ตัวอย่าง หนึ่ง โรงเรียน หนึ่ง นวัตกรรม

กการบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั

ขการบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั

คการบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัค ำน ำ ผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรมการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพอยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาื่ื้การส่งผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม เป็นผลงานที่เคยได้รับรางวัลเหรียญเงินของคุรุสภา ประเภทจัดการเรียนรู้ และมีการน ามาพฒนาเพมเติม หรือต่อยอดนวัตกรรม จากประเภท การจัดการเรียนรู้ พฒนาสู่ การบริหารและการัิ่ัจัดการสถานศึกษา พัฒนาโดยผู้บริหารสถานศึกษา นายโชติชัย กิ่งแก้ว ต าแหน่งผู้อ านวยการโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา , นายวิทยา ทรวงดอน รองผู้อ านวยการโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา และ นายเถลิงศักดิ์ เถาว์โท ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ ผู้ช่วยผู้อ านวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนน้ าปลีกศกษา อ าเภอเมือง ึจังหวัดอานาจเจริญ ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศกษา เขต อุบลราชธานีอ านาจเจริญ สังกัดศึกษาธิการื้ึจังหวัดอ านาจเจริญ ผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้ที่สนใจศึกษาในการยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐานของ เพอเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนให้มีื้ื่คุณภาพต่อไป โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อ านาจเจริญ ึสังกัดศึกษาธิการจังหวัดอ านาจเจริญ การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้บทเรียนส าเร็จรูป กระตุ้นการเรียนรู้ตามรูปแบบ 1L3R ของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา (ผลงานเก่า) Link : https://online.pubhtml5.com/ylqa/ukoo/การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียน๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา(ผลงานใหม)่ Link : https://online.pubhtml5.com/ylqa/jezo/

งการบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัสารบัญเรื่อง หน้าค าน า ค สารบัญ ง แบบ นร. ๑จ 1.หน้าปก จ ๒. บทสรุป1 ๓. ความเป็นมาและความส าคัญ3 ๔. วัตถุประสงค์13๕. กระบวนการพัฒนาผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม17 ๑) สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา17 ๒) การออกแบบนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา 17 ๓) สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา30 ๔) ผลงานที่เกิดจากการด าเนินงาน19 ๕) สรุปสิ่งที่เรียนรู้และปรับปรุงให้ดีขึ้น36 ๖) การขยายผลและเผยแพร่พัฒนา63 ๖ ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง66 ๗ จุดเด่น หรือลักษณะพิเศษของผลงานนวัตกรรม68 ๘ บรรณานุกรม ๗ แบบ นร. ๒๗๔

จการบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัแบบ นร. ๑ กำรน ำเสนอผลงำน หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ประจ ำปี ๒๕๖๔ “” ๑. หน้ำปก ประกอบด้วย ๑) ชื่อผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรมการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้บทเรียนส าเร็จรูปกระตุ้นการเรียนรู้ตามรูปแบบ 1L3R ของโรงเรียนน าปลีกศึกษา๒) ระยะเวลาด าเนินงานตั้งแต่ 1๕ มีนาคม 2563 ถึง 17 พฤษภาคม ๒๕๖๔ ๓) การส่งผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ( กรุณาระบุ √ ลงใน ที่ตรงกับผลงาน ) เป็นผลงานที่ไม่เคยส่งเข้ารับการคัดสรรกับคุรุสภา เป็นผลงานที่เคยส่งเข้ารับการคัดสรรกับคุรุสภา ปี ....... เรื่อง ........แต่ไม่ได้รับรางวัลของคุรุสภา√ เป็นผลงานที่เคยได้รับรางวัลของคุรุสภาและมีการน ามาพัฒนาเพิ่มเติม หรือต่อยอดนวัตกรรม (ต้องกรอกแบบ นร. ๒)๔) ประเภทผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ( กรุณาระบุ √ ลงใน ที่ตรงกับผลงาน)(เลือกได้เพียง ๑ ด้ำนเท่ำนั้น)การจัดการเรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ √ การบริหารและการจัดการสถานศึกษา การส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ การวัดและประเมินผล ๕) ข้อมูลสถานศึกษาชื่อสถานศึกษา โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา เลขที่…......-........ถนน................ ..................... -ต าบล/แขวง น้ าปลีก อ าเภอ/เขต เมือง. จังหวัด อ านาจเจริญ รหัสไปรษณีย์ 37000 โทรศัพท์ โทรสาร............... ........................ -๖) สังกัด ๑. สพป. ..................เขต....... ๒. สพม. เขต. จังหวัด อุบลราชธานี – อ านาจเจริญ√29๓. สอศ. ๔. สช. ๕. กทม. ๖. อปท. ............. ๗. กศน. ๘. การศึกษาพิเศษ ๙. อื่น ๆ (โปรดระบุ)............... ๗) ผู้บริหารสถานศึกษาชื่อผู้บริหารสถานศึกษา (นาย) โชติชัย นามสกุล กิ่งแก้ว เลขบัตรประชาชน 3341600125800 ต าแหน่ง ผู้อ านวยการโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา วิทยะฐานะ ช านาญการพิเศษ โทรศัพท์เคลื่อนที่ 089-582-4763 E-mail : [email protected]๘) ผู้ประสานงาน (นาย) เถลิงศักดิ์ นามสกุล เถาว์โท เลขบัตรประชาชน 3341600254847 ต าแหน่ง ผู้ช่วยผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ วิทยะฐานะ ช านาญการพิเศษ โทรศัพท์เคลื่อนที่ 095-613-1257 E-mail : [email protected] ๙) คณะผู้ร่วมพัฒนาผลงานนวัตกรรม ( ครู /นักเรียน/ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง จ านวนตามจริง ) (นาย) วิทยา นามสกุล ทรวงดอน เลขบัตรประชาชน ๑๑๐๐๗๐๐๖๔๐๐๙๓ ต าแหน่ง รองผู้อ านวยการโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา วิทยะฐานะ ช านาญการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ 090-269-5321 .E-mail : [email protected]  (นาย) เถลิงศักดิ์ นามสกุล เถาว์โท เลขบัตรประชาชน 3341600254847 ต าแหน่ง ผู้ช่วยผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ วิทยะฐานะ ช านาญการพิเศษ โทรศัพท์เคลื่อนที่ 095-613-1257 E-mail : [email protected]

๑การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั๒. บทสรุป การน าเสนอผลงาน “หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ประจ าปี ๒๕๖๔ชื่อผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวตกรรม ัการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาชื่อเรื่องการค้นคว้าแบบอิสระ การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑ ๓ เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั นพื นฐานของL R โรงเรียนน าปลีกศึกษา ผู้เขียนนายเถลิงศักดิ์ เถาว์โทที่ปรึกษาการค้นคว้าแบบอิสระ ผู้อ านวยการ ดร. โชติชัย กิ่งแก้วรองผู้อ านวยการ นายวิทยา ทรวงดอน..................................................................................................................................................................การศึกษาค้นคว้าอสระการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพอิื่ยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ส าหรับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ื้คือบุคลากรระดับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานใน โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา 29 คน และกลุ่มนักเรียนโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2563 จ านวน 149 คน วัตถุประสงค์ ๑. เพอศึกษาถึงผลที่เกิดจากการน าแนวคิดการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมื่บทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพอยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ๒. ื่ื้นักเรียนโรงเรียนน้ าปลีกศึกษามีผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐาน (O-NET) ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และื้มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ สูงขึ้นกว่าปีการศึกษา ๒๕๖2 ๓. ครูโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาสามารถสร้างนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป เพอใช้จัดการเรียนรู้ได้ถูกต้องตามหลักวิชาการร้อยละร้อยในการพฒนาื่ัผู้เรียนผ่านกระบวนการการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบองมาตรฐานกระตุ้นการเรียนรู้ของิโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา NamPleeksuksa Education Active Technique (NP-EAT) ผลการการศึกษาค้นคว้าอิสระผลที่เกิดจากการน าแนวคิดการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑ ๓ เพื่อL R ยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั นพื นฐานของโรงเรียนน าปลีกศึกษา ท าให้ได้แนวทาง1) การวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรในกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ มีการวิเคราะห์ปัญหาและการส ารวจความต้องการและ ความคาดหวังด้านสุขภาพของผู้รับบริการ /ชุมชนที่รับผิดชอบ, วิเคราะห์จุดแข็ง จุดออน โอกาส ่อุปสรรค สิ่งคุกคามขององค์กร รวมทั้งปัจจัยส าคัญอื่นๆ และความสามารถในการน าแผนกลยุทธ์ ไปปฏิบัติ 2) การถ่ายทอดเพื่อน าไปสู่การปฏิบัติ มีการจัดท าแผนปฏิบัติการและถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติเพอบรรลุื่วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ส าคัญ สร้างความมั่นใจในความยั่งยืนของการเปลี่ยนแปลงส าคัญที่เป็นผลจากแผนปฏิบัติ การที่บุคลากรตระหนักในบทบาทและการมีส่วนต่อการบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 3) การก าหนดตัวชี้วัด ถ่ายทอดจากกรอบการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการตามค ารับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัด และตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ของโรงเรียน แล้วถ่ายทอด ตัวชี้วัดลงสู่ระดับองค์กรและระดับหน่วยงาน โดยให้ตัวชี้วัดที่ส าคัญต่างๆ มีความเชื่อมโยง/ สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน 4) การวัดผลการด าเนินงาน น าผลการด าเนินงานตามตัวชี้วัดมาประมวลผลหรือ วิเคราะห์ผลในภาพรวมเพอื่ใช้ติดตาม ความก้าวหน้าการปฏิบัติงานตามแผนงาน/การด าเนินงานตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์หรือเป้าประสงค์ของ โดยน าผลลัพธ์จากการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดที่ส าคัญตามค ารับรอง การปฏิบัติราชการและ

๒การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตามแผนปฏิบัติราชการของโรงเรียน น าเสนอต่อผู้บริหาร ระดับสูง เพื่อใช้สนับสนุนการตัดสินใจในการปรับปรุงพัฒนางานทั้งในระดับกลยุทธ์ ระดับองค์กร และระดับหน่วยงานต่างๆ 5) การบริหารทรัพยากรบุคคลด้านทรัพยากรบุคคล โรงเรียนมีแผนการบริหารอัตราก าลังเพอรองรับภาระงาน ื่การบริหารจัดการภายใต้ข้อจ ากัดด้านการจ้าง การจ่ายค่าตอบแทน และการเพมอตราก าลัง โดยมีแผน ด้านิ่ัการอบรมพฒนา การพฒนาศักยภาพ การสร้างขวัญก าลังใจ และการเพมสวัสดิการที่จ าเป็น ส่วนทรัพยากรััิ่และเครื่องมือที่ใช้ในการด าเนินงานได้ท าแผนเตรียมการจัดหาการบ ารุงรักษา และการบริหารให้เกิดความคุ้มค่า 6) การพฒนาบุคลากรการจัดท าแผนพฒนาบุคลากรรายบุคคล (IDP) โดยพจารณาจากผลการประเมินััิสมรรถนะ เส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ (Career path) และแผนที่การฝึกอบรม (Training Road Map) จะรวบรวมข้อมูลในส่วนของการอบรม และหัวหน้างานก ากับดูแลการพัฒนาและเรียนรู้ของ บุคลากรผ่านช่องทางต่างๆ ซึ่งผลลัพธ์ที่ ชัดเจนประเมินจากผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด 7) การให้รางวัลผลตอบแทน โรงเรียนยึดหลักการให้ผลตอบแทนตามผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดรายบุคคล โดย แบ่งเป็นระดับ ของผลการด าเนินงาน ดีเด่น ดีมาก ดีพอใช้ ต้องปรับปรุง มีการมอบเกียรติบัตรให้กับคุณครูที่สามารถท างานได้บรรลุตัวชี้วัด ในส่วนของผู้เรียน จะได้รับทุนการศึกษาเมื่อท าผลงานได้ตามตัวชี้วัด 8) การบริหารงบประมาณ มีระบบบริหารด้านการเงิน และพสดุอย่างเป็นระบบ มีแผนการจัดหาและับ ารุงรักษา โดย มีตัวชี้วัดที่แสดงผลการด าเนินงาน มีระบบควบคุมภายในที่ด าเนินการตามระเบียบคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน มีการจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้างให้โปร่งใส มีการบริหารระบบการเงินการคลัง มี ระบบการตรวจสอบภายในและจากหน่วยงานภายนอกเป็นประจ า นักเรียนโรงเรียนน าปลีกศึกษามีผลการทดสอบระดับชาติขั นพื นฐาน (O-NET) ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ สูงขึ นกว่าปีการศึกษา ๒๕๖2การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพนฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา ื้2562 มีผู้เข้าสอบ 95 คน มีคะแนนเฉลี่ย 103.83 คะแนน และมีส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน 22.44 คะแนน ในปีการศึกษา 2563 มีผู้เข้าสอบ 71 คน มีคะแนนเฉลี่ย 131.91 คะแนน และมีส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน 31.06 คะแนน และเมื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพนฐาน (O-NET) ระดับื้มัธยมศกษาปีที่ 3 ประจ าปีการศึกษา 2562-2563 ด้วยค่าคะแนนมาตรฐาน T (T-Score) อยู่ที่ระดับ 0.93 ึคือ มีผลการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงขึ้นการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพนฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา ื้2562 มีผู้เข้าสอบ 60 คน มีคะแนนเฉลี่ย 133.69 คะแนน และมีส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน 14.46 คะแนน ในปีการศึกษา 2563 มีผู้เข้าสอบ 45 คน มีคะแนนเฉลี่ย 157.63 คะแนน และมีส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน 35.75 คะแนน และเมื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพนฐาน (O-NET) ระดับื้มัธยมศึกษาปีที่ 3 ประจ าปีการศึกษา 2562-2563 ด้วยค่าคะแนนมาตรฐาน T (T-Score) อยู่ที่ระดับ 32.41 คือ มีผลการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงขึ้นครูโรงเรียนน าปลีกศึกษาสามารถสร้างนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป เพื่อใช้จัดการเรียนรู้ได้ถูกต้องตามหลักวิชาการร้อยละร้อยในการพฒนาผู้เรียนผ่านกระบวนการการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบองมาตรฐานัิกระตุ้นการเรียนรู้ของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา NamPleeksuksa Education Active Technique (NP-EAT)

๓การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัจากการนิเทศติดตามพบว่า ครูโรงเรียนน้ าปลีกส่งนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป ในภาคเรียนที่ 1 ครบทุกท่าน และในภาคเรียนที่ 2 ครบทุกท่าน คิดเป็น ร้อยละร้อย ๓. ความเป็นมาและความส าคัญการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2545 หมวด ๔ มาตรา 22 ยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความส าคัญัที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ เน้นัความส าคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา ส่วนการจัดกระบวนการเรียนรู้นั้นให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอานวยความสะดวกเพอให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ื่และมีความรอบรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ แหล่งข้อมูลและแหล่งการเรียนรู้อนๆ (คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ,๒๕๔๒. : ๘ ๙) ื่–นอกจากนี้ มาตรา ๓๐ ให้สถานศึกษาพฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้ัผู้สอนสามารถวิจัยเพอพฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษาการจะส่งเสริมและื่ัพฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์จึงต้องอาศัยการวางรากฐานทางการศึกษาที่มีคุณภาพในหลักสูตรการศึกษาขั้นัพนฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยการจัดการเรียนรู้ในแต่ละช่วงชั้นควรใช้รูปแบบวิธีการที่หลากหลาย มุ่งเน้นการจัดื้กิจกรรมที่พฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ มีกระบวนการคิด ได้ลงมือปฏิบัติเพอสืบเสาะหาความรู้ด้วยกระบวนการัื่ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการแก้ปัญหา การสื่อสารและความสามารถในการตัดสินใจ น าความรู้ไปแก้ปัญหาในชีวิตประจ าวันและมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รวมทั้งเรียนอย่างมีความสุขด้วย (กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๔๐ : ๑) ทั้งนี้ทางโรงเรียนได้ท าการวิเคราะห์ข้อมูลเพอพฒนารูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพอยกระดับผลการื่ัื่ทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ดังนี้ 1) ข้อมูลนักเรียน ตารางที่ 1 จ านวนนักเรียน ปีการศึกษา 2562 รวม 455 คน ระดับ- ม.1ม.2ม.3รวมม.4ม.5ม.6รวมรวมทั งหมดชั นเรียนจ านวนห้อง- 3 3 3 9 2 2 2 6 15 เพศชาย 45 46 49 140 40 19 24 83 223 หญิง 48 41 51 140 29 32 31 92 232 รวม- 93 87 100 280 69 51 55 175 455 เฉลี่ย- 31.00 29.00 33.33 31.11 34.50 25.50 27.50 29.17 30.33 ต่อห้อง

๔การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 2 จ านวนนักเรียน ปีการศึกษา 2563 รวม 462 คน ระดับ- ม.1 ม.2 ม.3 รวมม.4 ม.5 ม.6 รวมรวมทั งหมดชั นเรียนจ านวนห้อง- 3 3 3 9 2 2 2 6 15 เพศชาย 51 46 40 137 32 34 18 84 221 หญิง 51 49 41 141 43 27 30 100 241 รวม- 102 95 81 278 75 61 48 184 462 เฉลี่ย- 34.00 31.67 27.00 30.89 37.50 30.50 24.00 30.67 30.80 ต่อห้อง ตารางที่ 3 จ านวนนักเรียน ปีการศึกษา 2564 รวม 465 คน (คาดการจากนักเรียนในเขตบริการ) ระดับ - ม.1 ม.2 ม.3 รวม ม.4 ม.5 ม.6 รวม รวมทั้งหมด ชั้นเรียน จ านวนห้อง - 3 3 3 9 2 2 2 6 15 เพศ ชาย 40 51 45 136 19 31 32 82 218 หญิง 49 51 48 148 32 42 25 99 247 รวม - 89 102 93 284 51 73 57 181 465 เฉลี่ย - 30.00 34.00 31.00 31.56 25.50 36.50 28.50 30.17 31.00 ต่อห้อง

๕การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 4 ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษาลำดบทัี ่ชอ สกลื ่-ุตำแหนง่อนดบััวทยฐำนะิเลขทตำแหนงี ่่วฒกำรศกษำุิึ1นายโชตชัย กงแกวิิ ่้ผอานวยการสถานศกษาู ้ึคศ.3ชานาญการพเศษิ66146ศษม การบรหารการศกษา บชด บรหารธรกจ. .ิึ/ . .ิุิ2นายวทยา ทรวงดอนิรองผอานวยการสถานศกษา คศู ้ึ.2ชานาญการ66147ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ3วาท รต สดสาคร นามสวรรณ่ี ่. .ุุคร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ1996ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ4นางลาวลย สหะวงษั์ี์คร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ109484ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ5นางรชนย ทองโพธศรัี์ิ ์ีคร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ66152ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ6นางสาวภทรยา โพธศรคณัิิ ์ีุคร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ109483วท บ เคมี. . 7นางเสงยม หรญสงหี ่ิัิ์คร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ66156ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ8นางสาวจารวลย ประพณุั์ิคร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ107975บธบ คอมพวเตอรธรกจ. .ิ์ุิ9นายบญถน ไชยอตมุิุ์คร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ32247ศ นบ ภาษาองกฤษ. . .ั10นายเถลงศกด เถาวโทิัิ ์์คร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ45050วท ม ฟสกสศกษา. .ิิ์ึ11นางกญญาวร เศวตวงศัี์์คร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ2114ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ12นายบรรจบ บพชาตุิคร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ130413ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ13นางขวญใจ จนทนะชาตััิคร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ64705ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ14นางกฤตพร จนทรแดงั์คร ูคศ.2ครชานาญการู124377ศศ บ ภาษาองกฤษ. . ั15นายไกรสร คาชลองีคร ูคศ.2ครชานาญการู64452ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ16นางวรรณ บญสภากลีุุุคร ูคศ.2ครชานาญการู65718ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ17นายยทธนาว เมองซองุีืคร ูคศ.1-101839ศ ศ บ ดนตรสากล. . .ี18นางสาวภญญดา วงศปดสาิ์ัคร ูคศ.1-66162ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ19นายณรงคฤทธ ประดษฐแทน์ิ ์ิ์่คร ูคศ.1-66158ค บ สงคมศกษา. . ัึ20นางมณรตน สทธการีั์ุคร ูคศ.1-64243ค บ สงคมศกษา. . ัึ21นายเอกชย จนทรภรกษัั์ิั์คร ูคศ.1-66160วศ บ วศวกรรมพอลเมอร. .ิิ์22นางสาวภกดนนท สมรกษัิั์ั์คร ูคศ.1-104535ค บ วทยาศาสตร. . ิ์23นางสาวบษบา มลเพญุู็คร ูคศ.1-66155ค ม หลกสตรและการสอน. .ัู24นางสาวพรทพย คาเพราะิ์ครผชวยูู ้่130414ค บ ภาษาไทย. .25นางสาวสนษา คาแหนุิครผชวยูู ้่--66161ค บ คณตศาสตร. .ิ์26นางสาวกฤษณา นนทพจน์ครผชวยูู ้่--66150ค บ สงคมศกษา. .ัึ27นายวฑรย ทอนเงนิู์่ิพนกงานราชการัพ316887ศษบ พลศกษา. .ึ28นางสาวนนทพร สองสั์ีเจาหนาทธรการ้้ี ุ่-ศศ บ ภาษาองกฤษธรกจ. .ัุิ29นางนราจนทร กมลรตนั์ั์ครพเลยงเดกพการเรยนรวม ูี ่ี ้็ิี-ปวสการบญช.ัี30นายสมภพ คณเลยงูี ้ครจตอาสาูิ-นศ บ นเทศศาสตร. . ิ์31นางสาวธตมา ชนสภคิิื ุ่ัครจตอาสาูิ-วท บ เคมประยกต. . ีุ์32นายรตน แสนชาตั์ิชางไม ่้4-มธยมศกษาปท ัึีี ่633นายสมคร อนลเพทัิุลกจางชวคราวู้ั ่-มธยมศกษาปท ัึีี ่634นางบรรจง อนลเพทิุแมบาน่้---มธยมศกษาปท ัึีี ่6

๖การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 5 จ านวนบุคลากรบุคลากรผู้บริหารครูผู้สอนพนักงานครูอัตราจ้างเจ้าหน้าที่อื่นๆปีการศึกษา 2564 2 25 1 0 6 ตารางที่ 6 วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากรระดับการศึกษา ปวช. ปวส. ประกาณียบัตรบัณฑิต ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ปีการศึกษา 2564 0 0 0 18 10 1

๗การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 7 สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอนสาขาวิชา จ านวน (คน) ภาระงานสอนของครูเฉลี่ย 1 คน ในแต่ละสัปดาห์ (ชม./สัปดาห์) 1.บริหารการศึกษา 2 0.00 2.คณิตศาสตร์ 4 15.42 3.วิทยาศาสตร์ 6 17.78 4.ภาษาไทย 2 19.17 5.ภาษาอังกฤษ 4 15.00 6.สังคมศึกษา 5 17.00 7.การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 17.92 8.สุขศึกษาและพลศึกษา 2 18.33 9.ศิลปะ 1 16.33 10.แนะแนว 0 0.00 11.บรรณารักษ์ 0 0.00 12.ครูธุรการ 1 0.00 รวม 29 136.95 แผนภูมิที่ 3 ภาระงานสอนของครูเฉลี่ย 1 คน ในแต่ละสัปดาห์ (ชม./สัปดาห์)

๘การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัแผนภูมิที่ 4 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา

๙การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัแผนภูมิที่ 6 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ปีการศึกษา 2561-2562 ตารางที่ 8 ผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน แยกตามระดับชั้น ปีการศึกษา 2562ระดับชั นจ านวนนักเรียนที่รับการประเมิน ดีเยี่ยมจ านวนนักเรียนตามระดับคุณภาพจ านวนนักเรียนระดับดีขึ น ระดับดีขึ นไปร้อยละจ านวนนักเรียนไปการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนดีผ่าน ไม่ผ่านระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 1 94 64 24 1 5 88 93.62 ระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 2 83 62 17 1 3 79 95.18 ระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 3 97 76 12 0 9 88 90.72 ระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 4 61 38 19 2 2 57 93.44 ระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 5 48 41 5 0 2 46 95.83 ระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 6 55 51 1 0 3 52 94.55 รวม 438 332 78 4 24 410 93.61 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 75.80 17.81 0.91 5.48 93.61 93.85

๑๐การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั4) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั นพื นฐาน (O-NET) แผนภูมิที่ 7 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประจ าปีการศึกษา 2562 ระดับ/รายวิชาภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ภาษาอังกฤษคะแนนเฉลี่ย ของโรงเรียน51.89 22.53 29.27 27.14 คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื นที่ฯ55.45 25.92 29.89 31.29 คะแนนเฉลี่ยระดับ สพฐ.55.91 26.98 30.22 32.98 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ55.14 26.73 30.07 33.25

๑๑การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัแผนภูมิที่ 8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 ระดับ/รายวิชาภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาภาษาอังกฤษคะแนนเฉลี่ย ของโรงเรียน36.70 18.32 26.81 32.65 23.30 คะแนนเฉลี่ย ระดับเขตพื นที่ฯ39.68 21.32 28.43 34.65 25.53 คะแนนเฉลี่ย ระดับ สพฐ.43.02 25.62 29.40 36.10 28.97 คะแนนเฉลี่ย42.21 25.41 29.20 35.70 29.20

๑๒การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัระดับประเทศแผนภูมิที่ 9 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจ าปีการศึกษา 2560-2562

๑๓การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน URL : https://wow.in.th/fPOVV จากตารางเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐานฐาน (O-NET) มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ ื้มัธยมศกษาปีที่ ๖ ต่ ากว่าระดับประเทศในทุกรายวิชา ซึ่งจากการวิเคราะห์ร่วมกันของคณะครูโรงเรียนน้ าปลีกึศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่เป็นไปตามที่คาดหวังเพราะผู้เรียนจ านวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ต่ า ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากผู้เรียนขาดความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการแก้ปัญหา ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนรู้ ที่จะศึกษาศาสตร์ต่างๆ ที่ต้องอาศัยการคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้เหตุผลในการแสดงความคิดอย่างมีระเบียบชัดเจนและรัดกุม ดังนั้นผู้สอนต้องเน้นให้ผู้เรียนฝึกท ากิจกรรมต่าง ๆ ในการเสาะแสวงหาความรู้ ไม่ว่าจะเป็นการลงมือปฏิบัติการทดลอง การแก้โจทย์ปัญหาต่าง ๆ เพอที่จะท าให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงหลักการ กฎ ทฤษฎี และธรรมชาติื่ของวิชานั้นๆ เพื่อให้เกิดทักษะในกระบวนการแก้ปัญหา พร้อมทั้งสามารถน าหลักการไปประยุกต์ใช้ในเชิงปฏิบัติได้ ครูจึงควรมีเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบแบบแผน กระชับ และเข้าใจง่าย ผ่านบทเรียนส าเร็จรูป เพอให้เป็นไปตาม การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ื่ฉบับปรับปรุง พทธศักราช 2545 หมวด 4 มาตรา 22 ยึดหลักว่า ผู้เรียนุทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีัความส าคัญที่สุด URL https://wow.in.th/fPOVV : ๔. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อศึกษาถึงผลที่เกิดจากการน าแนวคิดการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาื้๒. นักเรียนโรงเรียนน้ าปลีกศึกษามีผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับมัธยมศกษาปีที่ ึ๓ และมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ สูงขึ้นกว่าปีการศึกษา ๒๕๖2 ๓. ครูโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาสามารถสร้างนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป เพอใช้จัดการเรียนรู้ได้ถูกต้องตามื่หลักวิชาการร้อยละร้อยในการพฒนาผู้เรียนผ่านกระบวนการการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ัข้อสอบองมาตรฐานกระตุ้นการเรียนรู้ของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา NamPleeksuksa Education Active ิTechnique NP-EAT ()ค านิยามศัพท์๑. นักเรียน หมายถึง นักเรียนโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาทุกระดับชั้น ที่ก าลังเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา จังหวัดอ านาจเจริญ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๒. บทเรียนส าเร็จรูป หมายถึง บทเรียนที่ผู้สอนจัดท าขึ้นเพอใช้เป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการื่เรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ในแต่ละสาระการเรียนรู้ที่ก าหนดไว้ในแต่ละบทเรียน โดยเริ่มจากเนื้อหาสาระที่ง่าย ๆ ไปสู่เนื้อหาที่ยากขึ้นไปตามล าดับ เป็นบทเรียนที่สร้างขึ้นโดยก าหนดวัตถุประสงค์ เนื้อหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนไว้ล่วงหน้า ผู้เรียนสามารถศึกษา ค้นคว้า และประเมินผลการเรียนด้วยตนเองตามขั้นตอนที่ก าหนดไว้ ทั้งนี้ให้รวมถึง บทเรียนส าเร็จรูป แบบเรียนส าเร็จรูป ชุดการเรียนการสอน บทเรียนโปรแกรม โปรแกรมการสอน แบบเรียนด้วยตนเอง ที่ครูโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาได้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้จัดการเรียนรู้

๑๔การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัผลต่อการจัดการศึกษา1. ได้แนวคิดการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผล การทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา 2. ครูโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาทุกคนสามารถสร้างนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป เพื่อใช้จัดการเรียนรู้ได้ ถูกต้องตามหลักวิชาการ 3. ครูโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาใช้บทเรียนส าเร็จรูปในการพัฒนาผู้เรียนผ่านกระบวนการการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบองมาตรฐานกระตุ้นการเรียนรู้ของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ิNamPleeksuksa Education Active Technique NP-EAT ผ่านขันตอนการด าเนินงานดังนี้ ()เมื่อครูสร้างนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป ผ่านกระบวนการการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบอิงมาตรฐานกระตุ้นการเรียนรู้ของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา NamPleeksuksa Education Active Technique NP-EAT 15 ขั้นตอน ดังนี้ ()1. จัดท า/ปรับโครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ครอบคลุมทุกกิจกรรมมีก าหนดชัดเจน URL: https://pubhtml5.com/bookcase/qhou 2. เมื่อครูวางแผนการสอนตามมาตรฐาน และตัวชี้วัดแล้ว ให้โรงเรียนตรวจสอบการวิเคราะห์หลักสูตรให้ตรงตามตัวชี้วัด URL: https://pubhtml5.com/bookcase/dpeg 3. วางแผนการสอนชั้น ม. 3 และ ม.6 ให้จบ และครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ศึกษาขอมูลผลสัมฤทธิ์ O-Net ที่กลุ่มงาน้วิชาการได้ท าการวิเคราะห์ ปีการศึกษา 59-62 URL: https://wow.in.th/fPOVV 4. สืบค้นสื่อ และ แบบทดสอบ เพื่อจัดท าบัญชีรายชื่อคลังสื่อ และแบบทดสอบ O-Net จาก Google และYoutube URL: https://wow.in.th/K4HaL

๑๕การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั๕.เข้าพัฒนาความรู้การจัดท าข้อสอบอิงมาตรฐานการเรียนรู้และจัดท าข้อสอบอิงมาตรฐานการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนปกติและสอนเสริมเติมเต็ม ตามแนวข้อสอบของ สทศ. ในห้องเรียน หรือ ก าหนดกิจกรรม วันเวลาให้ชัดเจน URL: https://wow.in.th/KY6Q6 6. ครูผู้รับผิดชอบในโรงเรียนทุกคนร่วมกันสร้างข้อสอบตามแนวข้อสอบของ สทศ. ข้อสอบอิงมาตรฐานการเรียนรู้ แล้วแลกเปลี่ยนข้อสอบผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ขั้นตอนการสร้างข้อสอบ URL: http://online.pubhtml5.com/ylqa/aypx/ 7. น าแนวข้อสอบ O-NET ไปใช้แทรกในการเรียนการสอนปกติ และในการสอนเสริมเติมเต็ม ในชั้นเรียนให้นักเรียนคุ้นเคยและมีประสบการณการท าข้อสอบ (รูปแบบ์ข้อสอบ/กระดาษค าตอบ/การระบายค าตอบฯ) URL: https://online.pubhtml5.com/ylqa/pxcr/ 8. ผู้บริหารก าหนดปฏิทินการนิเทศภายในโรงเรียนเพอยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการื่เรียนให้ชัดเจน (ก าหนดวันที่ กิจกรรมที่ต้องท า) URL: https://online.pubhtml5.com/ylqa/kdwz/ 9. ผู้บริหารติดตามการน าข้อสอบ O-NET ไปใช้ในสถานศกษา การน าข้อสอบ O-ึNET ไปใช้ในชั้นเรียน ติดตามผลการท างานของครูผู้รับผิดชอบทุกระยะอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ด าเนินงานบรรลุตามแผนงาน หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้ทันเวลา URL: https://pubhtml5.com/bookcase/dpeg 10. จัดกิจกรรมสอนเสริมเติมเต็ม ให้ต่อเนื่องก่อนถึงวันสอบจริง O-NET สอบ เดือน 13-14 มีนาคม พ.ศ.2564 และ 27-28 มีนาคม พ.ศ.2564 URL: https://online.pubhtml5.com/ylqa/yxrs/

๑๖การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั11. จัดสอบเสมือนจริง โดยใช้ข้อสอบ กระดาษค าตอบ การคุมสอบ เวลาสอบเสมือนจริงทุกประการ โดยใช้ข้อสอบในคลังข้อสอบ ซึ่งจัดท าขึ้นตามแนวข้อสอบของ สทศ. บันทึกผลการสอบ ตรวจค าตอบ และวิเคราะห์ผลการทดสอบเพอปรับปรุงแกไขื่้นักเรียนก่อนวันสอบจริง URL: https://wow.in.th/5Fx0k 12. จัดกิจกรรมเสริมแรงทางบวก (จัดอาหารว่างน้ าหวาน ขนมช่วงพักสอบ) สร้างบรรยากาศผ่อนคลาย ท าสมาธิก่อนเวลาสอบ 13. ประชาสัมพันธ์ความส าคัญของการสอบ O-NET ทุกสัปดาห์ 14. ประกาศ/ป้าย นับเวลาถอยหลัง Count Down ทุกวัน URL: https://wow.in.th/5Fx0k 15. โรงเรียนให้รางวัลนักเรียนที่มีคะแนนสอบสูง/มีความก้าวหน้าสูง โดยก าหนดหนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีผลการทดสอบสูงกว่า 50% จะได้ทุนการศกษาวิชาึละ ๒00บาท ในทุกรายวิชา และมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ที่มีผลการทดสอบสูงกว่า 50% จะได้ทุนการศึกษาวิชาละ 300บาท ในทุกรายวิชา URL: https://wow.in.th/CkqMC

๑๗การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั๕. กระบวนการพัฒนาผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม๑) สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐานฐาน (O-NET) มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ต่ ากว่าื้ระดับประเทศในทุกรายวิชา ซึ่งจากการวิเคราะห์ร่วมกันของคณะครูโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่เป็นไปตามที่คาดหวังเพราะผู้เรียนจ านวนมากมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ต่ า ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากผู้เรียนขาดความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการแก้ปัญหา ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนรู้ ที่จะศึกษาศาสตร์ต่างๆ ที่ต้องอาศัยการคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้เหตุผลในการแสดงความคิดอย่างมีระเบียบชัดเจนและรัดกุม ดังนั้นผู้สอนต้องเน้นให้ผู้เรียนฝึกท ากิจกรรมต่าง ๆ ในการเสาะแสวงหาความรู้ ไม่ว่าจะเป็นการลงมือปฏิบัติการทดลอง การแก้โจทย์ปัญหาต่าง ๆ เพอที่จะท าให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงหลักการ กฎ ทฤษฎี และธรรมชาติื่ของวิชานั้นๆ เพื่อให้เกิดทักษะในกระบวนการแก้ปัญหา พร้อมทั้งสามารถน าหลักการไปประยุกต์ใช้ในเชิงปฏิบัติได้ ครูจึงควรมีเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบแบบแผน กระชับ และเข้าใจง่าย ผ่านบทเรียนส าเร็จรูป เพอให้เป็นไปตาม การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง พทธศักราช ืุ่2545 หมวด 4 มาตรา 22 ยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพฒนาตนเองได้และถือว่าัผู้เรียนมีความส าคัญที่สุด๒) การออกแบบนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา ความหมายและแนวความคิดของการบริหารแบบมงผลสัมฤทธิ์ุ่ระบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์นั้น มักจะมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันออกไป เช่น การ บริหารงานโดยยึดวัตถุประสงค์ (Management by Objective : MBO) การบริหารแบบเน้นผลส าเร็จ (Managing for Results) การบริหารที่เน้นผล (Results-Oriented Management) หรือการบริหารผล การด าเนินงาน (Performance Management) ซึ่งนักวิชาการ ได้ให้ความหมายของการบริหารแบบ มุ่งผลสัมฤทธิ์ไว้ดังต่อไปนี้ Canadian International Development Agency ; CIDA (1999) กล่าวว่า การบริหารแบบมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ เป็นวิธีการในการปรับปรุงการบริหาร ให้เกิดประสิทธิผล (Effectiveness) และโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ (Accountability) โดยที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการก าหนด เป้าหมาย ประเมินความเสี่ยง ก ากบติดตามกระบวนการด าเนินงาน เพอการบรรลุผลตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้รวมถึงการมีส่วนัื่ร่วมในการตัดสินใจทางบริหารและการรายงานผลการปฏิบัติงาน ทศพร ศิริสัมพันธ์ (2543 : 146) กล่าวว่า การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ เป็นการบริหารที่ เน้นการวางแผน การก าหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกลยุทธ์การด าเนินงานแบบมีส่วนร่วม ผู้บริหารในแต่ละระดับขององค์การต้องยอมรับและค านึงถึงผลงาน รวมทั้งต้องให้ความส าคัญกับ จัดวางระบบการตรวจสอบผลงานและการให้รางวัลตอบแทนผลงาน (Performance Related Pay) ทิพาวดี เมฆสวรรค์ (2543 : 3) ได้ให้ความหมายของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ไว้ใน เอกสารของส านักงาน ก.พ. เรื่องการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์โดยคุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์ ดังนี้ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์มี“เนื้อหาครอบคลุมเทคนิคในการบริหารหลายเรื่อง เริ่มตั้งแต่การวัดผล การปฏิบัติงาน (Performance Measurement) ซึ่งถอได้ว่าเป็นหัวใจในการบริหารลักษณะนี้ เพราะ หากเราไม่สามารถวัดผลงานได้ เราก็ไม่ืสามารถปรับปรุงให้เกิดผลงานที่ดีขึ้นได้ การเทียบงาน (Benchmarking) เป็นการปรับปรุงผลสัมฤทธิ์ของงานและกระบวนการท างานโดยเทียบวิธีปฏิบัติที่ ดีที่สุด (Best Practices) คุณภาพการให้บริการ (Service Quality) เป็นการยกระดับคุณภาพของ บริการให้ผู้รับบริการพอใจ การตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน (Performance Auditing) เพอสร้าง ความเชื่อมั่นในความถูกต้องของข้อมูล การประเมินผล โครงการ ื่

๑๘การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั(Program Evaluation) เป็นการ พิสูจน์ความส าเร็จของโครงการและยืนยันความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดและผลสัมฤทธิ์ การมอบ อ านาจและให้อิสระในการท างาน (Devolution and Autonomy) เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้บริหาร ระดับกลางและต้นท างานได้เต็มศกยภาพและแกไขปัญหาได้อย่างทันเวลา การวางแผนองคการและั้์แผนกลยุทธ์ (Corporate and Strategic Planning) เป็นการสร้างความเกี่ยวโยงในการท างานทุกระดับ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันโดยไม่ละเลยผลสัมฤทธิ์ในระยะยาวและการท าสัญญาผลการ ปฏิบัติงาน (Performance Contracting) เป็นการสร้างการต่อรองในการก าหนดผลสัมฤทธิ์ เงื่อนไข การปฏิบัติงานและสิ่งตอบแทนในระบบราชการ ” จากเนื้อหาสาระดังกล่าวข้างต้นจึงก าหนดให้ทุก ส่วนราชการที่จะท าภารกิจใดต้องมีแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน เพื่อให้ทราบแนวทางการปฏิบัติ ราชการที่มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน มีการแสดงผลลัพธ์ให้เห็นว่าจะเกิดประโยชน์อย่างไรบ้างใน ภารกิจนั้น มีกรอบระยะเวลาและผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนและมีการรับรู้ผลส าเร็จของงานนั้นว่าเกิดขึ้น จริงตามเป้าหมายได้เพียงใด กล่าวโดยสรุปคือเป็นการบริหาร โดยมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์หรือความ สัมฤทธิ์ผลเป็นหลัก ใช้ระบบการประเมินผลงานที่อาศัยตัวชี้วัดเป็นตัวสะท้อนผลงานให้ออกมา เป็นรูปธรรม เพื่อการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้นและแสดงผลงานต่อ สาธารณะ จากที่กล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management ; RBM) เป็นการบริหารที่ให้ความส าคัญต่อผลการด าเนินงานและการตรวจวัด ผลส าเร็จในการด าเนินงานขององค์การ ทั้งในแง่ของปัจจัยน าเข้า กระบวนการ ผลผลิตและผลลัพธ์ ซึ่งจะต้องมีการก าหนดตัวชี้วัดผลการด าเนินงาน (Key Performance Indicators ; KPIs) รวมทั้งการ ก าหนดเป้าหมาย (Targets) และวัตถุประสงค์ (Objectives) ไว้ล่วงหน้า โดยอาศัยการมีส่วนร่วม ระหว่างผู้บริหาร สมาชิกขององค์การ และตลอดถึงผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่างๆ (Stakeholders) ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานขององค์การ การบริหารงานของภาครัฐในอดีตจะเน้นที่การการบริหารปัจจัยน าเข้า (Inputs) ซึ่งได้แก ทรัพยากรต่างๆ ที่รัฐ่จะน ามาใช้ในการปฏิบัติงาน คือ เงิน คน วัสดุ ครุภัณฑ์ต่างๆ โดยเน้นการ ท างานตามกฎ ระเบียบ และความถูกต้องตามกฎหมาย และมาตรฐาน แต่การบริหารแบบมุ่ง ผลสัมฤทธิ์จะเน้นที่ผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcomes) ของงาน โดยจะให้ความส าคัญที่การ ก าหนดพันธกิจและวัตถุประสงค์ของโครงการ/งาน เป้าหมายที่ชัดเจน การก าหนดผลผลิตและ ผลลัพธ์ที่ต้องการของทุกโครงการในองค์การ ให้สอดคล้องเป็นไปในทางเดียวกับภารกิจและ วัตถุประสงค์ขององค์การ มีการก าหนดตัวชี้วัดผลการท างานหลัก (Key Performance Indicators)ไว้ อย่างชัดเจน เป็นที่เข้าใจของทุกคนในองค์การ การวัดความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานโดยใช้ตัว บ่งชี้ การยืดหยุ่นทางการบริหารและสนับสนุนทรัพยากรแก่ผู้บริหารระดับล่างอย่างเหมาะสม การ ประเมินผลการปฏิบัติงานและการให้ค่าตอบแทนตามผลงาน ตลอดจนถึงการปรับปรุงพัฒนางาน ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น เพื่อให้สามารถสนองตอบต่อปัญหาและความต้องการ ของประชาชนในฐานะผู้รับบริการจากองค์กรของรัฐได้เป็นอย่างดี ดังนั้นการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management ; RBM) จึงเป็นการ บริหารเพื่อการจัดหาให้ได้ทรัพยากรการบริหารมาอย่างประหยัด (Economy) เน้นใช้ทรัพยากรอย่าง มีประสิทธิภาพ (Efficiency) และการได้ผลงานที่บรรลุเป้าหมายขององค์การ (Effectiveness) กระบวนการของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์จะประกอบด้วยขั้นตอนที่ส าคัญๆ 4 ขั้นตอน (Richard S. Williams ,1998 : 25-27 และทศพร ศิริสัมพันธ์ 2543 :151-152) ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

๑๙การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั1. การวางแผนกลยุทธ์ขององค์การ ซึ่งองค์การจะต้องท าการก าหนดทิศทางโดยรวมว่า ต้องการที่จะท าอะไรอย่างไร ซึ่งเป็นเรื่องของการวางยุทธศาสตร์หรือวางแผนกลยุทธ์ เพื่อท าการ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในองค์การ (SWOT Analysis) และให้ได้มาซึ่ง เป้าประสงค์สุดท้ายที่ต้องการขององค์การหรือวิสัยทัศน์ (Vision) อันจะน าไปสู่การก าหนดพันธกิจ (Mission) วัตถุประสงค์ (Objective) เป้าหมาย (Target) และกลยุทธ์การด าเนินงาน (Strategy) รวมทั้งพจารณาถึงปัจจัยส าคัญแห่งความส าเร็จขององค์การ ิ(Critical Success Factors) และสร้าง ตัวชี้วัดผลการด าเนินงาน (Key Performance Indicators) ในด้านต่างๆ 2. การก าหนดรายละเอียดของตัวชี้วัดผลด าเนินงาน เมื่อผู้บริหารขององค์การได้ท าการตก ลงร่วมเกี่ยวกับตัวชี้วัดผลการด าเนินงานแล้ว จะเริ่มด าเนินการส ารวจเพื่อหาข้อมูลหลักฐานเกี่ยวกับ สภาพในปัจจุบัน (Baseline Data) เพื่อน ามาช่วยในการก าหนดความชัดเจนของตัวชี้วัดดังกล่าว ทั้ง ในเชิงปริมาณ (Quantity) คุณภาพ (Quality) เวลา (Time) และสถานที่หรือความครอบคลุม (Place) อันเป็นเป้าหมายที่ต้องการของแต่ละตัวชี้วัด 3. การวัดและการตรวจสอบผลการด าเนินงาน ผู้บริหารจะต้องจัดให้มีการตรวจสอบและ รายงานผลการด าเนินงานของแต่ละตัวบ่งชี้ตามเงื่อนไขที่ก าหนดไว้ เช่น รายเดือน รายไตรมาส ราย ปี เป็นต้น เพื่อแสดงความก้าวหน้าและสัมฤทธิ์ผลของการด าเนินงานว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่ ต้องการหรือไม่ อย่างไร นอกจากนี้ในบางกรณีอาจจะจัดให้มีคณะบุคคลเพอท าการตรวจสอบผล การด าเนินงานเป็นเรื่องๆ ไปก็ได้ ื่4. การให้รางวัลตอบแทน หลังจากทได้พิจารณาผลการด าเนินงานแล้ว ผู้บริหารจะต้องมี การให้รางวัลตอบี่แทนตามระดับของผลงานที่ได้ตกลงกันไว้ นอกจากนี้อาจจะมีการให้ ข้อเสนอแนะหรือก าหนดมาตรการบางประการเพื่อให้มีการปรับปรุงผลงานให้เป็นไปตาม เป้าหมายที่ก าหนดไว้ กล่าวโดยสรุปการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ คือ วิธีการบริหารที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์หรือผลการปฏิบัติงาน เป็นหลัก โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานด้วยตัวชี้วัดอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้ ท าให้ผู้บริหารทราบผลความก้าวหน้าของการด าเนินงานเป็นระยะ ๆ และสามารถแก้ไข ปัญหาได้ทันท่วงที่เป็นการควบคุมทิศทางการด าเนินงานให้มุ่งสู่วิสัยทัศน์ฯ ของหน่วยงาน ผลสัมฤทธิ์ (Results) = ผลผลิต (Outputs) + ผลลัพธ์ (Outcomes) ผลผลิต (Outputs) หมายถึง งาน บริการ หรือกิจกรรมที่เจ้าหน้าที่ท าเสร็จสมบูรณ์พร้อมส่ง มอบให้ประชาชนผู้รับบริการ ผลผลิตเป็นผลงานที่เกิดจากการด าเนินกิจกรรมโดยตรง ผลลัพธ์ (Outcomes) หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นตามมา ผลกระทบ หรือเงื่อนไขทเกิดจากผลผลิต ผลลัพธ์ี่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับประชาชนผู้รับบริการ และสาธารณชนดังนั้น ผลสัมฤทธิ์ คือ งาน บริการ หรือกิจกรรมที่เกิดจากการท างานได้ผลผลิต (Outputs) ตามเป้าหมาย และเกิดผลลัพธ์ (Outcomes) ตรงตามวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ มีวัตถุประสงค์เพอปรับปรุงการปฏิบัติงานขององค์กร ช่วย ให้การบริหารการื่ปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม มีทิศทางในการปฏิบัติงาน มีระบบการประเมินผลการ ปฏิบัติงานเป็นระยะ ๆ ท าให้ทราบผลการปฏิบัติงานเมื่อเทียบกับแผนหรือเป้าหมาย สามารถ รายงานความก้าวหน้าผลการปฏิบัติงานต่อผู้บริหาร และ ท าให้แก้ปัญหาได้ทันท่วงที หากผลการ ปฏิบัติงานไม่น่าพึงพอใจ ผู้บริหารมีโอกาสปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ได้ทันที

๒๐การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ เกี่ยวข้องกับทุกกระบวนการของการบริหาร (PDCA) ได้แก่ Plan มีวัตถุประสงค์ หรือ เป้าหมายที่ชัดเจน (ต้องการทราบว่าผลสัมฤทธิ์คืออะไร) Do มีการปฏิบัติงานที่มุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามแผนที่วางไว้หรือไม่ Check มีการตรวจสอบว่าปฏิบัติได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนไว้หรือไม่ Act ปรับปรุงแก้ไขให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามแผนที่วางไว้ ๒) กำรออกแบบนวัตกรรมเพื่อกำรพัฒนำ กรอบแนวคิดในการพัฒนาที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างปัญหา แนวคิด หลักการและทฤษฎีที่ใช้ วิธีการพัฒนา และผลส าเร็จที่พึงประสงค์ จากผลการวิเคราะห์ผู้เรียนจากครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงน ามาพฒนาแนวคิด ๑L๓R เพอใช้พฒนาผู้เรียนัื่ัให้มีทักษะ การเรียนรู้ ผ่านแนวคิด ๑L๓R ซึ่งประกอบด้วย โดย ๑L๓R ขับเคลื่อนโดยใช้หลัก อิทธิบาท ๔ อันประกอบไปด้วย ๑. ฉันทะ การมีใจรัก ศรัทธาและเชื่อมั่นต่อสิ่งที่ท า ๒. วิริยะ ความเพยร ความมุ่งมั่นทุ่มเท หมายถึงความเพยรพยายามอย่างสูง ที่จะท าตามฉันทะหรือีีศรัทธาของตัวเอง L = Listening = กำรฟัง R = Read = กำรอ่ำน R = Review = กำรทบทวน R = Remember = กำรจ ำ

๒๑การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั๓. จิตตะ ใจที่จดจ่อและรับผิดชอบ เมื่อมีใจที่จดจ่อแล้วก็จะเกิดความรอบคอบ ๔. วิมังสา สิ่งที่ท าอนเกิดจากการมีใจรัก (ฉันทะ) แล้วท าด้วยความมุ่งมั่น (วิริยะ) อย่างใจจดใจจ่อัและรับผิดชอบ (จิตตะ) โดยใช้วิจารณญาณอย่างรอบรู้และรอบคอบ จะต้องมีกระบวนการสุดท้ายคือ การทบทวนตัวเอง จำกแนวคิดน ำมำพัฒนำ เป็นบทเรียนส ำเร็จรูป บทเรียนส าเร็จรูปเป็นสื่อส าหรับเรียนด้วยตนเอง อาจใช้ส าหรับศึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม ซึ่งอาจจะพบว่ามีชื่อเรียกแตกต่างกันไป ตามลักษณะของการน าไปใช้ เช่น บทเรียนส าเร็จรูป แบบเรียนส าเร็จรูป บทเรียนโปรแกรม โปรแกรมการสอน แบบเรียนด้วยตนเอง เป็นต้น ถึงแม้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกัน แต่ลักษณะโดยทั่วไปของบทเรียนส าเร็จรูปมีความคล้ายคลึงกัน คือเป็นวิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้วิธีหนึ่งควำมหมำยบทเรียนส าเร็จรูป หมายถึง บทเรียนที่ผู้สอนจัดท าขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ในแต่ละสาระการเรียนรู้ที่ก าหนดไว้ในแต่ละบทเรียน โดยเริ่มจากเนื้อหาสาระทง่าย ี่ๆ ไปสู่เนื้อหาที่ยากขึ้นไปตามล าดับ เป็นบทเรียนที่สร้างขึ้นโดยก าหนดวัตถุประสงค์ เนื้อหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนไว้ล่วงหน้า ผู้เรียนสามารถศกษา ค้นคว้า และประเมินผลการเรียนด้วยตนเองตามขั้นตอนที่ึก าหนดไว้จุดมุ่งหมำยของบทเรียนส ำเร็จรูป 1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเต็มความสามารถ โดยครูคอยให้ค าแนะน าช่วยเหลือเมื่อผู้เรียนมีปัญหา 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ไปตามล าดับขั้น จากง่ายไปหายาก 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประเมินตนเอง และทราบถึงพัฒนาการในการเรียนรู้ของตนเอง 4. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจ เมื่อประสบความส าเร็จในการเรียนรู้ หลักกำรเรียนรู้ด้วยบทเรียนส ำเร็จรูป 1. ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม หรือมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม 2. ผู้เรียนได้ประเมินตนเอง และรู้ค าตอบได้ทันที 3. มีการเสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจเมื่อสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง และมความพยายามที่จะีแกไขส่วนที่บกพร่อง ้4. ผู้เรียนได้เรียนรู้ไปที่ละล าดับ จากง่ายไปยากตามศักยภาพและความสามารถของ แต่ละคน กิดานันท์ มลิทอง (2531 : 85) กล่าวว่า ชุดการเรียนการสอนประกอบด้วย ๑. คู่มือส าหรับผู้สอนในการใช้ชุดการสอน และส าหรับผู้เรียนในการใช้ชุดการเรียน ๒. ค าสั่ง เพื่อก าหนดแนวทางในการสอนหรือการเรียน ๓. เนื้อหาบทเรียนจัดอยู่ในรูปของสไลด์ เทปบันทึกเสียง หนังสือบทเรียน ฯลฯ ๔. กิจกรรมการเรียน เป็นการี่ให้ผู้เรียนท ารายงาน กิจกรรมที่ก าหนดให้หรือค้นคว้าต่อจากการเรียนไปแล้ว เพื่อให้รู้กว้างมากขึ้น ๕. แบบทดสอบ เป็นแบบทดสอบเกี่ยวกับบทเรียนนั้น เพื่อการประเมิน

๒๒การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัจากแนวคิดที่นักการศึกษากล่าวไว้ ครูผู้สอนได้สังเคราะห์องค์ประกอบของชุดการเรียน การสอนไว้ดังนี้ ๑. คู่มือครูผู้สอนหรือชุดการสอน ประกอบด้วย ๑.๑ ค าแนะน าส าหรับครู ๑.๒ แผนการสอน ๑.๓ แบบทดสอบ ๑.๔ เฉลยแบบทดสอบ ๑.๕ เฉลยใบงาน ๑.๖ แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้๒. คู่มือนักเรียนหรือชุดการเรียน ประกอบด้วย ๒.๑ ค าชี้แจงส าหรับนักเรียน ๒.๒ ใบกิจกรรม ๒.๓ ใบงาน ๒.๔ แบบทดสอบ

๒๓การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั๓. ขั้นตอนกำรพัฒนำและหำประสิทธิภำพของชุดกำรเรียนกำรสอน ในการสร้างและพัฒนาชุดการเรียนการสอนได้มีนักการศึกษาหลายท่านได้ก าหนดขั้นตอน ไว้ดังนี้ วิชัย วงษ์ใหญ่ (2530 : 189-193) ได้เสนอขั้นตอนการผลิตชุดการเรียน คือ1. จะต้องศึกษาเนื้อหาสาระของวิชาที่จะน ามาสร้างชุดการเรียนอย่างละเอียดว่าจะมุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้อะไรบ้างกับผู้เรียน น ามาวิเคราะห์ แล้วแบ่งเป็นหน่วยการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยจะต้องมีหัวเรื่องรวมอยู่ อกทั้งจะต้องศึกษาพจารณาให้ละเอยดชัดเจน เพอไม่ให้เกิดความซ้ าซ้อนในหน่วยอน ๆ อนจะีิีื่ื่ัสร้างความสับสนให้กับผู้เรียนได้ การแบ่งหน่วยการเรียนการสอนของแต่ละวิชานั้นควรเรียงล าดับขั้นตอนของเนื้อหาสาระอะไรเป็นสิ่งจ าเป็นที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ก่อน2. เมื่อศึกษาเนื้อหาสาระแต่ละหน่วยการเรียนการสอนแล้ว ต้องพิจารณาตัดสินใจอีกครั้งหนึ่งว่า จะท าชุดการเรียนแบบใด โดยค านึงถึงข้อก าหนดว่าผู้เรียนคือใคร จะให้อะไรแก่ผู้เรียน จะให้ท ากิจกรรมอย่างไร และจะท าได้ดีอย่างไร สิ่งเหล่านี้จะเป็นเกณฑ์ในการก าหนดการเรียน 3. ก าหนดหน่วยการเรียนการสอนโดยประมาณเนื้อหาสาระที่เราก าหนดขึ้น จะต้องสอดคล้องกับหน่วยและหัวเรื่องโดยค านึงถึงว่าเป็นหน่วยที่น่าสนุก น่าเรียนรู้ ให้ความชื่นบานแก่ผู้เรียน หาสื่อ การเรียนได้ง่าย พยายามศึกษาวิเคราะห์ให้ละเอยดอกครั้งว่าหน่วยการเรียนการสอนนั้นมีหลักการ หรือความคิดรวบีียอดอย่างไร และมีหัวข้อเรื่องย่อย ๆ อะไรอกบ้างที่จะต้องศึกษา พยายามดึงเอาแก่นของหลักการเรียนรู้ีออกมา 4. ก าหนดความคดรวบยอด ความคดรวบยอดที่เราก าหนดขึ้นมาจะต้องสอดคล้องกับหน่วยและิิหัวเรื่อง โดยสรุปแนวคิด สาระและหลักเกณฑ์ เพอเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนให้สอดคล้องกัน ื่เพราะความคิดรวบยอดนั้นเป็นเรื่องของความเข้าใจ อนเกิดจากประสาทสัมผัสกับสิ่งแวดล้อม เพอัื่ตีความหมายออกมาเป็นพฤติกรรมทางสมองแล้วน าสิ่งใหม่ไปเชื่อมโยงเข้าด้วยกันกบประสบการณ์เดิม เกิดเป็นัความคิดรวบยอดได้ 5. จุดประสงค์การเรียน การก าหนดจุดประสงค์การเรียนจะต้องให้สอดคล้องกับความคิด รวบยอด โดยก าหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ซึ่งหมายถึงความสามารถของผู้เรียนที่แสดงออกมาให้เห็นได้ในภายหลังจากการเรียนการสอนบทเรียนแต่ละเรื่องจบไปแล้ว โดยผู้สอนสามารถวัดได้ จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมนี้ ถ้าผู้สอนระบุ หรือก าหนดให้ชัดเจนมากเท่าใด ก็มีทางประสบผลส าเร็จ ในการสอนมากเท่านั้น ดังนั้นจึงควรใช้เวลาในการตรวจสอบจุดประสงค์การเรียนแต่ละข้อให้ถูกต้อง และครอบคลุมเนื้อหาสาระการเรียนรู้ 6. การวิเคราะห์งาน คือ การน าจุดประสงค์การเรียนรู้แต่ละข้อมาท าการวิเคราะห์งาน เพอหาื่กิจกรรมการเรียนการสอน แล้วจัดล าดับกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม ถูกต้อง สอดคล้องกับจุดประสงค์ที่ก าหนดไว้แต่ละข้อ 7. เรียงล าดับกิจกรรมการเรียน ภายหลังจากที่เราน าจุดประสงค์การเรียนแต่ละข้อมาวิเคราะห์งาน และเรียงล าดับกิจกรรมของแต่ละข้อเพอให้เกิดการประสานกลมกลืนของการเรียนการสอน จะต้องน าื่กิจกรรมการเรียนของแต่ละข้อที่ท าการวิเคราะห์งาน และเรียงล าดับกิจกรรมไว้แล้วมาหลอมรวมเป็นกิจกรรมการเรียนขั้นที่สมบูรณ์ที่สุด เพอไม่ให้เกิดการซ้ าซ้อนในการเรียนโดยค านึงถึงพฤติกรรมพนฐานของผู้เรียน ื่ื้วิธีด าเนินการให้มีการเรียนการสอนขึ้น ตลอดจนติดตามผล และประเมินผลพฤติกรรมที่ผู้เรียนแสดงออกมาเมื่อมีการเรียนการสอนแล้ว 8. สื่อการสอน คือวัสดุอปกรณ์และกิจกรรมการเรียนที่ครูและนักเรียนจะต้องท า เพอเป็นุื่แนวทางในการเรียนรู้ซึ่งครูจะต้องจัดท าขึ้นและจัดหาไว้เรียบร้อย ถ้าสื่อการเรียนเป็นของใหญ่โต หรือมีคุณค่าทจะต้องจัดเตรียมมาก่อน จะต้องเขียนบอกไว้ชัดเจนในคู่มือที่เกี่ยวกับการใช้ชุดการเรียนว่าไปจัดหา ณ ที่ใด ี่

๒๔การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัเช่น เครื่องฉายสไลด์ เครื่องบันทึกเสียง และพวกสิ่งที่เก็บไว้ไม่ทนทาน เพราะเกิดการเน่าเสีย เช่น ใบไม้ พช ืสัตว์ เป็นต้น 9. การประเมิน คือการตรวจสอบดูว่าหลังการเรียนการสอนแล้ว ผู้เรียนได้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามที่จุดประสงค์การเรียนก าหนดไว้หรือไม่ จะวัดได้โดยวิธีใดก็ได้ แต่ต้องวัดพฤติกรรม ที่คาดหวังเป็นส าคัญ พยายามออกแบบวัดผลให้ผู้เรียนวัดกันเองและตรวจค าตอบได้เอง 10. การทดลองชุดการเรียนเพอหาประสิทธิภาพ การหาประสิทธิภาพชุดการเรียนเพอปรับปรุงื่ื่ให้เหมาะสม ควรน าไปทดลองกลุ่มเล็ก ๆ ดูก่อน เพอตรวจสอบหาข้อบกพร่องและการแก้ไขปรับปรุงอย่างดี ื่แล้วจึงน าไปทดลองกับเด็กทั้งชั้น หรือกลุ่มใหญ่ โดยก าหนดขั้นตอนไว้ ดังนี้ 10.1 ชุดการเรียนนี้ต้องการความรู้ดั้งเดิมของผู้เรียนหรือไม่ 10.2 การน าเข้าสู่บทเรียนของชุดการเรียนนี้เหมาะสมหรือไม่ 10.3 การประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนมีความสับสนวุ่นวายกับผู้เรียนหรือไม่ 10.4 การสรุปผลการเรียนการสอนเพอเป็นแนวทางไปสู่ความคิดรวบยอด หรือหลักการื่ส าคัญของการเรียนรู้ในหน่วยนั้น ๆ ดีหรือไม่10.5 การประเมินผลหลังการเรียน เพอตรวจสอบพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงื่เกิดขึ้นนั้นให้ความเชื่อมั่นได้มากน้อยแคไหนกับผู้เรียน ่ชม ภูมิภาค (2524 : 103-104) ได้ก าหนดขั้นตอนไว้ ขั้นตอน คือ 111. วิเคราะห์และก าหนดความต้องการ 2. ก าหนดเป้าหมายและจุดประสงค์ 3. ออกแบบองค์ประกอบของระบบ 4. วิเคราะห์แหล่งวิทยาการที่ต้องการ แหล่งวิทยาการที่มีอยู่และจ ากัด 5. ปฏิบัติเพอื่ขจัดหรือปรับปรุงข้อจ ากัด 6. เลือกหรือพฒนาวัสดุการสอน 7. ออกแบบการประเมินผลการกระท าของันักเรียน 8. ทดลองใช้แบบประเมินเพอปรับปรุงและน าไปใช้ 9. ปรับปรุงและแก้ไขทุกส่วนที่บกพร่อง และื่หาประสิทธิภาพ 10. ประเมินเพื่อสรุป 11. สร้างเป็นชุดเพื่อติดตั้ง เพื่อใช้ คณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ (2538 อางถึงใน บ ารุง ใหญ่สูงเนิน 2536 : 40) ้ได้เสนอขั้นตอนในการสร้างหลักสูตรการฝึกอบรมครูตามโครงสร้างปรับปรุงประสิทธิภาพการสอนของครูประถมศกษาึไว้ ดังนี้ 1. ก าหนดวัตถุประสงค์ 2. ก าหนดเนื้อหา 3. ก าหนดระยะเวลา 4. ก าหนดกิจกรรม 5. ก าหนดกระบวนการ 6. ก าหนดสื่อหลักและสื่อเสริม 7. ก าหนดการประเมินผล จากขั้นตอนในการพฒนาชุดการเรียนการสอนที่นักการศึกษาได้กล่าวมาแล้วนั้น ผู้รายงานได้ท าการัสังเคราะห์เป็นขั้นตอนในการพัฒนาชุดการสอนโดยใช้ ดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ การวิเคราะห์เนื้อหา 1 ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนการสอน ขั้นตอนที่ 3 การผลิตและจัดหาสื่อการสอน ขั้นตอนที่ 4 การทดสอบประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอน

๒๕การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัแผนภูมิที่ 11 กรอบแนวคิด

๒๖การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ังานวิจัยงานวิจัยที่เกี่ยวข้องนายทวีรัตน์ สุหลง (2550) ได้ศึกษาเรื่อง ผลของการบริหารจัดการโดยใช้กระบวนการ บริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ผลการศกษา พบว่า ประกันคณภาพภายในสถานศึกษาของสถานศึกษา ระหว่างผลการประเมินึุคุณภาพภายนอกรอบแรกและหลังการบริหารโดยใช้กระบวนบริหารแบบ มุ่งผลสัมฤทธิ์ของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ เป็นโรงเรียนสังกัดส านักงานเขตพนที่ การศึกษาปัตตานี เขต 3 จ านวน 22 โรงเรียน ื้ปีการศึกษา 2550 โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ เจาะจง (Porposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มอการบริหารสถานศึกษาแบบมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management ;RBM) และแบบืสรุปผลการ ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นแบบประเมินที่มีลักษณะเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณ ค่า (Rating Scale) มี 4 ระดับ คือระดับดีมาก ดี พอใช้และปรับปรุง ให้คะแนนเป็น 4, 3, 2 และ 1 ตามล าดับ จ านวน 18 มาตรฐาน 84 ตัวบ่งชี้ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่า มัชฌิมเลขคณิต (X) และ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) โดยการทดสอบค่าที (t-test) ชนิดข้อมูลไม่สัมพันธ์กัน (Idependent Sample) ผลการวิจัยพบว่า ค่ามัชฌิมเลขคณิตของผลการประเมินคุณภาพภายใน สถานศกษาึระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การบริหารงานของสถานศึกษาในการประกันคณภาพ ภายในสถานศึกษาโดยใชุ้กระบวนการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์หลังการทดลอง ระดับมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียนมาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน มาตรฐาน ด้านการจัดการเรียนการสอนมาตรฐานด้านการบริหารและการจัด การศึกษาและ มาตรฐาน ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้หลังการทดลอง เท่ากับ 3.08 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.378 เมื่อพิจารณารายมาตรฐาน พบว่า 1) มาตรฐานด้านคุณภาพ ผู้เรียน (X = 2.78) 2) มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน( X= 3,08) มาตรฐานด้านการบริหาร และการจัดการศึกษา ( X = 3.00) และมาตรฐานด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้(X = 2.91) ตามล าดับ ค่ามัชฌิมเลข คณิตของการบริหารของกลุ่มทดลองกอนการบริหารและหลังการบริหาร เท่ากับ 2.26 และ 3,08 ่ตามล าดับ เมื่อค่ามัชฌิมเลขคณิตดังกล่าวมาทดสอบนัยส าคัญทางสถิติด้วยค่าที (t-test) พบว่า มี ความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จากการทดสอบนัยส าคัญทางสถิติ พบว่า มาตรฐานการประกันคุณภาพ ที่ได้รับการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ก่อนการบริหารกับหลังการ บริหารแตกต่างกัน (t = 3.61) อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติทระดับ .01 แสดงว่าผลการวิเคราะห์ขอมูล สนับสนุนสมมติฐานหรือสามารถี่้กล่าวได้ว่า ผู้บริหารสถานศึกษาได้รับการบริหารแบบมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ประสิทธิภาพการบริหารหลังการบริหารสูงกว่าก่อนการบริหาร สมพงษ์ หงษา (2551) ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนารูปแบบการประกันคณภาพภายในโดยใช้ การบริหารุมุ่งผลสัมฤทธิ์ ผลการศกษา พบว่า การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนารูปแบบการ ประกันคุณภาพึภายใน โดยใช้การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ และประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการ ประกันคุณภาพภายใน โดยใช้การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ เทคนิคที่ใช้ในการวิจัยเป็นการวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research - PAR) ตามแนวทางของ ซูเบอร์-สเกอร์ ริท (Zuber-Skerrit, 1992) และ เคมมิส และ แม็คแท็กการ์ด ( Kemmis and McTaggart, 1990) ประกอบด้วย 3 ระยะ คือ การวางแผนและพัฒนารูปแบบการประกันคณภาพภายในโดยใช้การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ การน า รูปแบบการประกันคณภาพภายใน ุุโดยใช้การบริหารมุ่งสัมฤทธิ์ไปใช้ และการประเมิน ประสิทธิภาพของรูปแบบการประกันคุณภาพภายใน โดยใช้การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ผู้เกี่ยวข้อง ในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน รองผู้อ านวยการโรงเรียน ครูผู้สอน และคณะกรรมการ สถานศึกษา โรงเรียนบางแก้วประชาสรรค์ จังหวัดสมุทรปราการ ปีการศึกษา 2551 ผลการวิจัย พบว่า

๒๗การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั1. รูปแบบการประกันคุณภาพภายใน โดยใช้การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ การวางแผนพัฒนา การน าแผนไปใช้ การสังเกต และการสะท้อนกลับ 2. การวางแผนและพัฒนารูปแบบการประกันคณภาพภายใน โดยใช้การบริหารมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ ประกอบด้วย ุร่วมกันศึกษาเอกสาร ร่วมกันวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน ของโรงเรียนบางแก้วประชาสรรค์ และร่วมกันจัดท าแผนพัฒนารูปแบบการประกันคณภาพ ภายใน โดยใช้การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ุ3. การน ารูปแบบการประกันคุณภาพภายใน โดยใช้การบริหารมุ่งสัมฤทธิ์ไปใช้ ประกอบด้วย การวิเคราะห์วิสัยทัศน์และพันธกิจ การกาหนดปัจจัยหลักแห่งความส าเร็จ 4. การประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการประกันคุณภาพภายใน โดยใช้การบริหารมุ่ง ผลสัมฤทธิ์มีขั้นตอนในการประเมินดังนี้ การสังเกต ประกอบด้วยร่วมกันรวบรวมข้อมูล ร่วมกัน บันทึกข้อมูลและอนุมัติขอมูล การ้สะท้อนกลับ ประกอบด้วย ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมกัน รายงานผล พบว่า 4.1) รูปแบบการประกันคุณภาพภายในโดยใช้การบริหารมุ่งสัมฤทธิ์ ผู้เกี่ยวข้องมี ความเห็นสอดคล้องกันว่ามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมากที่สุด 4.2) การน ารูปแบบการประกัน คุณภาพภายใน โดยใช้การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ไปใช้ ผลการประเมินประสิทธิภาพตัวชี้วัดผลการ ด าเนินงานหลัก ในแต่ละมาตรฐานของการประกันคณภาพภายในผู้เกี่ยวข้องมีุความเห็นสอดคล้อง กันว่าอยู่ในระดับมากที่สุด สุนันทา กาหยี (2553) ได้ศึกษาเรื่อง การเปรียบเทียบความพร้อมในการบริหารจัดการ ระหว่างเทศบาลต าบลห้วยยอดกับเทศบาลต าบลนาวงในอาเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ตามแนวทาง การปฏิบัติราชการตามค ารับรองของหน่วยงานการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ส าคัญเพอศึกษา เปรียบเทียบ (1) ปัญหาเกี่ยวกับื่ความพร้อมในการบริหารจัดการระหว่างเทศบาลต าบลห้วยยอดกับ เทศบาลต าบลนาวงในอ าเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ตามแนวทางการปฏิบัติราชการตามค ารับรอง ของหน่วยงาน (2) การพัฒนาความพร้อมในการบริหารจัดการระหว่างเทศบาลต าบลห้วยยอดกับ เทศบาลต าบลนาวงในอ าเภอห้วยยอดตามแนวทางการปฏิบัติราชการตามค ารับรองของหน่วยงาน และ (3) ภาพรวมแนวโน้มของความพร้อมในการบริหารจัดการระหว่างเทศบาลต าบลห้วยยอดกับ เทศบาลต าบลนาวงในอาเภอห้วยยอด การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงส ารวจ โดยใช้แบบสอบถามซึ่ง ผ่านการทดสอบ รวมทั้งผ่านการหาค่าความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.88 ส าหรับกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ประชาชนในเขตพนที่ของเทศบาลต าบลทั้ง 2 แห่ง รวม 1,120 คน ื้การเก็บรวบรวมขอมูลสนามด าเนินการระหว่างวันที่ 1-31 กรกฎาคม 2553 เก็บรวบรวม แบบสอบถาม้กลับคืนมาได้ 999 ชุด คิดเป็นร้อยละ 89.19 ของแบบสอบถามทั้งหมด ส าหรับสถิติที่ ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาเปรียบเทียบ ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างของเทศบาลต าบลทั้ง 2 แห่ง พบว่า ไม่แตกต่างกัน กล่าวคือ (1) ปัญหาที่ส าคัญ คือ การขาดความพร้อมในการควบคุม และการตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน จันทร์จิรา อินตะเสารไดท าการศึกษาเรื่องการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนเพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนคณิตศาสตรชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนเทศบาลวัดศรีสุพรรณ จังหวัดเชียงใหมพบวาสามารถท าใหนักเรียนมีความรู้ความเขาใจในเนื้อหาและมีทกษะการคดค านวณดีขึ้นนักเรียนมีพฤติกรรมัิการเรียนในหองเรียนเหมาะสมขึ้น นักเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียนการสอนคณิตศาสตร หทัยรัตน์ อันดี (2544 : บทคัดย่อ) ศึกษาเรื่องการพัฒนาชุดการเรียนรู้ เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ชุดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 และนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยก่อนและหลังการใช้ชุดการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังการใช้ชุดการเรียนรู้มีคะแนนสูงกว่าก่อนใช้ชุดการเรียนรู้

๒๘การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัอุ ไร สินธุวงศานนทบทคัดยอ) ไดศึกษาการพัฒนาความสามารถในการแก โจทยปญหาคณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชเมตาคอกนิชันเครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แผนการฝกเมตาคอกนิชันมี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นการวางแผน ขั้นก ากับและขั้นการประเมิน จ านวน 10 แผ่น แผนการสอนแกโจทยปญหาคณิตศาสตรโดยใชเมตาคอกนิชัน จ านวน 30 แผ่น แบบบันทึกกระบวนการแกโจทยปญหา และแบบทดสอบ ความสามารถในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร เปนลักษณะของโจทยปญหาคณิตศาสตรที่ใช กลวิธีทั้ง 10 กลวิธีๆ ละ 1 ขอ รวมทั้งหมด 10 ขอ การทดสอบหลังเรียนผลการวิจัยพบวา คาเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร ของนักเรียนหลังการสอนคณิตศาสตรโดยใชเมตาคอกนิชันมีคาสูงกวาคาเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการแก โจทยปญหาคณิตศาสตร อยางมีนัยส าคัญที่ ระดับ .05 งานวิจัยต่างประเทศ บราวเลย์ (Brawley 1975 : 4280-A) ได้ท าการวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิภาพของชุดการสอนแบบสื่อประสม โดยใช้การสอนเรื่อง การบอกเวลาส าหรับเด็กเรียนช้า การทดลองใช้แบบทดสอบเรื่อง Time Appreciation Test: Stamford Achievement Test, Primary Level: and a Criterion Reference Measure มาใช้ทดลองก่อนเรียนหลังเรียน โดยผู้ทดลองสร้างชุดการสอนทั้งหมด 12 ชุด ใช้เวลาทั้งหมด 15 วัน ผลการทดลองพบว่า การใช้ชุดการสอนระหว่างกลุ่มควบคุมกับกลุ่มทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และจากผลการวิเคราะห์พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ด้านเชาว์ปัญญามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส าคัญ แต่ไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส าคัญระหว่างเพศ ชอว์ (Shaw 1978 : Abstract) ได้ใช้ชุดการเรียน 11 ชุด ในการศึกษาผลการใช้หลักสูตรที่เน้นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหา ซึ่งความสามารถในการแก้ปัญหา หมายถึง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการได้แก่ การแปลความหมายข้อมูล การก าหนดและควบคุมตัวแปร นิยามเชิงปฏิบัติการ และทักษาการตั้งสมมุติฐาน โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนเกรด 6 ของมหาวิทยาลัยชุมชน ในโอกลาโฮมา เป็นเวลา 24 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมใช้เนื้อหาเดียวกันกับกลุ่มทดลอง แต่ไม่เน้นทักษะในการแกปัญหา พบว่าคะแนนเฉลี่ยทักษะการแก้ปัญหาของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่าง้กันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ และนักเรียนในกลุ่มทดลองมความสามารถด้านทักษะการก าหนดและควบคุมตัวีแปร ทักษะการแปลความหมายข้อมูลและนิยามเชิงปฏิบัติการดีขึ้น ยกเว้นทักษะการตั้งสมมุติฐาน Swanson (1990) ได้ศึกษาความรู้ด้านอภิปัญญาและความถนัดของการเรียนที่มีต่อการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศกษาที่มีความถนัดทางการเรียนสูงกับนักเรียนที่มีความถนัดทางการเรียนต่ า และมีึความสามารถด้านอภิปัญญาสูง กับมีความสามารถด้านอภิปัญญาต่ า โดยใช้แบบสอบถามปลายเปิด เพื่อวัดเกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับอภิปัญญาด้านบุคคล ด้านงาน และด้านกลวิธี การตอบใช้วิธีคิดออกเสียง ค าถามแต่ละข้อมีการให้คะแนน 5 ระดับ ผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดถือว่ามีความรู้เกี่ยวกับอภิปัญญาสูง และใช้ Cognitive Ability Test (CAT) ในการวัดความถนัดในการเรียน นอกจากนั้นมีปัญหาให้นักเรียนแก้ปัญหา 5 ปัญหา ผลการศึกษาพบว่า ความรู้ด้านอภิปัญญาเป็นตัวท านายความสามารถในการแก้ปัญหาได้ดีกว่าความถนัดด้านการเรียน ผู้ที่มีความรู้ด้านอภิปัญญาสูง แต่มีความถนัดด้านการเรียนต่ า สามารถแก้ปัญหาได้ดีกว่าผู้ที่มีความถนัดด้านการเรียนสูงแต่มีความรู้ด้านอภิปัญญาต่ า และได้เสนอแนะว่าการฝึกความรู้ด้านอภิปัญญา สามารถน าไปใช้กับผู้ที่มีความสามารถด้านการเรียนต่ า เพื่อช่วยเสริมสร้างให้มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาเพิ่มขึ้น Wang (1990) ศึกษาพฤติกรรมทางอภิปัญญา ในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ระหว่างนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง กับนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปานกลาง โดยการให้แก้โจทย์ปัญหาเป็น

๒๙การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัรายบุคคลด้วยการคิดออกเสียง พบว่ามีความแตกต่างกันเกี่ยวกับพฤติกรรมทางอภิปัญญาที่แสดงออกมาขณะแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ระหว่างนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง สูง กับนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปานกลาง และสรุปว่าพฤติกรรมทางอภิปัญญามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส าคัญกับการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ Chiquito (1994) ได้ท าการศึกษาการใช้กลวิธีอภิปัญญา ในการเรียนภาษาสเปน เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้ใช้กลวิธีอภิปัญญา พบว่า กลุ่มที่ใช้กลวิธีอภิปัญญา มีผลต่อการเรียนที่ดีกว่า กลุ่มที่ไม่ได้ท าการสอนด้วยกลวิธีอภิปัญญา Veenman (1994) ศึกษาการใช้สื่อคอมพิวเตอร์จ าลองสถานการณ์ โดยศึกษาเปรียบเทียบนักเรียนที่มีการสอนกลวิธีอภิปัญญา กับนักเรียนที่เรียนจากสื่อคอมพิวเตอร์ที่ไม่มการสอนกลวิธีอภิปัญญา พบว่า กลุ่มที่มีีการสอนกลวิธีอภิปัญญามีผลการเรียนที่ดีกว่า และยังมีวิธีการท างาน (working method) ที่ดีกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ท าการสอนด้วยกลวิธีอภิปัญญา จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับชุดการเรียนการสอน สรุปได้ว่า ชุดการเรียนการสอนช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสามารถ มีส่วนร่วมในกิจกรรม ได้ลงมือปฏิบัติจริง สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาทุกสถานที่ และเรียนรู้ทั้งรายกลุ่ม และรายบุคคล ตลอดจนผู้เรียนได้รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งชุดการเรียนการสอนจะสามารถน าไปพัฒนาการเรียนการสอน และช่วยให้การสอนของครูมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

๓๐การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั๓) ขั นตอนการด าเนินงานพัฒนาการศึกษาการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา มีวิธีการ ด าเนินการวิจัยดังต่อไปนี้ การศึกษานี้ด าเนินการโดยใช้ระเบียบวิธี วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research Methodology) เป็นแนวทางในการแสวงหาค าตอบของค าถามการวิจัยที่ก าหนดไว้ ซึ่งเป็นวิธีที่ท า ให้เห็นกระบวนการของพฤติกรรมโดยเน้นการเข้าถึงกระบวนการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ใช้การการสังเกตุพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการการวิจัยแบบนี้แสดงให้เห็น การเกิดขึ้นของปรากฏการณ์เหล่านี้ได้อยางชัดเจน ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิจัยเพื่อตอบค า ถามการวิจัย โดยมี 4 ขั้นตอนคือ 3.1 การเลือกกรณีศึกษา ( Case Selection ) 3.2 การออกแบบการวิจัย ( Research Design ) 3.3 แนวทางการรวบรวมขอมูล ( Data Collection Methods ) ้3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล ( Data Analysis ) โดยมีรายละเอียดในแต่ละขั้นตอนมีดังต่อไปนี้ 3.1 การเลือกกรณีศึกษา ( Case Selection ) เลือกศึกษาการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพอยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาื่นอกจากนี้ยังได้ท าการศึกษาบริบทขององค์กร ซึ่ง ประกอบด้วย วัตถุประสงค์การด าเนินการ วิสัยทัศน์ พันธ์กิจ เป้าประสงค์ของการด าเนินการ 3.2 การออกแบบการวิจัย ( Research Design ) ออกแบบให้มีความเชื่อมโยงของวัตถุประสงค์การวิจัย ค าถามการวิจัย และวิธีวิจัย ดัง แสดงไว้ในตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 9 ความเชื่อมโยงของวัตถุประสงค์การวิจัย ค าถามการวิจัย และวิธีวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัยค าถามการวิจัยวิธีวิจัย ๑. เพื่อศึกษาถึงผลที่เกิดจากการน าแนวคิดการ บริหารงานแบบมุ่งบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียน ผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เป็นอย่างไรตรวจเอกสารร่องรอยหลักฐานการด าเนินงาน และนิเทศติดตาม ๒. นักเรียนโรงเรียนน้ าปลีกศึกษามีผลการ ผลการทดสอบระดับชาติทดสอบระดับชาติขั้นพนฐาน (O-NET) ในระดับ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ื้มัธยมศึกษาปีที่ และมัธยมศึกษาปีที่ ในปี สูงขึ้นหรือไม่ อย่างไร ๓๖การศึกษา ๒๕๖3 สูงขึ้นกว่าปีการศึกษา ๒๕๖2 เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติในปีการศึกษา ๒๕๖3 สูงขึ้นกว่าปีการศึกษา ๒๕๖2

๓๑การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตาราง 1.1 ความเชื่อมโยงของวัตถุประสงค์การวิจัย ค าถามการวิจัย และวิธีวิจัย (ต่อ) วัตถุประสงค์การวิจัย ค าถามการวิจัย วิธีวิจัย ๓. ครูโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาสามารถสร้าง ครูโรงเรียนน้ าปลีกศึกษานวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป เพอใช้จัดการเรียนรู้ได้ สามารถสร้างนวัตกรรมื่ถูกต้องตามหลักวิชาการร้อยละร้อยในการพฒนา บทเรียนส าเร็จรูป เพื่อใช้ัผู้เรียนผ่านกระบวนการการยกระดับผลสัมฤทธิ์ จัดการเรียนรู้ได้ถูกต้องทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบองมาตรฐานกระตุ้นการ ตามหลักวิชาการหรือไม่ ิเรียนรู้ของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา NamPleeksuksa Education Active Technique NP-EAT ()การตรวจเอกสารการนิเทศติดตามนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป 3.3 แนวทางการรวบรวมขอมูล ( Data Collection Methods ) ้3.3.1 การศึกษาขั้นปฐมภูมิ (Primary Data) ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการ สัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงระดับกลาง ระดับล่าง ผู้ปฏิบัติงานและผู้เรียน เกี่ยวกับ กระบวนการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ 3.3.2 การศึกษาทุติยภูมิ (Secondary Data) ใช้วิธีการเกบรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Document ็Research) ที่เกี่ยวข้อง เช่น เอกสารนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ แผน ผลการด าเนินงานตาม ตัวชี้วัด 3.3.3 วิธีการเก็บข้อมูลและผู้ให้ข้อมลหลัก เทคนิคที่ใช้ในการเก็บรวบรวมขอมูลคือการสัมภาษณ์ ู้(Interview) เป็นการสัมภาษณ์แบบ กึ่งมีโครงสร้าง และผู้ให้ข้อมูลหลักในการศึกษานี้คือ ผู้อ านวยการโรงเรียน รองผู้อ านวยการโรงเรียน ผู้ช่วยผู้อ านวยการ และ ผู้ปฏิบัติงาน3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล ( Data Analysis ) โดยมีรายละเอียดในแต่ละขั้นตอนมีดังต่อไปนี้ 3.4.1 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานสถิติพื นฐานในการวิเคราะห์ข้อมูล (ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ 2521) 1. การหาค่าเฉลี่ย ( ) โดยใช้สูตร XNXXเมื่อ Xแทน ค่าเฉลี่ย   แทน ผลรวมของคะแนนดิบ N แทน จ านวนนักเรียน 2. หาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S S = )()(1N NXX N22  เมื่อ S แทน ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน   แทน ผลรวมของคะแนนดิบของนักเรียน N แทน จ านวนนักเรียน

๓๒การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั3. หาค่าคะแนนมาตรฐาน Z Z แทน คะแนนมาตรฐานของแต่ละคน X แทน คะแนนดิบของแต่ละคน . X แทน คะแนนเฉลี่ยของข้อมูลในแต่ละชั้น S แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนชุดนั้น 4. หาค่าคะแนนมาตรฐาน T (T-Score) T=10Z+50Z แทน คะแนนมาตรฐานของแต่ละคน T แทน ค่าคะแนนมาตรฐาน S แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนชุดนั้น 3.4.2 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป เมื่อสร้างชุดการเรียนการสอนเสร็จ จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องน าไปทดสอบหาประสิทธิภาพ เพอเป็นื่หลักประกันว่าชุดการเรียนการสอนนั้นมีประสิทธิภาพในการเรียนการสอน โดยผู้สร้างต้องกาหนดเกณฑ์ขึ้น ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ (2521 อางถึงใน สุระ สนั่นเสียง : ้21-23) ได้ก าหนดเกณฑ์ โดยยึดหลักการที่ว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการเพอช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์การเรียน ื่ดังนั้นการก าหนดเกณฑ์ต้องค านึงถึงกระบวนการและผลลัพธ์ โดยก าหนดตัวเลขเป็นร้อยละของคะแนนเฉลี่ยมีค่าเป็น 21/E E1 E ตัวแรก หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอนจากชุดการเรียนการสอน คิดจากคะแนนเฉลี่ยร้อยละจากการท าแบบฝึกหัดระหว่างเรียน โดยมีการค านวณค่าสถิติดังต่อไปนี้ สูตรที่ 1 1 E = 100 A N Xเมื่อ1 E หมายถึง ประสิทธิภาพของกระบวนการ X หมายถึง คะแนนรวมของแบบฝึกหัดหรืองานที่ท า หมายถึง คะแนนเต็มของแบบฝึกหัดทุกแบบฝึกหัด A หมายถึง จ านวนผู้เรียน N

๓๓การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั2 Eตัวหลัง หมายถึง ประสิทธิภาพของผลลัพธ์จากชุดการเรียนการสอนคิดจากคะแนนเฉลี่ย ร้อยละจากคะแนนที่นักเรียนท าได้จากการสอบหลังเรียน สูตรที่ 2 2 E = 100 B N Fเมื่อ แทน ประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนที่ได้จากคะแนนเฉลี่ยการท าแบบทดสอบ2 Eวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน Fแทน คะแนนรวมของนักเรียนที่ท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนถูก แทน จ านวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด N แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ Bเมื่อครูสร้างนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป น าลงสู่กระบวนการเรียนรู้ผ่านกระบวนการการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบอิงมาตรฐานกระตุ้นการเรียนรู้ของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา NamPleeksuksa Education Active Technique NP-EAT 15 ขั้นตอน ดังนี้ ()1. จัดท า/ปรับโครงการยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ครอบคลุมทุกกิจกรรมมีก าหนดชัดเจน URL: https://pubhtml5.com/bookcase/qhou 2. เมื่อครูวางแผนการสอนตามมาตรฐาน และตัวชี้วัดแล้ว ให้โรงเรียนตรวจสอบการวิเคราะห์หลักสูตรให้ตรงตามตัวชี้วัด URL: https://pubhtml5.com/bookcase/dpeg 3. วางแผนการสอนชั้น ม. 3 และ ม.6 ให้จบ และครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภายในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ศึกษาขอมูลผลสัมฤทธิ์ O-Net ที่กลุ่มงาน้วิชาการได้ท าการวิเคราะห์ ปีการศึกษา 59-62 URL: https://wow.in.th/fPOVV 4. สืบค้นสื่อ และ แบบทดสอบ เพื่อจัดท าบัญชีรายชื่อคลังสื่อ และแบบทดสอบ O-Net จาก Google และYoutube

๓๔การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัURL: https://wow.in.th/K4HaL ๕.เข้าพัฒนาความรู้การจัดท าข้อสอบอิงมาตรฐานการเรียนรู้และจัดท าข้อสอบอิงมาตรฐานการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนปกติและสอนเสริมเติมเต็ม ตามแนวข้อสอบของ สทศ. ในห้องเรียน หรือ ก าหนดกิจกรรม วันเวลาให้ชัดเจน URL: https://wow.in.th/KY6Q6 6. ครูผู้รับผิดชอบในโรงเรียนทุกคนร่วมกันสร้างข้อสอบตามแนวข้อสอบของ สทศ. ข้อสอบอิงมาตรฐานการเรียนรู้ แล้วแลกเปลี่ยนข้อสอบผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ขั้นตอนการสร้างข้อสอบ URL: http://online.pubhtml5.com/ylqa/aypx/ 7. น าแนวข้อสอบ O-NET ไปใช้แทรกในการเรียนการสอนปกติ และในการสอนเสริมเติมเต็ม ในชั้นเรียนให้นักเรียนคุ้นเคยและมีประสบการณการท าข้อสอบ (รูปแบบ์ข้อสอบ/กระดาษค าตอบ/การระบายค าตอบฯ) URL: https://online.pubhtml5.com/ylqa/pxcr/ 8. ผู้บริหารก าหนดปฏิทินการนิเทศภายในโรงเรียนเพอยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการื่เรียนให้ชัดเจน (ก าหนดวันที่ กิจกรรมที่ต้องท า) URL: https://online.pubhtml5.com/ylqa/kdwz/ 9. ผู้บริหารติดตามการน าข้อสอบ O-NET ไปใช้ในสถานศกษา การน าข้อสอบ O-ึNET ไปใช้ในชั้นเรียน ติดตามผลการท างานของครูผู้รับผิดชอบทุกระยะอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ด าเนินงานบรรลุตามแผนงาน หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้ทันเวลา URL: https://pubhtml5.com/bookcase/dpeg 10. จัดกิจกรรมสอนเสริมเติมเต็ม ให้ต่อเนื่องก่อนถึงวันสอบจริง O-NET สอบ เดือน 13-14 มีนาคม พ.ศ.2564 และ 27-28 มีนาคม พ.ศ.2564 URL: https://online.pubhtml5.com/ylqa/yxrs/

๓๕การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั11. จัดสอบเสมือนจริง โดยใช้ข้อสอบ กระดาษค าตอบ การคุมสอบ เวลาสอบเสมือนจริงทุกประการ โดยใช้ข้อสอบในคลังข้อสอบ ซึ่งจัดท าขึ้นตามแนวข้อสอบของ สทศ. บันทึกผลการสอบ ตรวจค าตอบ และวิเคราะห์ผลการทดสอบเพอปรับปรุงแกไขื่้นักเรียนก่อนวันสอบจริง URL: https://wow.in.th/5Fx0k 12. จัดกิจกรรมเสริมแรงทางบวก (จัดอาหารว่างน้ าหวาน ขนมช่วงพักสอบ) สร้างบรรยากาศผ่อนคลาย ท าสมาธิก่อนเวลาสอบ 13. ประชาสัมพันธ์ความส าคัญของการสอบ O-NET ทุกสัปดาห์ 14. ประกาศ/ป้าย นับเวลาถอยหลัง Count Down ทุกวัน URL: https://wow.in.th/5Fx0k 15. โรงเรียนให้รางวัลนักเรียนที่มีคะแนนสอบสูง/มีความก้าวหน้าสูง โดยก าหนดหนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีผลการทดสอบสูงกว่า 50% จะได้ทุนการศกษาวิชาึละ ๒00บาท ในทุกรายวิชา และมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ที่มีผลการทดสอบสูงกว่า 50% จะได้ทุนการศึกษาวิชาละ 300บาท ในทุกรายวิชา URL: https://wow.in.th/CkqMC

๓๖การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั๔) ผลงานที่เกิดขึ นจากการด าเนินงาน ผู้วิจัยได้ท าการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และ้นักเรียน โดยแบ่งตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ ๑. เพื่อศึกษาถึงผลที่เกิดจากการน าแนวคิดการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาื้๒. นักเรียนโรงเรียนน้ าปลีกศึกษามีผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับมัธยมศกษาปีที่ ึ๓ และมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ สูงขึ้นกว่าปีการศึกษา ๒๕๖2 ๓. ครูโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาสามารถสร้างนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป เพอใช้จัดการเรียนรู้ได้ถูกต้องตามื่หลักวิชาการร้อยละร้อยในการพฒนาผู้เรียนผ่านกระบวนการการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ัข้อสอบองมาตรฐานกระตุ้นการเรียนรู้ของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา NamPleeksuksa Education Active ิTechnique NP-EAT ()4.1 การเลือกกรณีศึกษา ( Case Selection ) เลือกศึกษาการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพอยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษาื่นอกจากนี้ยังได้ท าการศึกษาบริบทขององค์กร ซึ่ง ประกอบด้วย วัตถุประสงค์การด าเนินการ วิสัยทัศน์ พันธ์กิจ เป้าประสงค์ของการด าเนินการ ตารางที่ 10 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน โดยใช้ปัจจัย 2S 4M ที่เป็นจุดแข็ง ( และจุดอ่อน ( )S)W ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในจุดแข็ง(Strengths : S) จุดอ่อน(Weaknesses : W) S1 : ด้านโครงสร้างและนโยบาย (Structure) ๑. มีข้อตกลงร่วมกันระหว่างโรงเรียน กับผู้ปกครอง ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา และเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการปฏิบัติงานของโรงเรียน ที่มีมากมาย ท าให้เกิดผลเสียต่อให้มีประสิทธิภาพ ๒. มีการกระจายอ านาจแบ่งงานตามความถนัด ท าให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน ๓. มีการแบ่งงานตามโครงสร้าง การบริหารอย่างชัดเจน 4. มีระบบตรวจสอบภายใน อย่างเข้มแขง ็๑. ภาระงานของโรงเรียนมีมากกว่าจ านวนบุคลากร มีจ านวนจ ากัด ปฏิบัติงานซับซ้อน ๒. การด าเนินงานตามนโยบาย การเรียนการสอน ๓. การขับเคลื่อนระบบการบริหารไม่มีประสิทธิภาพ ๔. ขาดการนิเทศติดตาม .

๓๗การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในจุดแข็ง(Strengths : S) จุดอ่อน(Weaknesses : W) S2 : ด้านการให้บริการ (Structure) ๑. นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย และประสบความส าเร็จ ในการแข่งขันศกยภาพ ั๒. อัตราการศึกษาต่อของนักเรียนสูงขึ้น การเรียน ๓. นักเรียนมีระเบียบวินัย ๔. นักเรียนมีจิตสาธารณะ ๕. นักเรียนมีคุณธรรมในขนบธรรมเนียม กระตือรือร้นในการมาโรงเรียน ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น ๖. มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า1. นักเรียนบางส่วนมีปัญหาทางด้านครอบครัว มีผลกระทบต่อนักเรียนในด้านสุขภาพและ2. นักเรียนไม่กล้าแสดงออก 3. นักเรียนขาดความใฝ่เรียนรู้ M1 : ด้านบุคลากร (Man : M1) ๑. ครูมีความตื่นตัวและกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง น าความรู้ที่ได้มาใช้ใน เทคโนโลยีที่ทันสมัย ใช้สื่อไม่เต็มการจัดการเรียนการสอน 2. ครูมีผลงานดีเด่นสามารถเป็นแบบอย่างแก่คนอื่นได้ 3. บุคลากรมีความสามัคคีในหมู่คณะ ท าให้การปฏิบัติงานประสบความส าเร็จและมีประสิทธิภาพ 4. ครูน าภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้ งานเพิ่มมากขึ้น อย่างหลากหลายตามความถนัดและความสนใจ 5. ครูมีอัตราการโยกย้ายต่ า ส่งผลให้การปฏิบัติงาบได้อย่างต่อเนื่อง และ มีประสิทธิภาพ 6. ครูมีความสามัคคีในการท างาน 7. ครูใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการด าเนินชีวิต 8. ครูยึดมั่นและปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย 9. ครูสอนตรงตามวิชาเอก ๑๐. ครูดูแลเอาใจใส่นักเรียนอย่างใกล้ชิด ๑๑. ครูมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครองและชุมชน๑. ครูบางคนขาดทักษะการใช้ประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนเรียนรู้ได้ไม่เต็มตามศกยภาพ ั2. ครูขาดความรู้เฉพาะด้านส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ๓. จ านวนครูไม่เพียงพอท าให้การมอบหมายงานบางอย่าง ไม่ตรงกับความถนัด และมีภาระ4. การจัดสอนแทน ท าให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ไม่เต็มตามศกยภาพ ั5. ครูขาดการประชาสัมพันธ์ตนเอง และการประสานงาน กับหน่วยงานอื่น

๓๘การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในจุดแข็ง(Strengths : S) จุดอ่อน(Weaknesses : W) M2 : ด้านงบประมาณ (Material) ๑. โรงเรียนมีระบบการใช้เงินถูกต้องตามระเบียบของทางราชการสามารถตรวจสอบได้ ๒. ครูและกรรมการโรงเรียนมีส่วนร่วมในการพิจารณาเบิกจ่ายเงินของโรงเรียน 2. ครูที่เป็นเจ้าหน้าที่มีภาระงาน๓. มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบได้ ๔. ครูและบุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ๕. มีเอกสารการเงินที่ชัดเจน ๖. มีการควบคุมการใช้ตู้นิรภัยโดยมีค าสั่งชัดเจน๑. ขาดความคล่องตัวในการเบิกจ่ายจากต้นสังกัด ส่งผลให้เกิดปัญหาต่อระบบการวางแผน พัฒนาของโรงเรียน มาก จึงท าให้การจัดท าเอกสารหลักฐานไม่ค่อยเป็นปัจจุบัน M3 : ด้านปัจจัยการจัดการศึกษา อาคาร สถานที่ วัสดุ ทางการศึกษาที่ทันสมัย อุปกรณ์ (Material) ๑. โรงเรียนมีสื่อเทคโนโลยี 2. ครูคิดค้นออกแบบ และผลิตสื่อนวัตกรรมใช้ในการประกอบการเรียนการสอนได้ 3. ครูน าวัสดุในท้องถิ่นมาใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรง ๔. มีแหล่งเรียนรู้มากมาย ภายในสถานศึกษา ชุมชน เขตพื้นที่รับบริการเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ ๑. วัสดุครุภัณฑ์ไม่เพียงพอ กับความต้องการใช้และ บางส่วนช ารุดเสื่อมสภาพ ไม่สามารถน ามาใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดได้ ๒. สื่อเทคโนโลยีไม่เพียงพอ ต่อการให้บริการ M4 : ด้านการบริหารจัดการ (Management) ๑. โรงเรียนจัดการบริหารแบบมี ส่วนร่วม และการกระจายอ านาจสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. โรงเรียนมีการท าแผนปฏิบัติการ และจัดสรรงบประมาณตามโครงการ โดยมีครูทุกคนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน ๑. การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศไม่เป็นระบบปัจจุบัน ท าให้ขาดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน ๒. โรงเรียนขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง .

๓๙การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่11 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โดยใช้ปัจจัย . STEP ที่เป็นโอกาส ( และอุปสรรค ( )O)T ปัจจัยสภำพแวดล้อมภำยนอก โอกำส (Opportunity : O) อุปสรรค (Threats : T) S : ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social & Cultural) ๑. การศึกษาของประซากรในชุมชน จบการศึกษาภาคบังคับ มีความรู้อ่านออกเขียนได้ ๒. ชุมชนความส าคัญในการอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น และความร่วมมืออย่างดี ๓. ชุมชนมีความสัมพันธ์อันดีต่อกันและ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ๔. เป็นชุมชนที่มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภค ๕. ชุมชนมีความพร้อมในด้านบุคลากรสนับสนุนการศึกษา ๖. ชุมชนให้ความไว้วางใจในสุขภาพ ด้านการจัดการศึกษาของโรงเรียน 7. ชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ตามศักยภาพ 8. มีลักษณะการด าเนินชีวิตแบบสังคมเมือง 9. ครอบครัวในชุมชนให้ความส าคัญต่อ ๗. สังคมมีสิ่งเสพติดหรืออบายมุขการศึกษา 1. ชุมชนบางส่วนยังมีการมั่วสุมเล่นการพนัน และสิ่งเสพติด ท าให้นักเรียนเกิดพฤติกรรม เลียนแบบ ๒. การย้ายถิ่นของผู้ปกครอง ท าให้นักเรียนเรียนไม่ต่อเนื่องต่ า 3. ผู้ปกครองไม่ได้เป็นแบบอย่างในด้านระเบียบวินัย ส่งให้นักเรียนน าพฤติกรรมจากที่บ้านมาที่โรงเรียน 4. ผู้ปกครองมีรายได้สูง นิยมน าบุตรหลานไปเรียนนอกเขตพื้นที่ ๕. นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ ๖. ครอบครัวแตกแยกเพมมากิ่ขึ้น เพมมากขึ้น ิ่8. สภาพสังคมมีความเหลื่อมล้ ากันค่อนข้างสูง 9. สถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 T : ด้านเทคโนโลยี (Technology) 1. ชุมชนมีเทคโนโลยีที่หันสมัย เป็นผลดีต่อการศึกษาของบุตรหลาน 2. มีโอกาสในการรับข้อมูลข่าวสาร มากขึ้น 3. มีการติดต่อสื่อสารได้รวดเร็ว ทันเหตุการณ์๑. เยาวชนบางส่วนไม่รู้จักใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสม และเกิดประโยชน์ 2. ผู้ปกครองบางคนใช้เทคโนโลยีด้านบันเทิง จนท าให้เกิดปัญหาครอบครัวและปัญหาสังคม มีสื่อลามก อนาจารมากขึ้น ๓. ไม่มีหน่วยงานที่ดูแล และควบคุมการใช้บริการสื่อ และเทคโนโลยีอย่างจริงจัง

๔๐การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัปัจจัยสภำพแวดล้อมภำยใน โอกำส (Opportunity : O) อุปสรรค (Threats : T) E : ด้านสภาพเศรษฐกิจ (Economics) 1. ผู้ปกครองส่วนใหม่ มีอาชีพมั่นคง และ 1. ผู้ปกครองบางส่วนมีอาชีพไม่มีรายได้คอนข้างดี พร้อมที่จะให้การ่สนับสนุนการศึกษา 2. มีท าเลที่เหมาะสมกับการท าธุรกิจ 3. ชุมชนมีอาชีพเสริมนอกเหนือจากการท านา เช่น การปลูกถั่วลิสง การปลูกยางพารา ร้านอาหาร ฯลฯ 4. ชุมชนมีผู้ประกอบอาชีพราชการ หรืออาชีพที่มั่นคง 5. ชุมชนให้ความร่วมมือในการระดมทรัพยากรเพอการศึกษา ื่มั่นคง รายได้ไม่แน่นอน ส่งผลต่อการเรียนของเด็ก ๒. ภัยธรรมชาติ น้ าท่วม ภัยแล้ง ในบางพื้นที่ที่มการเกษตร ี๓. สภาพสังคม ที่เป็นกึ่งสังคมเมือง ท าให้มีรายจ่ายมากกว่ารายรับ ๔. ขาดการออม 5. สถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้ผู้ปกครองนักเรียนขาดรายได้ ประสบปัญหาค่าใช้จ่ายในครอบครัว p : การเมืองและกฏหมาย (Political & Legal) 1. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมและสนับสนุนการจัดการศึกษา 2. นโยบายการเมืองให้ความเสมอภาค ทางการศึกษา๑. การปรับเปลี่ยนคณะรัฐมนตรีบ่อยๆ ท าให้การท างาน ไม่ต่อเนื่อง และเกิดความซ้ าซ้อน 2. นโยบายขององค์กรส่วนท้องถิ่น ไม่สอดคล้องกับนโยบายการศึกษา ท าให้เกิดปัญหา ต่อระบบการท างาน 3. สถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้มีการออกกฎ ระเบียบ มาตรการการป้องกันบ่อยครั้ง . .

๔๑การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัตารางที่ 12 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่เอื อประโยชน์ และปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อโรงเรียนน าปลีกศึกษาปัจจัยที่เอื อประโยชน์ปัจจัยที่ส่งผลกระทบปัจจัยภายในS Strengths : จุดแข็ง๑. มีข้อตกลงร่วมกันระหว่างโรงเรียน กับผู้ปกครอง ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศกษา และเป็นแนวทางในการพัฒนาึระบบการปฏิบัติงานของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพ ๒. มีการกระจายอ านาจแบ่งงานตามความถนัด ท าให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน ๓. มีการแบ่งงานตามโครงสร้างการบริหารอย่างชัดเจน 4. มีระบบตรวจสอบภายในอย่างเข้มแข็ง 5. นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และประสบความส าเร็จในการแขงขันศักยภาพ ่6. อัตราการศึกษาต่อของนักเรียนสูงขึ้น 7. นักเรียนมีระเบียบวินัย 8. นักเรียนมีจิตสาธารณะ 9. นักเรียนมีคุณธรรมในขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น 10. มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ๑1. ครูมีความตื่นตัวและกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง น าความรู้ที่ได้มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน งานบางอย่างไม่ตรงกับความถนัด และมีภาระ12. ครูมีผลงานดีเด่นสามารถเป็นแบบอย่างแก่คนอื่น งานเพิ่มมากขึ้น ได้ 13. บุคลากรมีความสามัคคีในหมู่คณะ ท าให้การปฏิบัติงานประสบความส าเร็จและมีประสิทธิภาพ 14. ครูน าภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างหลากหลายตามความถนัดและความสนใจ 15. ครูมีอัตราการโยกย้ายต่ า ส่งผลให้การปฏิบัติงาบ พัฒนาของโรงเรียน ได้อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ 16. ครูมีความสามัคคในการท างาน ี17. ครูใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการด าเนิน ปัจจุบัน ชีวิต 18. ครูยึดมั่นและปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย W Weaknesses : จุดอ่อน๑. ภาระงานของโรงเรียนมีมากกว่าจ านวนบุคลากรมีจ านวนจ ากัด ปฏิบัติงานซับซ้อน ๒. การด าเนินงานตามนโยบายที่มีมากมาย ท าให้เกิดผลเสียต่อการเรียนการสอน ๓. การขับเคลื่อนระบบการบริหารไม่มีประสิทธิภาพ ๔. ขาดการนิเทศติดตาม 5. นักเรียนบางส่วนมีปัญหาทางด้านครอบครัว มีผลกระทบต่อนักเรียนในด้านสุขภาพและการเรียน 6. นักเรียนไม่กล้าแสดงออก 7. นักเรียนขาดความกระตือรือร้นในการมาโรงเรียน ใฝ่เรียนรู้ 8. ครูบางคนขาดทกษะการใช้เทคโนโลยีที่ัทันสมัย ใช้สื่อไม่เต็มประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนเรียนรู้ได้ไม่เต็มตามศักยภาพ 9. ครูขาดความรู้เฉพาะด้านส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน 10. จ านวนครูไม่เพียงพอท าให้การมอบหมาย11. การจัดสอนแทน ท าให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ไม่เต็มตามศกยภาพ ั12. ครูขาดการประชาสัมพันธ์ตนเอง และการประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๑3. ขาดความคล่องตัวในการเบิกจ่ายจากต้นสังกัดส่งผลให้เกิดปัญหาต่อระบบการวางแผน 14. ครูที่เป็นเจ้าหน้าที่มีภาระงานมาก จึงท าให้การจัดท าเอกสารหลักฐานไม่ค่อยเป็น๑5. วัสดุครุภัณฑ์ไม่เพียงพอกับความต้องการใช้และบางส่วนช ารุดเสื่อมสภาพไม่สามารถน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้

๔๒การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัปัจจัยที่เอื อประโยชน์ปัจจัยที่ส่งผลกระทบ19. ครูสอนตรงตามวิชาเอก 2๐. ครูดูแลเอาใจใส่นักเรียนอย่างใกล้ชิด 2๑. ครูมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครองและชุมชน22. โรงเรียนมีระบบการใช้เงินถูกต้องตามระเบียบของทางราชการสามารถตรวจสอบได้ ๒3. ครูและกรรมการโรงเรียนมีส่วนร่วมในการพิจารณาเบิกจ่ายเงินของโรงเรียน 24. มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบได้ 25. ครูและบุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 26. มีเอกสารการเงินที่ชัดเจน 27. มีการควบคุมการใช้ตู้นิรภัยโดยมีค าสั่งชัดเจน 28. โรงเรียนมีสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาที่ทันสมัย 29. ครูคิดค้นออกแบบ และผลิตสื่อนวัตกรรมใช้ในการประกอบการเรียนการสอนได้ 30. ครูน าวัสดุในท้องถิ่นมาใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรง 31. มีแหล่งเรียนรู้มากมาย ภายในสถานศึกษา ชุมชน เขตพื้นที่รับบริการเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ 32. โรงเรียนจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วม และการกระจายอ านาจสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 33. โรงเรียนมีการท าแผนปฏิบัติการและจัดสรรงบประมาณตามโครงการโดยมีครูทุกคนมีส่วนร่วม ในการปฏิบัติงาน 16. สื่อเทคโนโลยีไม่เพียงพอต่อการให้บริการ ๑7. การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศไม่เป็นระบบปัจจุบันท าให้ขาดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน 18. โรงเรียนขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง . .

๔๓การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัปัจจัยที่เอื้อประโยชน์ ปัจจัยที่สงผลกระทบ ่ปัจจัยภำยนอก OOpportunities : โอกาส๑. การศึกษาของประซากรในชุมชนจบการศึกษา ภาคบังคับ มีความรู้อ่านออกเขียนได้ ๒. ชุมชนความส าคัญในการอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น และความร่วมมืออย่างดี ๓. ชุมชนมีความสัมพันธ์อันดีต่อกันและให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ๔. เป็นชุมชนที่มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภค ๕. ชุมชนมีความพร้อมในด้านบุคลากรสนับสนุนการศึกษา ๖. ชุมชนให้ความไว้วางใจในสุขภาพด้านการ จัดการศึกษาของโรงเรียน 7. ชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ตามศักยภาพ 8. มีลักษณะการด าเนินชีวิตแบบสังคมเมือง 9. ครอบครัวในชุมชนให้ความส าคัญต่อการศึกษา 10. ชุมชนมีเทคโนโลยีที่หันสมัย เป็นผลดีต่อการ ศึกษาของบุตรหลาน 11. มีโอกาสในการรับข้อมูลข่าวสารมากขึ้น 12. มีการติดต่อสื่อสารได้รวดเร็วทันเหตุการณ์ 13. ผู้ปกครองส่วนใหม่ มีอาชีพมั่นคง และมีรายได้ค่อนข้างดี พร้อมที่จะให้การสนับสนุนการศึกษา 14. มีท าเลที่เหมาะสมกับการท าธุรกิจ 15. ชุมชนมีอาชีพเสริมนอกเหนือจากการท านา เช่น 12. ไม่มีหน่วยงานที่ดูแล และควบคุมการใช้การปลูกถั่วลิสง การปลูกยางพารา ร้านอาหาร ฯลฯ 16. ชุมชนมีผู้ประกอบอาชีพราชการ หรืออาชีพที่มั่นคง 17. ชุมชนให้ความร่วมมือในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา 18. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมและสนับสนุนการจัดการศึกษา 19. นโยบายการเมืองให้ความเสมอภาค ทางการศึกษา TThreats : อุปสรรค1. ชุมชนบางส่วนยังมีการมั่วสุมเล่นการพนัน และสิ่งเสพติด ท าให้นักเรียนเกิดพฤติกรรม เลียนแบบ ๒. การย้ายถิ่นของผู้ปกครอง ท าให้นักเรียนเรียนไม่ต่อเนื่องส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ า 3. ผู้ปกครองไม่ได้เป็นแบบอย่างในด้านระเบียบวินัย ส่งให้นักเรียนน าพฤติกรรมจากที่บ้านมาที่โรงเรียน 4. ผู้ปกครองมีรายได้สูง นิยมน าบุตรหลานไปเรียนนอกเขตพื้นที่ ๕. นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่กับพอแม่ ่๖. ครอบครัวแตกแยกเพิ่มมากขึ้น ๗. สังคมมีสิ่งเสพติดหรืออบายมุขเพิ่มมากขึ้น 8. สภาพสังคมมีความเหลื่อมล้ ากันค่อนข้างสูง 9. สถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ๑0. เยาวชนบางส่วนไม่รู้จักใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสม และเกิดประโยชน์ 11. ผู้ปกครองบางคนใช้เทคโนโลยีด้านบันเทิง จนท าให้เกิดปัญหาครอบครัวและปัญหาสังคม มีสื่อลามก อนาจารมากขึ้น บริการสื่อ และเทคโนโลยีอย่างจริงจัง 13. ผู้ปกครองบางส่วนมีอาชีพไม่มั่นคง รายได้ไม่แน่นอน ส่งผลต่อการเรียนของเด็ก 14. ภัยธรรมชาติ น้ าท่วม ภัยแล้ง ในบางพื้นที่ที่มีการเกษตร 15. สภาพสังคม ที่เป็นกึ่งสังคมเมือง ท าให้มีรายจ่ายมากกว่ารายรับ 16. ขาดการออม 17. สถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้ผู้ปกครองนักเรียนขาดรายได้ ประสบปัญหาค่าใช้จ่ายในครอบครัว ๑8. การปรับเปลี่ยนคณะรัฐมนตรีบ่อยๆ ท าให้

๔๔การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ัปัจจัยที่เอื้อประโยชน์ ปัจจัยที่สงผลกระทบ ่การท างานไม่ต่อเนื่อง และเกิดความซ้ าซ้อน 19. นโยบายขององค์กรส่วนท้องถิ่น ไม่สอดคล้องกับนโยบายการศึกษา ท าให้เกิดปัญหาต่อระบบการท างาน 20. สถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลให้มีการออกกฎ ระเบียบ มาตรการการป้องกันบ่อยครั้ง 4. สรุปประเด็นจากผลการวเคราะห์ข้อมลิู4.1 ปัจจัยภายในที่เป็นจุดแข็ง ต่อการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกษาอุบลราชธานี อ านาจเจริญ ึมีปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นจุดแข็ง คือ ๑)มีขอตกลงร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง ชุมชน ้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการปฏิบัติงานของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพ ๒)มีการกระจายอ านาจแบ่งงานตามความถนัด ท าให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน ๓)มีการแบ่งงานตามโครงสร้างการบริหารอย่างชัดเจน 4) มีระบบตรวจสอบภายในอย่างเข้มแข็ง 5)นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และประสบความส าเร็จในการแข่งขันศักยภาพ 6) อัตราการศึกษาต่อของนักเรียนสูงขึ้น 7)นักเรียนมีระเบียบวินัย 8)นักเรียนมีจิตสาธารณะ 9)นักเรียนมีคุณธรรมในขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น 10)มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ๑1)ครูมีความตื่นตัวและกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง น าความรู้ที่ได้มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน 12)ครูมีผลงานดีเด่นสามารถเป็นแบบอย่างแก่คนอื่นได้ 13)บุคลากรมีความสามัคคีในหมู่คณะ ท าให้การปฏิบัติงานประสบความส าเร็จและมีประสิทธิภาพ 14)ครูน าภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างหลากหลายตามความถนัดและความสนใจ 15)ครูมีอัตราการโยกย้ายต่ า ส่งผลให้การปฏิบัติงาบได้อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ 16)ครูมีความสามัคคีในการท างาน 17)ครูใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการด าเนินชีวิต 18)ครูยึดมั่นและปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย 19)ครูสอนตรงตามวิชาเอก 2๐)ครูดูแลเอาใจใส่นักเรียนอย่างใกล้ชิด 2๑)ครูมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครองและชุมชน 22)โรงเรียนมีระบบการใช้เงินถูกต้องตามระเบียบของทางราชการสามารถตรวจสอบได้ ๒3)ครูและกรรมการโรงเรียนมีส่วนร่วมในการพิจารณาเบิกจ่ายเงินของโรงเรียน 24)มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบได้ 25)ครูและบุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 26)มีเอกสารการเงินที่ชัดเจน 27)มีการควบคุมการใช้ตู้นิรภัยโดยมีค าสั่งชัดเจน 28)โรงเรียนมีสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาที่ทันสมัย 29)ครูคิดค้นออกแบบ และผลิตสื่อนวัตกรรมใช้ในการประกอบการเรียนการสอนได้30)ครูน าวัสดุในท้องถิ่นมาใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรง 31)มีแหล่งเรียนรู้มากมาย ภายในสถานศึกษา ชุมชน เขตพื้นที่รับบริการเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ 32)โรงเรียนจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วม และการกระจายอ านาจสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 33)โรงเรียนมีการท าแผนปฏิบัติการและจัดสรรงบประมาณตามโครงการโดยมีครูทุกคนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน

๔๕การบริหารแบบมุ่งผลสมฤทธิ์ด้วยนวัตกรรมบทเรียนส าเร็จรูป๑L๓R เพื่อยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ั4.2 ปัจจัยภายในที่เป็นจุดอ่อน ต่อการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานี อานาจเจริญ ืุ้มีปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นจุดออน คือ 1)ภาระงานของโรงเรียนมีมากกว่าจ านวนบุคลากรมีจ านวนจ ากัด ่ปฏิบัติงานซับซ้อน ๒)การด าเนินงานตามนโยบายที่มีมากมาย ท าให้เกิดผลเสียต่อการเรียนการสอน ๓)การขับเคลื่อนระบบการบริหารไม่มีประสิทธิภาพ ๔)ขาดการนิเทศติดตาม 5)นักเรียนบางส่วนมีปัญหาทางด้านครอบครัว มีผลกระทบต่อนักเรียนในด้านสุขภาพและการเรียน 6)นักเรียนไม่กล้าแสดงออก 7)นักเรียนขาดความกระตือรือร้นในการมาโรงเรียน ใฝ่เรียนรู้ 8)ครูบางคนขาดทักษะการใช้เทคโนโลยี ที่ทันสมัย ใช้สื่อไม่เต็มประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนเรียนรู้ได้ไม่เต็มตามศักยภาพ 9)ครูขาดความรู้เฉพาะด้านส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน 10)จ านวนครูไม่เพยงพอท าให้การมอบหมายงานบางอย่างไม่ตรง ีกับความถนัด และมีภาระงานเพมมากขึ้น 11)การจัดสอนแทน ท าให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ไม่เต็มตามิ่ศักยภาพ 12)ครูขาดการประชาสัมพนธ์ตนเอง และการประสานงานกับหน่วยงานอน ๑3)ขาดความคล่องตัวัื่ในการเบิกจ่ายจากต้นสังกัดส่งผลให้เกิดปัญหาต่อระบบการวางแผน พฒนาของโรงเรียน 14)ครูที่เป็นัเจ้าหน้าที่มีภาระงานมาก จึงท าให้การจัดท าเอกสารหลักฐานไม่ค่อยเป็นปัจจุบัน ๑5)วัสดุครุภัณฑ์ไม่เพยงพอีกับความต้องการใช้และบางส่วนช ารุดเสื่อมสภาพไม่สามารถน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ 16)สื่อเทคโนโลยีไม่เพยงพอต่อการให้บริการ ๑7)การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศไม่เป็นระบบปัจจุบันท าให้ ีขาดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน 18)โรงเรียนขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง 4.3 ปัจจัยภายนอกที่เป็นโอกาส ต่อการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานี อานาจเจริญ ืุ้มีปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นโอกาส คือ 1)การศึกษาของประซากรในชุมชนจบการศึกษาภาคบังคับ มีความรู้อานออกเขียนได้ ๒)ชุมชนความส าคัญในการอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น และความร่วมมืออย่างดี ่๓)ชุมชนมีความสัมพนธ์อนดีต่อกันและให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ๔)เป็นชุมชนที่มีความพร้อม ััด้านสาธารณูปโภค ๕)ชุมชนมีความพร้อมในด้านบุคลากรสนับสนุนการศึกษา ๖)ชุมชนให้ความไว้วางใจ ในสุขภาพด้านการจัดการศึกษาของโรงเรียน 7)ชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้ตามศักยภาพ 8)มีลักษณะการด าเนินชีวิตแบบสังคมเมือง 9)ครอบครัวในชุมชนให้ความส าคัญต่อการศึกษา 10)ชุมชน มีเทคโนโลยีที่หันสมัย เป็นผลดีต่อการ ศึกษาของบุตรหลาน 11)มีโอกาสในการรับข้อมูลข่าวสารมากขึ้น 12)มีการติดต่อสื่อสารได้รวดเร็วทันเหตุการณ์ 13)ผู้ปกครองส่วนใหม่ มีอาชีพมั่นคง และมีรายได้ค่อนข้างดี พร้อมที่จะให้การสนับสนุนการศึกษา 14)มีท าเลที่เหมาะสมกับการท าธุรกิจ 15)ชุมชนมีอาชีพเสริมนอกเหนือจากการท านา เช่น การปลูกถั่วลิสง การปลูกยางพารา ร้านอาหาร ฯลฯ 16)ชุมชนมีผู้ประกอบอาชีพราชการ หรืออาชีพที่มั่นคง 17)ชุมชนให้ความร่วมมือในการระดมทรัพยากรเพอการศึกษา 18)องค์การื่ปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมและสนับสนุนการจัดการศึกษา 19)นโยบายการเมืองให้ความเสมอภาค ทางการศึกษา 4.4 ปัจจัยภายนอกที่เป็นอปสรรค ต่อการบริหารจัดการและพฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุุัวัตถุประสงค์ โรงเรียนน้ าปลีกศึกษา ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาอบลราชธานี อานาจเจริญ ืุ้มีปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นอปสรรค คือ 1)ชุมชนบางส่วนยังมีการมั่วสุมเล่นการพนัน และสิ่งเสพติด ุ