ความแตกต่างระหว่างโมเลกุลของ dna ด้วยกันคืออะไร

สารพันธุกรรม หรือดีเอ็นเอ (deoxyribonucleic acid; DNA) เป็นกรดนิวคลิอิก (Nucleic acid) ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ดีเอ็นเอส่วนใหญ่อยู่ในรูปโครโมโซม (chromosome) วางตัวอยู่ ในส่วนนิวเคลียส ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ดีเอ็นเอมีหน้าที่สำคัญ ๒ ประการ คือ

1. การจำลองตัวเอง (DNA replication)

ดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต มีความสามารถสร้างและจำลองตัวมันเอง ขณะเกิดกระบวนการแบ่งเซลล์ เพื่อสร้างดีเอ็นเอที่เหมือนเดิม ทุกประการให้แก่เซลล์ใหม่

2. การถ่ายทอดข้อมูลผ่านอาร์เอ็นเอ (transcription)

ดีเอ็นเอสามารถถูกถอดรหัส เพื่อสร้างเป็นอาร์เอ็นเอ (ribonucleic acid; RNA) อาร์เอ็นเอที่ได้นี้จะทำหน้าที่กำหนดการเรียงตัวของกรดอะมิโน ในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน ซึ่งโปรตีนจะถูกนำมาเป็นส่วนประกอบสำคัญ ในโครงสร้างขององค์ประกอบต่างๆ ภายในเซลล์ และเป็นสารเร่งปฏิกิริยาทางชีวเคมี หรือเอนไซม์ (enzyme) ในสิ่งมีชีวิต ด้วยหน้าที่ทั้ง ๒ ประการของดีเอ็นเอ ทำให้สิ่งมีชีวิตสามารถสืบทอดลักษณะประจำพันธุ์ และดำรงเผ่าพันธุ์อยู่ได้

ดีเอ็นเอประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า นิวคลิโอไทด์ (nucleotide) ซึ่งเป็นสารประกอบไนโตรจีนัสเบส (nitrogenous base) แบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มคือ กลุ่มพิวรีนเบส (purine) ได้แก่ ไทมีน (thymine; T) ไซโทซีน (cytosine; C) และกลุ่มไพริมิดีนเบส (pyrimidine) ได้แก่ อะดีนีน (adenine; A) กัวนีน (guanine; G) โดยสารประกอบไนโตรจีนัสเบสนี้จะรวมตัวกับน้ำตาลดีออกซีไรโบส (deoxyribose sugar) และกรดฟอสฟอริก (phosphoric acid) เป็นนิวคลิโอไทด์อยู่ในดีเอ็นเอ นิวคลิโอไทด์จึงมีอยู่ ๔ ชนิดตามชนิดของไนโตรจีนัสเบส คือ อะดีโนซีนไทรฟอสเฟต (adenosine triphosphate; ATP) กัวโนซีนไทรฟอสเฟต (guano sine triphosphate; GTP) ไซโทซีนไทรฟอสเฟต (cytosine triphosphate; CTP) และไทมิดีนไทรฟอสเฟต (thymidine triphosphate; TTP) การเรียงลำดับของนิวคลิโอไทด์ ทั้ง ๔ ชนิด ส่งผลต่อการเกิดความหลากหลาย และสร้างความแตกต่างในลำดับเบสบนสายดีเอ็นเอ ซึ่งมีความจำเพาะในสิ่งมีชีวิต แต่ละชนิด

โครงสร้างของดีเอ็นเอประกอบไปด้วย สายพอลินิวคลิโอไทด์ ที่เกิดจากการเชื่อมต่อกันของนิวคลิโอไทด์หลายๆ หน่วย ด้วยพันธะ ฟอสโฟไดเอสเตอร์ โดยเกิดจากสายพอลินิวคลิโอไทด์จำนวน ๒ สายเรียงตัวขนานกันในทิศทางตรงกันข้าม เข้าคู่และพันกันเป็นเกลียวเวียนขวาคล้ายบันไดเวียน ที่เรียกว่า ดับเบิลเฮลิกซ์ (doublehelix) การเข้าคู่หรือเข้าจับกันของสายพอลินิวคลิโอไทด์ทั้ง ๒ สาย เกิดจากการเข้าคู่กัน ระหว่างเบสพิวรีน และเบสไพริมิดีน ด้วยพันธะไฮโดรเจน โดย A ทำการสร้างพันธะจำนวน ๒ พันธะเข้าจับกับ T (A = T) และ G ทำการสร้างพันธะ จำนวน ๓ พันธะ เข้าจับกับ C โดยมีน้ำตาล และหมู่ฟอสเฟตทำหน้าที่เป็นแกนอยู่ด้านนอกของโมเลกุล

ขอถามหน่อย DNA กับ RNA แตกต่างกันอย่างไร

ตั้งกระทู้ใหม่

ตั้งกระทู้ใหม่

 ผมอ่านในหนังสือแล้วหาคว่มแตกต่างของDNAและRNA แต่ก็จับจุดไม่ได้ ช่วยผมหน่อยนะครับ
ความแตกต่างระหว่างโมเลกุลของ dna ด้วยกันคืออะไร
ความแตกต่างระหว่างโมเลกุลของ dna ด้วยกันคืออะไร

ความแตกต่างระหว่างโมเลกุลของ dna ด้วยกันคืออะไร

white_black 6 มี.ค. 54 เวลา 07:03 น.

0

like

1,138

views

Facebook Twitter

รายชื่อผู้ถูกใจกระทู้นี้ คน

ยกเลิก

❥�Teddy.td 6 มี.ค. 54 เวลา 09:47 น. 3

สารพันธุกรรม ประกอบด้วย หมู่ฟอสเฟต+น้ำตาลเพนโทส+ไนโตรจีนัสเบส(N-base)

ส่วนประกอบของ DNA และ RNA ต่างกันที่ น้ำตาลเพนโทสค่ะ และ N-base ค่ะ
DNA จะเป็นน้ำตาล Deoxyribose เบสที่พบคือ A G C T
RNA จะเป็นน้ำตาล Ribose เบสที่พบคือ A G C U ค่ะ
จะเห็นว่าเบสต่างกันตัวเดียว ใน DNA จะพบไทมีน แต่ถ้าเป็น RNA จะไม่พบไทมีนแต่พบยูราซิลแทน

แล้วก็ต่างกันที่รูปร่างลักษณะด้วยนะ
DNA จะ็มี 2 สาย เป็นเกลียวคู่ คล้ายๆบันได
แต่ RNA จะมีสายเดียวนะ ^^

ทั้ง 2 ตัวนี้เป็นสารพันธุกรรม มีอยู่ในคน
แต่ถ้าเป็น ไวรัส จะมีแค่ RNA ค่ะ พอจะเข้าใจขึ้นบ้าวไหมเอ่ย? ^^"

0 0
ถูกใจ ตอบกลับ เมนู

  • แก้ไข
  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

Deuxonze' 6 มี.ค. 54 เวลา 13:56 น. 6

ทั้ง DNA และ RNA เป็นกรดนิวคลีอิก (สารพันธุกรรม) ทั้งคู่
ทำหน้าที่เหมือนกัน คือเก็บลักษณะพันธุกรรม (เก็บยีน) และเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีน
กรดนิวคลีอิกจัดเป็นพอลิเมอร์ มีโมโนเมอร์ที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์
นิวคลีโอไทด์ ประกอบไปด้วยสิ่งสำคัญสามอย่าง
1.น้ำตาลคาร์บอน 5 อะตอม (นิยมเรียกว่าเพนโทส)
2.ไนโตรจีนัสเบส (A&nbsp U&nbsp T&nbsp C&nbsp G)
3.หมู่ฟอสเฟต


ความแตกต่างของ RNA กับ DNA
RNA&nbsp เป็นสายเดียว&nbsp DNA เป็นสายคู่ (DNA ในแบคทีเรียมีแบบวงกลมด้วย)
RNA&nbsp มีเบส A U C G&nbsp  DNA มีเบส&nbsp A T C G
RNA&nbsp มีน้ำตาลไรโบส&nbsp &nbsp DNA มีน้ำตาลดีออกซิไรโบส

ไวรัสจะพบแค่ RNA เท่านั้น แต่ในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ จะพบทั้ง DNA และ RNA

กรดนิวคลีอิก(DNAและRNA)&nbsp สามารถจำลองตัวเองได้

อยู่ม.ไหนคร๊าบ&nbsp -&nbsp &nbsp -+&nbsp  กลัวลึกไปอ่ะ

0 1
ถูกใจ ตอบกลับ 1 เมนู

  • แก้ไข
  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

KS4163 25 ส.ค. 56 เวลา 21:14 น. 9

สรุปข้อแตกต่างระหว่าง DNA กับ RNA


RNA
น้ำตาลเพนโทส 2- ไรโบส
เบสพิวรีน อะดินีน, กัวนีน
เบสพิริมิดีน น ไซโทซีน, ยูราซิล
นิวคลีโอไซด์ ไรโบส + เบส
นิวคลีโอไทด์ ไรโบส + เบส + ฟอสเฟต
การจับคูของเบส
พิวรีน =/= พิริมิดีน

อะดินีน =/= ยูราซิล
กัวนีน =/=ไซโทซีน
แหล่งที่พบมาก ไซโทพลาสซึม
แหล่งที่พบน้อย นิวเคลียส


DNA
น้ำตาลเพนโทส 2-ดีออกซิไรโบส
เบสพิวรีน อะดินีน, กัวนีน
เบสพิริมิดีน ไซโทซีน, ไธมีน
นิวคลีโอไซด์ ดีออกซิไรโบส + เบส
นิวคลีโอไทด์ ดีออกซิไรโบส + เบส + ฟอสเฟต
การจับคูของเบส พิวรีน = พิริมิดีน
อะดินีน = ไธมีน
กัวนีน = ไซโทซีน
แหล่งที่พบมาก นิวเคลียส
แหล่งที่พบน้อย ไมโทคอนเดรีย

0 0
ถูกใจ ตอบกลับ เมนู

  • แก้ไข
  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

หทัยภัทร ภัทรวาทิต 7 ส.ค. 57 เวลา 17:06 น. 16

ความแตกต่างระหว่าง DNA และ RNA

DNA เป็นนิวคลีโอไทด์สายคู่ มีเบสที่ใช้อยู่ 4ตัว คือ อะดีนีน กวานีน ไซโตซีน ไทมีนและน้ำตาลที่ใช้ก็จะเป็นน้ำตาลดีออกซีไรโบส
RNA ก็จะมีโครงสร้างคล้ายกับ DNA คือ RNA จะประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์เรียงต่อกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเตอร์เป็นโพลีนิวคลีโอไทด์
แต่องค์ประกอบของนิวคลีโอไทด์จะต่างกันที่น้ำตาล คือน้ำตาลของ RNA จะเป็น น้ำตาลไรโบส ส่วนDNA จะมีน้ำตาลดีออกซีไรโบส และRNA ยังต่างจาก DNA ตรงเบสในสายด้วย โดย RNA จะใช้เบส ยูราซิล แทนเบส ไทมีน และ RNA ก็เป็นนิวคลีโอไทด์สายเดี่ยวด้วย

หทัยภัทร ภัทรวาทิต ม.6/4 เลขที่ 43 โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย

0 0
ถูกใจ ตอบกลับ เมนู

  • แก้ไข
  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

Sofar_sogood 14 ส.ค. 57 เวลา 21:49 น. 18

DNA ต่างจาก RNA ตรงที่...
1. DNA เป็นสายเกลียวคู่ RNA เป็นสายเดี่ยว
2.ชนิดของน้ำตาลค่ะ
DNA ประกอบด้วยน้ำตาล Deoxyribose ค่ะ
RNA ประกอบด้วยน้ำตาล Ribose ค่ะ
3.เบสที่เป็นองค์ประกอบค่ะ
ของ DNA ประกอบด้วยเบส A T C G โดย A จะจับคู่กับ T และ C จะจับคู่กับ G ค่ะ
ส่วน RNA ประกอบด้วยเบส A U C G โดย A จะจับคู่กับ U และ C จะจับคู่กับ G ค่ะ
.....
พึ่งเรียนมาสดๆร้อนๆค่ะ แหะๆ
อาจจะใช้คำ ผิดบ้างนะคะ

ความแตกต่างระหว่างโมเลกุลของ dna ด้วยกันคืออะไร

0 0
ถูกใจ ตอบกลับ เมนู

  • แก้ไข
  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

KS16 6/1 20 ส.ค. 57 เวลา 21:51 น. 20

DNA (Deoxy Ribo Nucleic Acid)
DNA หรือ Deoxyribonucleic acid
ประกอบด้วยน้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม ที่ชื่อว่า Deoxyribose คือ
ที่คาร์บอนตำแหน่งที่ 2 แทนที่จะมีหมู่ hydroxy group มาจับ แต่มีแค่ H
มาจับง่ะคราบ จึงใช้ชื่อว่า deoxy หมายความว่าดึงออกซิเจนออกง่ะ ฟอสเพส
และเบสที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ (Nitrogenous base) มีลักษณะเด่น คือ
- พอลีนิวคลีโอไทด์สายคู่
- มีน้ำหนักโมเลกุลมาก ( 100,000-150,000,000)
- มีน้ำตาลดีออกซีไรโบสเป็นองค์ประกอบ
- พบเบสได้ 4 ชนิด คือ A , T , C , G
- พบอยู่ภายในนิวเคลียสเกือบทั้งหมด
- มีเพียงชนิดเดียว มีปริมาณและลำดับของเบสได้มาก

RNA (Ribo Nucleic Acid)
RNA หรือ ribonucleic acid
ประกอบด้วยน้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอมเช่นเดียวแต่คนละชนิด นั่นคือ
น้ำตาลไรโบส คือตำแหน่งที่ 2 จะมีหมู่ hydroxy group มาเกาะ มีฟอสเฟต
และไนโตรจีนัสเบส แต่เป็นคนละชนิดกับ DNA คือต่างกันตัวเดียว เป็น A U C G
และมีลักษณะเด่น คือ
- พอลีนิวคลีโอไทด์สายเดี่ยว
- มีน้ำหนักโมเลกุลน้อย ( 20,000-2,000,000)
- มีน้ำตาลไรโบสเป็นองค์ประกอบ
- พบเบสได้ 4 ชนิด คือ A , U , C , G
- ถูกสังเคราะห์ในนิวเคลียสแต่พบได้ทั่วทั้งเซลล์
- มี 3 ชนิด คือ mRNA tRNA และ rRNA

0 0
ถูกใจ ตอบกลับ เมนู

  • แก้ไข
  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ ต่างกันอย่างไร

- DNA ทำหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต จากรุ่นหนึ่งไปยังรุ่นต่อไปให้แสดงลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต - RNA ทำหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตและกระบวนการต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตและสังเคาระห์โปรตีน โดย mRNA จะถอดรหัสจาก DNA แล้วนำมาให้ tRNA สังเคราะห์โปรตีนในไรโบโซม (ภายในเซลล์)

นิวคลีโอไทด์ของ DNA และ RNA มีองค์ประกอบแตกต่างกันอย่างไร

สำหรับ RNA ก็มีโครงสร้างคล้าย DNA คือประกอบด้วยนิวคลีโอไทด ์ที่เรียงเชื่อมต่อกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ได้เป็นโพลีนิวคลีโอไทด์ แต่องค์ประกอบของนิวคลีโอไทด์แตกต่างกันที่น้ำตาล และ เบส โดยน้ำตาลใน RNA เป็นไรโบส ส่วนเบสใน RNA มียูราซิล (U) มาแทนไทมีน (T) (ภาพที่ 2.9) นอกจากนั้น RNA ส่วนใหญ่ยังเป็นโพลีนิวคลีโอไทด์สาย ...

DNA ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง

DNA ประกอบด้วย หน่วยย่อยของ Nucleotides จับกันด้วยพันธะ Phosphodiester Bond และ Nucleotide นี้ ประกอบด้วย น้ำตาล Deoxyribose หมู่ฟอสเฟต และ เบส (Nitrogenous Base) 4 ชนิด ได้แก่.
Guanine (G), Adenine (A) (Purine-มีวงแหวน 2 วง).
Cytosine (C), Thymine (T) (Pyrimidine-มีวงแหวน 1 วง).

DNA แตกต่างจาก RNA เด่นชัดที่สุดที่องค์ประกอบใด

3.ดีเอ็นเอ (DNA) มีน้ำตาลดีออกซีไรโบส(deoxyribose)เป็นองค์ประกอบ ส่วนอาร์เอ็นเอ(RNA)มีน้ำตาลไรโบส(ribose)เป็นองค์ประกอบ