เป็นประจำเดือน2ครั้งต่อเดือนปกติไหม

แพทย์หญิงพัทธนันท์ มัตตะธนาพันธ์
สูตินรีแพทย์  ผู้เชี่ยวชาญสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา

เป็นประจำเดือน2ครั้งต่อเดือนปกติไหม
เป็นประจำเดือน2ครั้งต่อเดือนปกติไหม


Q: ประจำเดือนมา  2 ครั้งต่อเดือน/ เดือนเว้นเดือนปกติหรือไม่?
A : รอบของประจำเดือนคือ 28 ±7วัน หากมาเร็วกว่า 21 วัน หรือช้าเกิน 35 วัน ถือว่า ผิดปกติค่ะ

Q: ประจำเดือนไม่มาหลายเดือนอันตรายหรือไม่?
A: การที่ประจำเดือนไม่มาหลายเดือน มาจากหลายสาเหตุ ซึ่งบางสาเหตุทำให้มีเยื่อบุโพรงมดลูกที่หนาตัวมากๆ และเกิดการเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ผิดปกติ กลายเป็นมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูกได้ ดังนั้น หากมีความผิดปกติ ควรพบแพทย์ค่ะ

Q: สีของประจำเดือนบอกอะไรได้บ้าง
A: สีของประจำเดือนไม่สามารถบอกความผิดปกติของ โรคใดๆ ได้ค่ะ

Q: ทำไมถึงปวดท้องตอนมีประจำเดือน
A: อาการปวดท้องประจำเดือนสามารถเป็นได้จากการที่มีการบีบรัดตัวของมดลูกในระหว่างการมีประจำเดือนทั่วๆ ไป หรือ อาจเกิดจากโรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ ดังนั้น หากมีอาการปวดประจำเดือนที่มากขึ้นในทุกๆ เดือน ทานยาแก้ปวด ไม่ดีขึ้น หรือต้องทานยาปริมาณที่มากขึ้น ควรพบแพทย์ เพื่อการตรวจรักษาที่ถูกต้องค่ะ



PMS คืออะไร รู้ทันเรื่องฮอร์โมน อาการก่อนมีประจำเดือน

ปวดประจำเดือนผิดปกติ สัญญาณเตือนของมดลูก

ถุงน้ำในรังไข่ หรือ ซีสต์ที่รังไข่ อันตรายหรือไม่ ?!

เช็กอาการ “ตกขาว” แบบนี้ผิดปกติไหม?!

เทคนิคการผ่าตัดทางนรีเวช – ทางเลือกที่ผู้หญิงควรรู้

การผ่าตัดส่องกล้องโพรงมดลูก

มะเร็งปากมดลูก | Cervical Cancer

ตกขาวเยอะผิดปกติ อันตรายไหม?

ท้องนอกมดลูก หนึ่งในสาเหตุที่คุณแม่ต้องยุติการตั้งครรภ์

  • Home
  • Blog
  • ความรู้ทั่วไป
  • ประจำเดือนแบบไหนไม่ปกติ

ประจำเดือนแบบไหนไม่ปกติ

ความรู้ทั่วไป, ความรู้สำหรับสุภาพสตรี   ลงวันที่ 22 April 2565

เป็นประจำเดือน2ครั้งต่อเดือนปกติไหม

“ประจำเดือนแบบไหนไม่ปกติ”

โดย พญ.เมธาวี อุฬารวงศ์ (สูตินรีแพทย์)

            ในผู้หญิงทุกคน เมื่อเข้าสู่ช่วงวัยรุ่นก็จะมีสิ่งที่เรียกว่าประจำเดือนออกมาตามรอบเดือน ประจำเดือนนั้นไม่ใช่ของเสียอย่างที่หลาย ๆ ท่านเข้าใจ แต่คือสิ่งที่เกิดจากการหลุดลอกตัวของผนังเยื่อบุโพรงมดลูกที่เตรียมไว้สำหรับรับการฝังตัวของตัวอ่อน เมื่อไม่ได้มีการฝังตัว ผนังจึงผลัดออกมาตามการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในแต่ละเดือน ดังนั้นประจำเดือนจึงควรออกเป็นรอบ ๆ อย่างสม่ำเสมอ ในปริมาณที่เหมาะสม

ประจำเดือน ควรมีลักษณะอย่างไร?

  • ประจำเดือนมักมีสีแดง ไม่มีลิ่มเลือดหรือชิ้นเนื้อปน บางครั้งประจำเดือนอาจออกมาพร้อมกับตกขาวจึงดูเป็นก้อนได้แต่ไม่อันตราย
  • ประจำเดือนมักไม่เกิน 7 วันต่อรอบ และมาเพียง 1 รอบต่อเดือน แต่ในบางครั้ง หากมีรอบเดือนในช่วงต้นเดือน อาจมีรอบเดือนอีกครั้งในช่วงวันท้ายๆของเดือนได้
  • โดยเฉลี่ยแล้ว แต่ละรอบประจำเดือนจะห่างกัน 28 วัน แต่สามารถเป็นได้ตั้งแต่ 21 ถึง 35 วัน โดยในแต่ละคนควรมีรอบเดือนที่สม่ำเสมอในทุกๆเดือน อย่างไรก็ตามในช่วงปีแรกๆที่เริ่มมีประจำเดือนหรือในวัยใกล้หมดประจำเดือนอาจไม่สม่ำเสมอได้
  • ปริมาณประจำเดือน ที่ปกตินั้นไม่ควรเกิน 80 ซีซี โดยค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 35 ซีซีต่อรอบ เทียบได้กับผ้าอนามัยประมาณ 3-4 ผืนต่อวัน

เลือดออกผิดปกติแบบไหนที่ควรมาพบแพทย์

  • เลือดออกตามรอบเดือน แต่มาปริมาณมากผิดปกติ เปลี่ยนผ้าอนามัยถี่ขึ้น ใช้ผ้าอนามัยผืนใหญ่ขึ้นหรือต้องใช้ผ้าอ้อมอนามัย มีลิ่มเลือดปน เริ่มมีอาการเวียนศีรษะ หน้ามืด เป็นลม รวมถึงตรวจพบว่ามีภาวะเลือดจาง
  • เลือดออกยาวนานขึ้น เช่น จากปกติมีรอบเดือนไม่เกิน 7 วัน แต่มียาวนานขึ้นเป็น 10 วัน
  • มีเลือดออกกะปริบกะปรอยนอกรอบเดือน หรือมีประจำเดือนมากกว่า 1 รอบต่อเดือน
  • เลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์
  • เลือดออกหลังหมดประจำเดือน หลังหมดประจำเดือนแล้ว ฮอร์โมนเพศหญิงจะค่อยๆลดลงจนหมดไป จึงไม่ควรกลับมามีประจำเดือนอีก หากมีเลือดออกจากช่องคลอดควรมาพบแพทย์เพื่อประเมินทุกครั้ง
  • ประจำเดือนไม่มาตามรอบ หรือประจำเดือนไม่มาติดต่อกันหลายเดือน

เป็นประจำเดือน2ครั้งต่อเดือนปกติไหม

แพทย์จะให้การรักษาอย่างไร

  • แพทย์จะซักประวัติเบื้องต้น โดยเฉพาะประวัติทางสูตินรีเวช ได้แก่ ประวัติการตั้งครรภ์ ประวัติการคุมกำเนิด ประวัติการตรวจภายในและตัดกรองมะเร็งปากมดลูก รวมถึงประวัติประจำเดือนย้อนหลัง
  • ตรวจร่างกาย การตรวจภายใน และอาจใช้การอุลตร้าซาวด์อวัยวะอุ้งเชิงกรานร่วมด้วยหากแพทย์สงสัยว่ามีความผิดปกติ
  • ตรวจประเมินว่ามีความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์หรือไม่ อาจจำเป็นต้องส่งตรวจปัสสาวะเพื่อประเมินการตั้งครรภ์
  • ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดความผิดปกติของเยื่อบุโพรงมดลูก และอาจใช้เครื่องมือดูดชิ้นเนื้อในโพรงมดลูกไปตรวจในรายที่มีความเสี่ยง

แนะนำให้คุณสุภาพสตรีมาพบสูตินรีแพทย์เพื่อประเมินทุกครั้ง หากพบว่ามีเลือดออกผิดปกติที่ลักษณะต่างออกไปจากประจำเดือน หรือไม่แน่ใจว่าเป็นเลือดออกผิดปกติหรือไม่ คลินิกนรีเวชกรรม ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกยินดีให้คำปรึกษาค่ะ

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติ่ม

คลินิกนรีเวชกรรม

  • โทร 02 849 6600 ต่อ 1571 , 1572

บทความที่เกี่ยวข้อง

เป็นประจำเดือน2ครั้งต่อเดือนปกติไหม

ภาวะ Long Covid กับอาการ ไอ เหนื่อยหอบ

ภาวะ Long Covid กับอาการ ไอ เหนื่อยหอบ พจ.มาลีนา บุนนาค ลู่ ปอด ในทางทฤษฎีการแพทย์แผนจีน เป็นอวัยวะที่ควบคุมพลังชี่ และการไหลเวียนลมปรานชี่ และของเหลวในร่างกาย โดยปกติปอดจะไม่ชอบความชื้น  เมื่อร่างกายรับเชื้อโควิดลงสู่ปอด ปอดติดเชื้อก่อให้เกิดการอักเสบ เกิดเสมหะอุดกั้น ทำให้การกระจายชี่ของปอดไม่สมบูรณ์ เกิดอาการหอบเหนื่อย หายใจติดขัด และการที่ชี่จากปอดไหลย้อนกลับ จะก่อให้เกิดอาการไอ เมื่อยังมีการอักเสบอยู่ การทำงานของปอดจึงยังไม่เข้าสู่ภาวะปกติ จึงทำให้เกิดการไอเรื้อรังได้ อาการ Post Covid Syndrome หรือ Long Covid คืออาการที่ผิดปกติของร่างกายในขณะที่ติดเชื้อโควิด แม้จะครบ 1 เดือน หายดีกลับบ้านได้แล้ว แต่อาจยังหลงเหลืออาการอยู่ หากพบว่ามีอาการผิดปกตินานกว่า 2 เดือน เช่น  ไอ หายใจติดขัด เหนื่อยหอบ เจ็บแน่นหน้าอก ควรรีบไปพบแพทย์ เพื่อตรวจวินิจฉัยให้ชัดเจนว่าเกิดจากสาเหตุใด ซึ่งอาจเกิดจากภาวะ Long Covid   เกิดจากการติดเชื้อโรคอื่น หรือโรคที่เกิดขึ้นใหม่ก็เป็นได้ อาการที่อาจหลงเหลืออยู่ […]

เป็นประจำเดือน2ครั้งต่อเดือนปกติไหม

ยามุ่งเป้า ทางเลือกใหม่ของการรักษามะเร็ง

ยามุ่งเป้า ทางเลือกใหม่ของการรักษามะเร็ง โดย นพ.วรเศรษฐ์ สายฝน ปัจจุบันการรักษามะเร็งวิวัฒนาการมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง การศึกษาพันธุกรรมของเซลล์มะเร็งทำให้ค้นพบว่าเซลล์มะเร็งมีคุณสมบัติเฉพาะตัว เช่น มีการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมซึ่งส่งผลต่อการส่งสัญญาณการแบ่งตัวภายในเซลล์ (Signal transduction pathway) ทำให้เซลล์มะเร็งเจริญเติบโตได้เองอย่างไม่จำกัด มีความสามารถในการสร้างหลอดเลือดมาเลี้ยงตัวเอง สามารถหลบหลีกการถูกทำลายจากภูมิคุ้มกันของร่างกาย และสามารถมีความสามารถแพร่กระจายไปอวัยวะต่าง ๆ ได้ ความสามารถพิเศษเหล่านี้เกิดจากการกลายพันธุ์ของยีนบางชนิดซึ่งส่งผลต่อการทำงานของโปรตีนต่าง ๆ ที่ควบคุมการแบ่งตัวของมะเร็ง โดยมะเร็งแต่ละชนิดมีการกลายพันธุ์ของยีนต่าง ๆ ไม่เหมือนกัน เมื่อนักวิจัยสามารถศึกษาจนค้นพบว่า กลไกใดสำคัญต่อมะเร็งชนิดใด จึงสามารถพัฒนายามายับยั้งกลไกการทำงานของยีนกลายพันธุ์นั้น ๆ ทำให้เซลล์มะเร็งถูกทำลายลงได้ในที่สุด จึงเรียกยาที่ออกฤทธิ์เฉพาะเจาะจงในกลไกการแบ่งตัวที่ถูกรบกวนเหล่านี้ว่า ยามุ่งเป้า (Targeted therapy) โดยยามุ่งเป้าในปัจจุบันจะมีชนิดออกฤทธิ์ยับยั้งการแบ่งเซลล์ และชนิดที่ยับยั้งการสร้างเส้นเลือดเป็นหลัก   ความแตกต่างระหว่างยามุ่งเป้าและยาเคมีบำบัด ยามุ่งเป้าทำลายเซลล์มะเร็งเป้าหมายโดยตรง โดยอาจส่งผลต่อเซลล์ปกติเพียงเล็กน้อย ในขณะที่ยาเคมีบำบัดทำลายทั้งเซลล์มะเร็งและเซลล์ปกติที่แบ่งตัวเร็ว ยามุ่งเป้ามักมีผลข้างเคียงน้อยกว่ายาเคมีบำบัด ยามุ่งเป้าใช้ได้เฉพาะในมะเร็งบางชนิดและต้องตรวจพบยีนกลายพันธุ์ที่เข้าได้กับยามุ่งเป้านั้น ในส่วนของยาเคมีบำบัดไม่ต้องตรวจการกลายพันธุ์ของมะเร็งก่อน   รูปแบบของยามุ่งเป้า มีทั้งรูปแบบยากิน (Tyrosine kinase inhibitors) และยาฉีด (monoclonal antibody) มีทั้งการใช้เป็นยาชนิดเดียวและการใช้ร่วมกับยาอื่น เช่น ยาเคมีบำบัด […]

เป็นประจำเดือน2ครั้งต่อเดือนปกติไหม

Long Covid กับกลุ่มอาการเหนื่อยล้าหลังติดเชื้อ

Long Covid กับกลุ่มอาการเหนื่อยล้าหลังติดเชื้อ โดย พจ.รณกร โลหะฐานัส                 กลุ่มอาการเหนื่อยล้าหลังติดเชื้อ (Post-infective fatigue syndrome, PIFS) หมายถึงอาการเหนื่อยล้าที่รุนแรงและต่อเนื่อง หลังจากการติดเชื้อที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยเงื่อนไขทางการแพทย์ ซึ่งมีมาอย่างน้อย 6 เดือนและส่งผลต่อการทำงานประจำวันอย่างมีนัยสำคัญ สาเหตุของกลุ่มอาการ PIFS เกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ ตั้งแต่ความเสียของเนื้อเยื่อปอดหรือหัวใจ การทำงานของไซโตไคน์ผิดปกติอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและการทำงานของกล้ามเนื้อ การบาดเจ็บภายในสมองหรือระบบประสาทส่วนปลาย ทั้งยังมีรายงานอีกว่ากลุ่มอาการ PIFS มีอัตราความชุกของความเหนื่อยล้าในแถบยุโรปที่สูงกว่าภูมิภาคอื่นๆ อาการแสดงของกลุ่มอาการ PIFS มักเกี่ยวข้องกับอาการทางระบบทางเดินหายใจหลายอย่าง เช่น เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก เจ็บหน้าอก ไอเรื้อรัง ปวดศีรษะ วิงเวียน เป็นต้น แนวทางการรักษา ทางการแพทย์แผนจีนจะให้การรักษาด้วยการฝังเข็มหรือจ่ายยาสมุนไพร ด้วยการตรวจวินิจฉัยตามกลุ่มอาการ ซึ่งการฝังเข็มจะเลือกใช้จุด LU7, LI4, ST36, SP6, SP9, SP10, HT7, KD6, TH5, GD41, LR3, LR8 เป็นจุดหลักในการรักษา […]

เป็นประจำเดือน2ครั้งต่อเดือนปกติไหม

กลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุข

กลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุข (Restless Legs Syndrome) คืออะไร โดย นพ.นพดล ตรีประทีปศิลป์ กลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุขเป็นภาวะที่มีอาการอยากขยับ ขาขณะตื่น  มีความรู้สึกคล้ายมีอะไรมาไต่ขา ถ้าไม่ขยับจะมีความรู้สึกไม่สะดวกสบาย สาเหตุ : อาจพบกับ โรคอื่นๆ เช่น โรคโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก, ไตวายเรื้อรัง เป็นต้น,ร้อยละ 30 ของผู้ป่วยมักมีประวัติของโรคนี้ในครอบครัว ผลกระทบต่อสุขภาพ : นอนหลับยาก หรือ รู้สึกหลับไม่สนิท ทำให้การนอนไม่มีคุณภาพ ส่งผลให้เกิดอาการง่วงตอนกลางวัน โรคนี้มักมี อาการที่ขาแต่สามารถเกิดขึ้นกับส่วนอื่นๆ ได้ วิธีการรักษา :  รักษาโรคที่เป็นสาเหตุ  เช่น การให้ธาตุเหล็กเพื่อรักษา ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก หาและงดปัจจัยที่ อาจเป็นสาเหตุ เช่น ยาบางกลุ่มข้างต้น หลีกเลี่ยงคาเฟอีน ในชากาแฟ น้ำอัดลม ช็อคโกแลต —————————————————————————- คลินิกโสต ศอ นาสิก ลาริงซ์ (ENT) ให้บริการวินิจฉัยและรักษาอาการที่เกี่ยวข้องกับหู คอ จมูก […]

ประจำเดือนมาเดือนละ2ครั้งผิดปกติไหม

รอบประจำเดือน ประจำเดือน หมายความว่า มีเลือดออกจากช่องคลอด เดือนละ 1 ครั้ง หรือห่างกันประมาณ 28 + 7 วัน โดยแต่ละรอบควรมาเวลาใกล้เคียงกัน หรือห่างกันไม่เกิน 7-9 วัน กรณีที่ประจำเดือนขาดหายบ่อยครั้ง หรือมาถี่กว่าปกติ เดือนละ 2-3 ครั้ง อาจบ่งชี้ว่าระดับฮอร์โมนในร่างกายไม่สมดุลหรือเกิดโรคภายในอวัยวะสืบพันธุ์ จึงควรปรึกษา ...

ประจำเดือนมากี่ครั้งต่อเดือน

ประจำเดือนมักมีสีแดง ไม่มีลิ่มเลือดหรือชิ้นเนื้อปน บางครั้งประจำเดือนอาจออกมาพร้อมกับตกขาวจึงดูเป็นก้อนได้แต่ไม่อันตราย ประจำเดือนมักไม่เกิน 7 วันต่อรอบ และมาเพียง 1 รอบต่อเดือน แต่ในบางครั้ง หากมีรอบเดือนในช่วงต้นเดือน อาจมีรอบเดือนอีกครั้งในช่วงวันท้ายๆของเดือนได้

ประจำเดือนมาเร็วเกิดจากอะไร

เป็นภาวะที่ประจำเดือนมาเร็วกว่ากำหนดเป็นเวลา 7 วันขึ้นไป ติดต่อกัน 2 รอบ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากภาวะชี่พร่อง ระบบชงเริ่นไม่แข็งแรง หรือร่างกายมีภาวะร้อนกระทบระบบชงเริ่น ทำให้มดลูกเก็บกักเลือดไว้ไม่ได้ตามปกติ

ประจำเดือนมาเร็วผิดปกติไหม

ปกติแล้วประจำเดือนแต่ละรอบนั้น จะต้องไม่มาเร็วกว่า 21 วัน หรือมาช้ากว่า 35 วัน นับจากประจำเดือนรอบที่แล้ว หากประจำเดือนที่มาเร็ว หรือช้ากว่าเวลาดังกล่าว แสดงรอบประจำเดือนนั้นผิดปกติ หรือประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ สามารถบอกโรค และความผิดปกติของร่างกาย ได้แก่ โรคอ้วน