควบการหกรั่วไหลสารเคมี การติดฉลาก การห่อหุ้ม การเคลื่อนย้าย การเก็บรักษา การถ่ายเท การขนถ่าย
          การขนส่ง การกำจัด การทำลายการเก็บสารเคมีอันตรายที่ไม่ใช้แล้ว รวมทั้ง การป้อง การบำรุงรักษา การซ่อมแซม
          และการทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนภาชนะบรรจุ
สารเคมีอันตราย การกำหนดตามมาตรฐานในการบริหารจัดการสารเคมี
          และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อเหตุการณ์
          ฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล และมีความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน สิ่งแวดล้อม

ความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี ม.4 สรุป


สารเคมี คืออะไร

                    สารพิษ (Poisons) คือ สารเคมีที่มีสภาพเป็นของแข็ง ของเหลวหรือก๊าซซึ่งสามารถเข้าสู่ร่างกาย
          ระหว่างการปฏิบัติงานโดยเฉพาะการสัมผัสทางผิวหนังและการหายใจ

ความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี ม.4 สรุป

อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

                    1.หมวกนิรภัย ใช้ป้องกันศีรษะจากการกระแทก

                    2.ถุงมือ ใช้ป้องกันสารเคมีสิ่งปนเปื้อนและการติดเชื้อ

                    3.รองเท้าบูท ใช้ป้องกันการกัดกร่อนของสารเคมีและการซึมผ่านของน้ำ

                    4.แว่นครอบตา/หน้ากาก แว่นควรมีวาล์วระบายความร้อนใช้สำหรับหน้างานที่มีไอสารเคมี

                    5.ชุดกันสารเคมี ใช้ป้องกันการกระเด็นของสารเคมีและละอองน้ำสกปรก

ความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี ม.4 สรุป

อันตรายของสารเคมี

                    ชนิดกัดกร่อน (Corrosive)

          ทำให้เนื้อเยื่อของร่างกายไหม้พอง ได้แก่ สารละลายพวกกรดและด่างเข้มข้น น้ำยาฟอกขาว

                    ชนิดทำให้ระคายเคือง (Irritants)
          ทำให้เกิดอาการปวดแสบ และอักเสบในระยะต่อมา เช่น ฟอสฟอรัส สารหนู อาหารเป็นพิษ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
 

                    ชนิดที่มีผลกระทบต่อระบบประสาท

          ส่งผลต่อการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาท ทำให้หมดสติ หรือเกิดอาการเพ้อคลั่ง ชีพจรเต้นเร็ว เช่นใบยาสูบ ทินเนอร์

ความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี ม.4 สรุป

 หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้นผู้ได้รับสารเคมี

                    ผู้ที่ได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ผิวหนัง

          ให้ล้างผิวหนังบริเวณที่ถูกสารเคมี โดยใช้น้ำสะอาดล้างให้มากที่สุด เพื่อให้เจือจางถ้าสารเคมีเป็นกรดให้รีบถอดเสื้อผ้าออกก่อน

                    ผู้ที่ได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ตา 

          ให้ล้างตาด้วยน้ำสะอาดทันที โดยเปิดเปลือกตาขึ้นให้น้ำไหลผ่านตาอย่างน้อย 15 นาที ป้ายขี้ผึ้งป้ายตา แล้วรีบนำส่งแพทย์โดยเร็ว

                    ผู้ที่ได้รับอันตรายจากสารเคมีในการสูดดม 

          ให้ย้ายผู้ที่ได้รับสารนั้นไปที่มีอากาศบริสุทธิ์ ประเมินการหายใจและการเต้นของหัวใจ ถ้าไม่มีให้ช่วยทำการปฐมพยาบาล

          เบื้องต้นด้วยการ CPR

ความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี ม.4 สรุป

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย

และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ.2556

ความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี ม.4 สรุป

ความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมี ม.4 สรุป