ข้อใด เป็น จุดมุ่งหมายของ การนำ เสนอ วิธี การแก้ปัญหา


����Ԫҡ�����������й��ʹ� �����Ԫ� I20202
�ӹǹ 10 ���
�� �ç���¹�աѹ(�Ѳ�ҹѹ���ػ�����)
����� ��س����͡�ӵͺ���١��ͧ����ش

��ͷ�� 1)
�������������¢ͧ������ç�ҹ��١��ͧ
   �Ըա�÷���֡�����ҧ���к������鹵͹
   ��кǹ����駺����ҳ
   �Ըա�ô��Թ�ҹẺ������ҧẺἹ
   ��кǹ������Ѿ�ҡ÷�ͧ���

��ͷ�� 2)
����ҧἹ������¹�ç�ҹ���������ҡ����
   ������Ǣ���ç�ҹ
   ���ͤ�ٷ���֡���ç�ҹ
   �������Ф����Ӥѭ�ͧ�ç�ҹ
   �ѵ�ػ��ʧ��ͧ����֡�Ҥ鹤���

��ͷ�� 3)
�����Ӥѭ�ͧ�ç�ҹ�������١��ͧ
   ��û�Ժѵԧҹ�Ѵਹ
   ���ҧͤ�Ե�ͺؤ������˹��§ҹ
   ��û�Ժѵ�������ҧ�ջ���Է���Ҿ
   Ŵ�����Ѵ�����Ф�����ӫ�͹�˹�ҷ��

��ͷ�� 4)
���㴡���Ƕ֧��ǹ��Сͺ�ͧ�ç��١��ͧ
   ��ǹ�� ��ǹ���� ��ػ
   ��ǹ�� ��ǹ��ҧ ��ǹ����
   ��ǹ�� ��ǹ���ͤ��� ��ǹ���
   ��ǹ���ͤ��� ��ǹ���� ��ǹ����

��ͷ�� 5)
��鹵͹��÷��ç�ҹ�������§�ӴѺ�١��ͧ
   ��äԴ��С�����͡�������ͧ ����ҧἹ ��ô��Թ�ҹ �����¹��§ҹ ��ù��ʹ�
   ��äԴ��С�����͡�������ͧ ����ҧἹ �����¹��§ҹ ��ô��Թ�ҹ ��ù��ʹ�
   ����ҧἹ ��äԴ��С�����͡�������ͧ ��ô��Թ�ҹ �����¹��§ҹ ��ù��ʹ�
   ����ҧἹ ��äԴ��С�����͡�������ͧ �����¹��§ҹ ��ô��Թ�ҹ ��ù��ʹ�

��ͷ�� 6)
��������͡�������ͧ���������������Ǣ�鹵͹���令�÷ӵ������
   ��ä鹤�������Ǻ���������
   ������º���§��÷���§ҹ
   ��˹��ش���������Тͺࢵ�ͧ����ͧ
   ��¹�������Ф����Ӥѭ�ͧ�ç�ҹ

��ͷ�� 7)
����ʹͼŧҹ���������ٻẺ�������Ѻ�������������ͻ������ç�ҹ�������١��ͧ
   ����ʴ����ҷ���ص�
   ����駺����ҳ��ҧ˹��§ҹ��ҧ��
   ��èѴ�Է��ȡ������ǡѺ�ŧҹ
   ��èѴ�ʴ���С��͸Ժ�´��¤Ӿٴ

��ͷ�� 8)
����ҧἹ��÷��ç�ҹ�������١��ͧ
   ����ҧἹ��������ô��Թ���������ҧ�ͺ�ͺ
   ����ҧἹ������ö������觤鹤��������駺����ҳ��������
   ����ҧἹ����ö��Һ�֧�ش���ʧ������ͧ������з�Һ�֧�ͺࢵ��
   ���ҧἹ�з��ç�ҹ��������������������ͧ���ʹ�����÷�Һ�ҹ��͹

��ͷ�� 9)
�����¹��§ҹ�ç�ҹ�����������¹Ẻ�
   �����¹�ç�ҹ��������ҷ����ҹ���㨧�����еç�����
   �����¹�ç�ҹ���������Ẻ�繡ѹ�ͧ����������㨢ͧ���Ѵ��
   �����¹�ç�ҹ��������Ѩ����������Ѩ����������繷ҧ���͡�������ҹ�Դ���
   �����¹�ç�ҹ��������ٻ�Ҿ�����ʴب�ԧ������ǹ��Сͺ�ͧ�����¹��§ҹ

��ͷ�� 10)
���㴡�������١��ͧ����ǡѺ������º���§��§ҹ
   ���º���§�����ŵ������ʹ������ҡ�͹����ӵ����觷���ҧ���
   �Ӥѭ����ش��͵�ͧ�Ѵ�͡�ŧҹ�����������§�繼ŧҹ�ͧ����ͧ��ͧ�ͺ�س�Ҵ���
   ����ͨ��繵�ͧ�Ѵ�͡��ͤ������͹Ӣ����Ţͧ����������ҧ�ԧ��ͧ�͡���Ѵਹ���Ҩҡ�˹
   ������º���§��¹��§ҹ������ӹǹ���Ңͧ���ͧ����ҡ����ش��Ф���ռ���Ǩ�ͺ���������


ใบความรู้ เรื่อง การนำเสนอผลงาน

          การนำเสนอ ( presentation )  หมายถึงวิธีการในการสื่อสารถ่ายทอดข้อมูลเกี่ยวกับงาน แผนงานโครงการ ข้อเสนอผลการดาเนินงานและเรื่องต่างๆ เพื่อความเข้าใจและจูงใจอาจรวมถึงการสนับสนุนและอนุมัติด้วย

          รูปแบบของการนำเสนอ การนำเสนอมีได้หลายรูปแบบซึ่งจะต้องพิจารณาเลือกใช้รูปแบบให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการนำเสนอ และความต้องการของผู้รับการนำเสนอ โดยทั่วไปจะมีการใช้อยู่ สองรูปแบบได้แก่

1. แบบสรุปความ ( qutline ) คือการนำเสนอเนื้อหาทั้งที่เป็นข้อเท็จจริง ความคิดเห็น และข้อพิจารณาเป็นข้อๆ

2. แบบเรียงความ ( essay ) คือ การนำเสนอด้วยการพรรณนา ถึงเนื้อหาละเอียด

         ตัวอย่างรูปแบบการนำเสนอ

1.เอกสารรายงานเชิงวิชาการ

2.นิทรรศการ(ภาพถ่าย ศิลปะสิ่งประดิษฐ์ ฯลฯ)

3.การอภิปราย สัมมนา

4.โต้วาที

5.คลิป หรือ ภาพยนตร์สั้น

6. เพาเวอร์พอยท์

7. โปสเตอร์

8. คลีนิกความรู้

9. แผ่นพับ (Brochure)

10.สมุดเล่มเล็ก

11.หนังสือพิมพ์กำแพง

12. บทประพันธ์ (โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ฯลฯ)

13. ภาพวาดศิลปะ

14. บทความทางวิชาการ

15. ละคร

           การเลือกใช้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง จะต้องคำนึงถึงความเหมาะสม และสถานการณ์ในการนำเสนอ การนำเสนอแบบสรุปความมักใช้ในการนำเสนอ ข้อมูลอันประกอบด้วยข้อเท็จจริง สิ่งที่ค้นพบ เพื่อให้ผู้รับการนำเสนอรับรู้อย่างรวดเร็วส่วนการนำเสนอแบบเรียงความ มักใช้ในการนำเสนอความคิดเห็นและการให้เหตุผลโน้นน้าวชักจูงใจ ซึ่งจะต้องมีการอรรถาธิบายในรายละเอียดต่างๆประกอบการนำเสนอ

           การเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอจะพิจารณาปริมาณของเนื้อหาสาระ วัตถุประสงค์และ จุดมุ่งหมายที่ต้องการบรรจุการเร้าความสนใจ สถานการณ์ในการนำเสนอ และความสัมพันธ์ระหว่างผู้รับการนำเสนอกับผู้นำเสนอ ในการนำเสนอข้อมูลเพื่อการพิจารณาจะนิยมใช้ตาราง และ แผนภาพ ประกอบเพื่อการวิเคราะห์หรือเปรียบเทียบที่เห็นได้ชัดเจนและรวดเร็วลักษณะการนำเสนอที่ดี

            นอกจากการเลือกรูปแบบของการนำเสนอ ให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้วจะต้องคำนึงถึงลักษณะของการนำเสนอที่จะช่วยให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของการนำเสนอด้วย

วัตถุประสงค์ของการนำเสนอผลงาน
         1. ให้ผู้ชมเข้าใจสาระสำคัญของการนำเสนองาน
         2.ให้ผู้ชมเกิดความประทับใจ ซึ่งจะนำไปสู่ความเชื่อถือในผลงานที่นำเสนอ

ลักษณะของการนำเสนอที่ดี ควรมีดังต่อไปนี้

             1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนกล่าวคือ มีความต้องการที่แน่ชัดว่า เสนอเพื่ออะไรโดยไม่ต้องให้ผู้รับรับการนำเสนอต้องถามว่าต้องการให้พิจารณาอะไร

            2. มีรูปแบบการนำเสนอเหมาะสม กล่าวคือ มีความกะทัดรัดได้ใจความเรียงลำดับไม่สนใช้ภาษาเข้าใจง่าย ใช้ตาราง แผนภูมิ แผนภาพช่วยให้พิจารณาข้อมูลได้สะดวก

            3. เนื้อหาสาระดี กล่าวคือ มีความน่าเชื่อถือเที่ยงตรง ถูกต้อง สมบูรณ์ครบถ้วนตรงตามความต้องการ มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันทันสมัยและมีเนื้อหาเพียงพอแก่การพิจารณา

            4. มีข้อเสนอที่ดี กล่าวคือมีข้อเสนอที่สมเหตูสมผล มีข้อพิจารณาเปรียบเทียบทางเลือกที่เห็นได้ชัดเสนอแนะแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนคุณสมบัติของผู้นำเสนอ ในการนำเสนอด้วยวาจาคุณสมบัติอันเป็นลักษณะประจำตัวของผู้นำเสนอถือได้ว่าเป็นส่วนสำคัญของความสำเร็จในการนำเสนอเพราะคุณสมบัติของผู้นาเสนอจะมีอิทธิพลต่อการโน้นน้าวชัก จูงให้เกิดความสนใจความไว้วางใจ เชื่อถือ และการยอมรับได้มาก เท่ากับหรือมากกว่าเนื้อหาที่นำเสนอ

ผู้นำเสนอที่ประสบความสำเร็จส่วนใหญ่ จะมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้

1. มีบุคลิกดี

2. มีความรู้อย่างถ่องแท้

3. มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ

4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง

5. มีภาพลักษณ์ที่ดี

6. มีน้าเสียงชัดเจน

7. มีจิตวิทยาโน้นน้าวใจ

8. มีความสามารถในการใช้โสตทัศนอุปกรณ์

9. มีความช่างสังเกต

10. มีไหวพริบปฏิภาณในการตอบคำถามดี

            การตอบคำถามในการนำเสนอการตอบคำถามเป็นส่วนหนึ่งของการนำเสนอแม้ว่าการนำเสนอเรื่องต่างๆจะเป็นการนำเสนอที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการบอกเล่าเรื่องให้ทราบซึ่งเป็นการสื่อสารทางเดียวจากผู้นำเสนอไปยังผู้รับการนำเสนอแต่ในการที่จะให้เกิดการสื่อสารที่สมบูรณ์มีความเข้าใจถูกต้องตรงกัน ก็ควรจะมีช่วงเวลาที่เปิดให้มีการซักถามข้อสงสัยหรือสิ่งที่ต้องการคำอธิบายเพิ่มขึ้น เป็นการสื่อสารสองทาง ในการนำเสนอส่วนใหญ่จะมีการเชื้อเชิญให้มีการซักถามในตอนท้ายของการนำเสนอดังนั้นผู้นำเสนอจึงต้องมีหลักการเป็นข้อยึดถือในการปฏิบัติดังนี้

1. ต้องจัดเวลาให้เหมาะสมในการเปิดการซักถาม อย่าให้มีเวลามากเกินไปจนเกิดคำถามที่ไม่มีสาระหรือคำถามที่ตั้งใจให้การนำเสนอเกิดการเสียหายแต่ก็ควรจะเผื่อเวลาให้เพียงพอ

2.. ต้องคาดคะเนคาถามที่จะเกิดขึ้นไว้ล่วงหน้าเพื่อจะได้เตรียมคำตอบที่เหมาะสม และสามารถเตรียมเอกสาร หรือหลักฐานประกอบคำตอบได้

3. ต้องแสดงความยินดีต้อนรับคำถาม แม้จะเป็นคำถามที่ไร้สาระหรือแฝงด้วยความประสงค์ร้ายแต่ก็สามารถจะเลือกตอบ และสงวนคำตอบไว้ตอบเฉพาะตัวผู้ถามภายหลังก็ได้

4. ต้องรู้จักการช่วยขัดเกลาคำถามที่วกวน หรือคลุมเครือหรือช่วยเรียบเรียงคำถามที่มีข้อความยืดยาว เยิ่นเย้อให้กระชับขึ้น

5. ต้องตอบให้ตรงประเด็น หมายถึงตรงกับเรื่องที่ถามไม่ตอบเลี่ยง หรือตอบคลุมเครือ

นักเรียนควรนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้รับรู้รับทราบการคิดรูปแบบเพื่อนำเสนอมีคำแนะนำดังนี้

1. คำนึงถึงผู้อ่านหรือผู้ฟังโดยยึดหลักการนำเสนอให้เข้าใจง่าย น่าสนใจ

2.วิธีการนำเสนอ เช่น รายงานเป็นเอกสารรายงานปากเปล่า จัดนิทรรศการ อาจจำเป็นต้องทำหลายรูปแบบเพื่อให้ผลงานแพร่หลายมากขึ้น

3.ผลงานบางโครงงานมีวัสดุประกอบการรายงานจะต้องเลือกให้เหมาะสม

4.บางโครงงานอาจนำเสนอได้ด้วยการแสดง เล่าเป็นนิทานเชิดหุ่นประกอบบรรยาย นำเสนอด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Power point

 5.โครงงานที่นำเสนอต่อชุมชน อาจทำในรูปแบบของแผงโครงงานซึ่งเป็นแผงนิทรรศการที่พับเก็บสะดวก เคลื่อนย้ายง่าย นาไปติดตั้งได้ทันที

6.การนำเสนอมีหลากหลายวิธี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ความต้องการของกลุ่ม และความเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์และเวลา

7.ตัวอย่างการนำเสนออื่นๆ เช่น นิทรรศการ รายงานปากเปล่าเสนอแผงโครงงานร่วมกับรายงานปากเปล่า จัดแสดงบนเวที เสนอด้วยแผ่นใส หรือสไลด์หรือวีดีทัศน์พร้อมคำอธิบาย

หัวข้อในการนำเสนอโครงงาน มีดังนี้

1. ชื่อโครงงาน

2. ชื่อผู้จัดทำโครงงาน

3. ชื่อครูที่ปรึกษา

4. ที่มาของโครงงาน

5. วิธีดำเนินการ (ถ้ามีรูปภาพประกอบด้วยจะดีมาก)

6. ผลการทดลอง

7. สรุปผล

8. ข้อเสนอแนะ

              ทั้งหมดที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นจะต้องทำหรือเขียนด้วยความประณีต สวยงามสามารถหาสิ่งประดับมาตกแต่งให้สวยงามได้โครงงานที่ทำเสร็จแล้วถ้าไม่มีการเผยแพร่ก็ไม่เกิดประโยชน์ ดังนั้นนักเรียนจึงควรให้ความสำคัญในเรื่องนี้ และคิดวิธีการเผยแพร่ให้น่าสนใจเพื่อให้ผลงานของนักเรียนเกิดประโยชน์สูงสุดทั้งต่อตัวนักเรียนเองและผู้ที่สนใจ

ตัวอย่างรูปแบบการนำเสนอโครงงาน

ขั้นตอนการแนะนำ

ระยะเวลา

ลักษณะภาพประกอบ

หมายเหตุ

1. แนะนำตัวผู้นำเสนอ

- ชื่อ

- วุฒิทางการศึกษา

- ตำแหน่ง และหน้าที่

30 นาที

ภาพถ่ายของแต่ละคน

2. บอกชื่อโครงการที่นำมาเสนอ

ภาพชื่อโครงการ

ควรใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่ให้สะดุดตาสะดุดใจ

3. บอกสภาพปัญหาซึ่งเป็นที่มาของโครงการ

 - ปัญหาที่พบ

 - ความเดือดร้อนที่เกิดขึ้น /ผลเสียต่อผู้เกี่ยวข้อง

 - ผลการศึกษาสภาพปัญหา ที่เป็นข้อมูลสถิติบ่งชี้ถึงสภาพปัญหา

4 นาที

ภาพที่บ่งบอกถึงปัญหาความเดือดร้อน/ผลเสีย - กราฟแสดงข้อมูล

4. บอกหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ที่นำมาใช้ในการแก้ปัญหา

ภาพชื่อทฤษฎี

เพื่อชี้ให้เห็นหลักปฏิบัติที่ถูกต้อง เป็นที่ยอมรับ

5. ขั้นตอนการดำเนินงาน ในการ แก้ปัญหาบอกทีละขั้นตอน ไปตามลำดับ โดยในแต่ละขั้นตอน จะมีประเด็นย่อยๆดังนี้

-ขั้นตอนที่

- สิ่งที่ทำ

-วันเดือนปี ที่ทำ

- ปัจจัย (สื่อ อุปกรณ์ ฯลฯ) ที่ใช้

- ผู้รับผิดชอบ

-ผลที่ได้รับจากขั้นตอนนี้

9 นาที

ตามความเหมาะสม

ตามความเหมาะสม

การบอกวิธีการแก้ปัญหา และผลที่ได้รับเฉพาะขั้นตอน จะทำให้ผู้ฟังเข้าใจได้ง่าย มองเห็นภาพการแก้ปัญหาได้ชัดเจน

6. ผลที่ได้รับ

-ผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ สภาพปัญหาระหว่าง

- ผลกระทบหรือผลพลอยได้

3 นาที

กราฟเปรียบเทียบสภาพปัญหาระหว่างก่อน/หลังการแก้ปัญหา

7. ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นและวิธีการแก้ปัญหาในระหว่างการดำเนินงาน

3 นาที

ตามความเหมาะสม

8. บทเรียนที่ได้รับจากการดำเนินงาน

- การพัฒนาการดำเนินงานในระยะ ต่อไป

3 นาที

ตามความเหมาะสม

9. คำลงท้ายที่น่าประทับใจของผู้ฟังและผู้ชม

ตามความเหมาะสม

อาจเป็นคำกลอน ที่เชิญชวนให้ผู้ฟัง นำวิธีการแก้ปัญหาที่นำเสนอไปใช้

         แบบฝึกหัด

คำสั่ง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ลงในสมุด ส่ง ภายในวันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2559

1. การนำเสนอผลงานมีวัตถุประสงค์อย่างไร

2. ลักษณะของการนำเสนอที่ดีมีอะไรบ้า

3. ผู้นำเสนอที่ประสบความสำเร็จส่วนใหญ่ มีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง

4. รูปแบบที่ใช้ในการนำเสนอผลงาน มีอะไรบ้าง

5. เมื่อนักเรียนได้รับมอบหมายให้นำเสนอผลงานเรื่อง โครงงาน นักเรียนจะใช้เครื่องมือใดและจะใช้รูปแบบใดในการนำเสนอ จึงจะเหมาะสมกับเครื่องมือที่เลือกใช้

6. ถ้านักเรียนรับหน้าที่นำเสนอผลงานนักเรียนต้องเตรียมการนำเสนออย่างไรบ้าง

7. หัวข้อในการนำเสนอโครงงาน มีอะไรบ้าง