ภาพพิมพ์แบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง

����������Ԫ��Ҿ����� 1

�Ҿ�����

���������ѧࢻ�Ҿ��������¶֧ ��ö��·ʹ�ٻẺ�ҡ��������͡���繼ŧҹ������ѡɳ� ����͹�ѹ�Ѻ�����������觵���ӹǹ���駷������ �� 2 ������ ���
�Ҿ�������� ���Ҿ������������͡�Ҩҡ��������� �����ŧҹ�͡�����ѡɳ� ����͹�ѹ�ء��С�� ����� 2 ��鹢���
�Ҿ������������ ���Ҿ������������͡����ŧҹ��§�Ҿ���� ��Ҿ�����ա�� ��ŧҹ����������͹���
��þ������١ ���ҧ��ä���С�˹��������ŻԹ��Ңͧ�ŧҹ �����Ңͧ�ŧҹ �е�ͧŧ����Ѻ�ͧ�ŧҹ�ء��� �͡�ӴѺ���㹡�þ���� ෤�Ԥ��þ���� ��� �ѹ ��͹ �� ����������

(�Ըա���繵���ͨ��͹㹪�����¹)
�ٻẺ�ͧ��Ż��Ҿ�����㹴�ҹ෤�Ԥ

- �����Ըա�þ�����ǹٹ (Relief Process)
- �����Ըա�þ������ͧ�֡ (Intaglio Process )
- �����Ըա�þ�������Һ (Planography Process )
- �����Ըա�þ�����ҹ��ͧ��� (Serigraphy)

������¹����кǹ��þ�����Ҿ����� 1

1. ��кǹ��÷��Ҿ������������ ( Monoprint )
2. ��кǹ��÷��Ҿ������д�� ( Paper block )
3. ��кǹ��÷��Ҿ���������� ( Wood cut )
4. ��кǹ��÷��Ҿ�������ʴػеԴẺ�Ѵ��֡ ( Nagative Collograph )
5. ��кǹ��÷��Ҿ��������ç��� ( Silk Screen )

Create Date :31 ���Ҥ� 2548 Last Update :9 �ѹ�Ҥ� 2548 9:23:00 �. Counter :Pageviews. Comments :0

  • twitter
  • google
  • ภาพพิมพ์แบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง

  • Comment
    *�� code html ���觢�ͤ�����੾����Ҫԡ

4. แบ่งตามประเภทของแม่พิมพ์ได้ 4 ประเภท คือ
4.1 แม่พิมพ์นูน ( RELIEF PROCESS )
เป็นการพิมพ์โดยให้สีติดอยู่บนผิวหน้าที่ทำให้นูนขึ้นมาของแม่พิมพ์ภาพที่ได้เกิดจากสีที่ติดอยู่ในส่วนบนนั้น แม่พิมพ์นูนเป็นแม่พิมพ์ที่ทำขึ้นมาเป็นประเภทแรกภาพพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์แกะไม้ ( WOOD-CUT )
ภาพพิมพ์แกะยาง ( LINO-CUT ตรายาง ( RUBBER STAMP ) ภาพพิมพ์จากเศษวัสดุต่างๆ
4.2 แม่พิมพ์ร่องลึก ( INTAGLIO PROCESS ) เป็นการพิมพ์โดยให้สีอยู่ในร่องที่ทำให้ลึกลงไปของแม่พิมพ์โดยใช้แผ่นโลหะทำเป็นแม่พิมพ์ ( แผ่นโลหะที่นิยมใช้คือแผ่นทองแดง ) และทำให้ลึกลงไปโดยใช้น้ำกรดกัด ซึ่งเรียกว่า ETCHING แม่พิมพ์ร่องลึกนี้พัฒนาขึ้นโดยชาวตะวันตก สามารถพิมพ์งานที่มีความละเอียด คมชัดสูง สมัยก่อนใช้ในการพิมพ์ หนังสือพระคัมภีร์ แผนที่ เอกสารต่างๆ แสตมป์ ธนบัตร ปัจจุบันใช้ในการพิมพ์งานที่เป็นศิลปะและธนบัตร
4.3 แม่พิมพ์พื้นราบ ( PLANER PROCESS ) เป็นการพิมพ์โดยให้สีติดอยู่บนผิวหน้าที่ราบเรียบของแม่พิมพ์ โดยไม่ต้องขุดหรือแกะพื้นผิวลงไป แต่ใช้สารเคมีเข้าช่วย ภาพพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์หิน ( LITHOGRAPH ) การพิมพ์ออฟเซท
( OFFSET ) ภาพพิมพ์กระดาษ ( PAPER-CUT ) ภาพพิมพ์ครั้งเดียว(MONOPRINT )
4.4 แม่พิมพ์ฉลุ ( STENCIL PROCESS ) เป็นการพิมพ์โดยให้สีผ่านทะลุช่องของแม่พิมพ์ลงไปสู่ผลงานที่อยู่ด้านหลัง เป็นการพิมพ์ชนิดเดียวที่ได้รูปที่มีด้านเดียวกันกับแม่พิมพ์ ไม่กลับซ้ายเป็นขวา ภาพพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์ฉลุ
( STENCIL ) ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม ( SILK SCREEN )
การพิมพ์อัดสำเนา ( RONEO ) เป็นต้น

การพิมพ์ภาพ
การพิมพ์ภาพคือการ สร้างภาพจากการใช้แม่พิมพ์ ซึ่งวัสดุที่ใช้เป็นแม่พิมพ์มีทั้งวัสดุธรรมชาติและวัสดุดสังเคราะห์ภาพที่ เกิดจาการพิมพ์ภาพมีลักษณะเหมือนกับแม่พิมพ์ แต่เป็นภาพกลับกันด้านขวามือของแม่พิมพ์จะเป็นด้านซ้ายมือของภาพพิมพ์และ ด้านซ้าของแม่พิมพ์จะเป็นด้านขวามือของภาพพิมพ์
1.  วัสดุที่ใช้ในการพิมพ์ภาพ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1.  วัสดุธรรมชาติเป็น วัสดุที่มีอยู่ทั่วไปในธรรมชาติซึ่งควรรู้จักเลือกนำมาใช้เป็นแม่พิมพ์ได้ อย่างเหมาะสมวัสดุธรรมชาติที่สามารถนำมาเป็นแม่พิมพ์ได้ อาจแบ่งเป็น 3 ประเภทดังนี้
1)  วัสดุที่มาจากพืช เช่น ใบ กิ่ง ราก ดอก เปลือกเป็นต้น
2)  วัสดุที่มาจากสัตว์ เช่น เปลือกหอย ขนนก ขนเป็ดเป็นต้น
3)  วัสดุอื่น ๆ เช่น ดินเหนียว ก้อนกรวด ก้อนหินเป็นต้น
2.  วัสดุสังเคราะห์เป็น วัสดุที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆซึ่งสามารถเลือกมาเป็นแม่พิมพ์ได้ วัสดุสังเคราะห์อาจแบ่งเป็น 5 ประเภทดังนี้
1)  ประเภทเส้นใย เช่น เศษผ้า เชือก เป็นต้น
2)  ประเภทกระดาษ เช่น กระดาษขยุ้ม กระดาษกล่อง เป็นต้น
3)  ประเภทพลาสติกเช่น หวี ฝาขวด กล่องเทป เป็นต้น
4)  ประเภทโลหะ เช่น ฝาน้ำอัดลม นอตตะปู เป็นต้น
5)  ประเภทอื่น ๆ เช่น เศษฟองน้ำ โฟม ดินน้ำมันเป็นต้น
2.  การสร้างสรรค์ภาพพิมพ์ การพิมพ์ภาพที่ดีควรเลือกแม่พิมพ์ให้สอดคล้องเหมาะสมกับภาพที่ออกแบบไว้ การพิมพ์ภาพ มีขั้นตอน ดังนี้
1)  ออกแบบภาพที่จะพิมพ์ แล้วเตรียมวัสดุที่เป็นแม่พิมพ์ให้สอดคล้องกับภาพที่จะพิมพ์
2)  ผสมสีที่ต้องการจะพิมพ์ให้มีความเข้มตามความเหมาะสม แล้วทาบนแม่พิมพ์
3)  กดแม่พิมพ์ด้านที่ทาสี ลงบนกระดาษวาดเขียนตามที่ออกแบบไว้
4)  ตกแต่งรายละเอียดเพิ่มเติม

ภาพพิมพ์แบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง

 

 

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

การพิมพ์ภาพมีองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้ 
    1. แม่พิมพ์ เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในการพิมพ์
    2. วัสดุที่ใช้พิมพ์ลงไป
    3. สีที่ใช้ในการพิมพ์
    4. ผู้พิมพ์

ผลงานที่ได้จากการพิมพ์ มี 2 ชนิด คือ
    1. ภาพพิมพ์ เป็นผลงานพิมพ์ที่เป็นภาพต่างๆ เพื่อความสวยงามหรือบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ อาจมีข้อความ ตัวอักษรหรือตัวเลขประกอบหรือไม่มีก็ได้
    2. สิ่งพิมพ์ เป็นผลงานพิมพ์ที่ใช้บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ เป็นตัวอักษร ข้อความ ตัวเลข อาจมี ภาพประกอบหรือไม่มีก็ได้

ประเภทของการพิมพ์ การพิมพ์แบ่งออกได้หลายประเภทตามลักษณะต่าง ดังนี้ 

    1. แบ่งตามจุดมุ่งหมายในการ พิมพ์ ได้ 2 ประเภท คือ
              1.1 ศิลปภาพพิมพ์ ( GRAPHIC ART ) เป็นงานพิมพ์ภาพเพื่อให้เกิดความสวยงามเป็น งานวิจิตรศิลป์
              1.2 ออกแบบภาพพิมพ์ ( GRAPHIC DESIGN ) เป็นงานพิมพ์ภาพประโยชน์ใช้สอยนอก เหนือไปจากความสวยงาม ได้แก่ หนังสือต่างๆ บัตรต่างๆ ภาพโฆษณา ปฏิทิน ฯลฯ จัดเป็นงาน ประยุกต์ศิลป์

    2. แบ่งตามกรรมวิธีในการพิมพ์ ได้ 2 ประเภท คือ
              2.1 ภาพพิมพ์ต้นแบบ ( ORIGINAL PRINT ) เป็นผลงานพิมพ์ที่สร้างจากแม่พิมพ์และวิธี การพิมพ์ที่ถูก สร้างสรรค์และกำหนดขึ้นโดยศิลปินเจ้าของผลงาน และเจ้าของผลงาน จะต้องลงนามรับรองผลงานทุกชิ้น บอกลำดับที่ในการพิมพ์ เทคนิคการพิมพ์ และ วัน เดือน ปี ที่พิมพ์ด้วย
              2.2 ภาพพิมพ์จำลองแบบ ( REPRODUCTIVE PRINT ) เป็นผลงานพิมพ์ที่สร้างจากแม่พิมพ์ หรือวิธี การพิมพ์วิธีอื่น ซึ่งไม่ใช่วิธีการเดิมแต่ได้รูปแบบเหมือนเดิม บางกรณีอาจเป็นการ ละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น

    3. แบ่งตามจำนวนครั้งที่พิมพ์ ได้ 2 ประเภท คือ 
              3.1 ภาพพิมพ์ถาวร เป็นภาพพิมพ์ที่พิมพ์ออกมาจากแม่พิมพ์ใดๆ ที่ได้ผลงานออกมามีลักษณะ เหมือนกันทุกประการ ตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป
              3.2 ภาพพิมพ์ครั้งเดียว เป็นภาพพิมพ์ที่พิมพ์ออกมาได้ผลงานเพียงภาพเดียว ถ้าพิมพ์อีกจะ ได้ผลงานที่ไม่เหมือนเดิม

    4. แบ่งตามประเภทของแม่พิมพ์ ได้ 4 ประเภท คือ 
              4.1 แม่พิมพ์นูน ( RELIEF PROCESS ) เป็นการพิมพ์โดยให้สีติดอยู่บนผิวหน้าที่ทำให้นูน ขึ้นมาของแม่พิมพ์ ภาพที่ได้เกิดจากสีที่ติดอยู่ในส่วนบนนั้น แม่พิมพ์นูนเป็นแม่พิมพ์ ที่ทำขึ้นมาเป็นประเภทแรก ภาพพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์แกะไม้ ( WOOD-CUT ) ภาพพิมพ์แกะยาง ( LINO-CUT ) ตรายาง ( RUBBER STAMP ) ภาพพิมพ์จากเศษวัสดุต่างๆ
              4.2 แม่พิมพ์ร่องลึก ( INTAGLIO PROCESS ) เป็นการพิมพ์โดยให้สีอยู่ในร่องที่ทำให้ลึกลง ไปของแม่พิมพ์โดยใช้แผ่นโลหะทำเป็นแม่พิมพ์ ( แผ่นโลหะที่นิยมใช้คือแผ่นทองแดง ) และทำให้ลึกลงไปโดยใช้น้ำกรดกัด ซึ่งเรียกว่า ETCHING แม่พิมพ์ร่องลึกนี้พัฒนาขึ้นโดย ชาวตะวันตก สามารถพิมพ์งานที่มีความ ละเอียด คมชัดสูง สมัยก่อนใช้ในการพิมพ์ หนังสือ พระคัมภีร์ แผนที่ เอกสารต่างๆ แสตมป์ ธนบัตร ปัจจุบันใช้ในการพิมพ์งานที่เป็นศิลปะ และธนบัตร
              4.3 แม่พิมพ์พื้นราบ ( PLANER PROCESS ) เป็นการพิมพ์โดยให้สีติดอยู่บนผิวหน้า ที่ราบเรียบของแม่พิมพ์ โดยไม่ต้องขุดหรือแกะพื้นผิวลงไป แต่ใช้สารเคมีเข้าช่วย ภาพพิมพ์ ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์หิน ( LITHOGRAPH ) การพิมพ์ออฟเซท ( OFFSET ) ภาพพิมพ์กระดาษ ( PAPER-CUT ) ภาพพิมพ์ครั้งเดียว (MONOPRINT)
              4.4 แม่พิมพ์ฉลุ ( STENCIL PROCESS ) เป็นการพิมพ์โดยให้สีผ่านทะลุช่องของแม่พิมพ์ลงไป สู่ผลงานที่อยู่ด้านหลัง เป็นการพิมพ์ชนิดเดียวที่ได้รูปที่มีด้านเดียวกันกับแม่พิมพ์ ไม่กลับซ้าย เป็นขวา ภาพพิมพ์ชนิดนี้ได้แก่ ภาพพิมพ์ฉลุ ( STENCIL ) ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม ( SILK SCREEN ) การพิมพ์อัดสำเนา ( RONEO ) เป็นต้น