321 1-2 ม.4 ตรอกอาสาพ ฒนา ถ.บร บาลดำร ต.ศร ส ทโธ

สระแก้ว ศูนยเ์ รยี นรแู้ ละขับเคลอ่ื นปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ศูนยแ์ บ่งปันตำบลต้นแบบระดับจงั หวดั

*หมายเหตุ ศูนยผ์ นู้ าจติ อาสาพัฒนาชุมชนใดมกี ารทบทวนเปลี่ยนแปลง ขอให้มีหนังสือแจง้ กรมการพัฒนาชุมชน พรอ้ มสาเนาหนงั สือในรปู แบบไฟล์ PDF ส่งสถาบันการพัฒนาชุมชนทางชอ่ งทางไลนผ์ ูน้ าการเปลี่ยนแปลง ปี 2565

ตารางฝกึ อบรมโครงการเสรมิ สรา้ งและพัฒนาผู้นาก

กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการการขับเคลื่อ

เวลา 08.00 09.00 - 10.00 น. 10.00 - 11.30 น. 11.3 วันท่ี - -

09.00 น. 12.0

วันที่ 1 ลงทะเบียน

พิธเี ปิด วเิ คราะห์ศูนยผ์ นู้ าจติ อาสา ประก และบรรยายพเิ ศษ พัฒนาชุมชน“เหลยี วหลัง เจตนา “บทบาทของผนู้ าฯ แลหนา้ ทา้ ทาย อนาคต เราทาค ในการขับเคลือ่ นศูนยผ์ ู้นา ด้วยห จติ อาสาพัฒนาชุมชน” ศูนยผ์ ูน้ าฯ” - วเิ คราะห์ศักยภาพ (ระดับจงั หวัด) ในการรองรบั วกิ ฤต

ทางด้านอาหาร

วันที่ 2 ทบทวน วันวาน การจดั ทาแผนการสรา้ งความมั่นคงทางด้านอาหาร * การเตรยี มวทิ ยากรผนู้ าจติ อาสาพัฒนาชุมชน/เทคนคิ วทิ ยากร * การเตรยี มอุปกรณ์ของผนู้ าจติ อาสาพัฒนาชุมชน ในการให้บรกิ ารประชาชน * เน้นสรา้ งและเชอื่ มโยงเครอื ข่ายผนู้ าในพ้นื ที่

หมายเหตุ : - พักรบั ประทานอาหารวา่ งและเครอ่ ื งด่ืม ระหว่างเวลา 10.30 – 10

การเปลี่ยนแปลง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ห น้ า | ๑๐

อนศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน ระดับจงั หวัด 16.00 - 30 12.00 13.00 - 16.00 น. - - 16.30 น. 00 น. 13.00 น.

กาศ พักรบั ประทานอาหารกลางวัน กจิ กรรม เอามื้อสามัคคี สรปุ กิจกรรม ารมณ์ “การพัฒนาศูนยผ์ ้นู าจติ อาสาพัฒนาชุมชน” ประจาวัน ความดี หัวใจ เทคนคิ การเปน็ วทิ ยากรกระบวนการ วทิ ยากรประจาศูนยฯ์

การแลกเปลี่ยน/นาเสนอแผนการสรา้ งความมั่นคง มอบภารกิจ/ ทางด้านอาหาร ปิดการอบรม

0.45 น. และเวลา 15.00 – 15.15 น.

“ทุกครัวเร

โครงกำร

ห น้ า | ๑๑

รอื น คือ คลังอำหำร ทุกหมู่บ้ำน คือ ศูนยแ์ บ่งปัน”

รเสริมสร้ำงและพัฒนำผนู้ ำกำรเปลย่ี นแปลง

Research Idea by : Dr.Touchrich Panaluck

ห น้ า | ๑๒

9 จุดหมายต้นสาย ปลายป่านหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง คือเสบียงบุญ

ตู้เย็นตู้ยารอบบ้าน การน้อมนาแนวพระราชดารขิ องสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี ในการปลูกพืชผัก สวนครวั ปลูกสมุนไพร รอบรวั้ บ้าน ทุกครวั เรอื น คือ คลังอาหาร ทุกหมู่บ้าน คอื ศูนยแ์ บ่งปนั

ธนาคารแบ่งปันแรงงาน การใช้กิจกรรม “เอาม้ือสามัคคี” มาขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบในแต่ละแปลง เป็นการรอ้ ื ฟ้ ืนเอาวถิ ีชีวติ ดั้งเดิมวัฒนธรรมอันดีของคนไทยย้อนกลับมาปฏิบัติให้เกิดการปฏิบัติตามหลักกสิกรรม ธรรมชาติ รวมทัง้ สรา้ งความเปน็ จติ อาสาพัฒนาชุมชน จนเกิดเครอื ขา่ ยทมี่ พี ลังและความสามัคคี

ปลูกไม้ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ไม้ผล ไม่เศรษฐกิจ และไม้ใชส้ อย นอกจากนี้ยังมีหลักบันได 9 ขั้น ที่เป็นการบรหิ าร จดั การพื้นที่ ทาให้ พอกิน พอใช้ พออยู่ พอรม่ เยน็ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงขั้นพ้ืนฐาน ก่อนเข้าสู่ขั้นก้าวหน้า คือ ทาบุญ ทาทาน เก็บรกั ษา ค้าขาย และเชอื่ มโยงเป็นเครอื ขา่ ย รวมทัง้ ทาให้เกิดความหลากหลายทางชวี ภาพในดิน ทางรอดของ ชีวติ ด้วยวถิ ีธรรมชาติ “เลี้ยงดิน ให้ดินเลี้ยงพืช ให้พืชเลี้ยงเรา” หลักกสิกรรมธรรมชาติ คือคาตอบการหยุดยั้ง การสูญเสียความหลากหลายทางชวี ภาพในดิน

บัญชีรบั จ่าย ข้อมูลที่ได้รบั จากการทาบัญชีครวั เรอื น จะช่วยให้เราสามารถวางแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ ในเดือนถัดไปได้ การรูจ้ ักวางแผนการใช้จ่ายเงนิ จะช่วยให้สถานการณ์การเงนิ ของครอบครัวดีขึ้น และทาให้เรามองเห็นหนทาง ในการนาขอ้ มลู บัญชคี รวั เรอื นไปประยกุ ต์ในการแก้ไข ปัญหาหนสี้ ินของครอบครวั ได้

ขายขยะแลกทอง ช่วยลดมลภาวะ นาขยะมาแปรรูป ด้วยหลัก 3R (Reduce Reuse Recycle) “ใช้น้อย ใช้ซ้า นากลับมาใชใ้ หม่” ส่งเสรมิ ให้ทุกครวั เรอื นมีการจัดการคัดแยกขยะ เรยี นรูร้ ว่ มกันในหมู่บ้าน เพื่อนาไปสู่การบรหิ าร จัดการคัดแยกขยะอย่างยั่งยืน ตั้งแต่ต้ นทางมีการทาธนาคารขยะประชารฐั และนาเงนิ ท่ีได้มาจัดตั้งสวัสดิการ "เพื่อนชว่ ยเพื่อน" สวัสดิการท่ีชว่ ยดูแลคุณภาพชวี ติ ของสมาชกิ ทุกครวั เรอื นในชุมชนในยามเสียชวี ติ ส่วนขยะเปียก มกี ารทาเป็นปุย๋ อินทรยี จ์ ากขยะเพอ่ื ลดต้นทนุ ด้านการผลิต “ถังขยะเปียก ลดโลกรอ้ น” ประจาครวั เรอื น ซงึ่ เปน็ สารบารุง ดินทห่ี มักในถังขยะเปยี กครวั เรอื น นาไปใชป้ ระโยชนใ์ นแปลงผัก

ของเก่าเล่าอดีต เก็บรกั ษาทรพั ย์สมบัติหรอื สิ่งของที่บ่งบอกถึงอัตลักษณ์ของชุมชน รวมถึงการจัดทาศูนย์มรดก ความทรงจาทางวัฒนธรรม ความรุง่ เรอื งและความมีอารยะเป็นสัญลักษณ์ที่ใชเ้ พ่ือตระหนักถึงความเป็นชาติท่ีผู้คน จะจนิ ตนาการถึงความเป็นทอ้ งถิน่

ผ้าป่าอาชีพ การแบ่งปันความรู้ ด้านลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เพื่อมาเรยี นรูร้ ว่ มกัน ไม่ใช่การอบรมหรอื ฝึกอาชีพ แต่เป็นการแลกเปลีย่ น แบง่ ปันเพ่อื เรยี นให้รู้ ดูให้จา สามารถนาไปใชไ้ ด้จรงิ เป็นการจุดประกายในกระบวนการตัดสินใจ สรา้ งความรใู้ หมจ่ ากฐานความรอู้ าชพี เก่า

ปิดไฟประหยัด รอ้ ยดวงใจลดใชพ้ ลังงาน การอนุรกั ษ์พลังงานและสงิ่ แวดล้อมในชวี ติ ประจาวันใ้ห้เป็นวถิ ี

ตลาดนัด 9 ทิศ หลักการคือตลาดนัดชุมชน ขายได้ทุกทิศทาง เสมือนหนึ่ง Platform สถานีตลาดนั่นเอง ทศิ ท่ี 9 หมายถึงทศิ ทางเทคโนโลยี ระบบเครอื ข่ายออนไลน์ ขายได้ทัง้ หมด ตามกลยทุ ธนักบรหิ ารจดั การตลาด

ห น้ า | ๑๓

แผนปฏิบัติการศูนยผ์ ู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน

กิจกรรมในวันสาคัญ 3 กิจกรรม (วนั พัฒนาของกรมการพัฒนาชุมชน เชน่ วันพ่อ แห่งชาติ 5 ธนั วาคม วนั รวมพลงั ผนู้ า อช./อช. 28 มกราคม วนั สตรสี ากล วันท่ี 8 มีนาคม ของทกุ ปี เปน็ ต้น )

ท่ี กิจกรรม ว/ด/ป กลุ่มเป้าหมาย สถานที่ ผู้รบั ผิดชอบ

กิจกรรมตามบรบิ ทพื้นท่ี อย่างน้อย 3 กิจกรรม (ตามปฏทิ นิ ฤดูกาล/ปฏิทนิ ชุมชน)

ท่ี กิจกรรม ว/ด/ป กลุ่มเป้าหมาย สถานที่ ผู้รบั ผิดชอบ

Timeline โครงกำรเสรมิ สรำ้ งแ

Motto “๑ หมบู่ ้ำนสำมำรถดแู ลไดท้ ้งั ดว้ ยหลกั ปรชั ญำขอ

ห น้ า | ๑๔

และพัฒนำผนู้ ำกำรเปลยี่ นแปลง

งตำบล สร้ำงควำมมน่ั คงทำงดำ้ นอำหำร องเศรษฐกจิ พอเพียง”

ห น้ า | ๑๕

ห น้ า | ๑๖

ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็

ผลผลิต

  1. จานวนผ้นู าการเปลย่ี นแปลง ได้รบั การพัฒนาทกั ษะ และทศั นคติ จานวน 1,900 คน
  2. รอ้ ยละ 75 ของผนู้ าการเปลย่ี นแปลง ได้รบั การพฒั นาทกั ษะ และทศั นคติ

สามารถขบั เคลื่อนศูนยผ์ ู้นาจติ อาสาพฒั นาชุมชนตามภารกจิ ผลลัพธ์ ผู้นาการเปล่ียนแปลง สามารถพัฒนาศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน

บูรณาการงาน และเป็นแกนหลกั ในการบรหิ ารจดั การชุมชนให้เขม้ แขง็ อยา่ งย่ังยนื ได้ ผลกระทบ ศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชม มีขีดความสามารถในการสร้างพลังการ

เปลยี่ นแปลงในชุมชน

เกณฑก์ ารประเมนิ

ระดับคะแนน ระดับข้ันตอนความสาเรจ็

1 ประ ชุ มเชิงปฏิ บัติ การ ทีมขับเคล่ื อนศู นย์ผู้นาจิตอาสาพั ฒนาชุ มชน 2 76 แห่ง 1,900 คน 3 มีฐานข้อมูล ผู้นาการเปลี่ยนแปลงขับเคล่ือนศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน 4 1,900 คน 5 จัดทาแผนขับเคลื่อนศู นย์ผู้ นาจิตอาสา 76 แผน และจัดกิ จกรรม แลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละพัฒนาชุมชนไม่น้อยกว่า 6 กิจกรรม/ศูนย์ จดั ระดับคัดเลือกทีมขับเคลื่อนศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน 18 เขตตรวจ ราชการ และ เชดิ ชูเกียรติ

ถอดบทเรยี นและประชาสัมพนั ธค์ วามสาเรจ็

ห น้ า | ๑๗

ตัวบ่งชค้ี วามสาเรจ็

ประเ มิน คร้ังที่ 1 ทีมขับเคลื่อนศู นย์ผู้นาจิตอาส าพั ฒนา ชุ ม ชน ดาเนินการนาเสนอกิจกรรมเด่นแลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละพัฒนาชุมชนไม่ น้อยกว่า 6 กิจกรรม/ศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน/ปี (Show Case)

ประเมินครง้ั ท่ี 2 ทีมขับเคล่ือนศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนเตรยี ม ความพรอ้ ม (กิจกรรม/คลิปนาเสนอ/ภาพทรงพลัง/ส่ืออุปกรณ์ ฯลฯ) ท่ีจะให้คณะกรรมการได้ประเมิน 18 ศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนดีเด่น ต้นแบบแห่งความดีงาม ขยายผลสู่ตาบลและอาเภอต่อไป

“เราจะมองเห็น แจม่ ชดั ด้วยหัวใจ เทา่ นั้น สิง่ สาคัญ นั้นไม่อาจเห็นได้

ด้วยดวงตา”

ทม่ี า : คาคมจาก วรรณกรรม The Little Prince

ห น้ า | ๑๘

ภำคผนวก

ห น้ า | ๑๙

พิธเี ปิดศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เฉลิมพระเกียรติและถวายเป็น พระราชกุศล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาธบิ ดีศรสี ินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ 10 เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2565

เมื่อวันท่ี 1 ต.ค.64 เวลา 13.30 น. ท่ีห้องประชุม 3003 ช้ัน 3 กรมการพัฒนาชุมชน อาคารรฐั ประศาสนภักดี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ถ.แจ้งวัฒนะ กทม. นายสุทธิพงษ์ จุลเจรญิ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานพิธเี ปิดศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เฉลิมพระเกียรติและถวายเป็นพระราชกุศล พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรสี ินทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รชั กาลที่ 10 เน่ืองในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2565 โดยมี นายสมคิด จันทมฤก อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร จันทม ฤก ประธานชมรมแม่บ้านกรมการพัฒนาชุมชน ผู้บรหิ ารกรมการพัฒนาชุมชน และเจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้อง ร่วมพิธี โดยเป็นการประกอบพิธีผ่านระบบ Video Conference ไปยังทุกจังหวัดทั่วประเทศ โดยมี ผู้ว่าราชการจงั หวัด พัฒนาการจงั หวัด และผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนท่ัวประเทศ รว่ มในพิธี

ห น้ า | ๒๐

อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน Kick off โครงการเสรมิ สรา้ งและพัฒนาผู้นาการเปล่ียนแปลง ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

วันท่ี 19 มกราคม 2565 นายสมคิด จันทมฤก อธบิ ดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นประธานพิธเี ปิด Kick off โครงการเสรมิ สรา้ งและพัฒนาผู้นาการเปลี่ยนแปลง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพ่ือเป็น ก า ร ม อ บ น โ ย บ า ย แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร ด า เ นิ นง า น ให้ กั บ ห น่ ว ย ง า น ใ น สั ง กั ด ก ร ม ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น ทุ ก ร ะ ดั บ ทง้ั ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคได้ขับเคล่ือนการดาเนินงานโครงการเสรมิ สรา้ งและพฒั นาผู้นาการเปลี่ยนแปลง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพ่ิมขีดความสามารถของทีมผู้นาการเปลี่ยนแปลง ในการสรา้ งการพัฒนา ชุมชนท่ีย่ังยืน และสรา้ งพลังชุมชนของผู้นาการเปล่ียนแปลงด้วยการขับเคลื่อนศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน ในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ประชาชนด้านการสรา้ งความมั่นคงทางอาหาร รองรบั ในสถานการณ์การระบาด ของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ - 19) ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจฐานรากในปัจจุบัน โดยมี การขยายการทางานจาก 1 หมู่บ้านสามารถดูแลได้ท้ังตาบล สรา้ งความม่ันคงทางอาหาร ด้วยหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยผู้นาต้องทาก่อน ขยายผลต่อเน่ือง 1:1 นาไปสู่การต้ังศูนย์แบ่งปัน 76 จงั หวัด และศูนยเ์ รยี นรชู้ ุมชนต้นแบบ 76 จงั หวดั เพื่อสรา้ งความม่ันคงของชุมชน โดยบทบาทผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน จะเป็นกรอบการเปลี่ยนแปลง สรา้ งเครอื ข่ายในระดับพ้ืนท่ีให้เข้มแข็ง รว่ มกันเป็นจติ อาสาในการชว่ ยเหลือ ชุมชนในระดับพ้ืนท่ี สามารถแบ่งปันทรัพยากร เป็นพื้นท่ีต้นแบบการเรยี นรู้ดูงาน ณ ห้องประชุม War Room ชน้ั 5 กรมการพัฒนาชุมชน

ห น้ า | ๒๑

ประชุมเตรยี มความพรอ้ มทมี งานสถาบันการพฒั นาชุมชน

ประชุมสรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกันในการขบั เคลอื่ นศูนย์ผนู้ าจติ อาสาพฒั นาชุมชน

ห น้ า | ๒๒

ประชุมแลกเปล่ยี นเพอื่ แสดงความคิดเห็นการจดั ทาคู่มอื ผ้นู าจติ อาสาพัฒนา ชุมชน โดย คณะทางานสนบั สนุนผู้นาจติ อาสาพฒั นาชุมชน

ห น้ า | ๒๓

แบบเสนอโครงการ ขอรบั การสนับสนนุ การดาเนินงาน ตามโครงการเสรมิ สรา้ งและพัฒนาผู้นาการเปลี่ยนแปลง ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบดาเนินงาน กรณี ได้รบั การคัดเลือกเป็นศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน  ระดับดีเด่น จะได้รบั การจดั สรรงบประมาณ (กรมการพัฒนาชุมชนจะดาเนินการแจง้ งบประมาณอีกครงั้ ) ศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน............................................................................................................................................................................................................................