ข นตอนการ chilling ซาก อ ณหภ ม แกนกลาง

การศึกษาซากสุกรเพื่อการศึกษาวิจัย กมล ฉวีวรรณ ศูนยวิจัยและบํารุงพันธุสัตวนครราชสีมา การศึกษาซากสุกรเปน การศึกษาสวนประกอบตางๆของสุกรหลังจากชําแหละ การศึกษาคุณภาพเนื้อ และ คุณภาพซาก เพื่อใชในการประเมินซากของสุกรเพื่อวัตถุประสงคตางๆ เชน ใชประเมินความกาวหนาการพัฒนา ปรับปรุงพันธุ ประเมินคุณภาพซากสําหรับการบริโภค การกําหนดมาตรฐานของเนื้อสัตว เปนตน โดยในการศึกษา ซากประกอบดวยขั้นตอนตางๆดังตอไปนี้ ขั้นตอนกอนศึกษาซาก กอนศึกษาซากสุกรตองอดอาหารสุกรกอนอยางนอย 12 ชม. เพื่อไมใหมีอาหารตกคางอยูในระบบทางเดิน อาหาร น้ําหนักของสุกรกอนฆาจะเปนน้ําหนักที่ใกลเคียงน้ําหนักของสุกร นําสุกรไปชั่งน้ําหนักกอนที่จะนําไป ศึกษาซาก ซึ่งเปนน้ําหนักมีชีวิตหรือน้ําหนักกอนฆา (Live weight หรือ Slaughter weight) การฆาสุกร 1. การทําใหสุกรสลบโดยการช็อตดวยกระแสไฟฟา กอนฆาสุกรจะตองทําใหสุกรสลบดวยวิธีช็อตไฟฟา ดวยเครื่องช็อตไฟฟา (Electrical stunning instrument) ที่กระแสไฟฟา 220 โวลต 2. การฆาสุกรและแทงคอเพื่อเอาเลือดออก ทันทีที่สุกรสลบ นําโซผูกมัดแขงหลังขางใดขางหนึ่งแขวนกับรอกไฟฟา จากนั้นดึงตัวสุกรขึ้นใหพนจาก พื้น เมื่อแขวนสุกรพนจากพื้นดีแลวจึงแทงคอดวยมีดปลายแหลมขนาดยาว 6-7 นิ้ว ที่ตําแหนงบริเวณกึ่งกลางอก ใต ยอดอกลงมาประมาณ 2-3 นิ้ว โดยใหปลายมีดแทงชี้ขึ้นไปทางดานบนในทิศทางทางดานหางอยางรวดเร็ว บิดปลาย มีดเล็กนอยจากนั้นดึงมีดออกมา มีดจะตัดเสนเลือดดํา (Jugular vein) และเสนเลือดแดง (Carotid artery) เพื่อให เลือดไหลออกจากรางกายมากที่สุด 3. การลวกน้ํารอนและขูดขน เมื่อเลือดออกจากรางกายสุกรหมดแลว ลดซากสุกรลงมาที่เครื่องขูดขน ซึ่งมีน้ําอุนที่อุณหภูมิเหมาะสําหรับ การขูดขน ประมาณ 60-65 °ซ ระวังอยาใหน้ํารอนหรือเย็นเกินไป กรณีที่น้ําเย็นเกินไปจะขูดขนไดยาก ทําใหหนังมี ตําหนิได แตถาน้ํารอนเกินไปจะทําใหความรอนสูงซึมเขาไปใน Hair follicle เร็ว ทําใหโปรตีนภายในเกิดการ แข็งตัว (Coagulate) สงผลใหขนยึดติดแนนมากขึ้นทําใหขูดขนไดยาก ซึ่งเครื่องขูดขนจะประกอบดวยมอเตอร ไฟฟาแกนกลมขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 4 ฟุต รอบๆ แกนจะติดแผนขูดขนซึ่งเปนแผนยางที่คอนขางแข็ง ดัง ภาพที่ 1 เมื่อเปดสวิทซเครื่องขูดขน แกนเครื่องจะหมุนใหแผนขูดขนซากนานประมาณ 2-4 นาที เมื่อเห็นวาสะอาด ดีขูดขนออกหมดแลว นําซากขึ้นแขวนบนรางแขวนซากโดยใชตะขอเกี่ยวที่เอ็นรอยหวาย (Achilles tendon) บริเวณ