ฐานน ยม ม ธยฐาน ค าเฉล ยเลขคณ ต

$$r = \frac{\sum_{i=1}^n (x_{i} - \bar{x})(y_{i} - \bar{y})}{ \sqrt{ \sum_{i=1}^n (x_{i} - \bar{x})^2 \sum_{i=1}^n (y_{i} - \bar{y})^2 } }$$

  • Data Driven Business คือ การใช้ข้อมูลเพื่อตัดสินใจทำเนินการทางธุรกิจ
  • Data Analyst หรือ Business Analyst คือ นักวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ

7

  • Data Driven Business คือ การใช้ข้อมูลเพื่อตัดสินใจทำเนินการทางธุรกิจ
  • Data Analyst หรือ Business Analyst คือ นักวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ

8

  • Data Driven Business คือ การใช้ข้อมูลเพื่อตัดสินใจทำเนินการทางธุรกิจ
  • Data Analyst หรือ Business Analyst คือ นักวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ

9

ฐานน ยม ม ธยฐาน ค าเฉล ยเลขคณ ต
ศึกษาเพิ่มเติม

  • ประชากร คือ กลุ่มข้อมูลทั้งหมดที่สนใจ
  • ตัวอย่าง คือ กลุ่มข้อมูลบางส่วนจากประชากรทั้งหมด พิจารณา : สมมติว่าเราผลิตผงซักผ้าขึ้นมาใหม่ และต้องการทราบผลตอบรับจากแม่บ้านในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือต่อผลิตภัณฑ์ของเรา สิ่งที่ต้องทำคือ นำผงซักฟอกไปทดสอบกับแม่บ้านทั้งหมดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปัญหาคือ ถ้าเอาผงซักฟอกไปแจกแม่บ้านทุกคนมีเสียค่าใช้จ่ายสูงและยังใช้เวลานานกว่าจะได้ข้อมูลจากผู้ใช้ ดังนั้น จึงใช้ กลุ่มตัวอย่าง (Sample) เนื่องจากผลการวิจัยระบุว่าการเอาผงซักฟอกไปใช้กับแม่บ้านทุกคนในภาคอีสาน(ประชากร) ไม่ต่างจากการเอาใช้กับบางส่วน (กลุ่มตัวอย่าง)
  • ประชากร คือ แม่บ้านทุกคนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • ตัวอย่าง คือ แม่บ้านบางส่วนที่คัดเลือกออกมาจากแม่บ้านในภาคอีสานทั้งหมด

0

วิกิฮาวเป็น "wiki" ซึ่งหมายความว่าบทความหลายๆ บทความของเรานั้นเป็นการร่วมมือกันเขียนของผู้เขียนหลายคน ในการเขียนบทความชิ้นนี้ ผู้คน 15 คน ซึ่งบางคนไม่ขอเปิดเผยตัว ได้ร่วมกันเขียนและปรับปรุงเนื้อหาของบทความอย่างต่อเนื่อง

บทความนี้ถูกเข้าชม 485,568 ครั้ง

ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน และฐานนิยม คือค่ากลางที่มักใช้ในทางสถิติ รวมถึงการคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน บทความนี้จะทำให้คุณรู้ว่า ค่ากลางแต่ละแบบแตกต่างกันตรงไหน และคำนวณหาได้อย่างไร ซึ่งมันไม่ยากอย่างที่คิดเลย

  1. สมมติว่าชุดข้อมูลประกอบด้วย 2, 3 ,4 เมื่อนำมาบวกกันก็จะได้ 2 + 3 + 4 = 9
  2. จากขั้นตอนที่แล้ว เราพบว่าชุดข้อมูลนี้ประกอบด้วยเลขทั้งหมด 3 ตัว
  3. จากขั้นตอนที่แล้ว เมื่อเราได้ผลรวมเท่ากับ 9 และพบว่าจำนวนของตัวเลขในชุดข้อมูลมีทั้งหมด 3 ตัว ก็นำ 9 มาหารด้วย 3 ซึ่งมีค่าเท่ากับ 9 ÷ 3 = 3 ดังนั้นค่านิยมของชุดข้อมูลนี้ก็คือ 3 ทั้งนี้ก็ต้องจำไว้ว่า ค่าเฉลี่ยอาจจะไม่ได้อยู่ในรูปของจำนวนเต็มเสมอไป บางกรณีอาจหารไม่ลงตัว หรืออยู่ในรูปทศนิยมก็ได้ โฆษณา
  1. สมมติให้ชุดข้อมูลประกอบด้วย 4, 2, 8, 1, 15 เมื่อนำมาเรียงลำดับจากน้อยไปมากก็จะได้ 1, 2, 4, 8, 15
  2. การหาตัวเลขหรือค่าที่อยู่ตรงกึ่งกลางสามารถแบ่งได้เป็น 2 กรณีคือ กรณีที่จำนวนสมาชิกในชุดข้อมูลเป็นเลขคี่ กับกรณีที่จำนวนสมาชิกในชุดข้อมูลเป็นเลขคู่ ซึ่งมีวิธีการแตกต่างกันดังนี้
    • กรณีที่เป็นเลขคี่ ให้ขีดฆ่าตัวเลขที่อยู่ซ้ายสุด แล้วมาขีดฆ่าตัวเลขที่อยู่ขวาสุด ทำเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะเหลือตัวเลขสุดท้ายที่อยู่ตรงกลางเพียงตัวเดียว ซึ่งตัวเลขนั้นก็จะเป็นมัธยฐานของชุดข้อมูลนี้ เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ สมมติให้ชุดข้อมูลประกอบด้วย 4, 7, 8, 11, 21 ขั้นแรกให้ขีดฆ่าเลข 4 ต่อด้วย 21 ตามด้วย 7 และ 11 สุดท้ายก็จะเหลือเลข 8 ซึ่งอยู่ตรงกึ่งกลางเพียงตัวเดียว นั่นแสดงว่ามัธยฐานของชุดข้อมูลนี้ก็คือ 8
    • กรณีที่เป็นเลขคู่ ให้ขีดฆ่าตัวเลขซ้ายขวาสลับไปมาเหมือนกรณีที่เป็นเลขคี่ แต่สำหรับกรณีนี้ สุดท้ายตัวเลขที่อยู่ตรงกึ่งกลางจะมี 2 ตัว ให้คุณหาผลบวกของเลขทั้งสองแล้วนำมาหารด้วย 2 เพื่อหามัธยฐาน (ถ้าเลข 2 ตัวที่อยู่ตรงกึ่งกลางมีค่าเท่ากัน ก็ถือว่าเลขนั้นเป็นมัธยฐานได้เลย) เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ สมมติให้ชุดข้อมูลประกอบด้วย 1, 2, 3, 5, 7, 10 เมื่อขีดค่าไปเรื่อยๆ ก็จะเหลือเลข 3 กับ 5 ที่อยู่ตรงกลาง ให้นำเลขทั้งสองมารวมกันแล้วหารด้วย 2 ซึ่งมีค่าเท่ากับ (3 + 5) ÷ 2 = 8 ÷ 2 = 4 ดังนั้นมัธยฐานของชุดข้อมูลนี้คือ 4 โฆษณา
  • สมมติให้ชุดข้อมูลประกอบด้วย 2, 4, 5, 5, 4, 5 ก็ให้เขียนชุดข้อมูลนี้ลงบนกระดาษ ซึ่งควรเรียงลำดับจากน้อยไปมากด้วย เพื่อให้ง่ายต่อการหาฐานนิยม

ท่องไว้ว่า “นิยม คือ มาก” หรือ "Mode is most" จากขั้นตอนที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าเลข 5 มีจำนวนมากที่สุด แสดงว่าฐานนิยมของชุดข้อมูลนี้คือ 5 อย่างไรก็ตามก็มีบางกรณีที่ฐานนิยมมีมากกว่าหนึ่งตัว โดยถ้ามี 2 ตัวก็จะเรียกว่า “ทวิฐานนิยม” (bimodal) ถ้ามีมากกว่าสองตัวก็จะเรียกว่า “พหุฐานนิยม” (multi-modal)