พรบ.ระเบ ยบข าราชการพลเร อน พ.ศ.2551และท แก ไขเพ มเต ม

พรบ.ระเบ ยบข าราชการพลเร อน พ.ศ.2551และท แก ไขเพ มเต ม

  • หน้าหลัก
  • * ผู้บริหาร กกจ.
    • * ฝ่ายบริหารทั่วไป
      • กลุ่มอัตรากำลังและพัฒนาระบบงาน
      • กลุ่มพัฒนาบุคคล
      • ฝ่ายบรรจุแต่งตั้งและทะเบียนประวัติ
      • ฝ่ายสรรหาและประเมินประสบการณ์
      • กลุ่มงานเสริมสร้างวินัยและพิทักษ์คุณธรรม
      • กลุ่มงานจริยธรรม กปส.
    • อำนาจหน้าที่/วิสัยทัศน์/พันธกิจ
    • นโยบายการบริหารบุคลากร
      • HR Scorecard
      • แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
      • แผนเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากร
      • หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
      • รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี
      • นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
      • การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
    • หน่วยงานกรมประชาสัมพันธ์
  • บริการ
    • * การประเมินผลการปฏิบัติงาน
      • การทดลองปฏิบัติราชการ (ข้าราชการบรรจุใหม่)
      • บำเหน็จ บำนาญ
      • การประเมินผลงานวิชาการ
      • การสรรหาและเลือกสรรบุคคลเพื่อเป็นข้าราชการ
      • เครื่องราชอิสริยาภรณ์
      • กฏ ระเบียบ หลักเกณฑ์
      • แบบฟอร์มต่างๆ
      • การทำบัตรข้าราชการ
      • ขรก.ดีเด่น / จนท.ตัวอย่าง
      • เครื่องแบบข้าราชการ
    • พนักงานราชการ
      • คู่มือ / ระเบียบ
      • ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ
      • หนังสือเวียน
      • แบบฟอร์มต่างๆ
      • การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ
    • ลูกจ้างประจำ
      • กฏ ระเบียบ หลักเกณฑ์
      • สิทธิประโยชน์
      • แบบฟอร์มต่างๆ
      • การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของลูกจ้างประจำ
    • ลูกจ้างชั่วคราว
      • กฏ ระเบียบ หลักเกณฑ์
      • แบบฟอร์มต่างๆ
    • ขั้นตอนการให้บริการใน กกจ.
    • ข้อมูล / หลักเกณฑ์
      • การวางแผนกำลังคนและกรอบอัตรากำลัง
      • การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร
      • การพัฒนาบุคลากร
      • การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร
      • การประเมินผลการปฏิบัติงาน
      • การให้คุณให้โทษและการสร้างขวัญกำลังใจ
    • แจ้งอีเมลลงทะเบียนเข้าใช้งาน DPIS
  • * ข่าวสารประชาสัมพันธ์ทั่วไป
    • ข่าวสารกิจกรรม
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ทุนศึกษา / อบรม
    • ประกาศ / คำสั่ง / ระเบียบ / หนังสือเวียน
    • ตำแหน่งว่าง
  • Learning Zone
  • อินทราเน็ต
  • ติดต่อเรา

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551


12/10/2564 | 124 |


พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551.pdf |


พรบ.ระเบ ยบข าราชการพลเร อน พ.ศ.2551และท แก ไขเพ มเต ม


พรบ.ระเบ ยบข าราชการพลเร อน พ.ศ.2551และท แก ไขเพ มเต ม

กองการเจ้าหน้าที่ ชั้น 3 เลขที่ 9 กรมประชาสัมพันธ์ ซอยอารีย์สัมพันธ์ แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพ 10400 โทรศัพท์ 02-618 2323 ต่อ 1319 Email: [email protected]

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2563 กรมประชาสัมพันธ์

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา

พระราชบญั ญัติ

ระเบยี บขา ราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑

ภมู ิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วนั ที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เปนปท ี่ ๖๓ ในรชั กาลปจ จุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหป ระกาศวา

โดยที่เปน การสมควรปรับปรงุ กฎหมายวาดว ยระเบยี บขา ราชการพลเรอื น พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซง่ึ มาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๖๔ ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย บญั ญตั ิใหก ระทาํ ไดโ ดยอาศัยอาํ นาจตามบทบญั ญัติแหง กฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานติ ิบัญญัตแิ หงชาติ ดังตอไปน้ี มาตรา ๑ พระราชบัญญัตนิ ี้เรียกวา “พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตน ไป มาตรา ๓ ใหยกเลิก

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา

(๑) พระราชบัญญัตริ ะเบยี บขาราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๓๕ (๒) พระราชบัญญตั ิระเบียบขา ราชการพลเรือน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗ (๓) พระราชบญั ญัติระเบียบขา ราชการพลเรือน (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๓๘ (๔) พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขาราชการพลเรือน (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๔ มิใหนาํ คําสงั่ หัวหนาคณะปฏิรูปการปกครองแผนดนิ ที่ ๓๘/๒๕๑๙ ลงวนั ที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๑๙ มาใชบังคบั แกขา ราชการพลเรือน มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตนิ ี้ “ขาราชการพลเรือน” หมายความวา บุคคลซ่ึงไดรับบรรจุและแตงตั้งตามพระราชบัญญัติน้ี ใหรบั ราชการโดยไดรบั เงนิ เดือนจากเงนิ งบประมาณในกระทรวง กรมฝา ยพลเรอื น “ขาราชการฝายพลเรือน” หมายความวา ขาราชการพลเรือน และขาราชการอ่ืนในกระทรวง กรมฝายพลเรอื น ตามกฎหมายวาดวยระเบยี บขาราชการประเภทนัน้ “กระทรวง” หมายความรวมถงึ สาํ นกั นายกรฐั มนตรีและทบวง “รัฐมนตรีเจาสังกัด” หมายความวา รัฐมนตรีวาการกระทรวง รัฐมนตรีวาการทบวง และ หมายความรวมถึงนายกรัฐมนตรีในฐานะเปนผูบังคับบัญชาสํานักนายกรัฐมนตรี และนายกรัฐมนตรี หรอื รฐั มนตรใี นฐานะเปนผูบงั คับบัญชาสวนราชการที่มฐี านะเปน กรมและไมสังกดั กระทรวง “ปลัดกระทรวง” หมายความรวมถึงปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีและปลดั ทบวง “กรม” หมายความรวมถงึ สวนราชการท่ีมฐี านะเปน กรม “อธบิ ด”ี หมายความวา หัวหนาสว นราชการระดบั กรมหรอื เทยี บเทา กรม “สว นราชการ” หมายความวา สวนราชการตามกฎหมายวา ดว ยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และสวนราชการท่ีจัดต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินและมีฐานะ ไมต ่าํ กวากรม มาตรา ๕ ใหนายกรฐั มนตรีรกั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้

ลกั ษณะ ๑ คณะกรรมการขา ราชการพลเรือน

มาตรา ๖ ใหมีคณะกรรมการขาราชการพลเรือนคณะหน่ึง เรียกโดยยอวา “ก.พ.” ประกอบดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธาน ปลัดกระทรวงการคลัง ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา

และสังคมแหงชาติ เปนกรรมการโดยตําแหนง และกรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง จากผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ และดานกฎหมาย ซง่ึ มีผลงานเปน ท่ีประจักษในความสามารถมาแลว และเปน ผูทไ่ี ดร บั การสรรหาตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงอ่ื นไขทก่ี าํ หนดในกฎ ก.พ. จํานวนไมนอ ยกวา หา คน แตไมเกินเจ็ดคน และใหเลขาธิการ ก.พ. เปน กรรมการและเลขานุการ

กรรมการซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังตองไมเปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง กรรมการหรือผดู าํ รงตาํ แหนงทร่ี บั ผดิ ชอบในการบริหารพรรคการเมืองหรือเจาหนาท่ีในพรรคการเมือง และมไิ ดเ ปน กรรมการโดยตาํ แหนงอยแู ลว

มาตรา ๗ กรรมการซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังใหอยูในตําแหนงไดคราวละ สามป ถา ตําแหนง กรรมการวา งลงกอ นกําหนดและยังมีกรรมการดงั กลาวเหลืออยูอีกไมนอ ยกวา สามคน ใหกรรมการทีเ่ หลอื ปฏิบตั หิ นา ท่ีตอไปได

เมื่อตําแหนงกรรมการวางลงกอนกําหนดใหดําเนินการแตงตั้งกรรมการแทนภายในกําหนด สามสิบวัน เวนแตวาระของกรรมการเหลือไมถึงหน่ึงรอยแปดสิบวันจะไมแตงต้ังกรรมการแทนก็ได ผูซง่ึ ไดร ับแตง ตัง้ เปน กรรมการแทนน้นั ใหอ ยูในตาํ แหนงไดเ พยี งเทา กําหนดเวลาของผูซ ึ่งตนแทน

กรรมการซึ่งพนจากตาํ แหนง จะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังใหเ ปนกรรมการอีกกไ็ ด ในกรณีท่ีกรรมการพนจากตําแหนงตามวาระ แตยังมิไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง กรรมการใหม ใหกรรมการนั้นปฏิบัติหนาท่ีตอไปจนกวาจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง กรรมการใหม มาตรา ๘ ก.พ. มอี ํานาจหนา ทด่ี งั ตอไปนี้ (๑) เสนอแนะและใหคาํ ปรึกษาแกคณะรัฐมนตรเี กี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตรการบริหาร ทรัพยากรบุคคลภาครัฐในดานมาตรฐานคาตอบแทน การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมตลอดทง้ั การวางแผนกาํ ลังคนและดานอน่ื ๆ เพือ่ ใหสวนราชการใชเ ปนแนวทางในการดําเนินการ (๒) รายงานคณะรฐั มนตรเี พ่อื พิจารณาปรบั ปรงุ เงินเดือน เงินประจําตําแหนง เงินเพ่ิมคาครองชีพ สวัสดิการ หรอื ประโยชนเ ก้ือกูลอืน่ สําหรับขา ราชการฝายพลเรอื นใหเหมาะสม (๓) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และมาตรฐานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ ขา ราชการพลเรอื น เพอื่ สวนราชการใชเ ปน แนวทางในการดาํ เนินการ (๔) ใหความเหน็ ชอบกรอบอตั รากาํ ลงั ของสว นราชการ

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๔ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

(๕) ออกกฎ ก.พ. และระเบียบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลเพ่ือปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัติน้ี รวมตลอดท้งั การใหคําแนะนําหรือวางแนวทางในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎ ก.พ. เมือ่ ไดร บั อนุมตั ิจากคณะรฐั มนตรีและประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลว ใหใ ชบ ังคับได

(๖) ตีความและวนิ จิ ฉัยปญหาทเี่ กิดขึ้นเนอ่ื งจากการใชบงั คับพระราชบัญญตั นิ ้ี รวมตลอดทั้ง กําหนดแนวทางปฏิบัติในกรณีท่ีเปนปญหา มติของ ก.พ. ตามขอน้ี เมื่อไดรับความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรีแลว ใหใชบงั คับไดต ามกฎหมาย

(๗) กํากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของ ขาราชการพลเรือนในกระทรวงและกรม เพื่อรักษาความเปนธรรมและมาตรฐานดานการบริหาร ทรพั ยากรบคุ คล รวมทัง้ ตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี ในการนี้ ใหมีอํานาจ เรียกเอกสารและหลักฐานจากสวนราชการ หรือใหผูแทนสวนราชการ ขาราชการหรือบุคคลใด ๆ มาชี้แจงขอเท็จจริง และใหมีอํานาจออกระเบียบใหกระทรวง และกรมรายงานเก่ียวกับการบริหาร ทรพั ยากรบคุ คลของขาราชการพลเรือนทอ่ี ยใู นอํานาจหนาทีไ่ ปยงั ก.พ.

(๘) กําหนดนโยบายและออกระเบียบเกี่ยวกับทุนเลาเรียนหลวงและทุนของรัฐบาล ใหสอดคลองกับนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของขาราชการฝายพลเรือน ตลอดจนจัดสรร ผรู บั ทุนท่สี ําเร็จการศึกษาแลว เขารบั ราชการในกระทรวงและกรมหรือหนว ยงานของรฐั

(๙) ออกขอบังคับหรือระเบียบเกี่ยวกับการจัดการการศึกษาและควบคุมดูแลและการให ความชว ยเหลอื บุคลากรภาครัฐ นักเรียนทุนเลาเรียนหลวง นักเรียนทุนของรัฐบาล และนักเรียนทุนสวนตัว ทอ่ี ยูในความดูแลของ ก.พ. ตลอดจนการเก็บเงนิ ชดเชยคา ใชจ า ยในการดแู ลจัดการการศกึ ษา ทงั้ นี้ ใหถ อื วา เงนิ ชดเชยคาใชจ า ยในการดูแลจัดการการศึกษาเปนเงินรายรับของสวนราชการที่เปนสถานอํานวยบริการ อันเปน สาธารณประโยชน ตามความหมายในกฎหมายวาดว ยวิธีการงบประมาณ

(๑๐) กําหนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารเพอ่ื รับรองคณุ วฒุ ขิ องผูไดรับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือคุณวุฒิอยางอื่น เพื่อประโยชนในการบรรจุและแตงต้ังเปนขาราชการพลเรือน และการกําหนด อัตราเงินเดือนหรอื คาตอบแทน รวมทง้ั ระดบั ตําแหนงและประเภทตาํ แหนงสําหรบั คุณวฒุ ดิ งั กลาว

(๑๑) กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการปฏิบัติการเก่ียวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลตาม พระราชบัญญตั นิ ้ี

(๑๒) พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวัติและแกไขทะเบียนประวัติเก่ียวกับวัน เดือน ปเกิด และการควบคุมเกษียณอายุของขา ราชการพลเรอื น

(๑๓) ปฏบิ ตั ิหนา ทีอ่ นื่ ตามท่ีบัญญัติไวใ นพระราชบัญญัตนิ ้ีและกฎหมายอนื่

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๕ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

การออกกฎ ก.พ. ตาม (๕) ในกรณที ่ีเห็นสมควรใหสํานักงาน ก.พ. หารือกระทรวงที่เกี่ยวของ เพือ่ ประกอบการพิจารณาของ ก.พ. ดว ย

มาตรา ๙ ในกรณที ่ี ก.พ. มมี ติวา กระทรวง กรม หรือผูมีหนา ท่ปี ฏบิ ตั ิตามพระราชบัญญัตินี้ ไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี หรือปฏิบัติการโดยขัดหรือแยงกับแนวทางตามที่กําหนด ในพระราชบัญญัตนิ ี้ ให ก.พ. แจงใหกระทรวง กรม หรือผูมีหนาท่ีปฏิบัติดังกลาวดําเนินการแกไข ยกเลิก หรือยุติการดําเนินการดังกลาวภายในเวลาท่ีกําหนดในกรณีท่ีกระทรวง กรม หรือผูมีหนาที่ ปฏิบัติดังกลาวไมดําเนินการตามมติ ก.พ. ภายในเวลาที่กําหนดโดยไมมีเหตุอันสมควร ใหถือวา ปลดั กระทรวง อธบิ ดี หรือผูมีหนา ทีป่ ฏบิ ตั ดิ ังกลาวแลวแตก รณี กระทาํ ผิดวินัย

การดําเนินการทางวินัยตามวรรคหน่ึงและการสั่งลงโทษใหเปนอํานาจหนาที่ของ ก.พ. ตามหลกั เกณฑ วิธกี าร และเงอ่ื นไขทก่ี าํ หนดในกฎ ก.พ.

ในกรณีที่ผูไมป ฏบิ ตั ิการตามมติ ก.พ. ตามวรรคหนึง่ เปนรฐั มนตรเี จาสงั กัด ให ก.พ. รายงาน นายกรัฐมนตรีเพ่อื พจิ ารณาส่ังการตามที่เห็นสมควรตอ ไป

มาตรา ๑๐ ในกรณีที่ ก.พ. เห็นวาการบริหารทรัพยากรบุคคลในเร่ืองใดที่ขาราชการ ฝายพลเรือนทุกประเภทหรือบางประเภทควรมีมาตรฐานหรือหลักเกณฑเดียวกัน ให ก.พ. จัดใหมี การประชุมเพ่ือหารือรวมกันระหวา งผูแทน ก.พ. ผูแทน ก.พ.ร. และผแู ทนองคกรกลางบริหารงานบุคคล ของขาราชการฝายพลเรือนประเภทตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ เพื่อกําหนดมาตรฐานหรือหลักเกณฑกลาง การบริหารทรพั ยากรบคุ คลในเรอื่ งน้ันเสนอตอ คณะรัฐมนตรี และเมือ่ คณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบแลว ใหใ ชบ งั คบั มาตรฐานหรือหลักเกณฑกลางดังกลาวกับขาราชการฝายพลเรือนทุกประเภทหรือประเภทน้ัน ๆ แลว แตก รณี

ความในวรรคหน่งึ ใหใชบงั คับกบั กรณที ่มี ีปญ หาเก่ียวกับวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคลของรัฐ ในเรอ่ื งใดเรอื่ งหนึ่งดวยโดยอนุโลม

มาตรา ๑๑ ใหนําบทบญั ญัตวิ าดวยคณะกรรมการทม่ี ีอํานาจดําเนินการพิจารณาทางปกครอง ตามกฎหมายวา ดวยวธิ ปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครองมาใชบ งั คบั แกก ารประชุม ก.พ. โดยอนุโลม เวนแต กรณตี ามมาตรา ๓๖ วรรคสอง

มาตรา ๑๒ ก.พ. มีอํานาจแตง ตงั้ คณะอนุกรรมการวสิ ามญั เรียกโดยยอ วา “อ.ก.พ. วิสามัญ” เพ่อื ทําการใด ๆ แทนได

จํานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการแตงตั้ง อ.ก.พ. วิสามัญ รวมตลอดทั้งวิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตาํ แหนง ใหเปน ไปตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ.

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๖ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๑๓ ใหมสี ํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เรยี กโดยยอวา “สํานักงาน ก.พ.” โดยมีเลขาธกิ าร ก.พ. เปน ผูบงั คับบัญชาขาราชการและบรหิ ารราชการของสํานักงาน ก.พ. ข้ึนตรงตอ นายกรัฐมนตรี

สํานกั งาน ก.พ. มีอาํ นาจหนา ทด่ี งั ตอไปน้ี (๑) เปนเจาหนาท่ีเก่ียวกับการดําเนินงานในหนาที่ของ ก.พ. และ ก.พ.ค. และดําเนินการ ตามท่ี ก.พ. หรือ ก.พ.ค. มอบหมาย (๒) เสนอแนะและใหคาํ ปรึกษาแกกระทรวง กรม เกีย่ วกับหลักเกณฑ วิธีการ และแนวทาง การบรหิ ารทรัพยากรบคุ คลภาครฐั (๓) พฒั นา สง เสริม วเิ คราะห วจิ ยั เกย่ี วกบั นโยบาย ยุทธศาสตร ระบบ หลักเกณฑ วิธีการ และมาตรฐานดานการบริหารทรพั ยากรบคุ คลของขา ราชการพลเรอื น (๔) ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารทรัพยากรบคุ คลของขา ราชการพลเรือน (๕) ดาํ เนินการเกยี่ วกับแผนกําลังคนของขา ราชการพลเรือน (๖) เปนศนู ยกลางขอ มลู ทรัพยากรบคุ คลภาครฐั (๗) จัดทํายุทธศาสตร ประสานและดําเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ ขาราชการฝา ยพลเรอื น (๘) สงเสรมิ ประสานงาน เผยแพร ใหค าํ ปรึกษาแนะนาํ และดาํ เนนิ การเก่ียวกับการจัดสวัสดิการ และการเสริมสรางคณุ ภาพชีวิตสําหรบั ทรัพยากรบคุ คลภาครัฐ (๙) ดําเนินการเกี่ยวกับทุนเลาเรียนหลวงและทุนของรัฐบาลตามนโยบายและระเบียบของ ก.พ. ตามมาตรา ๘ (๘) (๑๐) ดําเนนิ การเกี่ยวกบั การดแู ลบุคลากรภาครัฐและนกั เรียนทนุ ตามขอ บงั คับหรือระเบียบของ ก.พ. ตามมาตรา ๘ (๙) (๑๑) ดําเนินการเก่ียวกับการรับรองคุณวุฒิของผูไดรับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือ คณุ วฒุ ิอยา งอืน่ เพอื่ ประโยชนในการบรรจแุ ละแตงตัง้ เปน ขาราชการพลเรือน และการกําหนดอัตราเงินเดือน หรือคา ตอบแทน รวมท้ังระดบั ตาํ แหนงและประเภทตําแหนง สาํ หรับคณุ วุฒดิ ังกลาว (๑๒) ดําเนินการเกยี่ วกับการรักษาทะเบยี นประวตั ิและการควบคมุ เกษยี ณอายขุ องขา ราชการพลเรอื น (๑๓) จัดทํารายงานประจําปเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือนเสนอตอ ก.พ. และคณะรฐั มนตรี (๑๔) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอื่น หรือตามท่ี คณะรัฐมนตรี นายกรฐั มนตรี หรือ ก.พ. มอบหมาย

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๗ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา

มาตรา ๑๔ ใหม คี ณะอนุกรรมการสามัญ เรียกโดยยอวา “อ.ก.พ. สามัญ” เพ่ือเปนองคกร บรหิ ารทรพั ยากรบุคคลในสว นราชการตา ง ๆ ดังนี้

(๑) คณะอนุกรรมการสามญั ประจํากระทรวง เรยี กโดยยอ วา “อ.ก.พ. กระทรวง” โดยออกนามกระทรวง (๒) คณะอนุกรรมการสามัญประจาํ กรม เรียกโดยยอ วา “อ.ก.พ. กรม” โดยออกนามกรม (๓) คณะอนุกรรมการสามญั ประจําจังหวัด เรียกโดยยอ วา “อ.ก.พ. จงั หวดั ” โดยออกนามจงั หวดั (๔) คณะอนุกรรมการสามัญประจาํ สวนราชการอน่ื นอกจากสว นราชการตาม (๑) (๒) และ (๓) การเรียกช่อื องคป ระกอบ และอํานาจหนาที่ของ อ.ก.พ. ตาม (๔) ใหเปนไปตามท่ีกําหนด ในกฎ ก.พ. มาตรา ๑๕ อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบดว ยรัฐมนตรเี จาสงั กัด เปนประธาน ปลัดกระทรวง เปนรองประธาน และผูแทน ก.พ. ซ่ึงต้ังจากขาราชการพลเรือนในสํานักงาน ก.พ. หน่ึงคน เปนอนุกรรมการโดยตําแหนง และอนุกรรมการซง่ึ ประธาน อ.ก.พ. แตงต้ังจาก (๑) ผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ และ ดานกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเปน ท่ปี ระจกั ษในความสามารถมาแลว และมิไดเปนขาราชการในกระทรวงนั้น จาํ นวนไมเ กนิ สามคน (๒) ขา ราชการพลเรือนผูดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงในกระทรวงน้ัน ซึ่งไดรับเลือก จากขาราชการพลเรอื นผดู าํ รงตาํ แหนง ดังกลาว จาํ นวนไมเ กินหาคน ให อ.ก.พ. นตี้ ัง้ เลขานุการหนงึ่ คน มาตรา ๑๖ อ.ก.พ. กระทรวง มีอาํ นาจหนา ทีด่ งั ตอ ไปนี้

(๑) พจิ ารณากําหนดนโยบาย ระบบ และระเบยี บวิธกี ารบริหารทรพั ยากรบุคคลในกระทรวง

ซง่ึ ตอ งสอดคลอ งกบั หลกั เกณฑ วธิ ีการ และมาตรฐานที่ ก.พ. กาํ หนดตามมาตรา ๘ (๓)

(๒) พิจารณาการเกลี่ยอตั รากาํ ลงั ระหวางสว นราชการตา ง ๆ ภายในกระทรวง

(๓) พิจารณาเกยี่ วกบั การดาํ เนนิ การทางวนิ ัยและการส่ังใหออกจากราชการตามที่บัญญตั ไิ วใน

พระราชบญั ญตั นิ ี้

(๔) ปฏิบัตกิ ารอื่นตามพระราชบญั ญตั ิน้แี ละชว ย ก.พ. ปฏบิ ัติการใหเ ปน ไปตามพระราชบัญญัตินี้

ตามที่ ก.พ. มอบหมาย

มาตรา ๑๗ อ.ก.พ. กรม ประกอบดวยอธิบดี เปนประธาน รองอธิบดีที่อธิบดีมอบหมาย

หน่งึ คน เปน รองประธาน และอนุกรรมการซงึ่ ประธาน อ.ก.พ. แตง ตัง้ จาก

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๘ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

(๑) ผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการและ ดา นกฎหมาย ซ่ึงมีผลงานเปนที่ประจักษในความสามารถมาแลว และมิไดเปนขาราชการในกรมน้ัน จาํ นวนไมเกินสามคน

(๒) ขาราชการพลเรือนซ่ึงดํารงตําแหนงประเภทบริหารหรือประเภทอํานวยการในกรมนั้น ซง่ึ ไดร ับเลือกจากขา ราชการพลเรอื นผดู ํารงตําแหนง ดังกลา ว จํานวนไมเ กินหกคน

ให อ.ก.พ. นี้ต้งั เลขานุการหนึ่งคน มาตรา ๑๘ อ.ก.พ. กรม มีอํานาจหนา ทดี่ งั ตอไปน้ี (๑) พิจารณากําหนดนโยบาย ระบบ และระเบียบวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคลในกรม ซ่ึงตองสอดคลองกับหลักเกณฑ วิธีการ และมาตรฐานท่ี ก.พ. กําหนดตามมาตรา ๘ (๓) และ นโยบายและระบบการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลท่ี อ.ก.พ. กระทรวงกําหนดตามมาตรา ๑๖ (๑) (๒) พจิ ารณาการเกล่ียอัตรากาํ ลังระหวางสวนราชการตาง ๆ ภายในกรม (๓) พจิ ารณาเกี่ยวกบั การดําเนินการทางวินัยและการสัง่ ใหออกจากราชการตามทบ่ี ญั ญัตไิ วใน พระราชบญั ญตั ิน้ี (๔) ปฏิบตั ิการอ่นื ตามพระราชบัญญัตนิ ี้และชว ย ก.พ. ปฏบิ ตั กิ ารใหเ ปนไปตามพระราชบัญญัติน้ี ตามที่ ก.พ. มอบหมาย มาตรา ๑๙ อ.ก.พ. จังหวัด ประกอบดวยผูวาราชการจังหวัด เปนประธาน รองผูวาราชการจังหวัด ท่ีผูวาราชการจังหวัดมอบหมายหนึ่งคน เปนรองประธาน และอนุกรรมการ ซึ่งประธาน อ.ก.พ. แตง ตัง้ จาก (๑) ผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดานการบริหารและการจัดการ และ ดานกฎหมาย ซ่ึงมีผลงานเปนที่ประจักษในความสามารถมาแลว และมิไดเปนขาราชการพลเรือน ในจังหวดั น้นั จํานวนไมเกินสามคน (๒) ขาราชการพลเรือนซึ่งดํารงตําแหนงประเภทบริหารหรือประเภทอํานวยการ ซ่ึงกระทรวง หรือกรมแตงตั้งไปประจําจังหวัดนั้น และไดรับเลือกจากขาราชการพลเรือนผูดํารงตําแหนงดังกลาว จาํ นวนไมเกินหกคน ซึ่งแตล ะคนตองไมส ังกัดกระทรวงเดียวกนั ให อ.ก.พ. น้ตี ้ังเลขานกุ ารหนึง่ คน มาตรา ๒๐ อ.ก.พ. จงั หวดั มีอาํ นาจหนา ที่ดงั ตอ ไปน้ี

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๙ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

(๑) พิจารณากําหนดแนวทางและวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งตองสอดคลองกับ หลักเกณฑ วธิ กี าร และมาตรฐานที่ ก.พ. กาํ หนดตามมาตรา ๘ (๓)

(๒) พิจารณาเกย่ี วกับการดําเนินการทางวินยั และการสงั่ ใหอ อกจากราชการตามท่บี ัญญัตไิ วใน พระราชบัญญตั นิ ี้

(๓) ปฏิบตั ติ ามท่ี อ.ก.พ. กระทรวง หรือ อ.ก.พ. กรม มอบหมาย (๔) ปฏบิ ัตกิ ารอ่นื ตามพระราชบญั ญัตนิ แี้ ละชวย ก.พ. ปฏบิ ตั กิ ารใหเ ปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่ ก.พ. มอบหมาย มาตรา ๒๑ หลักเกณฑและวิธีการสรรหาหรือการเลือกบุคคลเพ่ือแตงตั้งเปนอนุกรรมการ ตามมาตรา ๑๕ (๑) และ (๒) มาตรา ๑๗ (๑) และ (๒) และมาตรา ๑๙ (๑) และ (๒) วาระการ ดํารงตาํ แหนง และจํานวนขัน้ ตํ่าของอนุกรรมการดังกลาว ใหเปน ไปตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๒๒ ในกรณีท่ีกระทรวงใดมีเหตุพิเศษ ก.พ. จะอนุมัติใหมีแต อ.ก.พ. กระทรวง เพอ่ื ทาํ หนาที่ อ.ก.พ. กรม ก็ได ในกรณีสวนราชการท่ีมีฐานะเปนกรมและไมสังกัดกระทรวง แตอยูในบังคับบัญชาของ นายกรฐั มนตรหี รือรฐั มนตรี หรือสวนราชการท่ีมีฐานะเปนกรมและมีหัวหนาสวนราชการรับผิดชอบ ในการปฏิบตั ิราชการขนึ้ ตรงตอนายกรัฐมนตรีหรอื ตอ รฐั มนตรี ใหบ รรดาอํานาจหนาที่ของ อ.ก.พ. กระทรวง เปนอํานาจหนาที่ของ อ.ก.พ. กรมดวย แตในการปฏิบัติหนาที่ดังกลาว ใหมีรัฐมนตรีเจาสังกัด เปน ประธาน และอธิบดีเปนรองประธาน และผูแทน ก.พ. ซ่ึงตั้งจากขาราชการพลเรือนในสํานักงาน ก.พ. หน่งึ คน เปนอนุกรรมการโดยตําแหนง ในกรณีสํานักงานรัฐมนตรี ให อ.ก.พ. กรมของสํานักงานปลัดกระทรวงทําหนาที่ อ.ก.พ. กรม ของสํานักงานรัฐมนตรี มาตรา ๒๓ ใหน ํามาตรา ๑๑ มาใชบงั คับแกก ารประชมุ ของ อ.ก.พ. วสิ ามัญ และ อ.ก.พ. สามัญ โดยอนโุ ลม

ลกั ษณะ ๒ คณะกรรมการพทิ กั ษร ะบบคณุ ธรรม

มาตรา ๒๔ ใหมีคณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยยอวา “ก.พ.ค.” ประกอบดว ยกรรมการจาํ นวนเจด็ คนซงึ่ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตง ต้ังตามมาตรา ๒๖

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑๐ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

กรรมการ ก.พ.ค. ตอ งทํางานเตม็ เวลา ใหเ ลขาธิการ ก.พ. เปนเลขานกุ ารของ ก.พ.ค. มาตรา ๒๕ ผูจ ะไดร ับการแตงตงั้ เปนกรรมการ ก.พ.ค. ตองมคี ณุ สมบตั ิดงั ตอ ไปนี้ (๑) มสี ัญชาตไิ ทย (๒) มอี ายุไมต า่ํ กวา ส่สี ิบหา ป (๓) มีคณุ สมบัติอ่ืนอยา งหนง่ึ อยางใด ดังตอ ไปนี้

(ก) เปนหรือเคยเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขาราชการพลเรือน คณะกรรมการขาราชการครู คณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการ ขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย คณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา หรือ คณะกรรมการขาราชการตํารวจ

(ข) เปนหรอื เคยเปนกรรมการกฤษฎกี า (ค) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมตํ่ากวาผูพิพากษาศาลอุทธรณหรือ เทยี บเทา หรอื ตลุ าการหวั หนา คณะศาลปกครองชัน้ ตน (ง) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมต่ํากวาอัยการพิเศษประจําเขตหรือ เทียบเทา (จ) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงหรือเทียบเทา ตามท่ี ก.พ. กาํ หนด (ฉ) เปนหรือเคยเปนผูสอนวิชาในสาขานิติศาสตร รัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร เศรษฐศาสตร สงั คมศาสตร หรือวิชาท่ีเกี่ยวกับการบริหารราชการแผนดินในสถาบันอุดมศึกษา และ ดํารงตาํ แหนง หรอื เคยดาํ รงตาํ แหนง ไมต ่ํากวารองศาสตราจารย แตใ นกรณีทีด่ ํารงตาํ แหนง รองศาสตราจารย ตองดาํ รงตาํ แหนงหรอื เคยดํารงตําแหนง มาแลว ไมน อ ยกวาหา ป มาตรา ๒๖ ใหมีคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ประกอบดวยประธาน ศาลปกครองสูงสดุ เปน ประธาน รองประธานศาลฎกี าท่ีไดรับมอบหมายจากประธานศาลฎีกาหน่ึงคน กรรมการ ก.พ. ผทู รงคณุ วุฒิหนึ่งคนซึ่งไดรับเลือกโดย ก.พ. และใหเลขาธิการ ก.พ. เปนกรรมการ และเลขานกุ าร ใหคณะกรรมการคัดเลอื กมหี นาที่คดั เลือกบุคคลผมู คี ณุ สมบัติตามมาตรา ๒๕ จาํ นวนเจ็ดคน

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑๑ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

ใหผูไดรับคัดเลือกตามวรรคสองประชุมและเลือกกันเองใหคนหน่ึงเปนประธานกรรมการ ก.พ.ค. แลว ใหน ายกรฐั มนตรนี ําความกราบบงั คมทลู เพื่อทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง

หลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. ใหเปนไปตามที่คณะกรรมการคัดเลือก กาํ หนด

มาตรา ๒๗ กรรมการ ก.พ.ค. ตองไมม ีลกั ษณะตอ งหาม ดังตอ ไปนี้ (๑) เปน ขา ราชการ (๒) เปนพนักงานหรือลูกจางของหนว ยงานของรฐั หรือบุคคลใด (๓) เปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง กรรมการหรือผูดํารงตําแหนงที่รับผิดชอบในการ บริหารพรรคการเมอื ง สมาชิกพรรคการเมอื งหรอื เจาหนา ท่ีในพรรคการเมอื ง (๔) เปนกรรมการในรฐั วิสาหกิจ (๕) เปนกรรมการในองคกรกลางบริหารงานบคุ คลในหนว ยงานของรฐั (๖) ประกอบอาชพี หรือวิชาชีพอยา งอน่ื หรือดํารงตําแหนงหรือประกอบการใด ๆ หรือเปน กรรมการในหนวยงานของรฐั หรือเอกชน อันขดั ตอ การปฏบิ ัติหนา ท่ตี ามทก่ี ําหนดในพระราชกฤษฎกี า มาตรา ๒๘ ผูไดรบั คัดเลอื กเปนกรรมการ ก.พ.ค. ผูใดมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๗ ผูนั้นตองลาออกจากการเปนบุคคลซึ่งมีลักษณะตองหามหรือแสดงหลักฐานใหเปนท่ีเช่ือไดวา ตนไดเลิกการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือการประกอบการอันมีลักษณะตองหามดังกลาวตอ เลขานกุ าร ก.พ.ค. ภายในสบิ หา วันนบั แตวนั ทไ่ี ดร ับคัดเลือก ในกรณีทีผ่ ไู ดรบั คัดเลือกเปนกรรมการ ก.พ.ค. มิไดลาออกหรือเลิกการประกอบอาชีพหรือ วิชาชีพหรือการประกอบการดังกลาวภายในเวลาท่ีกําหนดตามวรรคหน่ึง ใหถือวาผูน้ันมิเคยไดรับ คดั เลือกเปน กรรมการ ก.พ.ค. และใหด ําเนินการคดั เลอื กกรรมการ ก.พ.ค. ขึ้นใหม มาตรา ๒๙ กรรมการ ก.พ.ค. มีวาระการดํารงตําแหนงหกปนับแตวันที่ทรงพระกรุณา โปรดเกลา ฯ แตง ตั้ง และใหด าํ รงตําแหนง ไดเ พยี งวาระเดยี ว ใหกรรมการ ก.พ.ค. ซ่ึงพนจากตําแหนงตามวาระ อยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติหนาท่ีตอไป จนกวา จะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้งั กรรมการ ก.พ.ค. ใหม มาตรา ๓๐ นอกจากการพน จากตําแหนง ตามวาระ กรรมการ ก.พ.ค. พน จากตําแหนง เม่อื

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑๒ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา

(๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) มอี ายุครบเจด็ สิบปบริบรู ณ (๔) ขาดคณุ สมบัตหิ รอื มลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา ๒๕ หรอื มาตรา ๒๗ (๕) ตอ งคําพพิ ากษาถึงท่ีสดุ ใหจําคุก แมจะมีการรอการลงโทษ เวน แตเ ปนการรอการลงโทษ ในความผิดอันไดก ระทําโดยประมาท ความผดิ ลหุโทษ หรอื ความผิดฐานหม่ินประมาท (๖) ไมสามารถปฏบิ ตั งิ านไดเ ต็มเวลาอยา งสมํา่ เสมอตามระเบียบของ ก.พ.ค. เมื่อมีกรณีตามวรรคหน่ึง ใหกรรมการ ก.พ.ค. เทาที่เหลืออยูปฏิบัติหนาที่ตอไปได และ ใหถ อื วา ก.พ.ค. ประกอบดวยกรรมการ ก.พ.ค. เทาที่เหลืออยู เวนแตมีกรรมการ ก.พ.ค. เหลืออยู ไมถ ึงหา คน เม่อื มกี รณตี ามวรรคหนึ่งหรอื กรณีท่กี รรมการ ก.พ.ค. พนจากตําแหนงตามวาระ ใหคณะกรรมการ คดั เลือกดําเนินการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. แทนกรรมการ ก.พ.ค. ซึง่ พน จากตําแหนงโดยเร็ว มาตรา ๓๑ ก.พ.ค. มอี าํ นาจหนาทด่ี งั ตอ ไปน้ี (๑) เสนอแนะตอ ก.พ. หรือองคกรกลางบริหารงานบุคคลอื่น เพื่อให ก.พ. หรือองคกรกลาง บริหารงานบุคคลอ่ืน ดําเนินการจัดใหมีหรือปรับปรุงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลในสวนที่ เกยี่ วกบั การพทิ กั ษร ะบบคณุ ธรรม (๒) พิจารณาวนิ ิจฉยั อุทธรณต ามมาตรา ๑๑๔ (๓) พิจารณาวินิจฉยั เร่ืองรองทุกขตามมาตรา ๑๒๓ (๔) พจิ ารณาเรือ่ งการคมุ ครองระบบคณุ ธรรมตามมาตรา ๑๒๖ (๕) ออกกฎ ก.พ.ค. ระเบียบ หลักเกณฑ และวิธีการเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี กฎ ก.พ.ค. เม่ือประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว ใหใชบังคับได (๖) แตงต้ังบุคคลซ่ึงมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามท่ี ก.พ.ค. กําหนด เพื่อเปน กรรมการวนิ จิ ฉัยอทุ ธรณหรือเปน กรรมการวินิจฉยั รอ งทกุ ข มาตรา ๓๒ ใหกรรมการ ก.พ.ค. กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ และกรรมการวินิจฉัยรองทุกข ไดรบั เงินประจาํ ตาํ แหนงและประโยชนต อบแทนอยางอื่นตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา และใหมี สิทธิไดรับคาใชจายในการเดินทางตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยคาใชจายในการเดินทางไปราชการ เชน เดียวกับผดู ํารงตาํ แหนงประเภทบริหารระดบั สงู

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๑๓ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๓๓ การประชุมของคณะกรรมการ ก.พ.ค. กรรมการวนิ จิ ฉัยอทุ ธรณ และกรรมการ วนิ ิจฉัยรองทุกข ใหเ ปน ไปตามระเบยี บที่ ก.พ.ค. กําหนด

ลักษณะ ๓ บททั่วไป

มาตรา ๓๔ การจัดระเบียบขาราชการพลเรือนตองเปนไปเพ่ือผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐ ความมีประสทิ ธภิ าพ และความคมุ คา โดยใหขาราชการปฏิบัติราชการอยางมีคุณภาพ คุณธรรม และ มีคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี

มาตรา ๓๕ ขาราชการพลเรือนมี ๒ ประเภท คือ (๑) ขาราชการพลเรือนสามัญ ไดแก ขาราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยไดรับบรรจุแตงต้ัง ตามท่ีบญั ญตั ิไวใ นลกั ษณะ ๔ ขา ราชการพลเรอื นสามัญ (๒) ขาราชการพลเรือนในพระองค ไดแก ขาราชการพลเรือนซ่ึงรับราชการโดยไดรับ บรรจุแตงตง้ั ใหดาํ รงตําแหนงในพระองคพ ระมหากษัตรยิ ต ามทีก่ าํ หนดในพระราชกฤษฎกี า มาตรา ๓๖ ผูที่จะเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนตองมีคุณสมบัติท่ัวไป และไมมี ลกั ษณะตอ งหามดังตอ ไปน้ี ก. คุณสมบัตทิ ั่วไป (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มอี ายไุ มต ่ํากวาสิบแปดป (๓) เปนผูเลือ่ มใสในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข ดว ยความบริสทุ ธิใ์ จ ข. ลกั ษณะตอ งหาม (๑) เปนผูดํารงตาํ แหนงทางการเมือง (๒) เปนคนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ คนวิกลจริตหรือจิตฟนเฟอน ไมส มประกอบ หรือเปน โรคตามท่กี าํ หนดในกฎ ก.พ.

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑๔ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา

(๓) เปน ผอู ยใู นระหวางถูกส่ังพักราชการหรือถูกส่ังใหออกจากราชการไวกอนตามพระราชบัญญัติ นี้หรอื ตามกฎหมายอืน่

(๔) เปน ผูบกพรอ งในศลี ธรรมอนั ดีจนเปนที่รังเกียจของสังคม (๕) เปนกรรมการหรือผูดาํ รงตําแหนง ท่ีรับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง หรือเจาหนาที่ ในพรรคการเมอื ง (๖) เปนบคุ คลลม ละลาย (๗) เปน ผเู คยตองรับโทษจาํ คุกโดยคําพพิ ากษาถึงท่ีสุดใหจําคุกเพราะกระทําความผิดทางอาญา เวน แตเปนโทษสําหรบั ความผดิ ท่ไี ดกระทาํ โดยประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ (๘) เปนผูเคยถูกลงโทษใหออก ปลดออก หรือไลออกจากรัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอ่ืน ของรฐั (๙) เปนผูเคยถูกลงโทษใหออก หรือปลดออก เพราะกระทําผิดวินัยตามพระราชบัญญัติน้ี หรือตามกฎหมายอ่ืน (๑๐) เปนผูเคยถูกลงโทษไลออก เพราะกระทําผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตาม กฎหมายอืน่ (๑๑) เปน ผเู คยกระทาํ การทจุ ริตในการสอบเขารบั ราชการ หรอื เขา ปฏบิ ตั ิงานในหนวยงานของรัฐ ผูทีจ่ ะเขารบั ราชการเปนขาราชการพลเรือนซง่ึ มลี ักษณะตองหา มตาม ข. (๔) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๐) หรือ (๑๑) ก.พ. อาจพจิ ารณายกเวน ใหเขารับราชการได แตถาเปนกรณีมีลักษณะตองหามตาม (๘) หรอื (๙) ผูน ัน้ ตองออกจากงานหรอื ออกจากราชการไปเกินสองปแลว และในกรณีมีลักษณะตองหาม ตาม (๑๐) ผูนัน้ ตอ งออกจากงานหรอื ออกจากราชการไปเกินสามปแ ลว และตองมิใชเปน กรณีออกจากงาน หรือออกจากราชการเพราะทุจริตตอหนาท่ี มติของ ก.พ. ในการยกเวนดังกลาวตองไดคะแนนเสียง ไมน อ ยกวา สี่ในหา ของจาํ นวนกรรมการท่ีมาประชุม การลงมติใหก ระทาํ โดยลบั การขอยกเวน ตามวรรคสอง ใหเ ปน ไปตามระเบียบที่ ก.พ. กาํ หนด ในกรณีตามวรรคสอง ก.พ. จะยกเวนใหเปนการเฉพาะราย หรือจะประกาศยกเวนใหเปน การทั่วไปก็ได มาตรา ๓๗ การจายเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงใหขาราชการพลเรือนใหเปนไปตาม ระเบยี บที่ ก.พ. กําหนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๑๕ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๓๘ ขา ราชการพลเรือนอาจไดรบั เงนิ เพ่มิ สาํ หรับตําแหนงท่ีประจําอยูในตางประเทศ ตําแหนงในบางทอ งที่ ตาํ แหนง ในบางสายงาน หรือตาํ แหนงท่ีมีเหตุพเิ ศษตามระเบยี บท่ี ก.พ. กําหนด โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั

ขาราชการพลเรือนอาจไดรับเงินเพ่ิมคาครองชีพช่ัวคราวตามภาวะเศรษฐกิจตามหลักเกณฑ และวธิ ีการทคี่ ณะรฐั มนตรีกําหนด

ในการเสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีเพ่ือดําเนินการตามวรรคสอง ให ก.พ. เสนอแนะ สําหรบั ขาราชการประเภทอนื่ ในคราวเดยี วกนั ดวย

มาตรา ๓๙ วันเวลาทํางาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจําป และ การลาหยดุ ราชการของขาราชการพลเรือน ใหเ ปน ไปตามทีค่ ณะรฐั มนตรกี าํ หนด

มาตรา ๔๐ เคร่ืองแบบของขาราชการพลเรือนและระเบียบการแตงเคร่ืองแบบใหเปนไป ตามกฎหมายหรอื ระเบยี บวา ดวยการน้นั

มาตรา ๔๑ บําเหนจ็ บาํ นาญขา ราชการพลเรือนใหเ ปน ไปตามกฎหมายวา ดวยการนั้น

ลักษณะ ๔ ขา ราชการพลเรอื นสามัญ

หมวด ๑ การจดั ระเบียบขา ราชการพลเรอื นสามัญ

มาตรา ๔๒ การจัดระเบียบขาราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัติน้ี ใหคํานึงถึง ระบบคณุ ธรรมดังตอไปน้ี

(๑) การรับบุคคลเพื่อบรรจุเขารับราชการและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงตองคํานึงถึง ความรคู วามสามารถของบุคคล ความเสมอภาค ความเปนธรรม และประโยชนของทางราชการ

(๒) การบริหารทรัพยากรบุคคล ตองคํานึงถึงผลสัมฤทธ์ิและประสิทธิภาพขององคกรและ ลกั ษณะของงาน โดยไมเลือกปฏบิ ตั ิอยางไมเปนธรรม

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๑๖ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา

(๓) การพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตําแหนง และการใหประโยชนอ่ืนแกข าราชการ ตองเปนไปอยางเปนธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ และความประพฤติ และจะนําความคิดเห็น ทางการเมืองหรอื สงั กัดพรรคการเมอื งมาประกอบการพิจารณามไิ ด

(๔) การดาํ เนนิ การทางวนิ ยั ตองเปนไปดว ยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ (๕) การบริหารทรพั ยากรบคุ คลตอ งมีความเปนกลางทางการเมอื ง มาตรา ๔๓ ขาราชการพลเรือนสามัญมีเสรีภาพในการรวมกลุมตามท่ีบัญญัติไวใน รัฐธรรมนูญ แตทั้งน้ีตองไมกระทบประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผนดินและความตอเนื่อง ในการจดั ทําบริการสาธารณะ และตอ งไมม ีวตั ถุประสงคท างการเมอื ง หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการรวมกลุมตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามท่ีกําหนดใน พระราชกฤษฎกี า

หมวด ๒ การกาํ หนดตําแหนง และการใหไดรับเงินเดือนและเงินประจาํ ตําแหนง

มาตรา ๔๔ นอกจากตาํ แหนง ทีก่ าํ หนดในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินแลว อ.ก.พ. กระทรวงอาจกําหนดตําแหนงที่มชี ่อื อยา งอน่ื เพอื่ ประโยชนในการบรหิ ารงาน และแจงให ก.พ. ทราบดว ย

มาตรา ๔๕ ตําแหนง ขาราชการพลเรือนสามัญมี ๔ ประเภท ดังตอ ไปนี้ (๑) ตําแหนง ประเภทบริหาร ไดแ ก ตําแหนง หวั หนา สว นราชการและรองหัวหนาสวนราชการ ระดบั กระทรวง กรม และตําแหนงอ่นื ที่ ก.พ. กําหนดเปน ตําแหนง ประเภทบรหิ าร (๒) ตําแหนงประเภทอํานวยการ ไดแก ตําแหนงหัวหนาสวนราชการท่ีต่ํากวาระดับกรม และตาํ แหนง อื่นท่ี ก.พ. กําหนดเปนตําแหนงประเภทอาํ นวยการ (๓) ตาํ แหนง ประเภทวชิ าการ ไดแ ก ตําแหนง ท่จี าํ เปน ตองใชผ สู าํ เรจ็ การศกึ ษาระดับปริญญา ตามที่ ก.พ. กําหนดเพ่ือปฏิบตั งิ านในหนาท่ีของตําแหนง นน้ั (๔) ตําแหนงประเภททั่วไป ไดแก ตําแหนงท่ีไมใชตําแหนงประเภทบริหาร ตําแหนง ประเภทอาํ นวยการ และตาํ แหนงประเภทวิชาการ ทั้งนี้ ตามที่ ก.พ. กาํ หนด

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑๗ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๔๖ ระดับตาํ แหนง ขา ราชการพลเรือนสามญั มดี ังตอ ไปนี้ (๑) ตําแหนงประเภทบริหาร มีระดบั ดังตอไปน้ี

(ก) ระดับตน (ข) ระดับสงู (๒) ตาํ แหนงประเภทอํานวยการ มรี ะดับดังตอไปน้ี (ก) ระดบั ตน (ข) ระดบั สงู (๓) ตําแหนง ประเภทวิชาการ มรี ะดับดงั ตอไปนี้ (ก) ระดับปฏิบัติการ (ข) ระดบั ชาํ นาญการ (ค) ระดับชํานาญการพิเศษ (ง) ระดบั เช่ียวชาญ (จ) ระดับทรงคณุ วุฒิ (๔) ตําแหนงประเภทท่วั ไป มรี ะดับดงั ตอ ไปนี้ (ก) ระดบั ปฏบิ ตั ิงาน (ข) ระดับชาํ นาญงาน (ค) ระดับอาวุโส (ง) ระดบั ทกั ษะพเิ ศษ การจัดประเภทตาํ แหนงและระดบั ตําแหนง ใหเปน ไปตามหลักเกณฑท ก่ี ําหนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๔๗ ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญจะมีในสวนราชการใด จํานวนเทาใด และ เปนตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใด ใหเปนไปตามท่ี อ.ก.พ. กระทรวงกําหนด โดยตอง คํานึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไมซํ้าซอนและประหยัดเปนหลัก ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ และเงอ่ื นไขที่ ก.พ. กําหนด และตองเปน ไปตามมาตรฐานกําหนดตาํ แหนงตามมาตรา ๔๘ มาตรา ๔๘ ให ก.พ. จัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนง โดยจําแนกตําแหนงเปนประเภท และสายงานตามลักษณะงาน และจัดตําแหนงในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันท่ีคุณภาพของ

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๑๘ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา

งานเทากันโดยประมาณเปนระดับเดียวกัน ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงลักษณะหนาที่ความรับผิดชอบและ คุณภาพของงาน

ในมาตรฐานกําหนดตําแหนง ใหระบชุ อื่ ตาํ แหนงในสายงาน หนาท่ีความรับผิดชอบหลักและ คณุ สมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง ไวดว ย

มาตรา ๔๙ ภายใตบ ังคับกฎหมายวา ดวยระเบยี บบรหิ ารราชการแผนดินตําแหนงใดบังคับบัญชา ขาราชการพลเรือนในสวนราชการหรือหนวยงานใด ในฐานะใดใหเปนไปตามท่ีผูบังคับบัญชา ซ่ึงมีอํานาจสง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ กาํ หนด โดยทําเปนหนังสือตามหลกั เกณฑที่ ก.พ. กาํ หนด

มาตรา ๕๐ ใหข าราชการพลเรอื นสามัญไดรับเงนิ เดอื นตามตําแหนงในแตละประเภทตามที่ กําหนดไวใ นบญั ชเี งนิ เดอื นข้ันต่ําขั้นสงู ของขา ราชการพลเรอื นสามัญทา ยพระราชบัญญตั นิ ี้

ผูดํารงตําแหนง ประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะไดรับเงินเดือนเทาใดตามบัญชีเงินเดือน ขัน้ ต่าํ ข้ันสงู ของขาราชการพลเรอื นสามัญ ใหเ ปน ไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.

ขาราชการพลเรอื นสามญั อาจไดรับเงนิ ประจําตําแหนงตามบัญชีอัตราเงินประจําตําแหนงของ ขาราชการพลเรือนสามัญทายพระราชบัญญตั นิ ้ีตามหลักเกณฑและเงือ่ นไขท่ี ก.พ. กาํ หนด

ผดู ํารงตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใด จะไดรับเงินประจําตําแหนงตามบัญชีอัตรา เงินประจําตําแหนงของขาราชการพลเรือนสามัญทายพระราชบัญญัติน้ีในอัตราใด ใหเปนไปตามท่ี กําหนดในกฎ ก.พ.

เงนิ ประจําตาํ แหนง ตามมาตราน้ี ไมถอื เปนเงินเดอื นเพอ่ื เปนเกณฑในการคํานวณบําเหน็จบาํ นาญ ตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการ

มาตรา ๕๑ คณะรัฐมนตรจี ะพิจารณาปรับเงินเดอื นขนั้ ต่ําขน้ั สงู หรือเงินประจําตําแหนงของ ขาราชการพลเรือนสามัญใหเหมาะสมยิ่งข้ึนตามความจําเปนก็ได โดยหากเปนการปรับเงินเดือน ข้ันต่ําข้ันสูง หรือเงินประจําตําแหนงเพ่ิมไมเกินรอยละสิบของเงินเดือน หรือเงินประจําตําแหนง ท่ีใชบังคับอยู ใหกระทําไดโดยตราเปนพระราชกฤษฎีกา และใหถือวาเงินเดือนขั้นต่ําข้ันสูง และ เงินประจําตําแหนงทายพระราชกฤษฎีกาดังกลาว เปนเงินเดือนข้ันต่ําขั้นสูง และเงินประจําตําแหนง ทา ยพระราชบัญญตั นิ ้ี

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๑๙ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

เม่ือมีการปรับเงินเดือนหรือเงินประจําตําแหนงตามวรรคหนึ่ง การปรับเงินเดือนหรือ เงินประจําตาํ แหนง ของขา ราชการพลเรือนสามญั ทีไ่ ดร ับอยูเดิมเขาสูอัตราในบัญชีที่ไดรับการปรับใหม ใหเ ปน ไปตามหลักเกณฑแ ละวธิ ีการท่คี ณะรฐั มนตรกี าํ หนด

หมวด ๓ การสรรหา การบรรจุ และการแตงต้ัง

มาตรา ๕๒ การสรรหาเพอื่ ใหไ ดบคุ คลมาบรรจุเขา รับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญ และแตงตั้งใหดํารงตําแหนง ตองเปนไปตามระบบคุณธรรมและคํานึงถึงพฤติกรรมทางจริยธรรม ของบุคคลดงั กลา ว ตลอดจนประโยชนของทางราชการ ทัง้ น้ี ตามทก่ี าํ หนดในหมวดน้ี

มาตรา ๕๓ การบรรจุบุคคลเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญเพื่อแตงตั้งให ดํารงตําแหนงใด ใหบรรจุและแตงต้ังจากผูสอบแขงขันไดในตําแหนงนั้น โดยบรรจุและแตงตั้ง ตามลําดบั ทใี่ นบัญชผี ูสอบแขงขันได

การสอบแขงขัน การขึ้นบัญชีผูสอบแขงขันได และรายละเอียดเกี่ยวกับการสอบแขงขัน ใหเปน ไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กาํ หนด

ความในวรรคหนึ่งไมใชบ งั คบั กับการบรรจุบุคคลเขารับราชการตามมาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ และมาตรา ๖๕

มาตรา ๕๔ ผูสมัครสอบแขงขันในตําแหนงใด ตองมีคุณสมบัติทั่วไปและไมมีลักษณะ ตอ งหา ม หรอื ไดร ับการยกเวน ในกรณีท่มี ีลักษณะตอ งหามตามมาตรา ๓๖ และตองมีคุณสมบัติเฉพาะ สําหรบั ตําแหนงหรือไดร ับอนุมตั จิ าก ก.พ. ตามมาตรา ๖๒ ดวย

สําหรบั ผูมลี กั ษณะตองหา มตามมาตรา ๓๖ ข. (๑) ใหมีสิทธิสมัครสอบแขงขันไดแตจะมีสิทธิ ไดรับบรรจุเปนขาราชการพลเรือนสามัญท่ีสอบแขงขันไดตอเมื่อพนจากการเปนผูดํารงตําแหนง ทางการเมืองแลว

มาตรา ๕๕ ในกรณีที่มีเหตุพิเศษ ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ อาจคดั เลือกบรรจุบุคคลเขารับราชการและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงโดยไมตองดําเนินการสอบแขงขัน ตามมาตรา ๕๓ กไ็ ด ทง้ั น้ี ตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงื่อนไขที่ ก.พ. กาํ หนด

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๐ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

มาตรา ๕๖ กระทรวงหรือกรมใดมีเหตุผลและความจําเปนอยางยิ่ง จะบรรจุบุคคลที่มีความรู ความสามารถ และความชํานาญงานสูง เขารับราชการและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชาํ นาญการ ชํานาญการพเิ ศษ เช่ียวชาญ หรือทรงคณุ วฒุ ิ หรือตาํ แหนง ประเภททวั่ ไประดับทักษะพิเศษ กไ็ ด ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ วธิ ีการ และเง่อื นไขที่ ก.พ. กาํ หนด

มาตรา ๕๗ การบรรจุบุคคลเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญ และการแตงตั้ง ใหดํารงตําแหนงตามมาตรา ๕๓ มาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๕ และมาตรา ๖๖ ใหผูม ีอํานาจดังตอไปนี้ เปน ผสู ่งั บรรจแุ ละแตง ตัง้

(๑) การบรรจุและแตงต้งั ใหดาํ รงตาํ แหนง ประเภทบริหารระดับสูงตาํ แหนง หวั หนาสวนราชการ ระดบั กระทรวง หัวหนาสวนราชการระดับกรมท่ีอยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ ข้ึนตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี แลวแตกรณี ใหรัฐมนตรีเจาสังกัดนําเสนอคณะรัฐมนตรี เพอื่ พจิ ารณาอนุมัติ เม่ือไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแลว ใหรัฐมนตรีเจาสังกัดเปนผูสั่งบรรจุ และ ใหนายกรฐั มนตรีนาํ ความกราบบังคมทูลเพือ่ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตง ตงั้

(๒) การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับสูงตําแหนงรองหัวหนา สวนราชการระดับกระทรวง หัวหนาสวนราชการระดับกรม รองหัวหนาสวนราชการระดับกรม ที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการข้ึนตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี แลว แตกรณี หรอื ตําแหนง อ่ืนที่ ก.พ. กําหนดเปนตําแหนงประเภทบริหารระดับสูง ใหปลัดกระทรวง ผบู ังคับบัญชา หรอื หัวหนาสว นราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ ขน้ึ ตรงตอ นายกรฐั มนตรหี รอื ตอรัฐมนตรี แลว แตกรณี เสนอรัฐมนตรีเจา สงั กดั เพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาอนุมัติ เม่ือไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแลว ใหปลัดกระทรวงผูบังคับบัญชา หรือหัวหนา สวนราชการระดับกรมดังกลาวเปนผูส่ังบรรจุ และใหนายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตง้ั

(๓) การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทบริหารระดับตน ใหปลัดกระทรวง ผูบังคับบัญชา หรอื หวั หนา สว นราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ ข้นึ ตรงตอนายกรฐั มนตรีหรอื ตอ รฐั มนตรี แลวแตกรณี เปนผมู ีอาํ นาจสัง่ บรรจุและแตง ต้งั

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๑ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

(๔) การบรรจแุ ละแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการ ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชํานาญการ ชํานาญการพิเศษ และเช่ียวชาญ และประเภททั่วไปในสํานักงานรัฐมนตรี ใหรัฐมนตรี เจาสงั กดั เปน ผูมอี ํานาจสง่ั บรรจุและแตง ต้ัง

(๕) การบรรจุและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับสูง ใหปลัดกระทรวง ผูบังคับบัญชา หรอื หัวหนา สวนราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ ข้ึนตรงตอ นายกรัฐมนตรหี รอื ตอ รฐั มนตรี แลว แตก รณี เปนผมู อี าํ นาจสัง่ บรรจุและแตง ต้ัง

(๖) การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับตน ใหอธิบดีผูบังคับบัญชา เปน ผูมอี าํ นาจสงั่ บรรจุและแตง ตั้งเม่อื ไดรับความเห็นชอบจากปลัดกระทรวง สวนการบรรจุและแตงตั้ง ใหดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการระดับตนในสวนราชการระดับกรมท่ีหัวหนาสวนราชการอยูใน บงั คบั บัญชาหรือรบั ผิดชอบการปฏิบัติราชการข้นึ ตรงตอนายกรัฐมนตรี หรือตอรัฐมนตรี แลวแตกรณี ใหอ ธบิ ดีผบู งั คับบญั ชา เปน ผูม ีอํานาจส่ังบรรจแุ ละแตง ต้งั

(๗) การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ ใหรัฐมนตรี เจาสงั กัดนาํ เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนมุ ัติ เมือ่ ไดร ับอนมุ ัตจิ ากคณะรัฐมนตรีแลว ใหรัฐมนตรี เจา สังกัดเปน ผสู ่ังบรรจุ และใหนายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตง้ั

(๘) การบรรจแุ ละแตงตงั้ ใหดํารงตําแหนงประเภทวชิ าการระดับเชี่ยวชาญ ใหปลัดกระทรวง หรือหัวหนาสวนราชการระดับกรมท่ีอยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอ นายกรัฐมนตรีหรอื ตอรฐั มนตรี แลวแตกรณี เปน ผมู ีอาํ นาจส่งั บรรจุและแตงต้ัง

(๙) การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการระดับชํานาญการพิเศษ และ ตําแหนง ประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษ ใหอธิบดีผูบังคับบัญชา เปนผูมีอํานาจส่ังบรรจุและแตงตั้ง เม่อื ไดรบั ความเห็นชอบจากปลดั กระทรวง สว นการบรรจแุ ละแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ และตําแหนงประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษในสวนราชการระดับกรม ที่หัวหนาสวนราชการอยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี หรอื ตอ รฐั มนตรี แลวแตก รณี ใหอธิบดีผูบ งั คับบญั ชา เปนผมู อี าํ นาจสง่ั บรรจุและแตง ตง้ั

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๒ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

(๑๐) การบรรจุและแตงต้ังใหดํารงตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชํานาญการ ตําแหนงประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน ชํานาญงาน และอาวุโส ใหอธิบดีผูบังคับบัญชา หรือผูซ่ึง ไดรับมอบหมายจากอธิบดผี บู งั คบั บญั ชา เปน ผูมอี ํานาจสั่งบรรจแุ ละแตงต้งั

(๑๑) การบรรจุและแตงต้ังตามมาตรา ๕๓ และการยายตามมาตรา ๖๓ ใหดํารงตําแหนง ตาม (๙) ซ่ึงไมใชตําแหนงประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษ และตําแหนงตาม (๑๐) ในราชการ บรหิ ารสวนภูมภิ าค ใหผ ูวาราชการจงั หวัดผบู งั คบั บัญชา เปน ผูม ีอํานาจส่งั บรรจแุ ละแตง ตง้ั

ในการเสนอเพ่ือแตงตั้งขาราชการพลเรือนสามัญใหดํารงตําแหนง ใหรายงานความสมควร พรอ มท้ังเหตผุ ล ตามหลักเกณฑและวิธกี ารที่ ก.พ. กําหนดไปดว ย

มาตรา ๕๘ ขาราชการพลเรือนสามัญผูดํารงตําแหนงประเภทบริหารผูใดปฏิบัติหนาที่ เดยี วติดตอกนั เปน เวลาครบสีป่  ใหผ ูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ดําเนินการใหมี การสับเปล่ียนหนาที่ ยาย หรือโอนไปปฏิบัติหนาท่ีอื่น เวนแตมีความจําเปนเพ่ือประโยชนของ ทางราชการจะขออนุมัติคณะรัฐมนตรีใหคงอยูปฏิบัติหนาท่ีเดิมตอไปเปนเวลาไมเกินสองปก็ได ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.พ. กาํ หนด

ความในวรรคหน่ึงไมใหใชบังคับแกผูดํารงตําแหนงที่ ก.พ. กําหนดวาเปนตําแหนงท่ีมี ลักษณะงานเฉพาะอยา ง

มาตรา ๕๙ ผูไดรับบรรจุและแตงต้ังตามมาตรา ๕๓ วรรคหน่ึง หรือมาตรา ๕๕ ใหทดลอง ปฏิบัตหิ นาทรี่ าชการและใหไ ดร บั การพฒั นาเพอ่ื ใหร รู ะเบียบแบบแผนของทางราชการและเปนขาราชการที่ดี ตามทีก่ ําหนดในกฎ ก.พ.

ผูทดลองปฏบิ ตั ิหนาทร่ี าชการตามวรรคหนง่ึ ผูใ ดมีผลการประเมนิ ทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการ ตามท่ีกําหนดในกฎ ก.พ. ไมต่ํากวามาตรฐานที่กําหนด ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุ ตามมาตรา ๕๗ สั่งใหผูนั้นรับราชการตอไป ถาผูน้ันมีผลการประเมินทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการ ตํ่ากวามาตรฐานท่ีกําหนด ก็ใหสั่งใหผูน้ันออกจากราชการไดไมวาจะครบกําหนดเวลาทดลอง ปฏิบตั ิหนา ทีร่ าชการแลว หรือไมก ็ตาม

ผใู ดถกู สง่ั ใหออกจากราชการตามวรรคสอง ใหถือเสมือนวาผูน้ันไมเคยเปนขาราชการพลเรือน สามัญ แตท้งั นไี้ มกระทบกระเทอื นถงึ การใดท่ีผูนั้นไดปฏิบัติหนาท่ีราชการ หรือการรับเงินเดือนหรือ

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๒๓ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

ผลประโยชนอื่นใดทไ่ี ดร บั หรอื มสี ทิ ธิจะไดรับจากทางราชการในระหวางผนู ้นั อยูระหวางทดลองปฏิบัติ หนา ที่ราชการ

ผอู ยูใ นระหวา งทดลองปฏบิ ตั หิ นาที่ราชการผใู ดมีกรณอี นั มีมูลที่ควรกลาวหาวากระทําผิดวินัย ใหผ บู งั คบั บัญชาดาํ เนินการทางวินยั ตามทีบ่ ัญญัติไวในหมวด ๗ การดําเนินการทางวินัย และถาผูน้ัน มกี รณีทีจ่ ะตองออกจากราชการตามวรรคสอง ก็ใหผ ูบงั คบั บญั ชาดาํ เนินการตามวรรคสองไปกอ น

ความในวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสามใหใชบ งั คับกบั ขาราชการหรอื พนกั งานสวนทองถิ่น ซึง่ โอนมาตามมาตรา ๖๔ ในระหวา งท่ยี งั ทดลองปฏบิ ตั ิหนาทีร่ าชการดวยโดยอนุโลม

มาตรา ๖๐ ขาราชการพลเรือนสามัญซึ่งอยูในระหวางทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการผูใด ถูกสั่งใหออกจากราชการตามมาตรา ๑๑๑ และตอมาปรากฏวาผูนั้นมีกรณีที่จะตองถูกส่ังใหออก จากราชการตามมาตรา ๕๙ หรือตามมาตราอนื่ กใ็ หผบู งั คบั บญั ชาซ่ึงมีอํานาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ หรือผูมีอํานาจตามมาตราอื่นนั้น แลวแตกรณี มีอํานาจเปล่ียนแปลงคําสั่ง เปนใหออกจากราชการ ตามมาตรา ๕๙ หรือตามมาตราอ่ืนนนั้ ได

มาตรา ๖๑ การแตงตัง้ ขา ราชการพลเรอื นสามัญใหดํารงตําแหนงในสายงานท่ีไมมีกําหนดไว ในมาตรฐานกาํ หนดตําแหนง จะกระทาํ มิได

มาตรา ๖๒ ผไู ดร ับแตง ต้ังใหดํารงตาํ แหนง ขา ราชการพลเรอื นสามญั ตําแหนง ใดตองมีคุณสมบัติ ตรงตามคณุ สมบัตเิ ฉพาะสาํ หรบั ตาํ แหนง นนั้ ตามมาตรฐานกําหนดตาํ แหนง

ในกรณีท่ีมีเหตุผลและความจําเปน ก.พ. อาจอนุมัติใหแตงตั้งขาราชการพลเรือนสามัญ ที่มคี ุณสมบัติตางไปจากคณุ สมบัตเิ ฉพาะสาํ หรับตาํ แหนง ตามมาตรฐานกําหนดตําแหนง ก็ได

ในกรณีที่ ก.พ. กําหนดใหปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิใดเปนคุณสมบัติเฉพาะ สําหรบั ตําแหนง ใหห มายถงึ ปริญญา ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพหรอื คณุ วุฒิท่ี ก.พ. รบั รอง

มาตรา ๖๓ การยา ย การโอน หรอื การเลอื่ นขา ราชการพลเรอื นสามัญไปแตงต้ังใหดํารงตําแหนง ขา ราชการพลเรอื นสามัญในหรือตางกระทรวงหรือกรม แลวแตกรณี ใหเปนไปตามทก่ี ําหนดในกฎ ก.พ.

การโอนขาราชการพลเรือนสามัญจากกระทรวงหรือกรมหนึ่ง ไปแตงต้ังใหดํารงตําแหนง ขา ราชการพลเรอื นสามัญในตางประเทศสังกัดอีกกระทรวงหรือกรมหน่ึง เปนการช่ัวคราวตามระยะเวลา ท่กี ําหนด ใหก ระทาํ ไดต ามหลักเกณฑและวธิ กี ารที่ ก.พ. กําหนด

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๔ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

การยายหรอื การโอนขาราชการพลเรือนสามญั ไปแตง ต้ังใหดํารงตําแหนงในระดับท่ีต่ํากวาเดิม จะกระทาํ มิได เวน แตจ ะไดร บั ความยนิ ยอมจากขาราชการพลเรอื นสามัญผนู ้นั

การบรรจุขา ราชการพลเรือนสามญั ที่ไดออกจากราชการไปเนื่องจากถูกสั่งใหออกจากราชการ เพื่อไปรับราชการทหารตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร หรือไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ใหไ ปปฏิบัติงานใด ๆ ซึ่งใหนับเวลาระหวางน้ันสําหรับการคํานวณบําเหน็จบํานาญเหมือนเต็มเวลาราชการ หรือออกจากราชการไปที่มิใชเปนการออกจากราชการในระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ กลบั เขา รับราชการในกระทรวงหรือกรม ตลอดจนจะสั่งบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงประเภทใด สายงานใด ระดับใด และใหไดรับเงินเดือนเทาใด ใหกระทําไดตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี ก.พ. กําหนด

เพ่ือประโยชนในการนับเวลาราชการตามพระราชบัญญัติน้ีและตามกฎหมายวาดวย บําเหน็จบํานาญขาราชการ ขาราชการพลเรือนสามัญท่ีไดออกจากราชการไป เนื่องจากถูกส่ังให ออกจากราชการเพือ่ ไปรับราชการทหารตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร หรือไดรับอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรีใหไปปฏิบัติงานใด ๆ ซ่ึงใหนับเวลาระหวางน้ันสําหรับการคํานวณบําเหน็จบํานาญ เหมือนเต็มเวลาราชการ เม่ือไดรับบรรจุกลับเขารับราชการใหมีสิทธินับวันรับราชการกอนถูกส่ัง ใหอ อกจากราชการรวมกับวันรับราชการทหารตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร หรือวันที่ได ปฏบิ ตั ิงานใด ๆ ตามท่ีไดร บั อนุมัติจากคณะรัฐมนตรี แลวแตกรณี และวันรับราชการเมื่อไดรับบรรจุ กลับเขารับราชการเปนเวลาราชการติดตอกันเสมือนวาผูนั้นมิไดเคยถูกสั่งใหออกจากราชการ สาํ หรับผซู งึ่ ออกจากราชการไปท่ีมิใชเปนการออกจากราชการในระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ ซึ่งไดรับบรรจุกลับเขารับราชการตามวรรคส่ี ใหมีสิทธินับเวลาราชการกอนออกจากราชการ เพือ่ ประโยชนในการนบั เวลาราชการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้

มาตรา ๖๔ การโอนพนักงานสวนทองถ่ิน การโอนขาราชการท่ีไมใชขาราชการพลเรือนสามัญ ตามพระราชบัญญัตินี้และไมใชขาราชการการเมือง และการโอนเจาหนาท่ีของหนวยงานอื่นของรัฐ ท่ี ก.พ. กาํ หนด มาบรรจุเปนขา ราชการพลเรือนสามัญ ตลอดจนจะแตงตง้ั ใหด ํารงตําแหนง ประเภทใด สายงานใด ระดับใด และใหไดรับเงินเดือนเทาใด ใหกระทําไดตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี ก.พ. กาํ หนด

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๕ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา

เพอ่ื ประโยชนใ นการนบั เวลาราชการ ใหถือเวลาราชการหรือเวลาทํางานของผทู โี่ อนมารบั ราชการ ตามวรรคหนง่ึ เปน เวลาราชการของขาราชการพลเรอื นสามัญตามพระราชบญั ญัตินี้ดว ย

มาตรา ๖๕ พนักงานสวนทองถิ่นซ่ึงไมใชออกจากงานในระหวางทดลองปฏิบัติงานหรือ ขาราชการท่ีไมใชขาราชการพลเรือนสามัญตามพระราชบัญญัติน้ี และไมใชขาราชการการเมือง ขาราชการวิสามัญ หรือขาราชการซึ่งออกจากราชการในระหวางทดลองปฏิบัติหนาที่ราชการ ผูใด ออกจากงานหรือออกจากราชการไปแลว ถาสมัครเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญและ ทางราชการตองการจะรับผูนั้นเขารับราชการใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ พิจารณาโดยคํานึงถึงประโยชนท่ีทางราชการจะไดรับ ท้ังนี้ จะบรรจุและแตงต้ังใหดํารงตําแหนง ประเภทใด สายงานใด ระดับใด และใหไดรับเงินเดือนเทาใดใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ ท่ี ก.พ. กําหนด

เพ่ือประโยชนใ นการนับเวลาราชการ ใหถือเวลาราชการหรือเวลาทํางานของผูเขารับราชการ ตามวรรคหนึ่งในขณะท่ีเปนขาราชการ หรือพนักงานสวนทองถิ่นน้ันเปนเวลาราชการของขาราชการ พลเรอื นสามัญตามพระราชบญั ญตั ินีด้ ว ย

มาตรา ๖๖ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงตามมาตรา ๖๒ แลว ห า ก ภ า ย ห ลั ง ป ร า ก ฏ ว า เ ป น ผู มี คุ ณ ส ม บั ติ ไ ม ต ร ง ต า ม คุ ณ ส ม บั ติ เ ฉ พ า ะ สํ า ห รั บ ตํ า แ ห น ง น้ั น ใหผบู ังคบั บญั ชาซงึ่ มอี ํานาจส่ังบรรจตุ ามมาตรา ๕๗ แตง ต้ังผนู น้ั ใหก ลับไปดาํ รงตําแหนงตามเดิมหรือ ตําแหนงอ่ืนในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันโดยพลัน แตท้ังนี้ ไมกระทบกระเทือนถึงการใด ท่ีผูน้ันไดปฏิบัติไปตามอํานาจและหนาที่ และการรับเงินเดือนหรือผลประโยชนอ่ืนใดที่ไดรับหรือ มสี ิทธิจะไดร ับอยูกอ นไดร บั คาํ สง่ั ใหกลับไปดํารงตําแหนง ตามเดิมหรือตําแหนงอ่ืนในประเภทเดียวกัน และระดับเดียวกัน

การรับเงินเดือน สิทธิและประโยชนของผูที่ไดรับแตง ตัง้ ใหกลับไปดาํ รงตาํ แหนง ตามเดิมหรือ ตาํ แหนงอ่นื ในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ ท่ี ก.พ. กาํ หนด

ในกรณที ไ่ี มส ามารถแตงตัง้ ใหก ลับไปดาํ รงตําแหนง ตามเดิมหรอื ตําแหนงอ่ืนในประเภทเดียวกัน และระดบั เดยี วกนั ตามวรรคหน่ึงได ไมวาดวยเหตุใดให ก.พ. พจิ ารณาเปน การเฉพาะราย

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๖ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา

มาตรา ๖๗ ผูไดรับบรรจุเขารับราชการเปนขาราชการพลเรือนสามัญและแตงตั้งให ดํารงตําแหนงใดตามมาตรา ๕๓ วรรคหน่ึง มาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ และมาตรา ๖๕ หากภายหลังปรากฏวาขาดคุณสมบัติท่ัวไปหรือมีลักษณะตองหามโดยไมไดรับการยกเวน ตามมาตรา ๓๖ หรือขาดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงน้ันโดยไมไดรับอนุมัติจาก ก.พ. ตามมาตรา ๖๒ อยูกอนก็ดี มีกรณีตองหาอยูกอนและภายหลังเปนผูขาดคุณสมบัติเนื่องจาก กรณีตองหาน้ันก็ดี ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ส่ังใหผูน้ันออกจากราชการ โดยพลัน แตท้ังนี้ไมกระทบกระเทือนถึงการใดท่ีผูน้ันไดปฏิบัติไปตามอํานาจและหนาท่ี และการรับ เงินเดือนหรือผลประโยชนอ่ืนใดที่ไดรับหรือมีสิทธิจะไดรับจากทางราชการกอนมีคําส่ังใหออกน้ัน และถาการเขารับราชการเปนไปโดยสุจริตแลวใหถือวาเปนการส่ังใหออกเพ่ือรับบําเหน็จบํานาญ เหตุทดแทนตามกฎหมายวาดว ยบําเหน็จบาํ นาญขา ราชการ

มาตรา ๖๘ ในกรณีที่ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญวางลง หรือผูดํารงตําแหนง ไมสามารถปฏิบัติหนาที่ราชการได และเปนกรณีที่มิไดบัญญัติไวในกฎหมายวาดวยระเบียบบริหาร ราชการแผนดิน ใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจส่ังใหขาราชการพลเรือน ทเ่ี หน็ สมควรรกั ษาการในตาํ แหนง น้นั ได

ผูรักษาการในตําแหนง ตามวรรคหน่งึ ใหม ีอํานาจหนาทต่ี ามตาํ แหนง ทร่ี กั ษาการนัน้ ในกรณที ่ี มีกฎหมายอนื่ กฎ ระเบียบ ขอบงั คับ มตขิ องคณะรฐั มนตรี มติคณะกรรมการตามกฎหมายหรือคําส่ัง ผูบังคับบัญชา แตงตั้งใหผูดํารงตําแหนงนั้น ๆ เปนกรรมการ หรือใหมีอํานาจหนาท่ีอยางใด ก็ให ผรู ักษาการในตําแหนงทาํ หนาทก่ี รรมการ หรือมีอํานาจหนาที่อยางนั้นในระหวางท่ีรักษาการในตําแหนง แลว แตก รณี

มาตรา ๖๙ ในกรณีที่มีเหตุผลความจําเปน ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจส่ังขาราชการพลเรือนสามัญใหประจําสวนราชการเปนการช่ัวคราวโดยใหพนจากตําแหนง หนา ทีเ่ ดิมไดต ามที่กําหนดในกฎ ก.พ.

การใหไ ดร บั เงินเดือน การแตงตั้ง การเล่ือนเงินเดือน การดําเนินการทางวินัย และการออก จากราชการของขาราชการพลเรือนสามัญตามวรรคหนง่ึ ใหเปนไปตามทีก่ าํ หนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๗๐ ในกรณีท่มี เี หตผุ ลความจําเปน ผบู งั คบั บญั ชาซง่ึ มอี าํ นาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอาํ นาจสงั่ ใหขา ราชการพลเรอื นสามญั พนจากตําแหนงหนาท่ีและขาดจากอัตราเงินเดือนในตําแหนงเดิม

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๒๗ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

โดยใหร บั เงินเดือนในอัตรากาํ ลังทดแทนโดยมรี ะยะเวลาตามที่ ก.พ. กําหนดได ทั้งนี้ ใหเปนไปตาม หลกั เกณฑและวธิ กี ารท่กี าํ หนดในกฎ ก.พ.

การใหพน จากตําแหนง การใหไดร บั เงินเดือน การแตง ตง้ั การเลื่อนเงินเดือน การดําเนินการ ทางวนิ ยั และการออกจากราชการของขา ราชการพลเรือนสามญั ตามวรรคหน่งึ ใหเปนไปตามท่ีกําหนด ในกฎ ก.พ.

ในกรณีที่หมดความจําเปน หรือครบกาํ หนดระยะเวลาการใหร ับเงินเดอื นในอัตรากําลังทดแทน ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งใหขาราชการพลเรือนสามัญผูนั้นพนจาก การรับเงนิ เดอื นในอัตรากาํ ลังทดแทนและแตง ต้ังใหด าํ รงตําแหนงตามเดิมหรอื ตาํ แหนงอนื่ ในประเภทเดียวกัน และระดับเดยี วกนั

มาตรา ๗๑ ในกรณีท่ีศาลปกครองมีคําพิพากษาถึงท่ีสุดสั่งใหเพิกถอนคําส่ังแตงต้ัง ขาราชการพลเรือนสามญั ใหเ ปนหนาทขี่ อง ก.พ. โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีในการสั่งการ ตามสมควรเพอ่ื เยยี วยาและแกไ ขหรอื ดาํ เนนิ การตามทเี่ ห็นสมควรได

หมวด ๔ การเพ่ิมพูนประสิทธภิ าพและ เสริมสรา งแรงจูงใจในการปฏิบัตริ าชการ

มาตรา ๗๒ ใหส ว นราชการมหี นาท่ีดาํ เนินการใหมกี ารเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสราง แรงจงู ใจแกข าราชการพลเรือนสามัญ เพื่อใหข าราชการพลเรือนสามัญมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐ ทั้งนี้ ตามหลกั เกณฑและวิธกี ารท่ี ก.พ. กําหนด

ในกรณีท่ีเห็นสมควร และเพ่ือการประหยัด สํานักงาน ก.พ. จะจัดใหมีการเพิ่มพูน ประสิทธิภาพและเสรมิ สรางแรงจูงใจแทนสว นราชการตามวรรคหนึง่ ก็ได

มาตรา ๗๓ ผูบังคับบัญชาตองปฏิบัติตนตอผูอยูใตบังคับบัญชาอยางมีคุณธรรมและ เทยี่ งธรรมและเสรมิ สรา งแรงจูงใจใหผ ูอ ยใู ตบ งั คบั บญั ชาดาํ รงตนเปนขา ราชการท่ีดี

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๒๘ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๗๔ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดประพฤติตนอยูในจรรยาและระเบียบวินัย และปฏบิ ัตริ าชการอยา งมปี ระสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐ ใหผูบังคับบัญชาพิจารณา เล่ือนเงินเดือนใหตามควรแกกรณีตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. และจะใหบําเหน็จความชอบอยางอื่น ซ่งึ อาจเปน คาํ ชมเชย เคร่ืองเชดิ ชูเกยี รติ หรือรางวัลดวยก็ได

มาตรา ๗๕ การใหขาราชการพลเรือนสามัญไปศึกษาเพ่ิมเติม ฝกอบรม ดูงาน หรือ ปฏิบัตกิ ารวจิ ยั ในประเทศหรือตา งประเทศ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธกี าร และเงอื่ นไขที่ ก.พ. กําหนด

มาตรา ๗๖ ใหผ บู ังคบั บญั ชามีหนา ที่ประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการของผูอยูใตบังคับบัญชา เพื่อใชป ระกอบการพจิ ารณาแตงต้งั และเลอื่ นเงนิ เดือน ทงั้ นี้ ตามหลักเกณฑและวธิ กี ารที่ ก.พ. กาํ หนด

ผลการประเมินตามวรรคหน่ึงใหนําไปใชเพื่อประโยชนในการพัฒนาและเพิ่มพูนประสิทธิภาพ การปฏบิ ตั ิราชการดวย

มาตรา ๗๗ ขาราชการพลเรือนสามญั ผใู ดถึงแกความตายเนื่องจากการปฏิบัติหนาที่ราชการ ใหผูบงั คบั บัญชาพจิ ารณาเล่ือนเงินเดือนใหผูน ้นั เปนกรณพี เิ ศษเพื่อประโยชนใ นการคํานวณบาํ เหนจ็ บาํ นาญ หรอื ใหไ ดร ับสิทธิประโยชนอ ืน่ ตามระเบยี บทีค่ ณะรัฐมนตรีกาํ หนด

หมวด ๕ การรกั ษาจรรยาขาราชการ

มาตรา ๗๘ ขาราชการพลเรอื นสามญั ตอ งรักษาจรรยาขาราชการตามท่ีสวนราชการกําหนดไว โดยมุงประสงคใหเปนขาราชการที่ดี มีเกียรติและศักดิ์ศรีความเปนขาราชการ โดยเฉพาะในเรื่อง ดังตอไปนี้

(๑) การยดึ มน่ั และยืนหยดั ทาํ ในสง่ิ ทถ่ี กู ตอ ง (๒) ความซือ่ สัตยส ุจริตและความรับผดิ ชอบ (๓) การปฏิบตั ิหนา ทดี่ ว ยความโปรงใสและสามารถตรวจสอบได (๔) การปฏิบตั ิหนา ท่ีโดยไมเลอื กปฏิบัติอยา งไมเ ปนธรรม (๕) การมงุ ผลสัมฤทธิ์ของงาน

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๒๙ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

ใหส ว นราชการกําหนดขอบงั คบั วาดวยจรรยาขาราชการเพ่ือใหสอดคลองกับลักษณะของงาน ในสว นราชการน้ันตามหลกั วิชาและจรรยาวชิ าชีพ

ในการกําหนดขอบงั คบั วาดวยจรรยาขา ราชการตามวรรคสอง ใหจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็น ของขาราชการและประกาศใหป ระชาชนทราบดวย

มาตรา ๗๙ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไมปฏิบัติตามจรรยาขาราชการอันมิใชเปน ความผิดวนิ ยั ใหผ บู งั คบั บัญชาตกั เตือน นําไปประกอบการพิจารณาแตงต้ังเล่ือนเงินเดือน หรือสั่งให ขา ราชการผูน น้ั ไดรับการพฒั นา

หมวด ๖ วนิ ยั และการรักษาวินัย

มาตรา ๘๐ ขาราชการพลเรือนสามญั ตอ งรักษาวนิ ยั โดยกระทําการหรือไมกระทําการตามท่ี บญั ญตั ิไวในหมวดน้ีโดยเครงครดั อยเู สมอ

ขา ราชการพลเรอื นสามญั ผูปฏิบตั ิราชการในตางประเทศนอกจากตองรักษาวินัยตามที่บัญญัติไว ในหมวดน้แี ลว ตอ งรกั ษาวนิ ยั โดยกระทาํ การหรอื ไมกระทําการตามทก่ี าํ หนดในกฎ ก.พ. ดวย

มาตรา ๘๑ ขาราชการพลเรือนสามัญตองสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริยท รงเปน ประมุขดว ยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ

มาตรา ๘๒ ขาราชการพลเรอื นสามัญตอ งกระทําการอันเปน ขอ ปฏิบัตดิ งั ตอไปนี้ (๑) ตองปฏบิ ตั หิ นาทีร่ าชการดว ยความซอ่ื สตั ย สุจริต และเทีย่ งธรรม (๒) ตองปฏิบตั หิ นาทร่ี าชการใหเ ปน ไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ มติของ คณะรฐั มนตรี นโยบายของรฐั บาล และปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ (๓) ตองปฏิบัติหนาท่ีราชการใหเกิดผลดีหรือความกาวหนาแกราชการดวยความตั้งใจ อตุ สาหะ เอาใจใส และรกั ษาประโยชนของทางราชการ (๔) ตอ งปฏิบัตติ ามคาํ ส่ังของผูบ ังคับบญั ชาซ่ึงสงั่ ในหนาทีร่ าชการโดยชอบดวยกฎหมายและ ระเบียบของทางราชการ โดยไมขัดขืนหรือหลีกเล่ียง แตถาเห็นวาการปฏิบัติตามคําส่ังน้ันจะทําใหเสียหาย แกร าชการ หรอื จะเปน การไมรกั ษาประโยชนของทางราชการจะตองเสนอความเห็นเปนหนังสือทันที

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๓๐ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา

เพือ่ ใหผ บู ังคับบัญชาทบทวนคําส่งั นนั้ และเมื่อไดเสนอความเหน็ แลว ถาผบู ังคับบญั ชายืนยันใหปฏิบัติ ตามคําส่ังเดิม ผูอยูใ ตบงั คบั บัญชาตองปฏิบตั ิตาม

(๕) ตองอุทศิ เวลาของตนใหแกร าชการ จะละท้งิ หรือทอดทงิ้ หนา ที่ราชการมไิ ด (๖) ตอ งรกั ษาความลบั ของทางราชการ (๗) ตองสุภาพเรียบรอย รักษาความสามัคคีและตองชวยเหลือกันในการปฏิบัติราชการ ระหวางขา ราชการดวยกนั และผรู วมปฏบิ ตั ิราชการ (๘) ตองตอนรับ ใหความสะดวก ใหความเปนธรรม และใหการสงเคราะหแกประชาชน ผตู ดิ ตอ ราชการเก่ียวกับหนาท่ีของตน (๙) ตองวางตนเปนกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหนาที่ราชการและในการปฏิบัติการอ่ืน ท่ีเก่ียวของกับประชาชน กับจะตองปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการวาดวยมารยาททางการเมือง ของขา ราชการดวย (๑๐) ตอ งรกั ษาช่อื เสียงของตน และรักษาเกียรติศักด์ิของตําแหนงหนาท่ีราชการของตนมิให เสือ่ มเสีย (๑๑) กระทาํ การอื่นใดตามทก่ี าํ หนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๘๓ ขาราชการพลเรอื นสามญั ตอ งไมก ระทําการใดอนั เปน ขอหาม ดังตอ ไปนี้ (๑) ตองไมรายงานเท็จตอผูบังคับบัญชา การรายงานโดยปกปดขอความซ่ึงควรตองแจง ถอื วาเปนการรายงานเทจ็ ดว ย (๒) ตองไมปฏิบัติราชการอันเปนการกระทําการขามผูบังคับบัญชาเหนือตน เวนแต ผบู ังคบั บัญชาเหนือตนข้นึ ไปเปนผสู ่งั ใหก ระทาํ หรอื ไดรบั อนุญาตเปน พเิ ศษชั่วคร้ังคราว (๓) ตองไมอาศัยหรือยอมใหผูอ่ืนอาศัยตําแหนงหนาท่ีราชการของตนหาประโยชนใหแก ตนเองหรอื ผอู ื่น (๔) ตอ งไมประมาทเลนิ เลอ ในหนาท่รี าชการ (๕) ตองไมกระทําการหรอื ยอมใหผอู ่นื กระทาํ การหาผลประโยชนอ ันอาจทาํ ใหเ สียความเทย่ี งธรรม หรือเสอื่ มเสยี เกียรติศกั ดิข์ องตาํ แหนง หนาท่ีราชการของตน (๖) ตองไมเปนกรรมการผูจัดการ หรือผูจัดการ หรือดํารงตําแหนงอ่ืนใดที่มีลักษณะงาน คลายคลึงกันน้ันในหา งหนุ สว นหรือบรษิ ัท

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๓๑ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

(๗) ตองไมก ระทําการอยา งใดทเ่ี ปน การกล่ันแกลง กดข่ี หรอื ขม เหงกนั ในการปฏิบตั ริ าชการ (๘) ตองไมก ระทําการอนั เปน การลวงละเมดิ หรอื คกุ คามทางเพศตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ. (๙) ตอ งไมด หู มนิ่ เหยียดหยาม กดข่ี หรอื ขมเหงประชาชนผตู ดิ ตอราชการ (๑๐) ไมก ระทาํ การอน่ื ใดตามท่กี าํ หนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๘๔ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไมปฏิบัติตามขอปฏิบัติตามมาตรา ๘๑ และ มาตรา ๘๒ หรอื ฝา ฝนขอ หามตามมาตรา ๘๓ ผูน ั้นเปน ผูกระทําผดิ วินยั มาตรา ๘๕ การกระทาํ ผิดวินยั ในลกั ษณะดังตอไปนี้ เปนความผดิ วนิ ัยอยา งรายแรง (๑) ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ราชการโดยมิชอบเพ่ือใหเกิดความเสียหายอยางรายแรง แกผ หู นึ่งผูใด หรอื ปฏิบตั หิ รอื ละเวน การปฏิบัติหนา ท่ีราชการโดยทจุ ริต (๒) ละทิ้งหรอื ทอดทิ้งหนา ทีร่ าชการโดยไมมีเหตุผลอนั สมควรเปนเหตุใหเสียหายแกราชการ อยางรายแรง (๓) ละท้งิ หนา ทร่ี าชการติดตอในคราวเดียวกนั เปน เวลาเกินสิบหาวันโดยไมมีเหตุอันสมควร หรือโดยมพี ฤติการณอันแสดงถึงความจงใจไมป ฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ (๔) กระทาํ การอนั ไดชือ่ วาเปน ผูประพฤติช่ัวอยา งรายแรง (๕) ดูหมิน่ เหยียดหยาม กดข่ี ขม เหง หรือทํารายประชาชนผตู ิดตอราชการอยา งรา ยแรง (๖) กระทาํ ความผิดอาญาจนไดรับโทษจําคุกหรือโทษที่หนักกวาโทษจําคุกโดยคําพิพากษา ถึงท่ีสุดใหจําคุกหรือใหรับโทษท่ีหนักกวาโทษจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทํา โดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ (๗) ละเวนการกระทาํ หรอื กระทาํ การใด ๆ อนั เปนการไมปฏบิ ัตติ ามมาตรา ๘๒ หรือฝาฝน ขอ หามตามมาตรา ๘๓ อนั เปนเหตุใหเสียหายแกราชการอยา งรายแรง (๘) ละเวน การกระทําหรือกระทาํ การใด ๆ อันเปนการไมปฏิบัติตามมาตรา ๘๐ วรรคสอง และมาตรา ๘๒ (๑๑) หรือฝาฝนขอหามตามมาตรา ๘๓ (๑๐) ท่ีมีกฎ ก.พ. กําหนดใหเปนความผิดวินัย อยา งรา ยแรง มาตรา ๘๖ กฎ ก.พ. ตามมาตรา ๘๐ วรรคสอง มาตรา ๘๒ (๑๑) มาตรา ๘๓ (๘) และ (๑๐) และมาตรา ๘๕ (๘) ใหใชสําหรับการกระทําท่ีเกิดข้ึนภายหลังจากท่ีกฎ ก.พ. ดังกลาว ใชบ ังคบั

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓๒ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๘๗ ใหผูบังคับบัญชามีหนาท่ีเสริมสรางและพัฒนาใหผูอยูใตบังคับบัญชามีวินัย และปองกนั มิใหผูอ ยใู ตบ ังคบั บัญชากระทาํ ผิดวินัย ทง้ั นี้ ตามหลักเกณฑและวธิ กี ารท่ี ก.พ. กําหนด

มาตรา ๘๘ ขา ราชการพลเรือนสามญั ผใู ดกระทาํ ผิดวินัย จะตอ งไดรับโทษทางวินัย เวนแต มีเหตุอนั ควรงดโทษตามที่บัญญตั ไิ วใ นหมวด ๗ การดาํ เนนิ การทางวินยั

โทษทางวินยั มี ๕ สถาน ดังตอ ไปน้ี (๑) ภาคทณั ฑ (๒) ตัดเงนิ เดอื น (๓) ลดเงินเดือน (๔) ปลดออก (๕) ไลอ อก มาตรา ๘๙ การลงโทษขา ราชการพลเรอื นสามัญใหท าํ เปน คําส่งั ผสู ่ังลงโทษตองสั่งลงโทษ ใหเหมาะสมกบั ความผดิ และตอ งเปนไปดว ยความยตุ ิธรรมและโดยปราศจากอคติ โดยในคําสั่งลงโทษ ใหแ สดงวาผูถกู ลงโทษกระทาํ ผดิ วินัยในกรณใี ดและตามมาตราใด

หมวด ๗ การดําเนินการทางวนิ ยั

มาตรา ๙๐ เม่ือมีการกลาวหาหรือมีกรณีเปนท่ีสงสัยวาขาราชการพลเรือนสามัญผูใด กระทําผิดวินัย ใหผูบังคับบัญชามีหนาท่ีตองรายงานใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ทราบโดยเรว็ และใหผ บู งั คบั บัญชาซง่ึ มอี าํ นาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ดําเนินการตามพระราชบัญญัติน้ี โดยเรว็ ดว ยความยุตธิ รรมและโดยปราศจากอคติ

ผบู ังคับบัญชาหรือผบู ังคับบัญชาซ่งึ มีอาํ นาจส่ังบรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ผใู ดละเลยไมปฏิบัติหนาท่ี ตามวรรคหนงึ่ หรอื ปฏิบตั หิ นา ที่โดยไมสุจริตใหถ ือวาผนู น้ั กระทาํ ผิดวนิ ยั

อํานาจหนาท่ีของผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ตามหมวดน้ี ผูบังคับบัญชา ซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะมอบหมายใหผูบังคับบัญชาระดับตํ่าลงไปปฏิบัติแทนตาม หลกั เกณฑที่ ก.พ. กําหนดกไ็ ด

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓๓ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๙๑ เมื่อไดรับรายงานตามมาตรา ๙๐ หรือความดังกลาวปรากฏตอผูบังคับบัญชา ซึง่ มอี ํานาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ใหผบู ังคบั บญั ชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ รีบดําเนินการ หรือสงั่ ใหดาํ เนินการสืบสวนหรือพจิ ารณาในเบ้ืองตนวากรณีมีมูลที่ควรกลาวหาวาผูน้ันกระทําผิดวินัย หรอื ไม ถาเหน็ วากรณไี มมมี ลู ทีค่ วรกลา วหาวากระทาํ ผดิ วินัยกใ็ หย ุติเรื่องได

ในกรณีท่ีเห็นวามีมูลที่ควรกลาวหาวาขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยโดยมี พยานหลกั ฐานในเบอ้ื งตน อยูแลว ใหดําเนินการตอ ไปตามมาตรา ๙๒ หรือมาตรา ๙๓ แลวแตก รณี

มาตรา ๙๒ ในกรณีท่ีผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา ๙๑ ปรากฏวากรณีมีมูล ถาความผิดน้ันมิใชเปนความผิดวินัยอยางรายแรง และไดแจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐาน ใหผูถ ูกกลาวหาทราบ พรอมท้ังรับฟงคําชี้แจงของผูถูกกลาวหาแลวผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุ ตามมาตรา ๕๗ เห็นวาผถู ูกกลาวหาไดกระทําผิดตามขอกลาวหา ใหผูบังคับบัญชาส่ังลงโทษตามควร แกกรณีโดยไมตั้งคณะกรรมการสอบสวนก็ได

ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถาผูบ งั คบั บญั ชาซ่ึงมีอาํ นาจสง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ เหน็ วา ผูถูกกลาวหา ไมไดกระทําผดิ ตามขอ กลาวหา ใหผูบงั คบั บัญชาดังกลาวสงั่ ยตุ เิ รอ่ื ง

มาตรา ๙๓ ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา ๙๑ ปรากฏวากรณีมีมูล อันเปนความผิดวินัยอยางรายแรง ใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ แตงต้ัง คณะกรรมการสอบสวน ในการสอบสวนตองแจงขอ กลา วหาและสรุปพยานหลกั ฐานใหผ ถู กู กลาวหาทราบ พรอ มทั้งรับฟงคําช้ีแจงของผูถูกกลาวหา เม่ือคณะกรรมการสอบสวนดําเนินการเสร็จ ใหรายงานผล การสอบสวนและความเหน็ ตอผบู งั คบั บญั ชาซึ่งมอี าํ นาจสง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗

ถาผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นวาผูถูกกลาวหาไมไดกระทําผิด ตามขอกลาวหา ใหส่ังยุติเรื่อง แตถาเห็นวาผูถูกกลาวหาไดกระทําผิดตามขอกลาวหา ใหดําเนินการ ตอ ไปตามมาตรา ๙๖ หรือมาตรา ๙๗ แลว แตก รณี

มาตรา ๙๔ การแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนสําหรับกรณีที่ขาราชการพลเรือนสามัญ ตําแหนงตางกัน หรือตางกรมหรือตางกระทรวงกันถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยรวมกันใหดําเนินการ ดังตอไปน้ี

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓๔ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา

(๑) สาํ หรบั ขา ราชการพลเรือนสามญั ในกรมเดียวกัน ท่อี ธิบดหี รือปลัดกระทรวงถูกกลาวหา วา กระทาํ ผิดวินยั รวมกบั ผอู ยูใตบงั คับบัญชา ใหป ลดั กระทรวงหรือรฐั มนตรีวาการกระทรวง แลวแตกรณี เปนผสู ่ังแตงตัง้ คณะกรรมการสอบสวน

(๒) สําหรับขาราชการพลเรือนสามัญตางกรมในกระทรวงเดียวกันถูกกลาวหาวากระทํา ผิดวินัยรวมกัน ใหปลัดกระทรวงเปนผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน เวนแตเปนกรณีท่ี ปลัดกระทรวงถูกกลา วหารว มดวย ใหรัฐมนตรวี าการกระทรวงเปนผูส ัง่ แตง ต้งั คณะกรรมการสอบสวน

(๓) สําหรับขาราชการพลเรือนสามัญตางกระทรวงกันถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยรวมกัน ใหผบู ังคับบัญชาซ่งึ มีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ รวมกันแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวน เวนแต เปนกรณที ีม่ ผี ถู ูกกลา วหาดาํ รงตําแหนง ประเภทบรหิ ารระดบั สูงรวมดวย ใหนายกรัฐมนตรีเปนผูสั่งแตงตั้ง คณะกรรมการสอบสวน

(๔) สาํ หรับกรณอี ่ืน ใหเ ปน ไปตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๙๕ หลักเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาเก่ียวกับการดําเนินการทางวินัยใหเปนไป ตามทกี่ าํ หนดในกฎ ก.พ. ในกรณีท่ีเปนความผิดที่ปรากฏชัดแจงตามที่กําหนดในกฎ ก.พ. จะดําเนินการทางวินัย โดยไมต อ งสอบสวนก็ได มาตรา ๙๖ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางไมรายแรง ใหผูบังคับบัญชา ซง่ึ มอี าํ นาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ สง่ั ลงโทษภาคทัณฑ ตดั เงนิ เดอื นหรอื ลดเงนิ เดอื นตามควรแกกรณี ใหเหมาะสมกับความผิด ในกรณีมีเหตุอันควรลดหยอน จะนํามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได แตสําหรับ การลงโทษภาคทัณฑใ หใ ชเ ฉพาะกรณกี ระทาํ ผิดวินยั เล็กนอย ในกรณีกระทําผิดวินัยเล็กนอยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะงดโทษใหโดยใหทําทัณฑบน เปน หนงั สือหรือวากลา วตกั เตอื นกไ็ ด การลงโทษตามมาตราน้ี ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะมีอํานาจ สัง่ ลงโทษผูอยใู ตบ ังคบั บัญชาในสถานโทษและอัตราโทษใดไดเพียงใด ใหเ ปนไปตามทก่ี ําหนดในกฎ ก.พ.

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๓๕ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๙๗ ภายใตบงั คับวรรคสอง ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางรายแรง ใหลงโทษปลดออกหรือไลออกตามความรายแรงแหงกรณี ถามีเหตุอันควรลดหยอนจะนํามา ประกอบการพิจารณาลดโทษกไ็ ด แตห า มมิใหล ดโทษลงต่ํากวา ปลดออก

ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนหรือผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหน่ึง หรอื ผูม อี าํ นาจตามมาตรา ๙๔ เห็นวา ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัยอยางรายแรง ใหผบู ังคบั บญั ชาซึ่งมอี ํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ สงเร่ืองให อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง ซง่ึ ผถู ูกกลาวหาสังกดั อยู แลวแตก รณี พิจารณา เมื่อ อ.ก.พ. ดังกลาวมีมติเปนประการใด ใหผ ูบงั คับบญั ชาซึง่ มีอํานาจสง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ส่งั หรือปฏบิ ตั ิใหเ ปน ไปตามน้ัน ทง้ั นี้ ตามหลักเกณฑ และวธิ กี ารท่กี ําหนดในกฎ ก.พ.

ในกรณีท่ีผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ไมใชอํานาจตามมาตรา ๙๓ วรรคหน่ึง มาตรา ๙๔ หรือมาตราน้ี ใหผูบังคับบัญชาตามมาตรา ๕๗ ระดับเหนือขึ้นไปมีอํานาจ ดําเนินการตามมาตรา ๙๓ วรรคหนง่ึ มาตรา ๙๔ หรอื มาตรานไี้ ด

ผูใดถูกลงโทษปลดออก ใหม สี ิทธิไดร บั บาํ เหน็จบํานาญเสมือนวา ผนู น้ั ลาออกจากราชการ มาตรา ๙๘ ขา ราชการพลเรือนสามัญผูใดใหข อ มูลตอผูบงั คบั บัญชาหรอื ใหถ อยคาํ ในฐานะพยาน ตอ ผูมหี นาที่สืบสวนสอบสวนหรอื ตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ อันเปนประโยชน และเปน ผลดียง่ิ ตอ ทางราชการ ผูบังคับบัญชาอาจพจิ ารณาใหบําเหนจ็ ความชอบเปน กรณพี ิเศษได ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดอยูในฐานะที่อาจจะถูกกลาวหาวารวมกระทําผิดวินัยกับ ขาราชการอื่น ใหขอ มลู ตอ ผูบงั คบั บญั ชา หรอื ใหถอยคําตอบุคคลหรือคณะบุคคลตามความในวรรคหนึ่ง เกี่ยวกับการกระทําผิดวินัยที่ไดกระทํามา จนเปนเหตุใหมีการสอบสวนพิจารณาทางวินัยแก ผูเปน ตนเหตแุ หง การกระทาํ ผดิ ผบู ังคับบญั ชาอาจใชด ลุ พินิจกันผูน ้ันไวเ ปนพยานหรือพิจารณาลดโทษ ทางวินยั ตามควรแกก รณีได ขา ราชการพลเรอื นสามญั ผูใ ดใหขอมูลหรอื ใหถอยคําในฐานะพยานตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง อันเปน เทจ็ ใหถ อื วา ผูน ้นั กระทาํ ผิดวินัย หลกั เกณฑแ ละวิธีการการใหบําเหน็จความชอบ การกันเปนพยาน การลดโทษ และการให ความคมุ ครองพยาน ใหเ ปนไปตามทกี่ ําหนดในกฎ ก.พ.

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓๖ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

กฎ ก.พ. วาดวยการคุมครองพยานตามวรรคสี่ จะกาํ หนดหลักเกณฑแ ละวิธกี ารทีส่ ํานกั งาน ก.พ. หรอื ผบู ังคบั บัญชาซง่ึ มีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะดําเนินการยาย โอน หรือดําเนินการอ่ืนใด โดยไมตองไดรับความยินยอมหรือเห็นชอบจากผูบังคับบัญชาของขาราชการผูนั้น และไมตองปฏิบัติ ตามข้นั ตอนหรือกระบวนการตามท่บี ัญญัติไวในพระราชบัญญตั ินกี้ ไ็ ด

มาตรา ๙๙ ใหกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหนึ่ง เปนเจาพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญาและใหมีอํานาจเชน เดยี วกับพนกั งานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญาเพียงเทาที่เกี่ยวกับอํานาจและหนาที่ของกรรมการสอบสวนและโดยเฉพาะใหมีอํานาจ ดงั ตอไปนด้ี ว ยคอื

(๑) เรยี กใหก ระทรวง กรม สว นราชการ รัฐวิสาหกิจ หนวยงานอ่ืนของรัฐ หรือหางหุนสวน บรษิ ทั ชแ้ี จงขอเทจ็ จรงิ สง เอกสารและหลกั ฐานที่เกย่ี วของ สงผูแ ทนหรอื บคุ คลในสังกัดมาช้ีแจงหรือ ใหถอยคาํ เกยี่ วกบั เรอ่ื งทส่ี อบสวน

(๒) เรียกผูถูกกลาวหาหรือบุคคลใด ๆ มาชี้แจงหรือใหถอยคํา หรือใหสงเอกสารและ หลกั ฐานเก่ยี วกับเร่ืองทส่ี อบสวน

มาตรา ๑๐๐ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกกลาวหาเปนหนังสือวากระทําหรือ ละเวนกระทําการใดที่เปนความผิดวินัยอยางรายแรง ถาเปนการกลาวหาตอผูบังคับบัญชาของผูน้ัน หรือตอผูมีหนาท่ีสืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ หรือ เปน การกลาวหาโดยผูบ ังคบั บัญชาของผูน้ัน หรือมีกรณีถูกฟอ งคดีอาญาหรือตอ งหาวา กระทําความผดิ อาญา อันมิใชเปนความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทที่ไมเก่ียวกับราชการหรือความผิดลหุโทษ แมภายหลัง ผูนั้นจะออกจากราชการไปแลว โดยมิใชเพราะเหตุตาย ผูมีอํานาจดําเนินการทางวินัยมีอํานาจ ดําเนนิ การสบื สวนหรอื พิจารณา และดาํ เนนิ การทางวินัยตามที่บัญญัติไวในหมวดน้ีตอไปไดเสมือนวา ผูน ัน้ ยงั มิไดอ อกจากราชการ แตท้ังนี้ผบู งั คับบัญชาซ่งึ มอี ํานาจสง่ั บรรจุตามมาตรา ๕๗ ตองดําเนินการ สอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหน่ึง ภายในหนึง่ รอยแปดสิบวันนับแตวันทผี่ นู น้ั พนจากราชการ

ในกรณีตามวรรคหน่ึงถาผลการสอบสวนพิจารณาปรากฏวาผูนั้นกระทําผิดวินัยอยางไมรายแรง ก็ใหงดโทษ

มาตรา ๑๐๑ ขา ราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางรายแรง จนถูกตั้งกรรมการสอบสวน หรือถูกฟองคดีอาญา หรือตองหาวากระทําความผิดอาญา เวนแต

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓๗ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

เปนความผิดท่ีไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุ ตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจสั่งพักราชการหรือสั่งใหออกจากราชการไวกอนเพื่อรอฟงผลการสอบสวน หรอื พิจารณา หรอื ผลแหงคดีได

ถา ภายหลังปรากฏผลการสอบสวนหรือพิจารณาวาผูนั้นมิไดก ระทําผิดหรือกระทําผิดไมถึงกับ จะถกู ลงโทษปลดออกหรอื ไลออก และไมมีกรณีท่ีจะตองออกจากราชการดวยเหตุอ่ืน ก็ใหผูมีอํานาจ ดงั กลาวสั่งใหผนู ้นั กลับเขาปฏิบัติราชการหรือกลับเขารับราชการในตําแหนงตามเดิมหรือตําแหนงอ่ืน ในประเภทเดียวกนั และระดับเดยี วกนั หรือในตําแหนงประเภทและระดับที่ ก.พ. กําหนด ทั้งน้ี ผูนั้น ตองมีคุณสมบัตติ รงตามคุณสมบัติเฉพาะสาํ หรับตาํ แหนง นน้ั

เม่ือไดมีการส่ังใหขาราชการพลเรือนสามัญผูใดพักราชการหรือออกจากราชการไวกอนแลว ภายหลังปรากฏวาผูน้ันมีกรณีถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางรายแรงในกรณีอ่ืนอีก ผูบังคับบัญชา ซ่ึงมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจดําเนินการสืบสวนหรือพิจารณา และแตงตั้ง คณะกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๙๓ ตลอดจนดําเนนิ การทางวนิ ัยตามท่บี ัญญตั ไิ วในหมวดน้ตี อไปได

ในกรณีที่ส่ังใหผูถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอนกลับเขารับราชการ หรือส่ังใหผูถูกสั่งให ออกจากราชการไวกอนออกจากราชการดวยเหตุอื่นที่มิใชเปนการลงโทษเพราะกระทําผิดวินัยอยางรายแรง ก็ใหผนู ้นั มสี ถานภาพเปน ขาราชการพลเรือนสามัญตลอดระยะเวลาระหวางท่ีถูกส่ังใหออกจากราชการ ไวก อ นเสมอื นวา ผนู ั้นเปนผถู กู สั่งพกั ราชการ

เงินเดือน เงินอืน่ ทีจ่ ายเปนรายเดือน และเงินชวยเหลืออยางอ่ืน และการจายเงินดังกลาวของ ผูถูกสั่งพักราชการ และผูถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอน ใหเปนไปตามกฎหมายหรือระเบียบ วาดวยการนั้น

การส่ังพักราชการใหสั่งพักตลอดเวลาที่สอบสวนหรือพิจารณา เวนแตผูถูกส่ังพักราชการ ผใู ดไดร อ งทุกขตามมาตรา ๑๒๒ และผมู อี าํ นาจพิจารณาคํารองทุกขเห็นวาสมควรสั่งใหผูนั้นกลับเขา ปฏิบตั ิหนาทรี่ าชการกอ นการสอบสวนหรอื พจิ ารณาเสร็จสิน้ เนื่องจากพฤติการณข องผูถูกสั่งพักราชการ ไมเปนอุปสรรคตอการสอบสวนหรือพิจารณา และไมกอใหเกิดความไมสงบเรียบรอยตอไป หรือ เน่ืองจากการดําเนินการทางวินัยไดลวงพนหนึ่งปนับแตวันพักราชการแลวยังไมแลวเสร็จและผูถูกส่ัง พกั ราชการไมม พี ฤติกรรมดงั กลา ว ใหผูมีอํานาจส่ังพักราชการสั่งใหผูนั้นกลับเขาปฏิบัติหนาที่ราชการ กอนการสอบสวนหรือพิจารณาเสร็จสิ้น

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๓๘ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

ใหน าํ ความในวรรคหกมาใชบ งั คับกับกรณีถกู ส่ังใหอ อกจากราชการไวก อนดวย หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการส่ังพักราชการ การส่ังใหออกจากราชการไวกอน ระยะเวลาใหพกั ราชการและใหอ อกจากราชการไวกอ น การใหกลับเขาปฏิบัติราชการหรือกลับเขารับราชการ และการดาํ เนินการเพ่อื ใหเ ปน ไปตามผลการสอบสวนหรอื พิจารณาใหเ ปนไปตามทก่ี าํ หนดในกฎ ก.พ. มาตรา ๑๐๒ การลงโทษขาราชการพลเรือนสามัญในสวนราชการที่มีกฎหมายวาดวย วินัยขาราชการโดยเฉพาะ ในกรณีเปนความผิดวินัยอยางไมรายแรงตามพระราชบัญญัติน้ีจะลงโทษ ตามพระราชบัญญตั ิน้หี รือลงทณั ฑหรอื ลงโทษตามกฎหมายวาดวยวินัยขาราชการนั้นอยางใดอยางหนึ่ง ตามควรแกกรณีและพฤติการณก็ได แตถาเปนกรณีกระทําผิดวินัยอยางรายแรงตามพระราชบัญญัตินี้ ไมว า จะไดล งทณั ฑหรอื ลงโทษตามกฎหมายดงั กลาวแลวหรือไม ใหผูบังคับบัญชาพิจารณาดําเนินการ ตามทก่ี าํ หนดไวในพระราชบญั ญัตนิ ี้ มาตรา ๑๐๓ เม่ือผูบ ังคบั บัญชาไดส่ังลงโทษตามพระราชบญั ญตั นิ หี้ รือลงทัณฑตามกฎหมาย วาดวยวินัยขาราชการโดยเฉพาะ หรือสั่งยุติเร่ือง หรืองดโทษแลว ใหรายงาน อ.ก.พ. กระทรวง ซึ่งผูถูกดําเนินการทางวินัยสังกัดอยูเพ่ือพิจารณา เวนแตเปนกรณีดําเนินการทางวินัยกับขาราชการ ตางกระทรวงกัน หรือกรณีดําเนินการทางวินัยตามมติ อ.ก.พ. กระทรวง ตามมาตรา ๙๗ วรรคสอง ใหรายงาน ก.พ. ทงั้ น้ี ตามระเบียบที่ ก.พ. กําหนด ในกรณีท่ี อ.ก.พ. กระทรวงหรือ ก.พ. เห็นวาการดําเนินการทางวินัยเปนการไมถูกตอง หรือไมเหมาะสม หากมมี ติเปน ประการใด ใหผบู งั คบั บญั ชาสัง่ หรอื ปฏบิ ัติใหเ ปนไปตามที่ อ.ก.พ. กระทรวง หรอื ก.พ. มมี ติ ในกรณีตามวรรคสองและในการดําเนินการตามมาตรา ๑๐๔ ให ก.พ. มีอํานาจสอบสวนใหม หรอื สอบสวนเพมิ่ เตมิ ไดต ามหลกั เกณฑและวิธกี ารท่ี ก.พ. กาํ หนดตามมาตรา ๙๕ มาตรา ๑๐๔ ในการดําเนินการของ อ.ก.พ. กระทรวงตามมาตรา ๙๗ วรรคสอง หรือ มาตรา ๑๐๓ วรรคสอง หากผูแทน ก.พ. ซึ่งเปนกรรมการใน อ.ก.พ. กระทรวงดังกลาวเห็นวา การดําเนินการของผูบังคับบัญชาหรือมติ อ.ก.พ. กระทรวง เปนการไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี หรอื ปฏิบตั ไิ มเ หมาะสม ใหรายงาน ก.พ. เพือ่ พิจารณาดาํ เนนิ การตามควรแกกรณตี อ ไป และเมื่อ ก.พ. มมี ตเิ ปนประการใด ใหผ ูบงั คับบัญชาส่ังหรือปฏบิ ัติใหเ ปนไปตามที่ ก.พ. มมี ติ ทัง้ นี้ เวนแตผูถูกลงโทษ

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๓๙ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

ไดอุทธรณคําส่ังลงโทษของผูบังคับบัญชาตอ ก.พ.ค. ในกรณีเชนนี้ให ก.พ. แจงมติตอ ก.พ.ค. เพื่อประกอบการพิจารณาวนิ ิจฉัยอุทธรณ

มาตรา ๑๐๕ เมื่อมีกรณีเพิ่มโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ใหผูส่ังมีคําสั่งใหม และ ในคําสั่งดังกลาวใหสั่งยกเลิกคําส่ังลงโทษเดิม พรอมท้ังระบุวิธีการดําเนินการเก่ียวกับโทษที่ไดรับ ไปแลว ทัง้ น้ี ตามที่กาํ หนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๑๐๖ ขา ราชการพลเรอื นสามัญซ่ึงโอนมาตามมาตรา ๖๔ ผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัย อยูกอนวันโอนมาบรรจุ ใหผูบังคับบัญชาของขาราชการพลเรือนสามัญผูนั้นดําเนินการทางวินัย ตามหมวดน้ีโดยอนุโลม แตถาเปนเร่ืองท่ีอยูในระหวางการสืบสวนหรือพิจารณา หรือสอบสวนของ ผูบังคับบญั ชาเดมิ กอนวันโอนก็ใหสบื สวนหรือพิจารณา หรือสอบสวนตอไปจนเสร็จ แลวสงเรื่องให ผูบังคับบัญชาของขาราชการพลเรือนสามัญผูน้ันพิจารณาดําเนินการตอไปตามหมวดน้ีโดยอนุโลม แตทั้งน้ีในการสั่งลงโทษทางวินัยใหพิจารณาตามความผิดและลงโทษตามกฎหมายวาดวยระเบียบ บรหิ ารงานบุคคลสว นทองถน่ิ หรอื กฎหมายวา ดว ยระเบียบขาราชการทโ่ี อนมาน้นั แลว แตก รณี

หมวด ๘ การออกจากราชการ

มาตรา ๑๐๗ ขาราชการพลเรอื นสามัญออกจากราชการเมอื่ (๑) ตาย (๒) พนจากราชการตามกฎหมายวาดว ยบาํ เหน็จบํานาญขา ราชการ (๓) ลาออกจากราชการและไดร บั อนุญาตใหล าออกหรือการลาออกมผี ลตามมาตรา ๑๐๙ (๔) ถกู ส่ังใหออกตามมาตรา ๕๙ มาตรา ๖๗ มาตรา ๑๐๑ มาตรา ๑๑๐ หรอื มาตรา ๑๑๑ หรือ (๕) ถกู ส่ังลงโทษปลดออก หรอื ไลอ อก วนั ออกจากราชการตาม (๔) และ (๕) ใหเ ปนไปตามระเบยี บที่ ก.พ. กาํ หนด มาตรา ๑๐๘ ขา ราชการพลเรือนสามญั ผใู ดเม่อื อายุครบหกสบิ ปบ ริบูรณในส้ินปงบประมาณ และทางราชการมีความจําเปนท่ีจะใหรับราชการตอไปเพ่ือปฏิบัติหนาที่ในทางวิชาการหรือหนาท่ี

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๔๐ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา

ทตี่ อ งใชความสามารถเฉพาะตวั ในตาํ แหนงตามมาตรา ๔๖ (๓) (ง) หรือ (จ) หรือ (๔) (ค) หรือ (ง) จะใหรับราชการตอไปอีกไมเกนิ สิบปก ็ไดตามทีก่ าํ หนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๑๐๙ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดประสงคจะลาออกจากราชการใหยื่นหนังสือ ขอลาออกตอ ผบู งั คับบัญชาเหนอื ข้ึนไปชัน้ หนึ่งโดยย่ืนลวงหนากอนวนั ขอลาออกไมนอยกวา สามสิบวัน เพอ่ื ใหผบู ังคบั บญั ชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เปน ผพู จิ ารณากอ นวนั ขอลาออก

ในกรณีท่ีผูประสงคจะลาออกย่ืนหนังสือขอลาออกลวงหนานอยกวาสามสิบวัน และ ผบู ังคบั บัญชาซ่งึ มีอาํ นาจสัง่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นวามีเหตผุ ลและความจําเปนจะอนุญาตใหลาออก ตามวนั ท่ีขอลาออกกไ็ ด

ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นวาจําเปนเพื่อประโยชน แกราชการ จะยับย้ังการลาออกไวเปนเวลาไมเกินเกาสิบวันนับแตวันขอลาออกก็ได ในกรณีเชนน้ัน ถาผขู อลาออกมไิ ดถ อนใบลาออกกอนครบกําหนดระยะเวลาการยับยั้งใหถือวาการลาออกน้ันมีผลเม่ือ ครบกาํ หนดเวลาตามท่ไี ดย บั ยั้งไว

ในกรณีท่ีผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ มิไดยับยั้งตามวรรคสาม ใหการลาออกนั้นมีผลต้ังแตวันขอลาออก

ในกรณีที่ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดประสงคจะลาออกจากราชการเพ่ือดํารงตําแหนง ในองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ตําแหนงทางการเมือง หรือตําแหนงอ่ืนท่ี ก.พ. กําหนด หรือ เพื่อสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ใหย่ืนหนังสือ ขอลาออกตอผบู งั คบั บญั ชาตามวรรคหน่ึง และใหก ารลาออกมผี ลนับต้ังแตว นั ทผี่ นู ั้นขอลาออก

หลักเกณฑและวิธีการเก่ียวกับการลาออก การพิจารณาอนุญาตใหลาออกและการยับย้ัง การลาออกจากราชการ ใหเปน ไปตามระเบยี บท่ี ก.พ. กาํ หนด

มาตรา ๑๑๐ ผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจสั่งใหขาราชการ พลเรือนสามญั ออกจากราชการเพื่อรับบําเหน็จบํานาญเหตุทดแทนตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญ ขา ราชการไดในกรณดี งั ตอไปน้ี

(๑) เม่ือขาราชการพลเรือนสามัญผใู ดเจ็บปวยไมอ าจปฏบิ ตั หิ นา ที่ราชการของตนไดโ ดยสมํ่าเสมอ (๒) เมอื่ ขาราชการพลเรอื นสามญั ผูใ ดสมัครไปปฏิบตั งิ านใด ๆ ตามความประสงคของทางราชการ

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๔๑ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

(๓) เมื่อขา ราชการพลเรือนสามญั ผูใ ดขาดคณุ สมบัตทิ ่วั ไปตามมาตรา ๓๖ ก. (๑) หรือ (๓) หรือมลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา ๓๖ ข. (๑) (๓) (๖) หรือ (๗)

(๔) เมื่อทางราชการเลิกหรือยุบหนวยงานหรือตําแหนงท่ีขาราชการพลเรือนสามัญ ปฏิบัติหนาท่ีหรือดํารงอยู สําหรับผูท่ีออกจากราชการในกรณีน้ีใหไดรับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ วธิ ีการ และเงอื่ นไขทก่ี ระทรวงการคลังกาํ หนดดวย

(๕) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไมสามารถปฏิบัติราชการใหมีประสิทธิภาพและ เกดิ ประสิทธิผลในระดบั อนั เปนท่ีพอใจของทางราชการ

(๖) เม่ือขาราชการพลเรือนสามัญผูใดหยอนความสามารถในอันที่จะปฏิบัติหนาท่ีราชการ บกพรองในหนาที่ราชการ หรือประพฤติตนไมเหมาะสมกับตําแหนงหนาท่ีราชการ ถาใหผูน้ัน รบั ราชการตอ ไปจะเปน การเสียหายแกราชการ

(๗) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกสอบสวนวากระทําผิดวินัยอยางรายแรง ตามมาตรา ๙๓ และผลการสอบสวนไมไดความแนชัดพอท่ีจะฟงลงโทษตามมาตรา ๙๗ วรรคหน่ึง แตมมี ลทนิ หรือมวั หมองในกรณที ีถ่ ูกสอบสวน ถา ใหรับราชการตอไปจะเปน การเสียหายแกร าชการ

(๘) เม่ือขาราชการพลเรือนสามัญผูใดตองรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก ในความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือตองรับโทษจําคุกโดยคําสั่งของศาล ซึ่งยังไมถ ึงกบั จะตอ งถูกลงโทษปลดออกหรอื ไลอ อก

การส่งั ใหอ อกจากราชการตามวรรคหน่ึงใหเ ปนไปตามทีก่ ําหนดในกฎ ก.พ. ท้งั นี้ ใหนํามาตรา ๙๗ วรรคสอง มาใชบังคับกับการส่ังใหออกจากราชการตามกรณี (๓) เฉพาะมาตรา ๓๖ ก. (๓) กรณี (๖) และกรณี (๗) โดยอนโุ ลม

เมื่อผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งใหขาราชการพลเรือนสามัญผูใด ออกจากราชการตามมาตรานี้แลว ใหรายงาน อ.ก.พ. กระทรวง หรือ ก.พ. แลวแตกรณี และใหนํา มาตรา ๑๐๓ มาใชบงั คับโดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๑๑ เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไปรับราชการทหารตามกฎหมายวาดวย การรับราชการทหาร ใหผ บู ังคับบญั ชาซ่ึงมอี ํานาจส่งั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ส่งั ใหผนู ้นั ออกจากราชการ

ผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการตามวรรคหน่ึง และตอมาปรากฏวาผูน้ันมีกรณีท่ีจะตองถูกส่ัง ใหออกจากราชการตามมาตราอ่ืนอยูกอนไปรับราชการทหาร ก็ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุ

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๔๒ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

ตามมาตรา ๕๗ มีอํานาจเปล่ียนแปลงคําสั่งใหออกตามวรรคหน่ึงเปนใหออกจากราชการตาม มาตราอืน่ นั้นได

มาตรา ๑๑๒ ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาซึ่งมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ไมใชอํานาจ ตามมาตรา ๑๑๐ โดยไมมีเหตุอันสมควร ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ระดบั เหนอื ขึน้ ไปมอี าํ นาจดาํ เนินการตามมาตรา ๑๑๐ ได

มาตรา ๑๑๓ การออกจากราชการของขาราชการพลเรอื นสามัญผูดาํ รงตําแหนงทท่ี รงพระกรุณา โปรดเกลา ฯ แตงต้ัง ใหนําความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการใหพนจากตําแหนงนับแต วันออกจากราชการ เวน แตออกจากราชการเพราะความตายใหน าํ ความกราบบังคมทูลเพือ่ ทรงทราบ

หมวด ๙ การอุทธรณ

มาตรา ๑๑๔ ผูใดถูกสั่งลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้หรือถูกสั่งใหออกจากราชการ ตามมาตรา ๑๑๐ (๑) (๓) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ผูนน้ั มีสิทธิอุทธรณตอ ก.พ.ค. ภายในสามสิบวัน นบั แตวันทราบหรอื ถอื วา ทราบคําส่งั

การอุทธรณและการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตามที่กําหนด ในกฎ ก.พ.ค.

มาตรา ๑๑๕ ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ ก.พ.ค. จะพิจารณาวินิจฉัยเองหรือจะตั้ง คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ เพ่อื ทําหนาท่ีเปนผูพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณก็ได ท้ังน้ี ใหเปนไปตามท่ี กาํ หนดในกฎ ก.พ.ค.

มาตรา ๑๑๖ เมื่อ ก.พ.ค. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณแลว ใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจ สงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ดําเนนิ การใหเปนไปตามคําวินิจฉัยน้ันภายในสามสิบวันนับแตวันท่ี ก.พ.ค. มีคําวนิ จิ ฉยั

ในกรณที ผี่ ูอทุ ธรณไ มเ ห็นดว ยกบั คําวนิ ิจฉยั อทุ ธรณของ ก.พ.ค. ใหฟองคดตี อ ศาลปกครองสงู สดุ ภายในเกา สิบวนั นับแตว ันทที่ ราบหรือถือวา ทราบคําวินิจฉัยของ ก.พ.ค.

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๔๓ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

ผูบังคับบัญชาผูใดไมปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาเปนการจงใจละเวนการปฏิบัติหนาที่ โดยมิชอบเพอ่ื ใหเ กดิ ความเสยี หายแกบ คุ คลอน่ื

มาตรา ๑๑๗ ในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ตี ามพระราชบัญญตั นิ ี้ ใหก รรมการ ก.พ.ค. และกรรมการ วนิ ิจฉัยอทุ ธรณ เปนเจา พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา และใหมีอาํ นาจดงั ตอ ไปนี้

(๑) สั่งใหผ ูบังคับบญั ชาซึ่งสั่งลงโทษหรือสัง่ ใหออกจากราชการอันเปนเหตุใหมีการอุทธรณ สงสาํ นวนการสอบสวนและการลงโทษให ก.พ.ค. ภายในเวลาท่ีกาํ หนด

(๒) สั่งใหก ระทรวง กรม สว นราชการ รัฐวสิ าหกิจ และหนวยงานอ่ืนของรัฐรวมตลอดทั้ง องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เก่ียวของสอบสวนใหมหรือสอบสวนเพิ่มเติมหรือสงตัวขาราชการ หรอื เจา หนา ท่ใี นสังกดั มาใหถอยคํา ในการน้ีจะกําหนดระยะเวลาในการสอบสวนใหมหรือสอบสวน เพ่มิ เตมิ ไวด ว ยกไ็ ด

(๓) มีคาํ สั่งใหขา ราชการ พนกั งาน หรือลูกจางของกระทรวง กรม สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนว ยงานอื่นของรัฐ หรือองคกรปกครองสว นทองถ่นิ หรอื บุคคลใดทีเ่ กี่ยวของ มาใหถอยคําหรือ ใหสงเอกสารหรือหลักฐานทเี่ กีย่ วขอ ง

(๔) เขาไปในอาคาร หรือสถานท่ีใด ๆ ที่เก่ียวของกับการปฏิบัติหนาท่ีของ ก.พ.ค. ทงั้ น้ี ในระหวา งพระอาทิตยขนึ้ ถึงพระอาทติ ยตก หรอื ในเวลาทาํ การของสถานทีน่ นั้

(๕) สอบสวนใหมหรอื สอบสวนเพิ่มเติม มาตรา ๑๑๘ การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณตามมาตรา ๑๑๔ ใหดําเนินการใหแลวเสร็จ ภายในหนง่ึ รอ ยย่ีสบิ วันนับแตวันที่ไดรับอทุ ธรณ เวนแตมีเหตุขัดของที่ทําใหการพิจารณาไมแลวเสร็จ ภายในระยะเวลาดังกลาว ก็ใหขยายระยะเวลาไดอีกซ่ึงไมเกินสองคร้ัง โดยแตละคร้ังจะตองไมเกิน หกสิบวัน และใหบนั ทกึ เหตขุ ัดขอ งใหป รากฏไวดว ย มาตรา ๑๑๙ ขาราชการพลเรือนสามญั ซง่ึ โอนมาตามมาตรา ๖๔ ผูใดถูกสั่งลงโทษทางวินัย อยูกอนวันโอนมาบรรจุ และผูน้ันมีสิทธิอุทธรณไดตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารงานบุคคล สวนทองถ่ินหรือกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการที่โอนมาแตยังไมไดใชสิทธิอุทธรณตามกฎหมาย ดังกลาว ก็ใหผูนั้นมีสิทธิอุทธรณตามมาตรา ๑๑๔ ได แตถาผูนั้นไดใชสิทธิอุทธรณตามกฎหมาย วาดวยระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถ่ินหรือกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการที่โอนมาไวแลว

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๔๔ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

และในวันทีผ่ ูนน้ั ไดโ อนมาบรรจุเปน ขา ราชการพลเรอื นสามัญ การพิจารณาวนิ ิจฉัยอทุ ธรณยังไมแลวเสร็จ ก็ใหสงเรอื่ งให ก.พ.ค. เปนผพู ิจารณาอทุ ธรณ

มาตรา ๑๒๐ ในการพจิ ารณาวินจิ ฉยั อุทธรณใ ห ก.พ.ค. มีอํานาจไมรับอุทธรณ ยกอุทธรณ หรือมีคําวินิจฉัยใหแกไขหรือยกเลิกคําส่ังลงโทษ และใหเยียวยาความเสียหายใหผูอุทธรณ หรือ ใหดําเนินการอ่นื ใดเพื่อประโยชนแ หงความยตุ ธิ รรม ตามระเบยี บที่ ก.พ.ค. กาํ หนด

การวนิ จิ ฉยั ใหแ กไ ขหรือใหด ําเนนิ การอืน่ ตามวรรคหนึง่ ก.พ.ค. จะใหเพิ่มโทษไมได เวนแต เปนกรณไี ดรับแจงจาก ก.พ. ตามมาตรา ๑๐๔ วาสมควรเพ่ิมโทษ ในกรณีเชนนั้น ก.พ.ค. มีอํานาจ วนิ ิจฉยั ใหเ พมิ่ โทษได

มาตรา ๑๒๑ เมื่อมีกรณีดงั ตอไปน้ี กรรมการวนิ จิ ฉัยอุทธรณอาจถูกคดั คานได (๑) รูเ ห็นเหตุการณใ นการกระทําผิดวินัยทีผ่ อู ุทธรณถูกลงโทษหรือการถกู ส่งั ใหออกจากราชการ (๒) มสี ว นไดเสียในการกระทาํ ผิดวนิ ัยทผี่ อู ุทธรณถูกลงโทษหรอื การถกู ส่ังใหออกจากราชการ (๓) มสี าเหตุโกรธเคอื งกบั ผูอุทธรณ (๔) เปนผกู ลาวหา หรือเปน หรือเคยเปน ผบู งั คบั บัญชาผสู ่ังลงโทษหรอื สง่ั ใหออกจากราชการ (๕) เปนผูมีสวนเกี่ยวของกับการดําเนินการทางวินัยหรือการสั่งใหออกจากราชการ ทผ่ี ูอุทธรณถูกลงโทษหรอื ถกู ส่งั ใหอ อกจากราชการ (๖) มีความเกยี่ วพันทางเครือญาตหิ รอื ทางการสมรสกับบุคคลตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) อันอาจกอ ใหเกิดความไมเปน ธรรมแกผ อู ทุ ธรณ กรรมการวินิจฉัยอุทธรณซ่ึงมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหแจงตอประธาน ก.พ.ค. และถอนตัว จากการพิจารณาวินจิ ฉยั อุทธรณ การย่นื คาํ คัดคาน และการพิจารณาคําคัดคา น ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.ค.

หมวด ๑๐ การรอ งทกุ ข

มาตรา ๑๒๒ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีความคับของใจอันเกิดจากการปฏิบัติหรือ ไมปฏบิ ัติตอ ตนของผบู งั คบั บัญชา และเปน กรณีท่ีไมอ าจอุทธรณตามหมวด ๙ การอุทธรณ ได ผูน้ัน มสี ทิ ธิรองทกุ ขไดต ามหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการท่กี ําหนดไวในหมวดนี้

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๔๕ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

มาตรา ๑๒๓ การรองทุกขท่ีเหตุเกิดจากผูบังคับบัญชา ใหรองทุกขตอผูบังคับบัญชา ช้ันเหนือขึ้นไป ตามลาํ ดบั

การรองทุกขท ่ีเหตเุ กดิ จากหัวหนาสวนราชการระดับกรมท่ีอยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบ การปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงรัฐมนตรีเจาสังกัด หรือ นายกรัฐมนตรี ใหร องทกุ ขต อ ก.พ.ค.

เมื่อ ก.พ.ค. ไดพ จิ ารณาวนิ ิจฉยั เรอ่ื งรอ งทกุ ขประการใดแลว ใหหัวหนาสวนราชการระดับกรม ที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี ปลดั กระทรวง รฐั มนตรเี จา สังกัด หรอื นายกรฐั มนตรี แลวแตก รณี ดาํ เนนิ การใหเปนไปตามคาํ วนิ จิ ฉัย ของ ก.พ.ค.

การรองทุกขและการพิจารณาวินิจฉัยเร่ืองรองทุกขตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหเปนไป ตามท่กี ําหนดในกฎ ก.พ.ค.

มาตรา ๑๒๔ ในการพจิ ารณาวินิจฉัยเร่ืองรองทุกขให ก.พ.ค. มีอํานาจไมรับเร่ืองรองทุกข ยกคํารองทุกข หรือมีคําวินิจฉัยใหแกไขหรือยกเลิกคําส่ัง และใหเยียวยาความเสียหายใหผูรองทุกข หรือใหดําเนินการอน่ื ใดเพื่อประโยชนแหง ความยตุ ธิ รรมตามระเบยี บท่ี ก.พ.ค. กาํ หนด

ในการพิจารณาวินิจฉัยเร่ืองรองทุกข ก.พ.ค. จะพิจารณาวินิจฉัยเอง หรือจะต้ังกรรมการ ก.พ.ค. คนหน่ึง หรือจะต้ังคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกข เพ่ือทําหนาที่เปนผูพิจารณาวินิจฉัย เรื่องรองทุกขก็ได ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ ก.พ.ค. และในการปฏิบัติหนาที่ตาม พระราชบัญญัตินี้ ใหกรรมการวินิจฉัยรองทุกขเปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และใหมี อํานาจตามมาตรา ๑๑๗ โดยอนุโลม

มาตรา ๑๒๕ เมือ่ มกี รณีดงั ตอไปนี้ กรรมการวินิจฉัยรอ งทุกขอ าจถกู คัดคา นได (๑) เปนผูบังคับบัญชาผูเปนเหตุใหเกิดความคับของใจ หรือเปนผูอยูใตบังคับบัญชาของ ผบู งั คบั บญั ชาดงั กลาว (๒) มีสว นไดเสียในเรือ่ งที่รอ งทุกข (๓) มีสาเหตุโกรธเคืองกบั ผูรองทกุ ข (๔) มีความเก่ียวพันทางเครือญาติหรือทางการสมรสกับบุคคลตาม (๑) (๒) หรือ (๓) อนั อาจกอใหเกิดความไมเ ปนธรรมแกผ รู อ งทกุ ข

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๔๖ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา

กรรมการวินิจฉัยรองทุกขซ่ึงมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหแจงตอประธาน ก.พ.ค. และถอนตัว จากการพจิ ารณาวินิจฉัยเร่ืองรอ งทุกข

การยน่ื คําคดั คาน และการพจิ ารณาคาํ คัดคาน ใหเปนไปตามทก่ี ําหนดในกฎ ก.พ.ค.

หมวด ๑๑ การคมุ ครองระบบคณุ ธรรม

มาตรา ๑๒๖ ในกรณีท่ี ก.พ.ค. เหน็ วากฎ ระเบยี บ หรือคําส่ังใดที่ออกตามพระราชบัญญัติน้ี และมุงหมายใหใชบังคับเปนการทั่วไป ไมสอดคลองกับระบบคุณธรรมตามมาตรา ๔๒ ให ก.พ.ค. แจงใหหนวยงานหรือผูออกกฎ ระเบียบ หรือคําสั่งดังกลาวทราบ เพ่ือดําเนินการแกไข หรือยกเลิก ตามควรแกก รณี

ลกั ษณะ ๕ ขา ราชการพลเรอื นในพระองค

มาตรา ๑๒๗ การแตงต้ังและการใหขาราชการพลเรือนในพระองคพนจากตําแหนง ใหเ ปนไปตามพระราชอัธยาศัย

เพ่ือประโยชนในการบริหารงานบุคคลจะตราพระราชกฤษฎีกากําหนดหลักเกณฑ วิธีการ เกี่ยวกับการกําหนดตําแหนง การใหไดรับเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง การบรรจุ การแตงตั้ง การเพิ่มพนู ประสทิ ธภิ าพและเสรมิ สรา งแรงจงู ใจในการปฏบิ ตั ิราชการ การรักษาจรรยา การรักษาวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ การรองทุกข และการอื่นตามท่ีจําเปนของขาราชการพลเรือน ในพระองคก ไ็ ด แตทัง้ น้ีตองไมกระทบตอพระราชอํานาจตามวรรคหน่งึ

พระราชกฤษฎีกาตามวรรคสองจะกําหนดใหนําบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ทั้งหมด หรอื บางสว น มาใชบ งั คับหรือจะกําหนดใหแ ตกตางจากท่บี ญั ญตั ิในพระราชบญั ญตั ินี้ก็ได

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๑๒๘ ให ก.พ. อ.ก.พ. วิสามัญ และ อ.ก.พ. สามัญ ซ่ึงปฏิบัติหนาท่ีอยูในวัน กอนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ปฏิบัติหนาท่ีตอไปจนกวาจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๔๗ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา

แตงตง้ั ก.พ. หรอื จนกวา จะไดแตง ตงั้ อ.ก.พ. วสิ ามญั หรืออนุกรรมการใน อ.ก.พ. สามัญ แลวแตกรณี ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี

การดําเนินการแตงตั้ง ก.พ. ใหกระทําใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยย่ีสิบวันนับแตวันที่ พระราชบญั ญัตนิ ี้ใชบ ังคบั

มาตรา ๑๒๙ ในระหวางท่ียังมิไดดําเนินการใหมี ก.พ.ค. ให ก.พ. ทําหนาที่ ก.พ.ค. ตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางกอนจนกวาจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง ก.พ.ค. ตามพระราชบัญญตั นิ ี้

การดาํ เนนิ การแตงตั้ง ก.พ.ค. ใหกระทําใหแลวเสร็จภายในหน่ึงรอยแปดสิบวันนับแตวันท่ี พระราชบัญญัตินใี้ ชบังคับ

มาตรา ๑๓๐ ผูใดเปนขาราชการพลเรือนสามัญ หรือขาราชการพลเรือนในพระองค ตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ อยูในวันกอนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ ใชบังคับ ใหผูนั้นเปนขาราชการพลเรือนสามัญ หรือขาราชการพลเรือนในพระองคตามพระราชบัญญัติน้ี แลว แตกรณี ตอไป

มาตรา ๑๓๑ ในระหวางท่ี ก.พ. ยังมิไดจัดทํามาตรฐานกําหนดตําแหนงตามมาตรา ๔๘ บทบัญญัตใิ นลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือนในพระองค ยังไมใชบังคับ โดยใหนําบทบัญญัติในลักษณะ ๓ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ และ ที่แกไขเพ่ิมเติม ตลอดจนบัญชีอัตราเงินเดือนขาราชการพลเรือนและบัญชีอัตราเงินประจําตําแหนง ขาราชการพลเรือนทา ยพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง พ.ศ. ๒๕๓๘ และท่ีแกไขเพิ่มเติม มาใชบังคบั แกข า ราชการพลเรือนสามัญและขาราชการพลเรือนในพระองคไปพลางกอนจนกวา ก.พ. จะจดั ทาํ มาตรฐานกําหนดตําแหนงเสรจ็ และจัดตําแหนง ขาราชการพลเรือนสามัญของทุกสวนราชการ เขา ประเภทตาํ แหนง สายงาน และระดบั ตาํ แหนง ตามมาตรฐานกําหนดตําแหนง และประกาศใหทราบ จึงใหนําบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือน ในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีมาใชบังคับต้ังแตวันท่ี ก.พ. ประกาศเปนตนไป และใหผูบังคับบัญชา ส่งั แตง ตง้ั ขา ราชการใหดํารงตําแหนง ใหมภ ายในสามสบิ วันนบั แตวันท่ี ก.พ. ประกาศ

เลม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๒ ก หนา ๔๘ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา

ในการจัดตาํ แหนง และการแตงต้ังขาราชการพลเรือนสามัญตามวรรคหน่ึง หากมีเหตุผลและ ความจําเปน ก.พ. อาจอนุมัติใหแตงตั้งขาราชการพลเรือนสามัญผูมีคุณสมบัติตางไปจากคุณสมบัติเฉพาะ สาํ หรับตาํ แหนง ตามท่ีกฎหมายกําหนดไวเปนการเฉพาะตวั ได

ให ก.พ. ดําเนนิ การประกาศตามวรรคหน่ึงใหแลวเสร็จภายในหน่ึงปนับแตวันท่ีพระราชบัญญัติน้ี ใชบงั คบั

มาตรา ๑๓๒ ในระหวา งทยี่ ังมิไดต ราพระราชกฤษฎีกา หรือออกกฎ ก.พ. ขอบังคับ หรือ ระเบียบหรือกําหนดกรณีใด เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนําพระราชกฤษฎีกา กฎ ก.พ. ขอบังคับ หรือระเบียบหรือกรณีท่ีกําหนดไวแลวซึ่งใชอยูเดิมมาใชบังคับเทาที่ไมขัดหรือแยงกับ พระราชบญั ญตั ินี้

ในกรณีที่ไมอาจนําพระราชกฤษฎกี า กฎ ก.พ. ขอบังคับ หรือระเบียบหรือกรณีที่กําหนดไว แลว มาใชบ งั คบั ไดตามวรรคหนึ่ง การจะดําเนินการประการใดใหเ ปน ไปตามท่ี ก.พ. กาํ หนด

มาตรา ๑๓๓ ขาราชการพลเรือนผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัยหรือกรณีท่ีสมควรใหออก จากราชการอยูกอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรอื นในพระองค แหง พระราชบัญญัตนิ ใ้ี ชบ งั คับ ใหผูบังคับบัญชาตามพระราชบัญญัตินี้ มอี าํ นาจสง่ั ลงโทษผูนนั้ หรอื สั่งใหผนู น้ั ออกจากราชการตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน ท่ีใชอยูในขณะนั้น สวนการสอบสวน การพิจารณา และการดําเนินการเพ่ือลงโทษหรือใหออก จากราชการ ใหดําเนินการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี เวน แต

(๑) กรณีทีผ่ ูบ ังคับบัญชาไดสงั่ ใหสอบสวนโดยถูกตองตามกฎหมายท่ีใชอยูในขณะน้ันไปแลว กอนวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือน ในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ และยังสอบสวนไมเสร็จก็ใหสอบสวนตามกฎหมายนั้น ตอไปจนกวาจะแลวเสร็จ

(๒) ในกรณีท่ีไดมีการสอบสวนหรือพิจารณาโดยถูกตองตามกฎหมายท่ีใชอยูในขณะนั้น เสร็จไปแลวกอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหการสอบสวนหรือพิจารณา แลวแตกรณี นัน้ เปน อันใชไ ด

เลม ๑๒๕ ตอนท่ี ๒๒ ก หนา ๔๙ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา

(๓) กรณีที่ไดมีการรายงานหรือสงเร่ือง หรือนําสํานวนเสนอ หรือสงให อ.ก.พ. สามัญใด พิจารณาโดยถูกตองตามกฎหมายที่ใชอยูในขณะนั้น และ อ.ก.พ. สามัญพิจารณาเร่ืองนั้นยังไมเสร็จ ก็ให อ.ก.พ. สามัญ พจิ ารณาตามกฎหมายน้นั ตอ ไปจนกวา จะแลวเสร็จ

มาตรา ๑๓๔ ขา ราชการพลเรอื นซึง่ โอนมาจากพนกั งานสว นทองถ่นิ หรือขาราชการประเภทอื่น กอนวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือน ในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ผูใดมีกรณีกระทําผิดวินัยหรือกรณีที่สมควรใหออกจากงาน หรือใหออกจากราชการตามกฎหมายวา ดวยระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นหรือกฎหมายวาดวย ระเบยี บขา ราชการนั้นอยกู อ นวันทีบ่ ทบญั ญตั ใิ นลกั ษณะ ๔ ขาราชการพลเรอื นสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรอื นในพระองค แหง พระราชบัญญัตนิ ้ใี ชบังคับ ใหผูบังคับบัญชาตามพระราชบัญญัตินี้ มีอาํ นาจดาํ เนินการทางวนิ ัยแกผ ูนั้น หรือดําเนินการสั่งใหผูน้ันออกจากราชการได ทั้งน้ี ใหนํามาตรา ๑๐๖ มาใชบังคับโดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๓๕ ผูใดถูกสั่งลงโทษหรือถูกสั่งใหออกจากราชการตามพระราชบัญญัติระเบียบ ขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ถายังมิไดยื่นอุทธรณหรือรองทุกขตามพระราชบัญญัติดังกลาว และยงั ไมพ น กาํ หนดเวลาอทุ ธรณหรือรอ งทุกขใ นวนั ทบ่ี ทบญั ญตั ิในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือนในพระองค แหง พระราชบัญญัตินใ้ี ชบังคับ ใหมีสิทธิอุทธรณหรือ รองทุกขตามพระราชบัญญัติน้ีไดภายในสามสิบวันนับแตวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการ พลเรือนสามญั และลกั ษณะ ๕ ขา ราชการพลเรือนในพระองค แหง พระราชบัญญัตินีใ้ ชบ ังคบั

มาตรา ๑๓๖ เรอ่ื งอุทธรณและเรื่องรอ งทกุ ขตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่ไดย่นื ไวก อ นวันทีบ่ ทบญั ญตั ใิ นลกั ษณะ ๔ ขา ราชการพลเรือนสามญั และลกั ษณะ ๕ ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับและอยูในอํานาจการพิจารณาของ อ.ก.พ. สามัญ หรอื ก.พ. ให อ.ก.พ. สามัญ หรือ ก.พ. แลว แตก รณี พจิ ารณาตอไปจนกวา จะแลวเสร็จ

เรือ่ งอทุ ธรณแ ละเร่ืองรองทุกขต ามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ท่ีไดยื่นตอ อ.ก.พ. สามัญ หรือ ก.พ. ในวันหรือหลังวันท่ีบทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการ พลเรือนสามัญ และลักษณะ ๕ ขาราชการพลเรือนในพระองค แหงพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับและ เปนกรณีท่ีมีการลงโทษหรือสั่งการไวกอนวันที่บทบัญญัติในลักษณะ ๔ ขาราชการพลเรือนสามัญ