สภาพการจ ดการเร ยนการสอนว ทยาศาสตร ม.ต น การปฏ บ ต การทดลอง

สภาพการจ ดการเร ยนการสอนว ทยาศาสตร ม.ต น การปฏ บ ต การทดลอง

แชร์งานครู Teachers Sharing Download

  • Publications :0
  • Followers :0

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.3 ล.2

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.3 ล.2 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.3 ล.2

ถ ่ า ย ท อ ด ล ั ก ษ ณ ะ ท า ง พ ั น ธ ุ ก ร ร ม ส่งิ ไมม่ ชี ีวติ สิ่งมีชีวิตต้องการอาหาร มีการหายใจ

สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธกุ รรมที่ เจรญิ เตบิ โต ขับถา่ ย เคลือ่ นไหว ตอบสนองต่อสิ่ง

ม ี ผ ล ต ่ อ ส ิ ่ ง ม ี ช ี ว ิ ต ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย เร้าและสืบพนั ธุไ์ ด้ลกู ท่ีมีลกั ษณะคล้ายคลึงกับพ่อ

ทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิง่ มีชีวิต รวมทัง้ แมส่ ่วนสิ่งไมม่ ีชีวติ จะไมม่ ีลักษณะดังกล่าว

นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน

มาตรฐาน ว 2.1

ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้

5. เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุโดย • วัสดุแต่ละชนดิ มสี มบัตกิ ารดดู ซับนำ้ แตกต่างกัน

ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และระบุการนำสมบัติ จึงนำไปทำวัตถุเพื่อใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน

การดูดซับน้ำของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทำ เช่นใช้ผ้าที่ดูดซับน้ำได้มากทำผ้าเช็ดตัว ใช้

วตั ถใุ นชีวติ ประจำวนั พลาสติกซึง่ ไม่ดูดซับน้ำทำรม่

6. เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุโดย • วัสดแุ ตล่ ะชนดิ มีสมบัติการดดู ซบั น้ำแตกตา่ งกัน

ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และระบุการนำสมบัติ จึงนำไปทำวัตถุเพื่อใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน

การดูดซับน้ำของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทำ เช่นใช้ผ้าที่ดูดซับน้ำได้มากทำผ้าเช็ดตัว ใช้

วตั ถุในชีวิตประจำวัน พลาสตกิ ซง่ึ ไมด่ ดู ซบั น้ำทำรม่

7. อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจาก • วัสดุบางอย่างสามารถนำมาผสมกันซึ่งทำให้ได้

การนำวัสดุมาผสมกันโดยใช้หลักฐานเชิง สมบัติที่เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตาม

ประจักษ์ ต้องการ เช่น แป้งผสมน้ำตาลและกะทิ ใช้ทำ

ขนมไทย ปูนปลาสเตอร์ผสมเยื่อกระดาษใช้ทำ

กระปุกออมสิน ปูนผสมหิน ทราย และน้ำใช้ทำ

คอนกรตี

8. เปรียบเทยี บสมบตั ิท่ีสังเกตได้ของวัสดุ เพื่อนำ • การนำวัสดุมาทำเป็นวัตถุในการใช้งานตาม

มาทำเป็นวัตถุในการใช้งานตามวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ขึ้นอยู่กับสมบัติของวัสดุ วัสดุที่ใช้

และอธิบายการนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ แลว้ อาจนำกลบั มาใช้ใหมไ่ ด้ เช่น กระดาษใชแ้ ล้ว

โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ อาจนำมาทำเป็นจรวดกระดาษ ดอกไม้ประดิษฐ์

9. ตระหนักถงึ ประโยชน์ของการนำวัสดุทีใ่ ช้แล้ว ถุงใส่ของ

กลับมาใช้ใหม่ โดยการนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมา

ใช้ใหม่

มาตรฐาน ว 2.3

ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้

10. บรรยายแนวการเคลื่อนที่ของแสงจาก • แสงเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิดแสงทุกทิศทาง

แหล่งกำเนิดแสง และอธิบายการมองเห็นวัตถุ เปน็ แนวตรง เม่ือมแี สงจากวตั ถุมาเข้าตาจะทำให้

จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ มองเห็นวัตถุนั้น การมองเห็นวัตถุที่เป็น

11. ตระหนักในคุณค่าของความรู้ของการ แหล่งกำเนิดแสง แสงจากวัตถุนั้นจะเข้าสู่ตา

มองเห็นโดยเสนอแนะแนวทางการป้องกัน โดยตรงส่วนการมองเห็นวัตถุท่ีไม่ใช่แหล่งกำเนิด

อันตรายจากการมองวัตถุที่อยู่ในบริเวณที่มีแสง แสง ต้องมีแสงจากแหล่งกำเนิดแสงไปกระทบ

สวา่ งไม่เหมาะสม วัตถุแล้วสะท้อนเข้าตา ถ้ามีแสงที่สว่างมาก ๆ

เข้าสู่ตาอาจเกิดอันตรายต่อตาได้ จึงต้อง

หลีกเลี่ยงการมองหรือใช้แผ่นกรองแสงที่มี

คุณภาพเมื่อจำเป็น และต้องจัดความสว่างให้

เหมาะสมกับการทำกจิ กรรมต่าง ๆ เชน่ การอ่าน

ห น ั ง ส ื อ ก า ร ด ู จ อ โ ท ร ท ั ศ น ์ ก า ร ใ ช้

โทรศัพทเ์ คลือ่ นท่แี ละแทบ็ เลต็

มาตรฐาน ว 3.2

ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้

12. ระบุส่วนประกอบของดิน และจำแนกชนิด • ดินประกอบด้วยเศษหิน ซากพืช ซากสัตว์ผสม

ของดินโดยใช้ลักษณะเนื้อดินและการจับตัวเป็น อยู่ในเนื้อดิน มีอากาศและน้ำแทรกอยู่ตาม

เกณฑ์ ช่องว่างในเนื้อดิน ดินจำแนกเป็น ดินร่วน ดิน

13. อธิบายการใช้ประโยชน์จากดิน จากข้อมูล เหนยี วและดินทราย ตามลกั ษณะเนือ้ ดนิ และการ

ท่รี วบรวมได้ จับตัวของดินซึ่งมีผลต่อการอุ้มน้ำที่แตกต่างกัน

• ดินแต่ละชนิดนำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน

ตามลักษณะและสมบตั ิของดนิ

มาตรฐาน ว 4.2

ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้

14. แสดงลำดับขั้นตอนการทำงานหรือการ • การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหา ทำได้โดยการ

แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือ เขียนบอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์

ข้อความ • ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมตัวต่อ 6-12 ชิ้น

การแตง่ ตวั มาโรงเรยี น

15. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขยี นโปรแกรมส่งั ให้

หรอื สอ่ื และตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม ตัวละครทำงานตามท่ีต้องการ และตรวจสอบ

ข้อผดิ พลาด ปรับแกไ้ ขใหไ้ ดผ้ ลลัพธ์ตามทก่ี ำหนด

• การตรวจหาข้อผดิ พลาด ทำไดโ้ ดยตรวจสอบ

คำสัง่ ท่ีแจ้งข้อผดิ พลาด หรือหากผลลพั ธ์ไม่

เปน็ ไปตามทีต่ อ้ งการให้ตรวจสอบการทำงานที

ละคำสัง่

• ซอฟตแ์ วร์หรอื ส่อื ทีใ่ ช้ในการเขียนโปรแกรม

เชน่ ใช้บัตรคำสั่งแสดงการเขยี นโปรแกรม,

Code.org

16. ใช้เทคโนโลยีในการสรา้ ง จัดหมวดหมู่ คน้ หา • การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้น เช่น การเข้า

จัดเกบ็ เรียกใชข้ อ้ มูลตามวตั ถปุ ระสงค์ และออกจากโปรแกรม การสรา้ งไฟล์ การจัดเก็บ

การเรียกใช้ไฟล์ การแก้ไขตกแต่งเอกสาร ทำได้

ในโปรแกรม เชน่ โปรแกรมประมวลคำ โปรแกรม

กราฟิก โปรแกรมนำเสนอ

• การสร้าง คัดลอก ยา้ ย ลบ เปลยี่ นชื่อ จัดหมวด

หมู่ไฟล์ และโฟลเดอร์อย่างเป็นระบบจะทำให้

เรียกใช้ คน้ หาข้อมลู ได้ง่ายและรวดเร็ว

17. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เชน่

ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกัน รู้จักข้อมูลส่วนตัว อันตรายจากการเผยแพร่

ดูแลรกั ษาอปุ กรณเ์ บ้ืองต้น ใช้งานอยา่ งเหมาะสม ข้อมูลสว่ นตวั และไมบ่ อกขอ้ มลู สว่ นตัวกับบุคคล

อื่นยกเว้นผู้ปกครองหรือครู แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อ

ต้องการความช่วยเหลือเกี่ยวกับการใช้งาน

• ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดูแลรักษา

อุปกรณ์ เช่น ไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ ทำความ

สะอาดใชอ้ ปุ กรณ์อย่างถูกวิธี

• การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดท่านั่งให้ถูก

ต้องการพักสายตาเมื่อใช้อุปกรณ์เป็นเวลานาน

ระมดั ระวังอุบตั ิเหตุจากการใช้งาน

คำอธบิ ายรายวชิ า

กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว 12101

ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 เวลา 80 ชวั่ โมง/ปี

ศึกษาและเรียนรู้เกยี่ วกับลกั ษณะสำคัญของส่ิงมีชวี ิตและส่ิงไม่มีชีวิต พืชต้องการแสงและน้ำเพื่อการ

เจริญเติบโต ความจำเป็นที่พืชต้องได้รับน้ำและแสงเพื่อการเจริญเติบโตโดยดูแลพืชให้ได้รับสิ่งนั้นอย่าง

เหมาะสม วัฏจักรชีวิตของพืชดอก สมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุและการนำสมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุไป

ประยกุ ต์ใชใ้ นการทำวตั ถุในชีวิตประจำวนั วสั ดทุ ี่เกดิ จากการนำวัสดุมาผสมกัน สมบัติทส่ี งั เกตได้ของวัสดุเพื่อ

นำมาทำเป็นวัตถใุ นการใช้งานตามวัตถปุ ระสงค์ การนำวสั ดทุ ี่ใช้แล้วกลับมาใชใ้ หม่ ประโยชนข์ องการนำวัสดุที่

ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ แนวการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิดแสงและการมองเห็นวัตถุ คุณค่าของการ

มองเห็น แนวทางการป้องกันอันตรายจากการมองวัตถุทีอ่ ยูใ่ นบริเวณที่มีแสงสวา่ งไม่เหมาะสม ส่วนประกอบ

ของดินและจำแนกชนิดของดิน โดยใชล้ กั ษณะเนอ้ื ดนิ และการจับตัวเป็นเกณฑ์ และการใช้ประโยชนจ์ ากดิน

โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สามารถนำไปใช้อธิบาย แก้ไขปัญหา หรือสร้างสรรค์ พัฒนางานในชีวิตจริงได้ ซึ่งเน้นการเชื่อมโยงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี กับ กระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ และให้มีทักษะสำคัญในการดนั คว้าและสรา้ งองค์ความรู้ โดยใช้กระบนการ สบื เสาะหาความรแู้ ละการแกป้ ญั หาทีห่ ลากหลาย

เพ่อื ให้ผู้เรียนเกิดดวามรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการคิด และมีสว่ นรว่ มในการเรียนรู้ทกุ ข้ันตอน รวมท้ัง สง่ เสรมิ ให้ ผเู้ รียนเกดิ จติ วิทยาศาสตร์และมีเจตคตทิ ี่ดตี ่อการเรียนวทิ ยาศาสตร์

ตัวชีว้ ดั ระบวุ า่ พชื ตอ้ งการแสงและน้ำ เพอ่ื การเจรญิ เติบโต โดยใช้ขอ้ มูลจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ว 1.2 ป.2/1 ตระหนักถึงความจำเป็นท่ีพืชต้องไดร้ ับน้ำและแสง เพอ่ื การเจริญเตบิ โต โดยดูแลพืชให้ได้รับ ว 1.2 ป.2/2 สงิ่ ดังกลา่ วอยา่ งเหมาะสม สร้างแบบจำลองที่บรรยายวฏั จกั รชวี ิตของพชื ดอก ว 1.2 ป.2/3 เปรยี บเทยี บลักษณะของสงิ่ มชี วี ิตและสิ่งไม่มีชีวติ จากข้อมูลทรี่ วบรวมได้ ว 1.3 ป.2/1 เปรียบเทียบสมบัตกิ ารดูดซับนำ้ ของวัสดุโดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ และระบกุ ารนำสมบัติ ว 2.1 ป.2/1 การดูดซับนำ้ ของวสั ดไุ ปประยกุ ต์ใช้ในการทำวัตถใุ นชีวติ ประจำวนั อธิบายสมบัตทิ ีส่ ังเกตไดข้ องวสั ดุทเี่ กดิ จากการนำวัสดุมาผสมกันโดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ว 2.1 ป.2/2 เปรียบเทียบสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุ เพื่อนำมาทำเป็นวัตถุในการใช้งานตามวัตถุประสงค์ และ ว 2.1 ป.2/3 อธบิ ายการนำวสั ดุทใี่ ชแ้ ล้วกลับมาใชใ้ หม่ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์

ว 2.1 ป.2/4 ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องการนำวัสดทุ ่ีใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ โดยการนำวัสดทุ ี่ใช้แลว้ กลบั มาใช้ใหม่ ว 2.3 ป.2/1 บรรยายแนวการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนิดแสง และอธิบายการมองเห็นวัตถุ จาก

หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ว 2.3 ป.2/2 ตระหนกั ในคุณคา่ ของความรู้ของการมองเห็น โดยเสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั อนั ตราย

จากการมองวตั ถทุ ีอ่ ยใู่ นบรเิ วณทีม่ แี สงสว่างไมเ่ หมาะสม ว 3.2 ป.2/1 บรรยายแนวการเคลอื่ นทขี่ องแสงจากแหลง่ กำเนิดแสง และอธิบายการมองเห็นวัตถุ

จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ว 3.2 ป.2/2 ตระหนักในคุณค่าของความรู้ของการมองเห็น โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตราย

จากการมองวตั ถุท่อี ยใู่ นบริเวณทม่ี แี สงสวา่ งไมเ่ หมาะสม ว 4.2 ป.2/1 แสดงลำดับขั้นตอนการทำงานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือ

ข้อความ ว 4.2 ป.2/2 เขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใช้ซอฟตแ์ วร์หรอื สื่อ และตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม ว 4.2 ป.2/3 ใชเ้ ทคโนโลยีในการสรา้ ง จดั หมวดหมู่ ค้นหาจัดเก็บ เรียกใชข้ ้อมูลตามวตั ถปุ ระสงค์ ว 4.2 ป.2/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกัน

ดูแลรักษาอปุ กรณ์เบ้อื งตน้ ใช้งานอย่างเหมาะสม รวม 17 ตัวชวี้ ัด

โครงสร้างรายวชิ า

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว12101

ปีการศกึ ษา 2565 ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 1 หนว่ ยกิต เวลา 80/ปี ชั่วโมง

ลำดับที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนกั

เรียนรู/้ ตัวชีว้ ัด (ชว่ั โมง) คะแนน

1. เรียนรู้วิทยาศาสตร์ - กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4 5

• บทท่ี 1 ค ื อ ว ิ ธ ี ก า ร แ ล ะ ข ั ้ น ต อ น ที่ การสืบเสาะหาความรู้ นักวิทยาศาสตร์ใช้ดำเนินการเพื่อ

ค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบ่ง

ออกเป็น ๓ ประเภท คือ 1) วิธีการ

ท า ง ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ 2) ท ั ก ษ ะ

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3)

จิตวิทยาศาสตร์

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ คือ

ขั้นตอนการทำงานอย่างเป็นระบบ

ที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการค้นคว้า

หาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมี 5

ขั้นตอน ได้แก่ การตั้งคำถาม การ

คาดคะเนคำตอบ การรวบรวม

ขอ้ มูล การวิเคราะหข์ ้อมูล และการ

สรปุ ผล

ทักษะกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์ คอื ทักษะที่เป็นความ

ชำนาญและความสามารถในการ

สืบเสาะเพื่อค้นหาคำตอบ และการ

แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง

และเหมาะสม โดยนักวิทยาศาสตร์

ได้แบ่งทักษะกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์ออกเป็น 2 ขั้นทักษะ

ขั้นพื้นฐาน 8 ทักษะ และทักษะสูง

ลำดับท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา นำ้ หนกั เรียนรู้/ตัวชีว้ ัด (ชว่ั โมง) คะแนน หรือขั้นผสม 8 ทักษะ รวม 14 ทักษะ ซึ่งในชั้นเรียนนี้นักเรียนตอ้ ง เรียนรู้ทักษะ 5 ทักษะ คือ ทักษะ การวัด ทักษะการใช้จำนวน ทักษะ การตง้ั สมมติฐาน ทกั ษะการทดลอง และทักษะการตีความหมายข้อมูล และลงขอ้ สรุป

จิตวิทยาศาสตร์ คือ ลักษณะ นิสัยของบุคคลที่เกิดขึ้นจาก การศึกษาหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์โดยใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ จิตวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยลักษณะต่างๆ เช่น ความมีเหตุมีผล ความสนใจใฝ่รู้ ความมุ่งมั่น ความอดทน ความ รับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ ความ ละเอียดรอบคอบ

2. ส่ิงแวดล้อมรอบตัว ว 1.3 สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเราน้ัน 10 15 • บทที่ 2 ป.2/1 เปรียบเทียบ ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตและ สิ่งไม่มีชีวิตซึ่งสิ่งมีชีวิตมีลักษณะที่ ส่ิงมีชีวติ และ ลกั ษณะของสงิ่ มีชวี ิต แตกต่างจากสิ่งไม่มีชีวิต คือ สิ่งไม่มชี ีวติ และสิง่ ไม่มีชีวติ จาก สิ่งมีชีวิตจะมีการเคลื่อนที่ กิน ขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ อาหาร ขบั ถ่าย หายใจ เจริญเตบิ โต สืบพันธุ์ และตอบสนองต่อสิ่งเร้า แต่สิ่งไม่มีชีวิตจะไม่มีลักษณะ ดังกล่าว

ลำดับท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา น้ำหนัก 3 เรยี นชีวติ รพู้ ืช เรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ัด (ชั่วโมง) คะแนน • บทท่ี 1 ว 1.2 พืชเปน็ ส่งิ มชี ีวติ ที่มีการเจริญเติบโต การดำรงชีวติ ของพชื ป.2/1 ระบุว่าพืช และจะดำรงชีวิตอยู่ได้ต้องอาศยั น้ำ 12 15 ตอ้ งการแสงและน้ำเพ่ือ แสง และนอกจากนี้ ยังต้องอาศัย เรียนชวี ิตรพู้ ืช การเจริญเติบโต โดยใช้ อากาศ และอาศัยธาตุอาหารอีก 16 15 • บทท่ี 2 ข้อมูลจากหลกั ฐานเชงิ ดว้ ย ประจักษ์ ศึกษาชีวิตของพืช ป.2/2 ตระหนกั ถึง พืชดอกมีหลายชนิด ซึ่งดอก ดอก ความจำเป็นท่พี ืชตอ้ ง ของพืชแต่ละชนิดจะมีลักษณะ ได้รบั น้ำและแสง แตกต่างกันออกไป โดยทั่วไปดอก เพ่อื การเจริญเติบโต ของพืชนั้นประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ โดยดแู ลพชื ให้ได้รบั 4 ส่วน คือ กลีบดอก กลีบเลี้ยง สง่ิ ดงั กล่าวอย่าง เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย เหมาะสม ว 1.2 พืชดอกเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะ ป.2/3 สรา้ ง ออกดอก เมอ่ื ดอกได้รบั การสืบพันธ์ุ แบบจำลองท่ี จะกลายเป็นผล ภายในผลจะมี บรรยายวฏั จักรชวี ติ เมล็ด เมื่อเมล็ดอยู่ในบริเวณท่ี ของพืชดอก เหมาะสม เมล็ดสามารถงอกเป็น ต้นพืชต้นใหม่หมุนเวียนต่อเนื่อง เป็นวฏั จักรชวี ิตของพืช

ลำดบั ที่ ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนัก 4. วัสดรุ อบตวั เรา เรียนรู้/ตัวช้ีวัด (ชัว่ โมง) คะแนน • บทที่ 1 ว 2.1 วัสดแุ ต่ละชนดิ มสี มบตั แิ ตกต่างกัน สมบัติบางประการ ป.2/1 วัสดุบางชนิดมีสมบัติการดูดซับน้ำ 8 10 ของวสั ดุ เปรียบเทียบสมบตั ิ วัสดุบางชนิดเมื่อนำมาผสมกันแล้ว การดูดซับน้ำของ จะได้สมบัติใหม่ที่เหมาะสมต่อการ 10 10 วัสดรุ อบตัวเรา วสั ดโุ ดยใชห้ ลักฐาน นำไปใช้งาน • บทท่ี 2 เชงิ ประจักษ์ และ วสั ดุแต่ละชนิดมีสมบัตเิ ฉพาะตัวที่ ระบกุ ารนำสมบัตกิ าร แตกต่างกันไป สมบัติการดูดซับน้ำ การเลอื กใชว้ ัสดุจาก ดดู ซับนำ้ ของวัสดุไป เป็นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหน่ึงท่ีมีใน สมบัตขิ องวสั ดุ ประยกุ ต์ใช้ในการทำ วสั ดบุ างชนิด เช่น ผ้า กระดาษ เปน็ วตั ถุในชีวิตประจำวนั ตน้ เราจงึ นำวสั ดุท่ีสมบัติการดูดซับ ป.2/2 อธบิ าย น้ำไปใช้ทำวัตถุเพื่อประโยชน์ใน สมบัติที่สงั เกตได้ของ ด้านต่าง ๆ เช่น ใช้ผ้าที่ดูดซับน้ำได้ วัสดุท่ีเกดิ จากการนำ มากทำผ้าเช็ดตัวใช้พลาสติกซึ่งไม่ วัสดุมาผสมกันโดยใช้ ดดู ซบั นำ้ ทำร่ม หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ วัสดุมาผสมกัน เป็นการนำวัสดุ บางอย่างตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ว 2.1 มาผสมเข้าดว้ ยกนั แล้วทำใหม้ ีสมบัติ ป.2/3 เปรียบเทียบ ท ี ่ เ ห ม า ะ ส ม ต ่ อ ก า ร น ำ ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น ์ ไ ด ้ ต า ม จ ุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ ที่ สมบตั ทิ ่ีสังเกตได้ของ ต้องการ วัสดุ เพอื่ นำมาทำเป็น วัตถุในการใชง้ าน ก า ร เ ล ื อ ก ว ั ส ด ุ ม า ท ำ เ ป ็ น ว ั ต ถุ ตามวตั ถุประสงค์ จำเป็นต้องพิจารณาสมบัติของวัสดุ และอธบิ ายการนำ ก่อน เพื่อให้สามารถนำวัสดุมาใช้ วัสดุที่ใชแ้ ลว้ กลับมา งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์หรือ ใชใ้ หม่ โดยใช้ ความต้องการของเราจึงทำให้เราได้ หลักฐานเชิงประจกั ษ์ วัตถุที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม และปลอดภัยตอ่ การใชง้ านตา่ ง ๆ

วัสดุหลายชนิดที่ถูกใช้งานแล้ว สามารถกลับมาใช้ใหม่ได้ เรา เรียกว่า รีไซเคิล (Recycle) โดย

ลำดบั ท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนกั เรยี นรู/้ ตัวชว้ี ัด (ชัว่ โมง) คะแนน 5. แสงในชวี ติ ประจำวนั ป.2/4 ตระหนกั ถงึ สามารถทำได้หลายวิธี เช่น การนำ • บทที่ 1 ประโยชนข์ องการนำ กระดาษที่ใช้แล้วมาประดิษฐ์เป็น 8 10 วสั ดุที่ใชแ้ ลว้ กลับมาใช้ ดอกไม้กระดาษ เป็นต้น ซึ่งการนำ แสงและการ ใหม่ โดยการนำวัสดุท่ีใช้ ว ั ส ด ุ ท ี ่ ใ ช ้ แ ล ้ ว ก ล ั บ ม า ใ ช ้ ใ ห ม ่ มี มองเห็น แล้วกลับมาใชใ้ หม่ ประโยชน์ต่อโลก เพราะทำให้ ปริมาณขยะลดลง และช่วยลดการ ว 2.3 ใ ช ้ ท ร ั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ต ิ ไ ด ้ เ ป็ น ป.2/1 บรรยาย อยา่ งดี

แนวการเคลอื่ นท่ขี อง แสงเคล่ือนที่จากแหล่งกำเนิด แสงจากแหล่งกำเนดิ แสงในทุกทิศทางเป็นแนวตรง แสง และอธิบายการ เมื่อมีแสงจากแหล่งกำเนิดแสงตก มองเหน็ วตั ถุ จาก กระทบที่ผิวของวัตถุแล้วสะท้อนมา หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ เข้าตาของเราจะทำให้เรามองเห็น วัตถุต่าง ๆ แต่ถ้าแสงที่เรามองเห็น ป.2/2 ตระหนกั ใน มีความสวา่ งไมเ่ หมาะสมเข้ามาส่ตู า คณุ ค่าของความรู้ ของเราอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อ ของการมองเหน็ โดย ด ว ง ต า ข อ ง เ ร า ไ ด้ เสนอแนะแนว เราจึงต้องมีแนวทางในการป้องกัน ทางการปอ้ งกนั อันตรายจากแสง อันตรายจากการมอง วตั ถทุ อี่ ย่ใู นบรเิ วณท่ี แสงเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิด มีแสงสว่างไม่ แ ส ง ใ น ท ุ ก ท ิ ศ ท า ง เ ป็ น แ น ว ต ร ง เหมาะสม เมื่อมีแสงจากแหล่งกำเนิดแสงตก กระทบทผี่ วิ ของวัตถุแล้วสะท้อนมา เข้าตาของเราจะทำให้เรามองเห็น วัตถุต่าง ๆ ในการมองดูสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเราใช้สายตาเป็นอวัยวะ สำคัญในการมองและใช้แสงจาก แหล่งกำเนิดแสงจึงทำให้เรา มองเห็นแสงหรือวัตถุต่าง ๆ ได้ชัด

ลำดับท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนกั เรยี นรู้/ตัวช้ีวัด (ชวั่ โมง) คะแนน แต่ถ้าแสงนั้นมีความสว่างที่ไม่ เหมาะสมต่อการมองเห็นอาจจะ สง่ ผลเสียต่อดวงตาของเราได้

ในชีวิตประจำวันเราใช้แสงใน การทำกจิ กรรมต่าง ๆ เราจึงต้องจัด ความสว่างของแสงให้เหมาะสมต่อ การทำกิจกรรมแต่ละกิจกรรมเพื่อ ป้องกันอันตรายจากการมองวัตถุที่ อ ย ู ่ ใ น บ ร ิ เ ว ณ ท ี ่ ม ี แ ส ง ส ว ่ า ง ไ ม่ เหมาะสมที่อาจจะส่งผลเสียต่อตา ของเราได้ซึ่งเรามีแนวทางการ ป้องกันอันตรายจากแสงท่ีมีความ สวา่ งไม่เหมาะสม

6 ดินในท้องถ่นิ ของเรา ว 3.2 ดิน เป็น ทร ัพ ยาก ร ธ ร ร ม ช า ติ 8 15

• บทท่ี 1 ป.2/1 บรรยาย ซึ่งประกอบด้วย เศษหิน ซากพืช

รู้จักดนิ แนวการเคลอื่ นท่ขี อง ซากสัตว์ผสมอยู่ในเนื้อดินมีอากาศ

แสงจากแหล่งกำเนดิ และน้ำแทรกอยู่ตามช่องว่างใน

แสง และอธิบายการ เนื้อดิน ดินจำแนกเป็น ดินร่วน

มองเห็นวัตถุ จาก ดินเหนียว และดินทราย ตาม

หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ลักษณะเนื้อดินและการจับตัวของ

ป.2/2 ตระหนัก ดินซึ่งมีผลต่อการอุ้มน้ำที่แตกต่าง

ในคณุ ค่าของความรู้ กันเราจึงสามารถนำดินแต่ละชนิด

ของการมองเหน็ โดย ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดแ้ ตกตา่ งกัน

เสนอแนะแนว ดินเป็นสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ

ทางการป้องกัน ที่ประกอบด้วย เศษหิน ซากพืช

อันตราย จากการ ซากสัตว์ ซึ่งดินในแต่ละท้องถิ่น มี

มองวัตถุทีอ่ ยู่ใน สมบัติทางกายภาพแตกต่างกัน

บริเวณทมี่ แี สงสว่าง ออกไป

ไมเ่ หมาะสม

ลำดบั ที่ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนัก เรยี นร้/ู ตัวชว้ี ัด (ชว่ั โมง) คะแนน ดินในทอ้ งถนิ่ ของเรา ว 3.2 ดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติท่มี ี • บทท่ี 2 ป.2/2 ความสำคญั ต่อการดำรงชวี ิตของพืช 4 5

ประโยชนจ์ ากดนิ สตั วแ์ ละมนษุ ย์ ซง่ึ สง่ิ มีชวี ติ เกือบทุก 80 70 ชนดิ ใชด้ ินในการดำรงชีวิตไม่ทางใด 30 ก็ทางหน่งึ คะแนนระหว่างเรียน สอบปลายภาค รวมทงั้ สนิ้

1

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รหัสวชิ า ว12101 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 จำนวน 1 หน่วยกิจ

ภาคเรยี นท่ี 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรือ่ ง การสบื เสาะหาความรู้

จำนวน 4 ชว่ั โมง วันท่ีสอน ………………………………….. ผู้สอน นางสาวณฐั ณกิ า ทองทัน

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชี้วดั -

2. สาระสำคญั กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ วิธีการและขั้นตอนที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ดำเนินการเพื่อค้นคว้าหา

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1) วิธีการทาง วทิ ยาศาสตร์ 2) ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 3) จิตวทิ ยาศาสตร์

วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ คือ ขั้นตอนการทำงานอย่างเป็นระบบที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการคน้ คว้าหา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซงึ่ มี 5 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ การต้งั คำถาม การคาดคะเนคำตอบ การรวบรวมข้อมลู การ วิเคราะหข์ ้อมลู และการสรปุ ผล

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ ทักษะที่เป็นความชำนาญและความสามารถในการสืบเสาะ เพื่อค้นหาคำตอบ และการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยนักวิทยาศาสตร์ได้แบ่ง ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ออกเป็น 2 ข้นั ทกั ษะข้นั พน้ื ฐาน 8 ทกั ษะ และทกั ษะสงู หรอื ขัน้ ผสม 6 ทักษะ รวม 14 ทักษะ ซึ่งในชั้นเรียนนี้นักเรียนต้องเรยี นรู้ทักษะ 5 ทักษะ คือ ทักษะการวัด ทักษะการใช้ จำนวน ทกั ษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการทดลอง และทักษะการตคี วามหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรุป

จิตวิทยาศาสตร์ คือ ลกั ษณะนสิ ยั ของบุคคลที่เกิดขึน้ จากการศึกษาหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์โดยใช้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ จิตวิทยาศาสตรป์ ระกอบด้วยลักษณะตา่ งๆ เชน่ ความมเี หตมุ ผี ล ความสนใจ ใฝ่รู้ ความมุง่ มนั่ ความอดทน ความรับผดิ ชอบ ความซอ่ื สัตย์ ความละเอยี ดรอบคอบ

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

  1. อธบิ ายวิธีการทางวิทยาศาสตรไ์ ด้ (K)
  2. อธิบายและใช้ทักษะการวัด การใช้จำนวน การตั้งสมมติฐาน และการตีความหมายข้อมูลและลง ขอ้ สรุป ในการแสวงหาความรู้ได้ (K)
  3. อธบิ ายความหมายของทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ ั้นพน้ื ฐานในแตล่ ะทักษะได้ (K)
  4. อธบิ ายลกั ษณะของคนท่ีมจี ิตวิทยาศาสตร์ได้ (K)
  5. ฝกึ ใช้ทักษะกระบวนการทาวทิ ยาศาสตรไ์ ด้อย่างถกู ต้อง (P)
  6. ฝกึ ฝนการมจี ิตวิทยาศาสตร์ (P)

2

  1. รบั ผิดชอบต่องานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย (A)

4. สาระการเรยี นรู้ วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ เปน็ การศึกษาเกย่ี วกับสิ่งตา่ ง ๆ อย่รู อบตัวเรา โดยมีวธิ กี ารและขน้ั ตอนทใ่ี ชเ้ พ่ือ

ตอบปญั หาทเ่ี ราสงสยั การสืบเสาะหาความรอู้ ย่างเปน็ ระบบ เพอ่ื ให้สามารถค้นหาคำตอบและแก้ไขปัญหาได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม เมื่อเราทำการศึกษาและแสวงหาความรู้ ต่าง ๆ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จะทำให้เกิดจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งทำให้ผู้เรยี นมีความสนใจใฝ่รูส้ ิ่งต่าง ๆ มีความรับผิดชอบ มีเหตุมีผผล และมี ความซอ่ื สัตย์

5. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (5E) 1. ขั้นกระตุ้นความสนใจ (Engagement) ชั่วโมงท่ี 1

1. ครูกระตนุ้ ความสนใจนักเรยี น โดยใช้คำถามดังนี้ - โตขนึ้ ใครอยากเปน็ นกั วิทยาศาสตรบ์ า้ ง (ใหโ้ อกาสนกั เรียนยกมือ)

- คนท่ีจะเปน็ นักวทิ ยาศาสตรค์ วรมลี กั ษณะนิสยั แบบใดบ้าง (แนวคำตอบ: สนใจใฝเ่ รียนรู้ มคี วามรับผิดชอบ มเี หตุมผี ล ละเอยี ดรอบคอบ ชา่ งสังเกต เปน็ ตน้ )

2. จากนัน้ ครใู หน้ กั เรยี นดูภาพอาชพี ต่าง ๆ จากตวั อยา่ งต่อไปนี้

3. จากน้นั ครูตงั้ คำถามโดยมีแนวคำถามดังนี้ - จากภาพ นกั เรียนรจู้ กั อาชีพอะไรบ้าง (แนวตอบ: ชาวนา นักดบั เพลงิ หมอ ทันตแพทย์ ครู และทหาร)

3

- อาชพี ในหมายเลขใดมีหน้าที่รักษาผู้ปว่ ย (แนวตอบ: หมายเลข 3 และ 4) - โตขึ้นใครอยากทำอาชีพเหมอื นในภาพตวั อยา่ งบา้ ง เพราะอะไรจงอธิบาย (แนวตอบ: พิจารณาจากคำตอบของนกั เรียน) 4. ครูกระต้นุ ความสนใจใหน้ ักเรยี นเกี่ยวกับเร่อื งที่จะเรียนโดย การให้นักเรียนออกมาทำสถานการณ์ตัวอย่าง หน้าชั้นเรียนเช่น เด็กชาย B กำลังใช้ไม้บรรทัดวัดความกว้างของโต๊ะเรียน จากนั้นครูเขียนข้อความไว้ บนกระดาน ดังนี้ – ทกั ษะการวัด - ทกั ษะการใชต้ วั เลข - ทักษะการตงั้ สมมตฐิ าน 5. ให้นักเรียนอ่านข้อความบนกระดานแล้วเลือกข้อความให้ สัมพันธ์กับสถานการณ์ที่เด็กชาย B กำลังทำ โดยครใู หน้ ักเรยี นยกมือตอบตามความสมคั รใจโดยครชู ว่ ยตรวจสอบว่าถกู ต้องหรอื ไม่ (แนวตอบ: ทักษะการวัด) (หมายเหตุ: ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล) 2. ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration) ช่ัวโมงที่ 2

1. ครูให้นักเรียนเรียนรู้และอ่านคำศัพท์วิทยาศาสตร์โดยครูติดบัตรคำศัพท์ไว้บนกระดาน โดยครูอ่านนำ และให้นักเรียนอา่ นตาม ดังนี้

Scientist (ไซอึน ทิฟิค) นักวทิ ยาศาสตร์

Measurement (เมช็ เฌอมมึนท) การวัด

Experiment (อิคซ เปริเม็นท) การทดลอง

Science process skill (ไซอึนซ โพเซ็ช ซกิล) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2. ครูใหน้ ักเรยี นฝกึ อ่านคำศพั ท์และคำแปลจากนั้นครูอธบิ าย เพ่อื นำไปสูก่ จิ กรรมท่คี รูจะให้ทำในตอนถัดไป ว่าเป็นการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ - ทักษะการวัด - ทักษะการใช้ตัวเลข และการ ตั้งสมมตฐิ าน เปน็ ตน้

3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน เพื่อทำกิจกรรม ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ โดยมี รายละเอยี ด ดงั นี้

- ครูแจกวสั ดุอุปกรณ์กิจกรรมทกั ษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ โดยมอี ุปกรณด์ ังนี้ นาฬิกาจับเวลา เครื่อง ช่งั นำ้ หนกั สายวัดตัว กระบอกตวง และไมบ้ รรทัด - ครูอธิบายต่อว่า ให้นักเรียนศึกษาอุปกรณ์แต่ละชนิดว่ามีลักษณะการใช้งานเป็นอย่างไร โดยสามารถ สืบค้นจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือเรียน หรือ อินเทอร์เน็ต พร้อมออกมานำเสนอหน้าช้นั เรยี น

4

4. จากนนั้ ครตู ง้ั คำถามเพือ่ ทดสอบความรู้ของนักเรียนหลังจากได้ทำกจิ กรรมไปแลว้ โดยมีแนวคำถามดังน้ี - อปุ กรณช์ นิดใดทีใ่ ช้ตวงปรมิ าตรน้ำ (แนวตอบ: กระบอกตวง) - อปุ กรณ์ชนดิ ใดท่ใี ช้วบั รอบเอว (แนวตอบ: สายวดั ตวั ) - อปุ กรณ์ชนดิ ใดท่ใี ช้ช่ังน้ำหนัก (แนวตอบ: เคร่ืองช่งั นำ้ หนัก) - อปุ กรณ์ชนิดใดท่ใี ชใ้ นการจับเวลาในการว่ิงของนกั กีฬา (แนวตอบ: นาฬกิ าจับเวลา) - อุปกรณช์ นดิ ใดที่ใชว้ ดั ความยาวของกลอ่ งดนิ สอ (แนวตอบ: ไมบ้ รรทดั ) 5. ครูอธิบายเพิม่ เติมว่า “จากกิจกรรมทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์นัน้ นักเรียนสามารถเรียนรู้ทักษะ ทางวิทยาศาสตร์ได้หลากหลายทักษะ เช่นทักษะการวัดที่ใช้เครื่องช่ังมาชั่งน้ำหนักหรือใช้ไม้บรรทัดใน การวดั ความยาวของกลอ่ งดินสอ”

6. ครูใหน้ กั เรยี นดูภาพสัตว์ต่าง ๆ ที่อาศยั อยู่รวมกนั ดัง ตัวอยา่ ง

7. เมื่อดูจบครูให้นักเรียน จับกลุ่ม 3-4 คน จากนั้นครูแจกกระดาษใบงานให้นักเรียนช่วยกันนำข้อมูลที่ได้ จากการสังเกตโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เรียนมาจัดทำข้อมูล จัดประเภทของสัตว์จากใน ภาพออกเป็นประเภท โดยจัดทำข้อมูลในรูปแบบตารางและ บอกจำนวนสัตว์แต่ละประเภทตามที่ สงั เกตเห็นในภาพตวั อย่าง

8. จากการสงั เกตพบวา่ มสี ตั วอ์ ยู่ 10 ชนิด คือ เป็ด ไก่ แกะ มา้ หมู วัว แมว สนุ ขั แพะ และลา 9. สามารถจัดประเภทสตั วอ์ อกเป็น พวกๆ ไดด้ ังตารางต่อไปน้ี

5

ตารางประเภทสัตว์ตา่ ง ๆ ไม่มีปีก รวม 8 10 มปี กี 2

10. โดยครกู ำหนดเวลาให้ ในการทำกจิ กรรม 11. ครขู ออาสาสมัครนักเรียน ให้นำผลการบนั ทึกขอ้ มลู ออกมา อธบิ ายสือ่ ความหมายขอ้ มูล จากการบันทึก

ทลี ะกลมุ่ เพอ่ื ให้เหน็ ความหลากหลาย (ครเู ขยี นขอ้ มลู ท่นี กั เรยี นออกมาพูดไวบ้ นกระดาน) (ครปู ระเมนิ นกั เรยี นโดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมกล่มุ ) 12. ครูให้คำแนะนำและเสนอแนะข้อมูลจากที่นักเรียนนำเสนอ เพื่อให้เกิดความเข้าใจทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตรม์ ากขน้ึ

3 ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป (explanation) ช่วั โมงที่ 3 1. ครูนำกลอ่ งที่ปดิ ฝามดิ ชิดมาวางไว้หนา้ ชัน้ เรียนจากน้นั ครู สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียน โดยทคี่ รูไม่พดู

สงิ่ ใดรอให้นกั เรียนถามแล้วครูเขียนพฤติกรรมของนักเรยี นไวบ้ นกระดานตวั อย่างพฤติกรรมท่ีเป็นไปได้ นกั เรยี นเกิดความสงสัยมคี ำถามเกิดข้ึน เช่น - ครถู อื กลอ่ งอะไรมาดว้ ย - ในกล่องมีอะไรอยู่ - ครเู อากล่องมาทำไม เปน็ ตน้ 2. ครูนำพฤติกรรมของนกั เรียนที่เกิดข้ึนของนักเรียนมาอธิบาย และไขข้อสงสัยของนักเรียนว่าสิง่ ท่ีนักเรยี น แสดงพฤตกิ รรมเหล่านเี้ ปน็ วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ คือ การตง้ั คำถามจากส่งิ ที่เราสงสยั 3. ครูต้งั คำถามเพ่อื กระตนุ้ ความคดิ ของนกั เรียน - เมื่อนักเรยี นเกดิ ความสงสยั เกดิ คำถามข้นึ แล้วนักเรียนมี วิธีการอย่างไรให้ได้คำตอบจากสิ่งท่ีเราสงสัย ครูให้นักเรยี นยกมอื ตอบตามความสมัครใจ แลว้ ครเู ลอื กนักเรยี นทย่ี กมอื ให้ตอบคำถาม (แนวคำตอบ: เช่น ต้องค้นหาคำตอบโดยการถามคุณครู เปิด กล่องออกมาดูว่ามีอะไรอยู่ในนั้นเขย่า กล่องแลว้ ฟังเสยี งซ่ึงนักเรยี นอาจมีคำตอบที่หลากหลาย) 4. ครูอธิบายความรู้จากการตอบของนักเรียนว่า การหาข้อมูล จากสิ่งที่เราสงสัยอย่างเป็นขั้นตอน เรา เรียกว่าวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ 5. ครใู หน้ ักเรยี นแบง่ กล่มุ กลมุ่ ละ 5 คน คละความสามารถ เก่ง ปานกลาง อ่อน เมื่อนักเรียนได้กลมุ่ แลว้ 6. ครูแบ่งเนอื้ หาเกีย่ วกับวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ออกเปน็ 5 หวั ข้อ ดงั น้ี - การต้ังคำถาม

6

- การคาดคะเนคำตอบ - การรวบรวมข้อมูล - การวเิ คราะห์ข้อมูล - การสรุปผล โดยตดิ ไว้เป็นจดุ ต่างๆภายในห้องเรยี น 5 จดุ 7. ครอู ธบิ ายเกีย่ วกับกจิ กรรมโดยให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ตั้งชอื่ กลมุ่ และวางแผนมอบหมายหน้าที่ให้สมาชิกใน กลมุ่ ไปศกึ ษาขอ้ มลู วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรค์ นละ 1 หวั ข้อ เกีย่ วกับเรื่องทต่ี นเองรบั ผดิ ชอบ 8. เม่ือหมดเวลาใหส้ มาชิกทุกคนในกล่มุ นำข้อมลู ทตี่ นเอง รับผดิ ชอบมาอภิปรายรว่ มกันในกลุ่ม 9. จากนั้นครูให้แต่ละกลุ่มนำข้อมูลที่ได้กลับไปศึกษาและทำ ความเข้าใจแล้วนำข้อมูลที่ได้มาแสดงบทบาท สมมตุ ิจากตัวอย่างสถานการณ์ ที่ได้ศกึ ษา ตามขนั้ ตอนของวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ หน้าช้ันเรยี น ตัวอย่างเหตุการณ์ เด็กๆยนื อยทู่ ี่โต๊ะบนโต๊ะมีกะละมังใส่น้ำอยู่ครง่ึ กะละมงั และมีก้อนดนิ น้ำมัน แผน่ โฟม ช้อนพลาสติก และช้อนสเตนเลส วางอยูบ่ นโต๊ะ A: สิง่ ของใดจะลอยน้ำบ้างนะ (การตั้งปญั หา) B: สง่ิ ของทล่ี อยนำ้ ได้น่าจะมี แผน่ โฟม ช้อนพลาสตกิ และดนิ นำ้ มัน (การคาดคะเนคำตอบ) A: ถ้างั้น ลองทดลองเอาดินน้ำมันใส่ลงในกะละมังที่มีน้ำอยู่ แล้วดูว่าดินน้ำมันลอยหรือจมน้ำ (การ รวบรวมขอ้ มลู ) B: จดบันทึกลงในสมุด ดินนำ้ มันจมนำ้ จมนำ้ (การรวบรวม ขอ้ มลู ) A: จากการทดลองสง่ิ ของทล่ี อยน้ำไดแ้ ก่แผ่นโฟมกบั ชอ้ นสเตนเลส (วิเคราะห์ข้อมลู ) B: ที่แผ่นโฟมกับพลาสติกลอยได้เพราะวัตถุทั้ง 2 ชนิดมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำจึงทำให้วัตถุทั้ง 2 ลอยน้ำได้ (วิเคราะหข์ อ้ มูล) A: จากการทดลองทำให้สรปุ ไดว้ า่ แผน่ โฟมและช้อน พลาสติก ลอยน้ำได้ (การสรุปผล) B: เนือ่ งจากส่งิ ของท่ีมคี วามหนาแนน่ นอ้ ยกว่านำ้ จะสามารถลอยนำ้ ได้ (การสรุปผล) 10. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปจากการทำกิจกรรมว่าเกี่ยวข้องกับ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ตามขั้นตอนที่ แสดงบทบาทสมมุติ (ครูประเมนิ นกั เรยี นโดยการใช้แบบประเมนิ การนำเสนอหนา้ ช้ัน) 11. ครูให้การบา้ นนกั เรยี น โดบใบงานท่ี 1-2 เพ่อื ทบทวนความรูค้ วามเขา้ ใจวิธีการทางวทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือมมาก ขึ้น

7

4 ขน้ั ขยายความรู้ (elaboration) 1. ครนู ำบัตรขอ้ ความเกีย่ วกบั ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใสก่ ลอ่ งวางไว้หนา้ ชัน้ เรยี น ได้แก่

การสังเกต การใช้ตวั เลข การวดั

การจำแนกประเภท การลงความเห็นจากข้อมูล

การจดั กระทำและสือ่ ความหมายขอ้ มูล

2. ครูเขียนข้อความไว้บนกระดานเปน็ ข้อๆ ดังน้ี

- จัดผเี ส้อื ออกเปน็ สองกลมุ่ คือกลุ่มสีส้มกบั กลุ่มสฟี า้

- มีผเี สื้อหลากสี เชน่ สีสม้ สีฟา้ เกาะอยู่บนดอกไม้

- ใช้ไมบ้ รรทัดวัดขนาดปีกผีเส้ือ พบวา่ ปกี ผเี ส้อื ยาว 4 เซนตเิ มตร

- ผเี สอ้ื สสี ม้ 3 ตวั สฟี า้ 3 ตวั รวมเป็น 6 ตัว

- มผี เี สือ้ สองกล่มุ คอื กลุ่มสีส้ม สามตัว และกลมุ่ สฟี า้ สามตัว บินวนเวยี นตอมดอกไม้

3. จากน้นั ครูส่มุ เลขทน่ี กั เรียนออกมาทีละคนใหอ้ อกมาหยิบ บัตรข้อความจากในกลอ่ งที่วางไว้หน้าชั้นเรียน

แล้วนำไปติดทา้ ยขอ้ ความบนกระดานทีส่ มั พันธ์กนั จนครบบตั รคำท่คี รเู ตรยี มไว้

4. จากนั้นให้นักเรยี นช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องถ้ามขี ้อผิดพลาดให้นักเรยี นอาสาสมัครออกมาแก้ไขให้

ถูกตอ้ ง

5. ครูให้นักเรียนแต่ละคนทำใบงานท่ี 3 และ 4 เพอ่ื สรุปเกีย่ วกับเรอ่ื ง ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ น

หนังสือเรียนแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.2 เล่ม 1 หน่วยที่ 1 เรื่อง การสืบเสาะหาความรู้ทาง

วทิ ยาศาสตร์ แล้วร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับเร่อื งทีไ่ ดเ้ รยี นมาแล้วท้งั หมดในหนว่ ยท่ี 1

6. ครูให้นักเรียนในกลุ่มตั้งคำถามคนละ 1 คำถามที่เกียวกับ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เรียนมา ทัง้ หมดในหน่วยท่ี 1 แลว้ นำมาถามเพ่อื นในกลุ่มใหช้ ่วยกันอภิปรายและตอบ คำถาม

7. นักเรียนและครูช่วยกันอภิปรายจากการตอบคำถามและครู อธิบายเชื่อมโยงว่า “การใช้วิธีการทาง วิทยาศาสตร์และทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพ้นื ฐานเพื่อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์จะทำให้ นกั เรียนเกิดจติ วทิ ยาศาสตรไ์ ด้ซ่ึงทัง้ หมดเป็นกระบวการทางวิทยาศาสตร์”

8. ใหน้ ักเรยี นบนั ทึกข้อมูลลงในสมดุ งาน 9.นกั เรียนและครชู ่วยกันอภิปรายและสรุปเก่ียวกับกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ อกี ครงั้ เพอ่ื ให้เขา้ ใจยิง่ ข้นึ 10. ครูใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน จากนัน้ ครูใช้คำถาม

กระตุ้นความคดิ ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ตอบคำถาม - จากการทำกจิ กรรมต่างๆทเ่ี ราเรยี นรู้ วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ อะไรบ้าง (การตง้ั คำถาม การคาดคะเนคำตอบ การรวบรวมขอ้ มูล การวเิ คราะห์ขอ้ มูล และการสรปุ ผล)

8

- ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐานมอี ะไรบา้ ง (การสงั เกต การใชต้ วั เลข การวัด และการลงความเห็นจาก ข้อมูล) - จิตวทิ ยาศาสตรห์ มายถงึ อะไร (ลกั ษณะนสิ ยั ทเี่ กดิ ขนึ้ จากการหาความรู้โดยใชก้ ระบวนการ ทางวิทยาศาสตร)์ - ลักษณะนสิ ยั อยา่ งไรบา้ งท่ีเรียกว่ามีจติ วิทยาศาสตร์ (ความสนใจใฝ่รู้ ความมีวนิ ัย ความอดทน ความมีเหตผุ ลเปน็ ตน้ ) (ครปู ระเมินนักเรยี นโดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล)

11. ครใู หก้ ารบา้ นนักเรยี น เร่อื งจิตวิทยศาสตร์ เพ่ือให้นักเรยี นไดเ้ ข้าใจสถานการณแ์ ละลกั ษณะของจิต วทิ ยาศาสตร์ 5 ข้ันประเมนิ (evaluation) ชวั่ โมงที่ 4

กระตุน้ ความคิดใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั ตอบคำถาม 1. จากการทำกิจกรรมตา่ งๆทเ่ี ราเรยี นรู้ วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ อะไรบ้าง

(การต้ังคำถาม การคาดคะเนคำตอบ การรวบรวมขอ้ มูล การวิเคราะหข์ อ้ มลู และการสรปุ ผล) 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐานมีอะไรบา้ ง

(การสังเกต การใชต้ วั เลข การวดั และการลงความเหน็ จาก ขอ้ มลู ) 3. ครตู รวจแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน หน่วยที่ 1 เรอื่ ง การสืบเสาะหาความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์

4. นักเรยี นและครูร่วมกนั อภิปรายสรปุ ทกั ษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรแ์ ละวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์

5. ครตู รวจสอบผลการทำกิจกรรมกิจกรรมฝึกทักษะจาก หนงั สือเรยี นแมบ่ ทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์

ป.2 เล่ม 1 หน่วยที่ 1 เร่อื ง การสบื เสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์

6. ครปู ระเมินแผนผงั ความคิดเรอ่ื ง วิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยใชแ้ บบประเมินชน้ิ งาน

7. ครูประเมินนักเรียนโดยการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล การแสดงความคิดเห็น การ

ตอบคำถามการร่วมกนั ทำงานกล่มุ และการออกมานำเสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรียน

6. กระบวนการวดั และประเมินผล

จดุ ประสงค์ เคร่ืองมอื /วธิ กี ารวดั เกณฑ์ความสำเร็จ

  1. อ ธ ิ บ า ย ว ิ ธ ี ก า ร ท า ง - ประเมินการทำกิจกรรม - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ ไ ด ้ค ร บทุก ทักษะกระบวนการทาง

ข้นั ตอน (K) วิทยาศาสตร์

- ตรวจสมดุ บันทกึ

- ใบงาน

9

  1. อธบิ ายและใช้ทกั ษะการวัด - ประเมินการทำกิจกรรม - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ก า ร ใ ช ้ จ ำ น ว น ก า ร ทักษะกระบวนการทาง

ต ั ้ ง ส ม ม ต ิ ฐ า น แ ล ะ ก า ร วิทยาศาสตร์

ตีความหมายข้อมูลและลง - ตรวจสมุดบนั ทกึ

ข้อสรุป ในการแสวงหาความรู้ - ใบงาน

ได้ (K)

  1. อธิบายความหมายของ - ประเมินการทำกิจกรรม - รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

ทักษะกระบวนการทาง ทักษะกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานใน วิทยาศาสตร์

แตล่ ะทกั ษะได้ (K) - ตรวจสมดุ บนั ทึก

- ใบงาน

  1. อธิบายลักษณะของคนที่มี - ประเมินการทำกิจกรรม - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

จติ วทิ ยาศาสตร์ได้ (K) ทักษะกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์

- ตรวจสอบแผนผังความคิด

เรื่อง วิธีการทาง

วิทยาศาสตร์

- ตรวจสมดุ บนั ทกึ

- ใบงาน

  1. ฝกึ ใชท้ ักษะกระบวนการทา - ประเมินการทำกิจกรรม - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

วิทยาศาสตรไ์ ด้อย่างถูกต้อง ทักษะกระบวนการทาง

(P) วิทยาศาสตร์

- ตรวจสอบแผนผังความคิด

เรื่อง วิธีการทาง

วิทยาศาสตร์

- ตรวจสมุดบนั ทึก

  1. ฝึกฝนการมีจิตวิทยาศาสตร์ - แบบสัง เก ตพ ฤติก ร ร ม - ร ะ ด ั บ ค ุ ณ ภ า พ 2

(P) การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์

  1. รับผิดชอบต่องานที่ได้รับ - แบบสัง เก ตพ ฤติก ร ร ม - ร ะ ด ั บ ค ุ ณ ภ า พ 2

มอบหมาย (A) การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์

หมายเหตุ : แบบสงั เกตพฤติกรรมประเมนิ รายเทอม

10

7. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ 7.1 ส่อื การเรียนรู้

  1. หนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ ป.2 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
  2. แบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
  3. แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
  4. วัสดุอุปกรณ์กิจกรรมทักษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์
  5. บตั รขอ้ ความเกย่ี วกบั ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
  6. ภาพอาชพี ต่างๆ
  7. ภาพสตั ว์ต่างๆ
  8. กลอ่ ง
  9. ใบงาน 7.2 แหล่งการเรยี นรู้ - หนงั สือเรยี น - หอ้ งสมุด

11

8. บนั ทกึ ผลหลังการสอน  ดา้ นความรู้

 ด้านสมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น

 ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

 ปัญหา/อปุ สรรค

 แนวทางการแก้ไข

ลงชือ่ ………………………………….. ครผู ู้สอน

(นางสาวณัฐณกิ า ทองทนั )

9. ความเห็นของผู้บริหารสถานศกึ ษาหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย  ความคิดเหน็ ของครูพ่ีเลย้ี ง

ลงช่ือ………………..……………….…….. ครูพเี่ ลย้ี ง (นางสาวเหนอื พร ศรเี สน่ห์)

 ความคดิ เหน็ ของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา

ลงช่อื ………………………..ผู้อำนวยการโรงเรียน (นางแพวพิ า ภูสงดั )

12

การประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน

แบบประเมินผลงาน

ระดบั คณุ ภาพ

ลำดบั ที่ รายการประเมิน 32 1

(ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง)

1 รปู เลม่ /การสรา้ งผลงาน  

2 ความถกู ต้องของเนื้อหา  

3 มีความเปน็ ระเบียบ  

4 กำหนดเวลาสง่ งาน  

รวม

ลงชือ่ ...................................................ผู้ประเมนิ ............./.................../.............

เกณฑก์ ารประเมินผลงาน

รายการประเมนิ คำอธบิ ายระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน

ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1)

1. การจัดทำ/กา ร มขี นาดเหมาะสม รูปแบบ มีขนาดเหมาะสม มขี นาดเหมาะสม

สร้าง ผลงาน นา่ สนใจ ตกแตง่ ได้ รปู แบบน่าสนใจ ตกแตง่ รปู แบบนา่ สนใจ ตกแต่ง

สวยงาม มคี วามคิด ผลงานได้สวยงาม มี ผลงานไดส้ วยงาม มี

สร้างสรรคด์ มี าก ความคดิ สร้างสรรคด์ ี ความคิดสรา้ งสรรคพ์ อใช้

2. ความถูกต้องของ บอกไดถ้ กู ตอ้ งครบถ้วน บอกได้ถกู ต้อง บอกได้ไม่ถูกตอ้ ง

เน้ือหา เป็นบางประเด็น เปน็ ส่วนใหญ่

3. มคี วามเปน็ ผลงานมีความเปน็ ผลงานมคี วาม ผลงานไม่เปน็ ระเบยี บ

ระเบยี บ ระเบยี บแสดงออกถงึ เป็นระเบียบ แตม่ ี และมีขอ้ บกพร่องมาก

ความประณีต ข้อบกพร่องบางส่วน

4. กำหนดเวลาสง่ งาน สง่ ชิ้นงานภายในเวลาท่ี ส่งช้นิ งานชา้ กวา่ กำหนด สง่ ช้นิ งานชา้ กวา่ กำหนด

กำหนด 1-2 วนั เกิน 3 วนั ข้นึ ไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ชว่ งคะแนน 11-12 9-10 6-8 ต่ำกวา่ 6 ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง ดีมาก ดี พอใช้

13

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

คำชแี้ จง : ให้ผูส้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ งที่

ตรงกับระดับคะแนน

ลำดับท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32

1 การแสดงความคิดเห็น  

2 การยอมรับฟังความคิดเหน็ ของผู้อื่น  

3 การทำงานตามหนา้ ทท่ี ีไ่ ด้รับมอบหมาย  

4 ความมนี ้ำใจ  

5 การตรงตอ่ เวลา  

รวม

ลงชือ่ ...................................................ผูป้ ระเมนิ ............/.................../..............

เกณฑก์ ารให้คะแนน

ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครั้ง ให้ 2 คะแนน

ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

14-15 ดมี าก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ

14

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งท่ี

ตรงกับระดบั คะแนน

การมี

ลำดบั ที่ ชอ่ื –สกุล การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมี สว่ นรว่ มใน รวม ของนกั เรยี น ความ ฟงั คนอ่นื ตามทไี่ ดร้ บั น้ำใจ การ 15 คิดเหน็ มอบหมาย คะแนน ปรับปรุง ผลงานกลมุ่

321321321321321

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

10.

11.

12.

13.

14.

15.

16.

17.

18.

19.

20.

21.

22.

23.

24.

15

ลำดบั ที่ ชอ่ื –สกลุ การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมี การมี รวม ของนกั เรยี น ความ ฟงั คนอื่น ตามท่ีไดร้ ับ น้ำใจ ส่วนรว่ มใน 15 25. คดิ เหน็ มอบหมาย คะแนน 26. 321 321 การ 27. 321 321 ปรบั ปรงุ 28. ผลงานกลุ่ม 29. 321 30.

ลงชือ่ ...................................................ผปู้ ระเมนิ

............../.................../...............

เกณฑ์การให้คะแนน

ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน

ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ให้ 2 คะแนน

ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

14-15 ดมี าก

11-13 ดี

8-10 พอใช้

ต่ำกวา่ 8 ปรับปรุง

16

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

คำชแ้ี จง : ให้ผูส้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ งที่