ต วอย างภ ม ป ญญาไทยสาขาสว สด การ

ต วอย างภ ม ป ญญาไทยสาขาสว สด การ

thianon.maneewan.10 Download

  • Publications :0
  • Followers :0

inbound1929463986034168089

inbound1929463986034168089

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

inbound1929463986034168089

มหาวิทยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบึง รายงานสบื เนื่องจากการประชมุ วชิ าการระดับชาติ ครั้งท่ี 6 “การเกษตรก้าวไกล สงั คมไทยย่งั ยืน” ราชภฏั หม่บู ้านจอมบงึ วิจัย วันที่ 1 มีนาคม 2561 การให้ความคุม้ ครองเครื่องหมายรปู ลักษณภ์ ายใต้พระราชบญั ญตั ิเครือ่ งหมายการค้า: ศกึ ษากรณกี ารให้ความคุ้มครองการตกแตง่ รา้ นอาหาร Protection of Trade Dress Under Trademark Act: A Case Study on Restaurant Decoration สุธี อังศชุ ยั กจิ 1 1 สาขาวชิ านิตศิ าสตร์ คณะมนุษยศ์ าสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบึง สาระสังเขป การให้ความคุ้มครองเครื่องหมายการค้าตามพระราชบัญญัติเคร่ืองหมายการค้า พ.ศ. 2534 มุ่งเน้นการให้ความ คุ้มครองท่ี ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพประดิษฐ์ ตรา ชื่อ คา ข้อความ ตัวหนังสือ ตัวเลข ลายมือช่ือ กลุ่มของสี รูปรา่ งหรือ รปู ทรงของวตั ถุ และเสียง แต่ในต่างประเทศ เช่น ประเทศสหรฐั อเมริกามีการให้ความคุ้มครองเครื่องหมายการค้าขยาย ออกไปถงึ เคร่อื งหมายรปู ลักษณ์ด้วย ซ่ึงเปน็ การให้ความคุ้มครองภาพรวมของตัวสนิ ค้าหรือบริการ โดยไม่ได้พิจารณาถึง ตัวเครื่องหมายการค้าหรอื เคร่ืองหมายบริการเพยี งอย่างเดียว แตพ่ ิจารณารวมไปถงึ รูปร่างรูปทรง ตวั ฉลาก หีบห่อบรรจุ ภัณฑ์ รวมถึงสีของตวั สินค้า และในปัจจุบันยังมีการขยายไปถึงการจัดตกแต่งหน้าร้าน การตกแตง่ สถานท่ีให้บรกิ าร เช่น ภายในร้านอาหาร หอ้ งครัว เป็นต้น โดยหลกั การให้ความคุม้ ครองจะพิจารณาตามหลักการให้ความคุ้มครองเครื่องหมาย การค้าที่ตอ้ งประกอบไปดว้ ยลักษณะบ่งเฉพาะ ต้องไมท่ าหน้าทเ่ี กี่ยวกบั การทางานหรือคณุ สมบตั ิของตัวสนิ ค้าหรือบริการ ต้องไม่ทาให้ผ้บู ริโภคเกิดความสับสนหรอื หลงผิด จากการศกึ ษาพบว่ามีคาพิพากษาของศาลในประเทศสหรัฐอเมริกาได้มี คาวนิ ิจฉยั ใหค้ วามคุ้มครองในเร่อื งเครอ่ื งหมายรูปลักษณ์ในสว่ นของการตกแต่งภายในร้าน โดยแมใ้ นประเทศไทยจะยงั ไม่ เคยมีคาตัดสนิ ในกรณีดงั กล่าวแต่ก็ปรากฎข่าวเก่ยี วกับการลอกเลียนรปู แบบการตกแต่งร้านอาหารในต่างประเทศเกิดขึ้น ให้เห็นเป็นประจา ทัง้ น้ใี นประเทศไทยการให้ความคมุ้ ครองเครือ่ งหมายการค้าผา่ นการจดทะเบยี นตามกฎหมายไทยยังไม่ สามารถครอบคลุมถึงการจดทะเบียนรูปแบบการตกแต่งภายในร้านอาหารได้ รวมถึงบรรยากาศภายในร้าน และการให้ ความคุ้มครองดังกล่าวจึงต้องพิจารณาตามมาตรา 46 วรรคสอง ในเร่ืองของการลวงขาย จึงเห็นสมควรให้ประเทศไทย ควรมกี ารเพิม่ เตมิ บทบัญญัติในพระราชบัญญตั ิเครื่องหมายการคา้ ใหค้ ุม้ ครองถึงเคร่อื งหมายรูปลกั ษณ์ เพอื่ ใหส้ ามารถจด ทะเบียนเครอ่ื งหมายรูปลกั ษณไ์ ด้ คาสาคัญ : การให้ความคุ้มครอง , เคร่ืองหมายรูปลกั ษณ์ , พระราชบญั ญัตเิ ครอ่ื งหมายการค้า , การตกแต่งรา้ นอาหาร SUMMARY Trademark protection under the Trademark Act BE 2534. The focus is on providing protection.of Photos, drawings, images, insignia, names, words, text, letters, numbers, signatures, groups of colors, shapes of objects and sounds. But in a foreign country such as The United States has extended its trademark protection to Trade Dress. This provides an overview of the product or service. It does not consider the trademark itself or the service mark. This includes the shape, the label, the packaging, including the colors of the product. At present, the protection extension to the decoration. The principle of protection is based on the principle of trademark protection that must

มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ รายงานสบื เนื่องจากการประชมุ วิชาการระดับชาติ ครั้งท่ี 6 “การเกษตรกา้ วไกล สงั คมไทยยั่งยืน” ราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบงึ วิจยั วันที่ 1 มีนาคม 2561 be included distinctiveness non-functionality and likelihood confusion. The study found that a judgment of the court in the United States has provided a ruling on the appearance of the interior decoration. Even in Thailand, there has never been a decision in this case, but it has appeared in the news about the imitation of foreign restaurants decoration. In Thailand, trademark protection through registration under Thai law does not cover registration of the interior decoration of a restaurant and the atmosphere in the shop and such protection must be considered under Section 46 paragraph two of the passing off. It is therefore appropriate that Thailand should include provisions in the Trademark Act to protect trade dress. For protection trade dress by registration. Keywords: Protection , Trade Dress , Trademark Act , Restaurant Decoration บทนา การคุ้มครองเคร่ืองหมายการค้าคือการคุ้มครองประโยชน์ของตัวเจ้าของเครอ่ื งหมายการค้าจากการถูกละเมิด เครื่องหมายการค้า และปกป้องผู้บริโภคจากการถูกชักจูงให้เกิดความสับสนหลงผิดในความเป็นเจ้าของหรือแหล่งท่ีมา ของสินค้าหรือบริการ ซ่ึงสิ่งที่จะมาเป็นเคร่ืองหมายการค้าได้ในสมัยก่อนมักเปน็ ส่ิงที่มองเห็นได้ดว้ ยตา (จักรกฤษณ์ ควร พจน์, 2538) แต่ในปัจจุบันได้มกี ารขยายความคมุ้ ครองให้ออกไปถึงสิ่งท่ีไม่สามารถเหน็ ไดด้ ้วยตา แต่คานึงถึงความหมาย ที่สองมากกว่าคือส่ิงที่ทาให้ผู้บริโภคสามารถจดจาหรือแยกแยะว่าสินค้าหรือบริการดังกล่าวเป็นของผู้ผลิตรายใด เมื่อ ผู้บริโภครับรู้ถึงตัวเคร่ืองหมายการค้าก็สามารถทราบได้ทันทีว่าเป็นเครื่องหมายการค้าของใคร และสินค้าดังกล่าวมีค่า ความนิยมมากน้อยเพียงใด ดังนั้นการให้ความคุ้มครองเคร่ืองหมายการค้าในต่างประเทศจึงมีการขยายความคุ้มครอง ออกไปถึงเครื่องหมายรูปลักษณ์ ซึ่งไม่จากัดเพียงภาพถ่าย ภาพวาด ภาพประดิษฐ์ ตรา ชื่อ คา ข้อความ ตัวหนังสือ ตัวเลข ลายมือช่ือ กลุ่มของสี รูปร่างหรือรูปทรงของวัตถุ และเสียง ตามท่ีได้บัญญัติไว้ในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติ เคร่ืองหมายการค้า พ.ศ. 2534 เพียงเท่าน้ัน (คมน์ทะนงชัย ฉายไพโรจน์, 2555) แต่ยังขยายความคุ้มครองออกไปถึง เครื่องหมายการรูปลักษณ์ ซ่งึ เครอื่ งหมายรูปลักษณ์นี้เองในประเทศสหรัฐอเมริกาได้มีการการขยายความคุ้มครองไปถึง การตกแต่งภายในร้านอาหารอกี ด้วย จึงเป็นประเด็นที่น่าสนใจว่าตามพระราชบัญญตั ิเครื่องหมายการคา้ พ.ศ. 2534 จะ สามารถให้ความคุ้มครองการตกแต่งร้านอาหารในฐานะเคร่ืองหมายรูปลักษณ์ได้มากน้อยเพียงใด และควรมีการแก้ไข เพม่ิ เติมในสว่ นใดบ้างใหส้ ามารถบังคับใชไ้ ด้ทัดเทยี มในตา่ งประเทศ และถกู ต้องตามเจตนารมณ์ของการใหค้ วามคมุ้ ครอง เครื่องหมายการคา้ อยา่ งแท้จรงิ ดังจะไดก้ ลา่ วในเน้ือความในลาดบั ต่อไป เนอื้ ความ การให้ความคมุ้ ครองเคร่ืองหมายการค้าไดเ้ คยมกี ารศึกษาในเรื่องของการขยายความคมุ้ ครองสิทธใิ นเคร่อื งหมาย การค้าท่ีจดทะเบียนและไมไ่ ด้จดทะเบียน (ชวจารี เรย่ี วแรงกศุ ล, 2558) โดยมีการเปรียบเทียบการคมุ้ ครองตามกฎหมาย ไทยกับกฎหมายเคร่ืองหมายการค้าในประเทศสหรัฐอเมริกา จากการศึกษาพบว่าการคุ้มครองสิทธิในเครื่องหมาย รูปลักษณ์ของประเทศสหรัฐอเมริกามีการให้ความคุ้มครองท่ีมีขอบเขตกว้างกว่าพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้าของ ประเทศไทย อีกท้ังกรณีการใหค้ วามคุ้มครองเครื่องหมายรูปลกั ษณ์ในการตกแต่งร้านอาหาร (ชุตมิ ดี กอจิตตวนิจ,2558) ไดเ้ คยศึกษาในเรื่องการการให้ความคมุ้ ครองอตุ สาหกรรมการบริการอาหารภายใต้กฎหมายทรัพย์สินทางปญั ญาของไทย พบว่ากฎหมายเคร่อื งหมายการคา้ มีความเหมาะสมสูงทีส่ ดุ ในการที่จะใหค้ วามคุ้มครองแก่งานสร้างสรรค์ในอุตสาหกรรม การบริการอาหาร ทาให้การให้ความคุ้มครองการตกแต่งร้านอาหารจึงควรถูกนามาพิจารณาในการให้ความคุ้มครอง ภายใตพ้ ระราชบัญญัติเครอื่ งหมายการค้า ในส่วนของเคร่อื งหมายรูปลกั ษณ์ ซง่ึ จาเป้นอย่างย่ิงท่ีจะตอ้ งมีการวิเคราะหถ์ ึง ลกั ษณะของเครื่องหมายรปู ลักษณ์และแนวทางการให้ความคุ้มครองในต่างประเทศเปรียบเทียบกับประเทศไทย เพ่ือใช้ เป็นแนวทางในการแกไ้ ขกฎหมายเครื่องหมายการคา้ ในประเทศไทยตอ่ ไป 1. เครือ่ งหมายรูปลักษณ์ (Trade Dress)

มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บา้ นจอมบึง รายงานสบื เนื่องจากการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 “การเกษตรกา้ วไกล สงั คมไทยยัง่ ยนื ” ราชภัฏหมูบ่ ้านจอมบึงวิจยั วันที่ 1 มีนาคม 2561 การให้ความคมุ้ ครองเครื่องหมายรปู ลักษณ์ คือ รูปแบบการให้ความคุ้มครองเคร่ืองหมายการค้าอย่างหน่ึง โดยเป็นการให้ความคุ้มครองภาพรวมของตัวสินค้าหรือบริการ โดยไม่ได้พิจารณาถึงตัวเครื่องหมายการค้าหรือ เคร่ืองหมายบริการเพียงอย่างเดียว แต่พิจารณารวมไปถึงรูปร่าง รูปทรง ตัวฉลาก หีบห่อบรรจุภัณฑ์ รวมถึงสีของตัว สินค้า และในปัจจุบันยังมีการขยายไปถึงการจัดตกแต่งหน้าร้าน รวมไปถึงการตกแต่งสถานที่ให้บริการ เช่น ภายใน ร้านอาหาร ห้องครัว เป็นต้น เหตุผลท่ีเคร่ืองหมายรูปลักษณ์ ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายเครื่องหมายการค้า เน่ืองมาจากตามหลักการให้ความคุ้มครองเครื่องหมายการค้า เคร่ืองหมายรูปลักษณ์ถือเป็นส่ิงที่ทาให้ผู้บริโภคสามารถ จดจาหรือแยกแยะว่าสินค้าหรอื บริการดงั กล่าวเปน็ ของผผู้ ลิตรายใด และไม่ทาให้ผู้บรโิ ภคเกิดความสับสนหลงผิด หรอื ที่ เรียกกันว่าต้องมีความหมายท่ีสอง (Secondary Meaning) ซึ่งหากดูเพียงผิวเผินจะมีความคล้ายคลึงกับเครื่องหมาย การค้า (Trademark) แต่เครื่องหมายการคา้ จะมุ่งเน้นไปที่การคุ้มครองสิ่งที่นามาใช้เป็นเคร่ืองหมายการค้าโดยตรง เช่น โลโก้ ช่ือ คา ข้อความ รูปภาพ ท่บี ง่ บอกถงึ ตวั ผู้ผลิตสนิ คา้ หรอื ผ้ใู หบ้ รกิ าร 1.1. การพจิ ารณาถงึ ความเปน็ เครอ่ื งหมายรูปลกั ษณ์ เนื่องจากการให้ความคุ้มครองเครื่องหมายรูปลักษณ์เป็นการให้คุ้มครององค์ประกอบท้ังหมดที่รวมกัน เป็นภาพรวมของตวั สินค้าหรือบริการและต้องทาใหผ้ ู้บริโภคสามารถแยกแยะไดว้ ่าสินคา้ หรือบริการดังกล่าวมาจากผู้ผลิต รายใด ทาให้การจะเปน็ เครื่องหมายรูปลักษณ์ไดต้ อ้ งพิจารณาองค์ประกอบดงั ต่อไปน้ี 1.1.1. เคร่ืองหมายต้องมีลักษณะบ่งเฉพาะ (Distinctiveness) เคร่อื งหมายนั้นต้องมลี กั ษณะทส่ี ามารถทาให้ผ้บู ริโภคหรือประชาชนทราบและเขา้ ใจไดว้ า่ สนิ คา้ หรือบริการที่ใช้เครือ่ งหมายรปู ลกั ษณน์ ้ันมีความแตกต่างไปจากสินคา้ หรือบริการตัวอื่น โดยเฉพาะอย่างย่ิงสาหรับ เครื่องหมายรูปลักษณ์ต้องพิจารณาถึงความมีลักษณะบ่งเฉพาะอยู่ในตัวเอง (Inherently Distinctiveness) เน่ืองจาก ลักษณะของเครื่องหมายที่จะขอความคมุ้ ครองในเรอื่ งเคร่อื งหมายการค้าจะถกู แยกเปน็ 2 ลกั ษณะใหญๆ่ คือ 1) เครื่องหมายท่ัวไป (Generic Marks) คือ เครื่องหมายท่ีบ่งบอกถึงตัวสินค้าหรือบริการน้ันๆ โดยตรง ยกตวั อย่างเชน่ คาว่า “Apple\" หากใช้เป็นเครอ่ื งหมายการคา้ ของผลไม้แอปเปลิ้ คาดังกล่าวจะไม่สามารถขอรับ ความค้มุ ครองในฐานะเคร่อื งหมายการคา้ ได้ แต่คาว่า “Apple” กอ็ าจไมใ่ ชเ่ ครอื่ งหมายทว่ั ไปเสมอไป เพราะหากนาไปใช้ กบั เครือ่ งคอมพิวเตอร์ คาดังกลา่ วกส็ ามารถไดร้ บั ความคุ้มครองตามกฎหมายเครอ่ื งหมายการคา้ ได้และไม่ใช่เครื่องหมาย ทว่ั ไปอกี ต่อไป 2) เคร่อื งหมายมีลักษณะบง่ เฉพาะอยู่ในตัวเอง (Inherently Distinctiveness) คือ เคร่ืองหมาย ท่ีไม่ได้สอ่ื ถึงตวั สินคา้ หรือบรกิ ารโดยตรง โดยปกติมักเป็นสิ่งที่ไม่ปรากฏไดโ้ ดยทวั่ ไปกบั สนิ ค้าหรอื บริการน้ันๆ ซึง่ สามารถ แบ่งเคร่ืองหมายท่ีมีลักษณะบ่งเฉพาะในตัวเองได้ โดยศาลในประเทศสหรัฐอเมริกาได้มีการแบ่งระดบั ความมลี ักษณะบ่ง เฉพาะ (Spectrum of Distinctiveness) ในการตัดสินคดีท่ีพิพาทในเรื่องกฎหมายเคร่ืองหมายการค้าระหว่าง Abercrombie & Fitch Co. v. Hunting World โดยแบง่ เครือ่ งหมายท่ีมลี ักษณะบง่ เฉพาะในตัวเองเปน็ 4 ระดับ ดังนี้ 2.1) เคร่ืองหมายสร้างขึ้นใหม่ (Fanciful Marks) คือ เคร่ืองหมายท่ีถูกสร้างข้ึนโดยไม่เคย ปรากฏท่ีไหนมากอ่ น ซ่งึ อาจตอ้ งใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรค์และการประดิษฐ์เครื่องหมายนั้นขึ้นมา จงึ ถือไดว้ า่ เป็นเคร่ืองหมาย ทม่ี ลี กั ษณะบง่ เฉพาะอยใู่ นตวั เอง ยกตัวอยา่ งเช่น คาวา่ “Kodak” เปน็ คาทีไ่ มม่ ีความหมายมาก่อนในพจนานุกรม เมอ่ื ถูก นามาใช้เป็นเครื่องหมายการค้าของสินค้าประเภท กล้องถ่ายรูป และ ฟิล์มม้วน ผู้บริโภคจึงรู้จักคาวา่ “Kodak” วา่ เป็น เครือ่ งหมายการคา้ ของสนิ ค้าประเภทกลอ้ งถ่ายรปู และฟิลม์ มว้ น 2.2) เครือ่ งหมายตามอาเภอใจ (Arbitrary Marks) คือ เครื่องหมายท่ีปรากฏอยู่แล้วในภาษา ท่ัวๆไป ซึ่งอาจเป็นคาท่ีมีความหมายตามพจนานุกรมแต่เมื่อนาไปใช้กับสินค้าหรือบริการ เครื่องหมายกับสินค้าหรือ บรกิ ารน้ันๆกลบั ไม่ไดม้ ีความเกี่ยวข้องหรอื สื่อความหมายถึงกันและกัน แต่เป็นกรณที ่ีเจ้าของเคร่ืองหมายนาเคร่ืองหมาย เหล่าน้นั มาใช้กับสนิ คา้ หรอื บริการตามความต้องการของตนเอง ยกตัวอย่างเช่น คาวา่ “เป็ด” ซ่งึ ความหมายโดยทว่ั ไปคือ สัตว์ปีกปากแบนชนิดหน่ึง แต่เมื่อนาไปใช้กับสินค้าประเภท น้ายาล้างห้องน้า คาดังกล่าวกับตัวสินค้ากลับไม่ได้มีความ เกย่ี วข้องหรอื ส่อื ความหมาย หรอื เชอื่ มโยงกนั ไดแ้ ตอ่ ย่างใด

มหาวิทยาลัยราชภฏั หมู่บ้านจอมบงึ รายงานสบื เน่ืองจากการประชุมวิชาการระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 6 “การเกษตรก้าวไกล สังคมไทยยงั่ ยืน” ราชภัฏหมูบ่ ้านจอมบึงวจิ ยั วนั ท่ี 1 มีนาคม 2561 2.3) เคร่ืองหมายเชิงชี้นา (Suggestive Marks) คือ เครื่องหมายอธิบายถึงลักษณะ หรือ คณุ ภาพของสินค้าหรือบริการโดยทางอ้อม ซึ่งอาจไม่ได้ส่ือถึงตัวสินค้าหรือบริการโดยตรง แต่หากผู้บริโภคได้ใช้ความคิด หรือจินตนาการก็จะสามารถคิดถึงลักษณะของสินค้าหรือบริการนั้นๆได้ ยกตัวอย่างเช่น คาว่า “Microsoft” ที่ใช้กับ ผลิตภณั ฑ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซง่ึ มาจากคาวา่ ไมโครคอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ (Microcomputer Software) นั่นเอง 2.4) เครื่องหมายคาบรรยาย (Descriptive Marks) คือ เครื่องหมายท่ีบรรยายถึงลักษณะ หรือคุณภาพของตัวสินค้าหรือบริการโดยตรง โดยปกติแล้วเครื่องหมายประเภทนี้จะไม่สามารถนามาจดทะเบียนเพื่อ ขอรับความคุ้มครองได้ เว้นเสยี แต่จะสามารถแสดงถึงความมลี กั ษณะบง่ เฉพาะได้ โดยผ่านการนามาใชจ้ นเกิดลักษณะบ่ง เฉพาะหรอื กค็ ือผูบ้ ริโภคสามารถแยกแยะสนิ คา้ หรอื บริการดังกลา่ วออกจากสินค้าหรอื บรกิ ารอ่ืนๆได้ ยกตัวอย่างเช่น คา ว่า “โออชิ ”ิ ท่มี คี วามหมายในภาษาญปี่ ุ่นแปลว่าอรอ่ ย เมือ่ นาไปใช้กบั เคร่ืองดมื่ ชาเขียว ก็สามารถบรรยายถงึ ลกั ษณะของ เคร่ืองด่ืมได้ว่ามีรสชาติอร่อย โดยหลักแล้วจึงไม่สามารถจดทะเบียนเพ่ือขอรับความคุ้มครองตามกฎหมายเครื่องหมาย การค้าได้ แต่ทว่าเม่ือมีการใช้จนผู้บริโภคสามารถจดจาได้ว่าเคร่ืองหมายการค้าโออิชิก็คือชื่อของสินค้าชาเขียว และ ผู้บริโภคสามารถแยกแยะตัวสินค้าดังกล่าวออกจากสินค้าหรือบริการชนิดอ่ืนๆตามท้องตลาดได้ คาว่า “โออิชิ” จึงเกิด ลกั ษณะบ่งเฉพาะและสามารถขอรบั ความค้มุ ครองตามกฎหมายเครื่องหมายการค้าไดใ้ นที่สุด 1.1.2. เครื่องหมายต้องไม่ทาหน้าท่ีเกี่ยวกับการทางานหรือคุณสมบัติของตัวสินค้าหรือบริการ (Functional) เน่ืองจากการให้ความคุ้มครองเครื่องหมายรูปลักษณ์สามารถให้ความคุ้มครองสินค้าหรือ บริการได้ในวงกว้างจนอาจทาให้เกิดปัญหาการกีดกันทางการค้าอย่างไม่เป็นธรรม การให้ความคุ้มครองเครื่องหมาย รูปลักษณ์จึงต้องนาหลักระบบการทางาน (Functionality Doctrine) (Mitchell M Wongt, 1998) เพื่อเป็นการจากัด ความคุ้มครองเคร่ืองหมายรูปลักษณ์ไม่ให้ขยายวงกว้างมากจนเกินไป เพราะหากสามารถขอรับความคุ้มครองในกลไก หรือรูปแบบการทางานของสินค้าหรอื บริการไดจ้ ะเกิดการผูกขาดทางการคา้ ขน้ึ และเป็นการกีดกนั ทางการค้าอยา่ งไมเ่ ป็น ธรรม และทาให้ผ้ผู ลิตรายใหม่ไมส่ ามารถทาสินค้าหรอื บรกิ ารดังกล่าวออกมาขายได้ ดงั น้ันการนาหลักระบบการทางาน มาใช้จึงมวี ัตถุประสงค์หลัก 2 เรื่อง คอื 1) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการผูกขาดคุณสมบัติที่มีคุณค่าของตัวสินค้าหรือบริการ เนื่องจาก รูปแบบการให้ความคุ้มครองเคร่ืองหมายการค้าเป็นการให้ความคุ้มครองแบบต่ออายุความคุ้มครองได้ไม่มีสิ้นสุด หาก ปล่อยใหไ้ ดร้ ับความคุม้ ครองในเร่อื งของระบบการทางานหรือคุณสมบัตขิ องตัวสนิ ค้าผ่านทางกฎหมายเครือ่ งหมายการค้า จะเกิดการผูกขาดทางการค้าข้ึนและจะส่งผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจให้เกิดการชะลอตัวมากกว่าการส่งเสริมระบบ เศรษฐกจิ 2) เพือ่ เป็นการแยกส่วนกฎหมายทรพั ย์สินทางปัญญาให้มคี วามชัดเจน เน่ืองจากหลักระบบ การทางานตอ้ งการท่จี ะแยกกฎหมายเคร่อื งหมายการค้าออกจากกฎหมายทรพั ย์สินทางปัญญาอื่นๆ โดยกฎหมายหลักใน กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1) กฎหมายเครื่องหมายการค้า 2) กฎหมายสิทธิบัตร 3) กฎหมายลิขสิทธ์ิ โดยทั้งสามกฎหมายนี้มงุ่ ให้ความคุ้มครองการสร้างสรรค์โดยเฉพาะท่ีแตกต่างกัน ยกตวั อยา่ งเช่น เร่ือง ของกฎหมายสทิ ธบิ ัตรจะให้ความคมุ้ ครองถึงการประดิษฐ์หรอื กรรมวธิ ีการประดิษฐ์ที่เกิดขึ้นใหม่ แต่กม็ ีระยะเวลาการให้ ความคมุ้ ครองท่ีมีจากดั ซ่ึงรวมไปถงึ สิทธิบัตรออกแบบผลิตภัณฑด์ ้วย แต่หากใหก้ ารออกแบบผลิตภณั ฑส์ ามารถมาขอรับ ความคุ้มครองในเรือ่ งเคร่ืองหมายรูปลักษณ์หรือเครื่องหมายการค้าระยะเวลาการคุ้มครองก็จะสามารถขยายออกไปได้ อย่างไมม่ ีสนิ้ สดุ ซง่ึ จะทาให้เกิดปัญหาการไดร้ ับความคมุ้ ครองแบบคขู่ นาน หลกั ระบบการทางานสามารถแบ่งได้เปน็ 2 ประเภทยอ่ ยคือ 1) ระบบการทางานโดยพฤตนิ ัย (De Facto Functionality) และ 2) ระบบการทางานโดยนติ นิ ยั (De Jure Functionality) 1) ระบบการทางานโดยพฤตินัย (De Facto Functionality) คือ องค์ประกอบโดยรวมของ ตัวสินค้าหรอื บรรจุภัณฑ์ มีความเก่ียวข้องกับการทางานของตัวสินค้า ยกตัวอย่างเช่น เร่ืองของขวดโค้กและรูปทรงของ ขวดโค้ก ขวดโค้กมีหน้าที่ในการเก็บเคร่ืองด่ืมไว้สาหรับบริโภค และมีช่องอยู่ด้านบนสาหรับเปิดเพื่อใช้เทเคร่ืองด่ืมออก

มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง รายงานสบื เนื่องจากการประชมุ วิชาการระดับชาติ ครั้งท่ี 6 “การเกษตรก้าวไกล สงั คมไทยยั่งยืน” ราชภัฏหมบู่ ้านจอมบงึ วจิ ัย วันที่ 1 มีนาคม 2561 จากขวด สิ่งนี้เรียกว่าระบบการทางานของขวด แต่รูปทรงของขวดโค้กน้ันไม่ใช่ระบบการทางาน แม้รูปทรงของขวดจะ เปลย่ี นไปแตข่ วดกย็ ังคงไวซ้ ่ึงระบบการทางานแบบเดมิ 2) ระบบการทางานโดยนิตินัย (De Jure Functionality) คือ องค์ประกอบโดยรวมของตัว สินค้าหรือบรรจุภณั ฑ์ท่ีเป็นสิ่งสาคัญกับบริษัทท่ีเป็นคู่แข่งทางการค้าเช่นกัน ซึ่งอาจไม่ได้รบั ความคุ้มครองในฐานะเครอ่ื ง รปู ลักษณ์หากทาให้เกิดการแข่งขันทางการค้าท่ีไม่เป็นธรรม โดยหลักนี้ได้ถูกนามาพิจารณาโดยศาล ยกตัวอย่างเช่น ใน คดี Brunswick Corp. v. British Seagull Ltd. ท้ังสองบริษัทประกอบธุรกิจผลิตเคร่ืองยนต์ของเรือเหมือนกัน โดยใน การผลิตเครอ่ื งยนต์จะต้องใชส้ ีดาเป็นส่วนประกอบ ต่อมา Brunswick Corp. ต้องการจดทะเบียนให้สีดาเปน็ ส่วนหนึ่งที่ ได้รับความคุ้มครองในฐานะเครื่องหมายรปู ลักษณ์ แต่ระหวา่ งการพจิ ารณาคดขี องศาล ผู้พพิ ากษาพบว่าการนาสดี ามาใช้ กับสีของเครื่องยนต์เรือ ส่งผลให้ภายนอกเครื่องยนต์ดูมีขนาดเล็กลง ดังนั้น Brunswick Corp. จึงไม่สามารถใช้สิทธิใน การทาให้สีดาเป็นเครื่องหมายรูปลักษณ์ของตนเองได้เพราะจะทาให้เกิดการแข่งขันทางการค้าท่ีไม่เป็นธรรม (Daniel Mills,2015) 1.1.3. เครื่องหมายตอ้ งไมท่ าใหผ้ บู้ ริโภคเกดิ ความสับสนหรอื หลงผิด (Likelihood Confusion) ในกรณีที่เครื่องหมายรูปลักษณ์ทาให้ผู้บริโภคเกิดความสับสนหลงผิดในตัวความเป็นเจ้าของ สินค้าหรือบริการนั่นแสดงว่าอาจมีการละเมิดสิทธิทางทรัพย์สินทางปัญญาเกิดข้ึน โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกฎหมาย เครื่องหมายการค้า อย่างที่ได้เคยกล่าวมาว่าเครื่องหมายรูปลักษณ์จาเป็นจะต้องมีลักษณะบ่งเฉพาะ ส่วนหน่ึงก็เพื่อ ปอ้ งกันไมใ่ ห้เกิดความสับสนหลงผิดในหมผู่ ู้บรโิ ภค โดยลกั ษณะของการสับสนหลงผดิ สามารถแบง่ ได้ 2 ลักษณะคอื 1) การสับสนโดยตรง (Direct Confusion) คือ กรณีท่ีผู้บริโภคเกิดความสับสนในตัวเครื่อง หมายการค้าหรือบริการ จนเกิดความเข้าใจผิดว่าเคร่ืองหมายการหรือบริการดังกลา่ วเป็นเคร่ืองหมายของผู้ผลติ รายอื่น ยกตัวอย่างเช่น กรณี การใชเ้ ครื่องหมายการค้าของสองบริษทั ที่มคี วามเหมือนกันหากนามาใชก้ ับสินค้าประเภทเดียวกัน ผู้บริโภคก็อาจเกิดความสับสันหลงผิดได้ และไม่สามารถแยกแยะได้ว่าสินค้าตัวไหนเป็นของผู้ผลิตรายใดจนทาให้เกิด ความสับสนหลงผดิ ขน้ึ ได้ 2) การสับสันโดยอ้อม (Indirect Confusion) คือ กรณีที่ผู้บริโภคไม่ได้เกิดความสับสนใน ตัวเครอ่ื งหมายการค้าหรือบรกิ าร แตเ่ กิดความสับสนในแหล่งที่มาของสินคา้ หรือบรกิ าร ซ่งึ อาจเกดิ ความสบั สนหลงผดิ ได้ เน่ืองมาจากลักษณะหรือคุณสมบัติของตัวสินค้ามีความคล้ายคลึงกัน จนอาจทาให้ผู้บริโภคเกิดความสับสนหลงผิดว่า สินคา้ หรอื บรกิ ารดงั กล่าวมาจากผผู้ ลิตรายเดียวกัน (Chudomira Dzhurkova, 2011) จากที่กล่าวมาคือองค์ประกอบสาคัญในการพิจารณาถึงความเป็นเครื่องหมายรูปลักษณ์ รวมถึง หลักเกณฑใ์ นการพจิ ารณาว่าเครอ่ื งหมายรปู ลกั ษณจ์ ะไดร้ บั ความค้มุ ครองจาเปน็ ตอ้ งพจิ ารณาถงึ องค์ประกอบใดบ้าง ซง่ึ มี ความสาคัญตอ่ การนาไปใช้ในการส่งเสรมิ การประกอบธรุ กิจและป้องกันการละเมิดทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา แตก่ ารป้องกนั ก็ ต้องไม่เป็นการส่งเสริมให้เกิดการผูกขาดทางการค้าหรือการแข้งขันทางการค้าที่ไม่เป็นธรรมด้วย ทาให้ปัจจุบันการให้ ความคุ้มครองในเคร่ืองหมายรปู ลกั ษณ์ ศาลต้องใชด้ ุลพินจิ พิจารณาอยา่ งรอบคอบ และมีการขยายความคมุ้ ครองออกไป ในวงกว้างมากข้นึ ซ่ึงจะขอนาไปกลา่ วในส่วนต่อไป 2. การใหค้ วามคุ้มครองเครอ่ื งหมายเครื่องหมายรูปลักษณ์ (Trade Dress) ปัจจุบันในหลายประเทศมีการให้ความคุ้มครองเครื่องหมายรูปลักษณ์ โดยบางประเทศได้มีการให้ความ คุ้มครองผ่านกฎหมายเครื่องหมายการค้าของตนเอง เช่น The Lanham Act ของประเทศสหรัฐอเมริกา แต่สาหรับ ประเทศไทยตามพระราชบญั ญัติเครอื่ งหมายการค้า พ.ศ.2534 ซึ่งได้มกี ารแก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัตแิ กไ้ ขเพมิ่ เติม เคร่ืองหมายการค้า ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2559 ก็ยังไม่มีบทบัญญัติทีใ่ ห้ความคุ้มครองโดยตรงในเคร่ืองหมายรูปลักษณ์แต่อยา่ ง ใด แต่ก็ได้ปรากฏถึงการนาหลักเรอ่ื งเครอื่ งหมายรูปลกั ษณม์ าพิจารณาในเรอ่ื งการละเมดิ เคร่ืองหมายการค้า ซงึ่ ปรากฏใน คาพพิ ากษาศาลฎีกา โดยแนวการให้ความต้มุ ครองเครือ่ งหมายรปู ลกั ษณใ์ นปัจจบุ นั ได้มกี ารขยายตัวขึ้นจากตวั บรรจภุ ณั ฑ์ ของสินค้าออกไปถึงรูปแบบการตกแต่งร้านค้ารวมถึงร้านอาหารด้วย ตัวอย่างขอบเขตการให้ความคุ้มครองเครื่องหมาย รูปลักษณท์ ป่ี รากฏเปน็ คดีในศาลมดี งั น้ี 2.1 คุ้มครองในสว่ นรูปทรงของสินค้า

มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง รายงานสบื เนื่องจากการประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 6 “การเกษตรกา้ วไกล สังคมไทยย่ังยืน” ราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึงวิจัย วันที่ 1 มีนาคม 2561 ดังจะเห็นได้จากคาวินิจฉัยของศาลในคดี (Procter and Gamble v. OHIM) ซึ่งบริษัท Procter and Gamble ได้ทาการจดเคร่ืองหมายการค้าของสหภาพยุโรป (Community Trademark) ในรูปทรงสามมิติของ เครื่องล้างจานตอ่ สานักงานการค้าภายใน (Office for Harmonization in the Internal Market/OHIM) แต่ถูกปฏิเสธ คาขอโดยให้เหตุผลว่ารูปทรงดังกล่าวขาดลักษณะบ่งเฉพาะ บริษัท Procter and Gamble จึงได้อุทธรณ์คาวินิจฉัย ดังกล่าวต่อศาลยุติธรรมยุโรป (European Court of Justice/ECJ) และศาลยุติธรรมยุโรปได้วางหลักในการพจิ ารณาถึง รปู ทรงดังกล่าววา่ หากมีการสร้างขึ้นใหม่ (Arbitrary) หรือ การนามาใช้ตามอาเภอใจ (Fanciful) ของรูปทรงหรอื กลุม่ ของ สียอ่ มสามารถทาใหจ้ ดทะเบียนได้ แตด่ ้วยรปู ทรงและสขี องเคร่ืองล้างจานในคดนี ้ียงั ไมส่ ามารถทาให้ประชาชนโดยทั่วไป สามารถแยกแยะสนิ คา้ น้ันออกจากสินค้าของบรษิ ทั อื่นได้ จึงมีคาวนิ ิจฉยั ยนื ตามคาวนิ ิจฉัยเดมิ 2.2 คุ้มครองในส่วนของบรรจภุ ณั ฑ์ ดังจะเห็นได้จากคาวินิจฉัยของศาลในคดี (SiSi-Werke v. OHIM) ซ่ึง SiSi-Werke ได้ย่ืนคาขอจด ทะเบียนเคร่ืองหมายการค้าในบรรจุภัณฑ์เครื่องด่ืมนาผลไม้ที่ทาจากฟอยล์ แต่ถูกปฏิเสธคาขอจดทะเบียนโดย OHIM เน่ืองจากรูปทรงดังกล่าวขาดลักษณะบ่งเฉพาะ ซ่ึงคาวินิจฉัยดังกล่าวได้ถูกอุทธรณ์ไปยังศาลชั้นต้น (Court of First Instance) โดยตอ่ มาศาลชน้ั ตน้ ไดว้ างหลกั วา่ บรรจุภณั ฑ์ก็สามารถมลี ักษณะบ่งเฉพาะได้ หากสามารถสรา้ งความเขา้ ใจใน แหล่งกาเนิดของสินค้าหรือบริการน้ันได้ในทันที โดยสินค้าประเภทน้าผลไม้จาเป็นต้องขายพร้อมบรรจุภัณฑ์และส่ิงท่ี สาธารณชนจะต้องรับรู้จึงไม่ใช่แต่เพียงสัญลักษณ์ที่เป็นเครื่องหมายการค้า แต่ส่ิงแรกท่ีสาคัญในการคานึงถึงก็คือบรรจุ ภัณฑน์ น่ั เอง 2.3 คุม้ ครองในส่วนของสขี องสินคา้ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากคาวินจิ ฉยั ของศาลในคดี (Libertel) ซึง่ ย่นื ขอจดทะเบยี นเคร่อื งหมายการคา้ โดยใชร้ ปู ส่ีเหล่ียมผืนผ้าสีส้มพร้อมกับตัวอักษรคาว่า “Orange” และถูกปฏิเสธคาขอจดทะเบียนในเวลาต่อมา โดยกรณีนี้ศาล ยุติธรรมยุโรปได้วางหลักในคาวินิจฉัยว่าสีสามารถมีลักษณะบ่งเฉพาะได้หากต่อมาได้เป็นท่ีรู้จักและคุ้นเคยในหมู่ สาธารณชนแล้ว (Fabio Angelini. De Simone & Partners, 2007) 2.4 คุ้มครองในสว่ นของการตกแต่งรวมถงึ บรรยากาศในร้าน ดังจะเห็นได้จากคาวินิจฉัยของศาลในคดี Two Pesos, Inc., v. Taco cabana, Inc., โดยในคดีน้ี Taco Cabana Inc. ได้ฟ้องรอ้ งว่า Two Pesos Inc. เลียนแบบการตกแต่งร้าน อาหารของตน ซึ่งในคดีนี้ศาลชั้นต้นของ สหรัฐอเมริกาได้วางหลักไว้วา่ การตกแต่งภายในของร้าน หอ้ งครัว รายการอาหาร การให้บริการอาหาร หรือลกั ษณะอ่ืน ภายในร้านอาหาร ถือว่าเป็นส่ิงที่ทาให้ผู้ใช้บริการสามารถแยกแยะถึงความแตกต่างของร้านอาหารได้ และยังได้มีการ ขยายการคมุ้ ครองเครื่องหมายการค้าให้รวมถงึ การตกแต่งสถานที่ การตกแต่งหน้าร้าน เคร่ืองแบบพนักงาน ภาพรวมใน การโฆษณา ซ่ึงรวมไปถึงเมนูอาหารดังจะเห็นได้จากคดี Vasquez v. Ybarra ซึ่งเป็นการฟ้องร้องการถูกละเมิดรายการ อาหารที่โจทก์ได้รวบรวมไว้ในหนังสือท่ีแต่งขึ้นด้วยสไตล์ของตนเอง โดยศาลได้ให้ความเห็นไว้ว่ารายการอาหารน้ัน สามารถได้รับความคุ้มครองได้ ถ้าหากว่ามีลักษณะเป็นการอธิบายถึงลักษณะของผลิตภัณฑ์ และต้องใช้ความคิด จินตนาการในการรวบรวม และรายการอาหารยงั เปรยี บเสมอื นรปู แบบของบรรจภุ ัณฑ์อีกดว้ ย (ชตุ มิ ดี กอจติ ตวนจิ ,2558) 3. การใหค้ วามค้มุ ครองเคร่ืองหมายการคา้ แบบรูปลกั ษณ์ในประเทศไทย กรณกี ารตกแตง่ ร้านอาหาร พระราชบญั ญัติเครื่องหมายการคา้ พ.ศ.2534 แก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญตั ิเครื่องหมายการคา้ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2559 มาตรา 4 ได้บัญญัติคานิยามของคาว่าเครื่องหมายให้หมายความว่า “ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพประดิษฐ์ ตรา ชื่อ คา ข้อความ ตัวหนังสือ ตัวเลข ลายมอื ชือ่ กลมุ่ ของสี รูปร่างหรือรูปทรงของวัตถุ เสียง หรอื สิ่งเหลา่ น้ีอยา่ งหนึ่ง หรอื หลายอย่างรวมกัน” ซ่งึ ไม่ได้มีการนิยามถึงเคร่อื งหมายรูปลักษณ์โดยตรง โดยหลักการใหค้ วามคุ้มครองเครอื่ งหมาย การค้าของประเทศไทยภายใต้พระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา้ พ.ศ.2534 สามารถได้รับความคุ้มครองใน 2 ลกั ษณะ คือ 1) การคุ้มครองเคร่ืองหมายการค้าท่ีจดทะเบียนแล้ว และ 2) การคุ้มครองเครื่องหมายการค้าที่ยังไม่ได้จดทะเบียน แตเ่ กิดลกั ษณะบ่งเฉพาะจากการใชแ้ ละสามารถไดร้ ับความค้มุ ครองในกรณีลวงขาย (Passing Off) 3.1 การให้ความคุม้ ครองเคร่ืองหมายการค้าผา่ นการจดทะเบยี น

มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมู่บ้านจอมบงึ รายงานสบื เนอื่ งจากการประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้ังท่ี 6 “การเกษตรก้าวไกล สังคมไทยย่ังยืน” ราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึงวจิ ยั วนั ท่ี 1 มีนาคม 2561 ตามกฎหมายแล้วการพิจารณาว่าเครื่องหมายการค้าใดจะจดทะเบียนเคร่ืองหมายการค้าได้ต้อง พิจารณาถึงความเป็นเคร่ืองหมายตาม มาตรา 4 หากไม่เข้าคานิยามว่าเครื่องหมายก็ไม่สามารถขอรับความคุ้มครองใน ฐานะเคร่ืองหมายการค้าได้ ยกตัวอย่างเช่น เครื่องหมายประเภทเสียงที่พ่ึงมีการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ เครอ่ื งหมายการค้า (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2559 ทาให้ปัจจุบันประเทศไทยสามารถให้ความคุ้มครองเครอื่ งหมายการค้าประเภท เสียงผ่านการจดทะเบียนได้แล้ว และตามมารตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติเคร่ืองหมายการค้า พ.ศ. 2534 ได้กาหนดถึง ลักษณะของเคร่ืองหมายการค้าอันพึงรับจดทะเบียนได้ไว้ว่าต้องประกอบไปด้วย 1) เครือ่ งหมายการค้าตอ้ งมีลักษณะบ่ง เฉพาะ 2) เคร่อื งหมายการคา้ ตอ้ งไมต่ อ้ งหา้ มตามพระราชบัญญัตินี้ และ 3) ไม่เปน็ เครอ่ื งหมายการคา้ ทเี่ หมือนหรือคลา้ ย กับบุคคลอื่นที่ได้จดทะเบียนไว้แล้ว ทาให้การให้ความคุ้มครองในส่วนของการตกแต่งร้านอาหารหรือบรรยากาศใน ร้านอาหารท่ีสามารถแสดงออกถึงลักษณะบ่งเฉพาะของร้านอาหาร รวมถึงไม่ได้แสดงถึงคุณสมบัติหรือลักษณะการ ทางานหรือบริการของร้านและไม่ทาให้ผู้บริโภคเกิดความสับสนหลงผิดในสินค้าหรือบริการของร้านน้ันยังไม่สามารถทา การจดทะเบียนตามพระราชบัญญตั ิเครื่องหมายการคา้ ของประเทศไทยได้ 3.2 การใหค้ วามคมุ้ ครองเคร่ืองหมายการค้าที่ยังไม่ไดจ้ ดทะเบยี นโดยพสิ ูจนใ์ นเร่ืองของการลวงขาย การให้ความคุ้มครองเครื่องหมายาการค้ามุ่งให้ความสาคัญกับการคุ้มครองค่าความนิยาม (Goodwill) รวมถึงความเป็นลักษณะบ่งเฉพาะท่ีผู้เป็นเจ้าของเครื่องหมายได้ใช้เวลา แรงงาน และเงินทุนในการสร้างสรรค์ข้ึนมา ทาให้เคร่ืองหมายการค้ามีความโดดเด่นและเกิดความหมายท่ีสองจนผู้บริโภคสามารถจดจาและเช่ือมโยงความสัมพันธ์ ระหว่างสินค้าหรอื บริการกบั ตัวผู้ผลิตหรือผ้ใู ห้บริการน้ันๆได้ แต่แนวทางการให้ความคุ้มครองเครอื่ งหมายการค้าท่ีไม่ได้ จดทะเบยี นน้ีตามกฎหมายไทยจะต้องเป็นการละเมดิ เคร่อื งหมายการคา้ ท่เี ป็นการลวงขาย คือทาใหส้ าธารณชนเกดิ ความ สับสนหลงผิดในเคร่ืองหมายการค้า ตัวสินค้าหรือบริการ หรือแหล่งท่ีมาของสินค้าหรือบริการ และรวมถึงเครื่องหมาย การค้าทจ่ี ะขอรับความค้มุ ครองในเรื่องนไี้ ดก้ ต็ ้องอยู่ในคานิยามของคาว่าเครือ่ งหมายตามมาตรา 4 ด้วย แต่ศาลไทยก็ไดเ้ คยตัดสินคดีโดยนาหลกั การคมุ้ ครองของเครอ่ื งหมายรูปลกั ษณม์ าใช้ในการพิจารณาพิพากษา คดีที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดเคร่ืองหมายการค้า ดังจะเห็นได้จากคาพิพากษาฎีกาที่ 677/2532 ซ่ึงศาลหยิบยกเร่ืองของ บรรจุภัณฑ์ของสนิ ค้ามาพิจารณาถึงการลวงขาย โดยพจิ ารณาจากรูปรา่ งลกั ษณะของบรรจภุ ัณฑ์ สีทใ่ี ช้ ตาแหน่งการวาง รปู ภาพ และการวางตัวอกั ษรที่มลี ักษณะคล้ายคลงึ กันก็สามามารถทาให้สาธารณชนเกิดความสับสนหลงผดิ ได้ หรือในคา พิ พ าก ษ าฎี ก าที่ 335/2553 Schneider Electric Industries SAS v. Thai Bumroong Electric Co Ltd ซึ่ งค ดี น้ี บริษัท SAS ได้ยื่นฟ้องบรษิ ัท Thai Bumroong ว่ามีการละเมิดสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาในส่วนของ ผลิตภัณฑ์ บรรจุ ภัณฑ์ คาโฆษณาสินค้า (Slogan) ในคดีน้ีศาลได้นาหลกั การพิจารณาถึงตัวบรรจภุ ัณฑ์ของสินค้าวา่ มีความคล้ายกัน โดย พิจารณาจาก รปู ทรง สี รวมถึงองคป์ ระกอบโดยรวม ฉลากสนิ คา้ และขอ้ ความทใ่ี ช้บรรยายบนบรรจภุ ณั ฑ์ ซ่ึงสามารถทา ใหส้ าธารณชนเกดิ ความสับสนหลงผิดขน้ึ ได้ ทง้ั นี้แมเ้ ครือ่ งหมายรูปลกั ษณจ์ ะยงั ไมส่ ามารถจดทะเบียนเคร่อื งหมายการค้า ได้แต่ก็ยังสามารถอาศัยมาตรา 46 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้าในเรื่องการลวงขายมาขอรับความ คุ้มครองได้ 3.3 กรณีการละเมดิ รูปแบบการตกแตง่ ร้านอาหาร การตกแตง่ รา้ นอาหารถือเป็นการแสดงออกทางความคิดซงึ่ สามารถได้รบั ความคมุ้ ครองทางทรัพย์สินทาง ปัญญา แต่ทว่าในกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาน้ันก็มีกฎหมายแยกย่อยออกไปอีกหลายตัวเช่น กฎหมายเครื่องหมาย การค้า กฎหมายสิทธิบัตร กฎหมายลิขสิทธ์ิ ซึ่งในกรณีศึกษาการให้ความคุ้มครองการตกแต่งร้านอาหารภายใต้ พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า โดยหลักแล้วหากนาหลักการท่ัวไปของการคุ้มครองเคร่ืองหมายการค้ามาศึกษาจะ พบว่าหากรูปแบบการตกแต่งภายในร้านอาหารมีองค์ประกอบตามที่กาหนดคือ 1) มีลักษณะบ่งเฉพาะ 2) ไม่ทาหน้าท่ี เกี่ยวกับการทางานหรือคุณสมบัติของตัวสินค้าหรือบริการ 3) ไม่ทาให้ผู้บริโภคเกิดความสับสนหรือหลงผิด หากเข้า องค์ประกอบทงั้ 3 ขอ้ นี้ ก็สมควรทจี่ ะไดร้ ับความคุ้มครองตามหลกั เครอ่ื งหมายการค้าได้ ทาให้กฎหมายในต่างประเทศมี การขยายความคมุ้ ครองของเครื่องหมายการค้าออกไปถงึ การให้ความคมุ้ ครองเครือ่ งหมายรูปลกั ษณด์ ว้ ย ดงั จะเหน็ ไดจ้ าก คดี Two Pesos, Inc., v. Taco cabana, Inc., ตามที่ได้กล่าวมา แต่เมื่อนามาพิจารณาภายใต้พระราชบัญญัติ เครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 จะพบว่า การให้ความคุ้มครองเครื่องหมายการค้าผ่านการจดทะเบียนตามกฎหมายไทย

มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบึง รายงานสบื เน่ืองจากการประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 6 “การเกษตรกา้ วไกล สังคมไทยย่งั ยนื ” ราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบงึ วจิ ัย วันท่ี 1 มีนาคม 2561 จักรกฤษณ์ ควรพจน์. (2538). กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตร และเครื่องหมายการค้า . กรงุ เทพมหานคร: สานกั พมิ พน์ ิตธิ รรม. ชุติมดี กอจิตตวนิจ. (2558). การให้ความคุ้มครองอุตสาหกรรมการบริการอาหารภายใต้กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา ของไทย. วารสารนติ ิศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีท่ี 8 (ฉบบั ที่ 1 พฤษภาคม 2558), 140 – 155. ชวจารี เร่ียวแรงกุศล. (2558). การขยายความคุ้มครองสิทธิในเครื่องหมายาการค้าท่ีจดทะเบียนและไม่ได้จดทะเบียน. สทุ ธปิ ริทัศน์. ปท่ี ี่ 29 (ฉบับที่ 90), 218 – 236. Chudomira Dzhurkova. (2011). Likelihood of confusion: The nature of the criterion of an \"independent distinctive role\". สื บ ค้ น เ มื่ อ 13 ม ก ร า ค ม 2561 จ า ก file:///C:/Users/Sutee/Downloads/DZHURKOVA_Chudomira.pdf Daniel Mills. (2015). Functionality and Trade Dress Trademarks. สืบ ค้นเม่ือ 13 มกราคม 2561 จาก https://goo.gl/ySiqYx Fabio Angelini. De Simone & Partners. (2007). Trade Dress Protection in Europe. สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2561 จาก https://goo.gl/Yx7VS1 Mitchell M Wongt. (1998). THE AESTHETIC FUNCTIONALITY DOCTRINE AND THE LAW OF TRADE-DRESS PROTECTION. Cornell Law Review. (Vol.85), 1117 - 1165. Robert J. Yarbrough. (2011). Protection of Trade Dress. สืบคน้ เม่ือ 11 มกราคม 2561 จาก https://goo.gl/u2jyvS

สาขาภูมิปัญญาไทย 10 สาขามีอะไรบ้าง

การกาหนดสาขาภูมิปัญญาไทย ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และหลักเกณฑ์ต่างๆโดยภาพรวมภูมิปัญญาไทยสามารถ แบ่งได้เป็น 10 สาขา ดังนี้ 1. สาขาเกษตร 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม 3. สาขาแพทย์แผนไทย 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. สาขาภาษาและวรรณกรรม 6. สาขาศิลปกรรม 7. ศาสนาและประเพณี 8. สาขาการจัดการองค์กร 9. สาขา ...

ภูมิปัญญาไทย สาขาสวัสดิการ มีอะไรบ้าง

๖. สาขาสวัสดิการ หมายถึง ความสามารถในการจัดสวัสดิการในการประกันคุณภาพชีวิตของคน ให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เช่น การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลของชุมชน การจัดระบบสวัสดิการบริการในชุมชน การจัดระบบสิ่งแวดล้อมในชุมชน เป็นต้น

วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทยมีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของนักเรียนอย่างไรบ้าง

ภูมิปัญญาไทยช่วยสร้างชาติให้เป็นปึกแผ่น ... .

สร้างความภาคภูมิใจ และศักดิ์ศรี เกียรติภูมิแก่คนไทย ... .

สามารถปรับประยุกต์หลักธรรมคำสอนทางศาสนาใช้กับวิถีชีวิตได้อย่างเหมาะสม ... .

สร้างความสมดุลระหว่างคนในสังคม และธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน ... .

เปลี่ยนแปลงปรับปรุงได้ตามยุคสมัย.

ภูมิปัญญาท้องถิ่นคืออะไร ยกตัวอย่าง

ภูมิปัญญาของชุมชน ( Local wisdom ) เป็นภูมิปัญญาที่ สั่งสม สืบสาน อยู่ในวัฒนธรรมท้องถิ่น หรือในชุมชน ไม่มีตัวบุคคลใด บุคคลหนึ่งเป็นเจ้าของ อาจเรียกอีกนัยหนึ่งว่าเป็นภูมิปัญญานิรนาม เช่น ภูมิปัญญาการทอผ้าแพรวาของชุมชนชาวผู้ไท จังหวัดกาฬสินธุ์ การท าไข่เค็ม ไชยา ของชาวสุราษฎร์ธานี