ข้อใดคือจุดประสงค์ของการปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5

ผู้บรรยายพยายามแยก “พระมหากษัตริย์” ออกจาก “พฤติกรรมของรัฐ” เพื่อโจมตีในหลวงรัชกาลที่ 5 โดยตรง ทั้ง ๆ ที่ธรรมชาติของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทั้ง 2 สิ่งนี้แทบจะแยกออกจากกันไม่ได้ จำต้องอธิบายควบคู่กันไปเสมอ เพราะพระมหากษัตริย์ทรงเป็นรัฐมนตรีของประเทศและประมุขแห่งรัฐในตัว

อย่างไรก็ดี หัวข้อการบรรยายครั้งนี้ มีลักษณะค่อนข้างกระจัดกระจาย กล่าวคือ ผู้บรรยายได้นำหลาย ๆ ประเด็นมาแยกส่วน แล้วค่อยแสดงความเห็นครอบลงไปว่า ประเด็นเหล่านี้ ไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับการ “รักษาเอกราช” ของสยามเลย

ความหมายของคำว่า “เอกราช” ที่ผู้บรรยายนำเสนอนั้น เป็นความหมายเก่าในหลักวิชาการ ดังเช่น เอกราชในความหมายที่พระมหากษัตริย์สามารถทำอะไรตามพระราชหฤทัย โดยที่ไม่ต้องเกรงกลัวอำนาจของกษัตริย์องค์อื่นใกล้เคียง

แต่ในความเป็นจริง เมื่อล่วงเข้าช่วงรัชกาลที่ 5 ความเป็น “เอกราช” กับ “อิสรภาพ” มีความแนบแน่นยิ่งขึ้น เพราะเป็นการแสดงออกถึง “ความเป็นชาติเอกราชที่ไม่ได้ตกเป็นอาณานิคมตะวันตก” ซึ่งปรากฏอยู่แค่ไม่กี่ชาติในเอเชียเท่านั้น พร้อม ๆ กับการมีพระมหากษัตริย์เป็นอิสระ ไม่ต้องถูกปกครองโดยชาติตะวันตก

อีกทั้งการตีความของผู้บรรยายที่ว่า เอกราชของสยาม คือการที่พระมหากษัตริย์ มีความสูงส่งเทียบเท่าเจ้าในยุโรปและสูงส่ง “กว่า” เจ้าท้องถิ่น ย่อมเป็นเรื่องที่ย้อนแย้งมาก เพราะในหลวงรัชกาลที่ 5 ทรงไม่มีความจำเป็นต้องสถาปนาอำนาจ และความสูงส่ง เหนือเจ้าประเทศราชหรือหัวเมืองเลย เนื่องจาก “ทรงมีสถานะนี้มาตั้งแต่แรกอยู่แล้ว” อีกทั้งพระมหากษัตริย์สยามพระองค์ก่อน ตั้งแต่รัชกาลที่ 4 ขึ้นไป ก็มีสถานะเหนือกว่าเจ้าท้องถิ่น ซึ่งเห็นได้จากพิธีการดื่มน้ำพิพัฒน์สัตยา หรือการส่งบรรณาการอยู่แล้ว

ยิ่งกว่านั้น ความรู้สึกว่าสยามเป็นชาติเอกราช (ตามแนวคิดรัฐชาติสมัยใหม่) ก็ไม่ได้ปรากฏอยู่แค่ในหมู่ชนชั้นนำสยามเท่านั้น แม้แต่ชาวต่างประเทศ เช่น ดร.ฟรานซิส บี แซร์ (พระยากัลยาณไมตรี) ก็เกิดความรู้สึกว่า การที่สยามต้องเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตเนื่องจากสนธิสัญญาไม่เสมอภาค ที่กระทำมาตั้งแต่รัชกาลที่ 4 นั้น เป็นการกระทบถึง “เอกราช” และ “อิสรภาพ” ของสยาม

ดังนั้น “ความเป็นเอกราชของสยาม” จึงเป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นจริง ทั้งในหมู่ชาวสยามและชาวต่างประเทศ

ในส่วนของการเลิกทาส สยามค่อย ๆ กระทำอย่างเป็นระบบและไม่มีปฏิกิริยาต่อต้านใด ๆ จากทุกฝ่าย ซึ่งหมายความว่า ชนชั้นนำสยามเองก็เอือมกับระบอบทาสและไพร่เช่นเดียวกัน ดังเช่นพระราชปรารภของในหลวงรัชกาลที่ 5 ที่ทรงไม่ต้องการให้ “ความเป็นทาส” ตกทอดไปถึงลูกหลาน แสดงให้เห็นชัดเจนว่าพระองค์ทรงรับรู้ถึงความโหดร้ายของระบอบนี้ และทรงมีความรู้สึกแห่งความเห็นใจเพื่อนมนุษย์อยู่ในพระราชหฤทัย

ภาพรวมของ Common School ครั้งนี้ ผู้บรรยายพยายามแยกส่วนประเด็นการปฏิรูปต่าง ๆ ออกมาอภิปราย เพื่อด้อยค่าในแต่ละด้าน แล้วสรุปรวบยอดว่ารัชกาลที่ 5 ทรงกระทำไปเพื่อพระองค์เอง ทั้ง ๆ ที่งานวิชาการส่วนมาก ต่างอธิบายไปในทิศทางเดียวกันว่า การปฏิรูปของสยามในแต่ละด้านนั้น ดำเนินไปเพื่อ “พัฒนาประเทศให้ทันสมัย” แต่ผู้บรรยายกลับนำกระบวนการปฏิรูปเหล่านั้น วกกลับไปอธิบายถึง “การถูกคุกคามจากเจ้าอาณานิคม”

และการจับแต่ละประเด็นมาซอยย่อยเพื่อมุ่งโจมตี ถือเป็นการบิดเบือนที่ทำให้เกิดความเข้าใจผิดได้ง่าย ซึ่งนักวิชาการส่วนใหญ่ จะมองปัจจัยที่ทำให้สยามไม่เสียเอกราชในลักษณะ “องค์รวม” มากกว่าที่จะแยกเป็นประเด็นแบบนี้

ซึ่งอันที่จริง เราไม่สามารถแยกประเด็นต่าง ๆ ออกจากกันได้ เช่น การปฏิรูปการศึกษากับการปฏิรูประบบราชการ เพราะคนที่เข้าสู่ระบบการศึกษาใหม่นี้ ก็จะกลายเป็นกำลังสำคัญในระบบราชการในเวลาต่อมา ส่วนการปฏิรูปภาษียิ่งสำคัญ เพราะถ้าไม่มีเงิน รัฐบาลก็บริหารราชการไม่ได้ และการที่ภาษีถูกบริหารจัดการโดยรัฐบาลกลาง ย่อมเกิดประโยชน์กว่าการที่ต้องถูกบริหารโดยขุนนางท้องถิ่น ที่แทบไม่มีความรู้เรื่องการคลังสาธารณะเลย

ดังนั้นการพยายาม “แช่แข็ง” กระบวนการใด ๆ แล้วนำมาด้อยค่าอย่างเสียดสี โดยปิดกั้นไม่ให้ผู้ฟังเห็นภาพหรือผลที่ตามมาหลังจากนั้น ย่อมไม่ใช่วิสัยของงานวิชาการแต่อย่างใดหากแต่เป็นสภาวะที่เต็มไปด้วย “อคติ” และ “ความสับสน” ของผู้บรรยายเองเท่านั้น

��û���ٻ��û���ͧ��Ѫ���¾�кҷ���稾�Ш�Ũ���������������� (�Ѫ��ŷ�� 5) ��.�.2435

�����������˵ؠ�

  • �����������ͧ�к��ѡ�Թ� �к���Ź�� ������ѵ�����������ö�Ǻ������ѧ�������ҧ���ԧ�����繢ع�ҧ������ӹҨ㹡�äǺ������ѧ��
  • ������ӫ�͹��Ф�����������Ӣͧ��ú����ý��·�����н��¾����͹ ������ա�á��ǡ���㹡�û�Ժѵ��Ҫ���
  • ��¤ء����ҡ�ѷ�Ԩѡ���ôԹ��� ������Ѫ��ŷ�� 4 �µ�ͧ����Ѻ�ͧ�Է�Ԣͧ�����˹�ʹԹᴹ�ͧ�����ǹ�͡��н����������ͧ�Ѻ����Է�Ԣͧ���˹����� �����Ѫ��ŷ�� 5 �µ�ͧ�٭���´Թᴹ����������ʶ֧ 4 ���� ���� �.�.2431 �٭��������Ժ�ͧ���� �ԡĵԡ�ó� �.�.112 ���´Թᴹ��觫��������⢧ �.�.2446 ���½�觢�������⢧ �.�.2449 ���������ǹ� �.�.2451 ���´Թᴹ������ͧ�����������ѧ���

����������û���ٻ��û���ͧ����Ӥѭ

����������û���ٻ��û���ͧ��ǹ��ҧ

  1. �Ѵ�ٻẺ�������Ҫ������к���з�ǧ�ӹǹ 12 ��з�ǧ �ʹҺ�ա�з�ǧ��ǹ�˭������;��ǧ�� �����ع�ҧ�١Ŵ���ҷ����������ӹҨ
  2. �����ҷ���֡���Ҫ����蹴Թ���ͷ�˹�ҷ���繷���֡���Ҫ����蹴Թ�����ҷ���֡����ǹ���ͧ�� ���ͷç�ͺ�����çҹ��л�֡������ͧ��Ǻҧ��С�÷��ç�վ���Ҫ���� ��Ҫԡ��ǹ�˭��繡��������˹��� ����繤�������������Ѻ����֡��Ẻ���ѹ�� ��Сͺ���¾�к��ǧ�ҹ�ǧ����Тع�ҧ
  3. ��駵��˹������خ�Ҫ����������ѧ�ԡĵԡ�ó��ѧ˹�����͡�˹������Т�鹤�ͧ�Ҫ��

���������� : �ع�ҧ�١Ŵ�ӹҨ �Ѫ��ŷ�� 5 �ç�Ǻ�����ú����û����

����������û���ٻ��û���ͧ��ǹ�����Ҥ

  1. �Ѵ����к���������Ժ���������ҧ�������͡�Ҿ�ҧ��û���ͧ��С�ô���������ͧ���ҧ���Դ ¡���͡���ͧ�͡ � ��� ������ͧ���� ������ͧ������Ҫ�������¹����
  2. �¡��ԡ�к��Թ���ͧ �����բ����ǧ����Ժ���Ҵ������繨�᷹�Ѱ��Ũҡ��ǹ��ҧ
  3. ����Է������ɮ�㹡�����͡��黡��ͧ���ͧ�繤����á �.�.2435 �ô�����ա�÷��ͧ���͡��駡ӹѹ����˭��ҹ ����.�ҧ���Թ �.��й�������ظ�� ������ҡ�ҹ�ͧ��ú����á�û���ͧ��ǹ�����ҤẺ����

���������� : ����öʡѴ�����¨ҡ�ѷ�Ԩѡ���ôԹ��� �����Ѻ��õ�͵�ҹ�ҡ������ͧ ���� ����պح�ҧ�Ҥ���ҹ �������ǽ���ͧ���ҧ�Ҥ�˹�� �������紵���Ҥ��

����������û���ٻ��û���ͧ��ǹ��ͧ���

��������1. �Դ�͡�������ɮ�����ǹ㹡�ú����÷�ͧ��蹢ͧ���ͧ�¡�èѴ����آ��Ժ�� �����ɮ�����ǹ����㹡���ѡ�Ҥ������Ҵ����ѡ���Ҹ�ó����ѵ� ���˹�ҧ ������������͹��Թ�Һ��ا��ͧ��蹢ͧ�� �.�.2440 �Ѵ����آ��Ժ�š�ا෾� �.�.2448 �Ѵ����آ��Ժ��������ͧ���Ӻŷ�ҩ��� �.��طû�ҡ���繤����á

���������� : �繡�ý֡�������ɮ������͡�����¹����û���ͧ��дѺ��ͧ�����к����çҹ���ͻ���ª��ͧ��������ҧ�ջ���Է���Ҿ�

Ref : http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6-5/no36-43/history/sec02p03.html 10/06/2008

การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 ในระยะแรกมีจุดประสงค์อะไร

การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 มีสาเหตุสำคัญ ดังนี้ 1) เกิดจากภยันตรายที่มาจากการคุกคามของประเทศมหาอำนาจตะวันตก ถ้าคนไทยไม่มีการปรับปรุงตนเองให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับอารยประเทศ อาจเป็นข้ออ้างที่ทำให้ชาติตะวันตกเข้ามาปกครองประเทศไทยได้ 2) การปกครองในระบบเก่า อำนาจการปกครองบ้านเมืองตกอยู่กับขุนนาง ถ้ามีการปฏิรูป ...

ข้อใดคือจุดประสงค์สำคัญในการปฏิรูปประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5

การปฏิรูปบ้านเมืองสมัย ร.๕ ด้านเศรษฐกิจ มีการปรับตัวให้ทันสมัยตามแบบตะวันตก เพื่อให้หลุดพ้นจากการคุกคามจากประเทศตะวันตกด้วยเหตุผลว่าเป็นประเทศที่มีความล้าหลัง ดังนั้นในการปฏิรูปบ้านเมืองให้มีความทันสมัยนี้จึงมีความจำเป็นที่จะต้องให้เงินทุนอย่างมาก

ข้อใดจัดเป็นการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินส่วนภูมิภาคในสมัยรัชกาลที่ 5

การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาค จัดตั้งระบบมณฑลเทศาภิบาลเพื่อสร้างความเป็นเอกภาพทางการปกครองและการดูแลหัวเมืองอย่างใกล้ชิด ยกเลือกเมืองเอก โท ตรี หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองประเทศราชและเปลี่ยนมณฑล ยกเลิกระบบกินเมือง เพราะมีข้าหลวงเทศาภิบาลมาดูเป็นหูเป็นจาแทนรัฐบาลจากส่วนกลาง

แนวพระราชดำริของการปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 คือข้อใด

ข้อใดคือแนวพระราชดำริการปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 การให้เสนาบดีมีอำนาจตัดสินปัญหาแทนพระองค์ การกระจายอำนาจออกสู่ภูมิภาค การให้อำนาจแก่เจ้าเมืองต่าง ๆ ให้มากขึ้น การรวมอำนาจการปกครองเข้าสู่ส่วนกลาง

การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 ในระยะแรกมีจุดประสงค์อะไร ข้อใดคือจุดประสงค์สำคัญในการปฏิรูปประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5 ข้อใดจัดเป็นการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินส่วนภูมิภาคในสมัยรัชกาลที่ 5 แนวพระราชดำริของการปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 คือข้อใด การจัดระเบียบการปกครองส่วนภูมิภาคในลักษณะการรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางสมัยรัชกาลที่ 5 เรียกว่าอะไร บุคคลที่มีส่วนร่วมสำคัญในการปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5 คือใคร ข้อใดไม่ใช่สาเหตุการปฏิรูปการปกครองของรัชกาลที่ 5 การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่นสมัย ร.5 สอดคล้องกับหลักการบริหารราชการแผ่นดินในข้อใด การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาคที่เด่นชัดที่สุดในสมัยรัชกาลที่ 5 คือข้อใด จุดมุ่งหมายเริ่มแรกของการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 คือข้อใด การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 สรุป เหตุใดการปฏิรูปการปกครองในสมัย ร.5 ยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร