การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยใช้ Prompt ประกอบด้วยอะไรบ้าง

เรื่อง การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล

1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
          มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจ และใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม
          ตัวชี้วัด ม.3/3  ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด เพื่อการใช้งานอย่างรู้เท่าทัน
          ตัวชี้วัด ม.3/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม
2.สาระการเรียนรู้
          การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น ตรวจสอบและยืนยันข้อมูล โดยเทียบเคียงจากข้อมูลหายแหล่ง แยกแยะข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น หรือใช้ PROMPT
3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
          ถ้าข้อมูลที่นำมาใช้ในการเรียนรู้และการทำงาน มีความถูกต้อง เหมาะสม และน่าเชื่อถือ จะทำให้เกิดการเรียนรู้และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อนการนำข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มาใช้ต้องผ่านกระบวนการประเมิน ความน่าเชื่อถือด้วยการตรวจสอบและยืนยันข้อมูล โดยอาจใช้หลักการ PROMPT ซึ่งได้แก่ การนำเสนอ ความสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ วิธีการ แหล่งที่มา และเวลา (Presentation, Relevance, Objectivity, Method,
Provenance, Timeliness: PROMPT)

  4.จุดประสงค์การเรียนรู้    

  1. นักเรียนบอกวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้ (K)
  2. นักเรียนประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลจากแหล่งต่างๆได้ (P)
  3. นักเรียนมีความใฝ่เรียนรู้ (A)

5. คำถามสำคัญ  (Big Question)
          การนำข้อมูลมาใช้จะต้องมีการประเมินความน่าเชื่อถือได้ด้วยวิธีใด
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลาง 2551 และปรับปรุง 2560
          ใฝ่เรียนรู้
7. คุณค่าพระวรสาร ความซื่อตรง (regularity)
8. ทักษะการคิด

  1. การคิดวิเคราะห์
  2. การคิดสังเคราะห์

9. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

  1. ความสามารถในการคิด
  2. ความสามารถในการแก้ปัญหา
  3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

 
10. ภาระงาน/ชิ้นงาน/ร่องรอย/หลักฐานการเรียนรู้

  1. แบบฝึกหัดท้ายบท/ใบกิจกรรม
  2. สังเกตพฤติกรรมมีส่วนร่วมในชั้นเรียน

11. การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน
ชั่วโมงที่ 1
1)  ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน

ครูตั้งคำถามกับนักเรียนว่า
- ข้อมูลที่นำมาจากอินเทอร์เน็ตเพื่อทำรายงานหรือสร้างชิ้นงานในรายวิชาต่างๆ เชื่อถือได้หรือไม่
- เราทราบได้อย่างไรว่าข้อมูลที่นำมาทำรายงานน่าเชื่อถือ

2)  ขั้นสอน โดยใช้กระบวนการสร้างเจตคติ

  1. สังเกต

ครูให้นักเรียนศึกษาหัวข้อ 6.1 การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล

  1. วิเคราะห์

1.ครูให้นักเรียนเลือกศึกษาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และใช้หลักการ PROMPT ในการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล
2.นักเรียนทำกิจกรรมที่ 6.1

  1. สรุป

ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป เรื่องการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
3)  ขั้นสรุป
          ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป เรื่องการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
12. ระบุเทคนิคการสอนที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้มากกว่า 1 รายการ

  1. ใช้บรรยาย
  2. ใช้กรณีตัวอย่าง

13. สื่อและแหล่งเรียนรู้

  1. หนังสือเรียน

    2.สไลด์สื่อประกอบการสอน

วิดีโอเนื้อหา

รายวิชาวทิ ยาการคานวณ รหัสวิชา ว23103 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3

ข้อมลู จากหนังสอื เรยี นวชิ าวทิ ยาการคานวณ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 สถาบันส่งเสริมการสอน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี(สสวท.) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ในแต่ละวันนักเรียนจะได้รับข้อมูลข่าวสารผ่านอินเทอร์เน็ต หรือเครือขา่ ยสงั คมจานวนมากและรวดเร็ว ขอ้ มูลท่ีเผยแพร่น้นั มที ั้งข้อมูลท่ีเป็นจริงและเป็นเท็จ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อตนเอง และบุคคลอื่น ดังนั้นการนาผลงานของผู้อ่ืนไปใช้อย่างถูกต้อง และเลือกรับและส่งต่อข้อมูลอย่างมีวิจารณญาณ การรู้เท่าทัน สื่อจะทาให้การใช้ชีวิตในโลกไซเบอรม์ ีความปลอดภยั

การนาข้อมูลมาใช้ในการเรียน การทางานและ การตัดสนิ ใจต่าง ๆ จะต้องพิจารณาความถูกต้อง ของขอ้ มูลท่ีนามาจากหลายแหล่งข้อมูล โดยต้อง เป็นแหล่งขอ้ มูลมีความน่าเชือ่ ถือ มีความถูกต้อง สมบูรณ์ สอดคล้องตรงตามความต้องการ และ มีความทนั สมัย

เพ่อื ใหไ้ ด้ขอ้ มูลท่มี ีคุณภาพ นกั เรยี นอาจใช้การประเมิน ความน่าเชื่อถือของข้อมูล โดยใช้ประเด็นการพจิ ารณา ของ “พรอมท์” (PROMPT) ได้แก่ การนาเสนอ ( Presentation) ค ว า ม สั ม พั น ธ์ (Relevance) วัตถุ ประสงค์ (Objecttivity) วิ ธีการ (Method) แหล่งทม่ี า (Provenance) และเวลา (Timeliness)

การนาเสนอ (Presentation) การนาเสนอข้อมูลที่ดีจะต้องมีการวางเค้าโครง ที่เหมาะสม มีรายละเอียดชัดเจนไม่คลุมเครือ ใช้ภาษา และสานวนถูกต้อง ข้อมูลตรงตามท่ี ต้องการ เน้ือหา มีความกระชับ สามารถจับใจความ หรอื ประเด็นสาคญั ได้

ความสมั พนั ธ์ (Relevance) การพิจารณาประเด็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ จะต้องคานึงถึงความสอดคล้องของข้อมูลกับสิ่งที่ ต้องการ ถึงแม้ว่าข้อมูลน้ันอาจมีคุณภาพมาก แต่ถ้าไม่สัมพันธ์หรือสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ก็ไมส่ ามารถนาไปใช้ได้

วัตถุประสงค์ (Objecttivity) ข้อมูลที่จะนามาใช้ต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ไม่ใช่ ขอ้ มูลทีเ่ ปน็ การแสดงความคิดเหน็ หรอื มเี จตนาแอบแฝง

วิธกี าร (Method) ขอ้ มลู ทน่ี ามาใชเ้ ปน็ ข้อมูลทมี่ ีการวางแผน การเกบ็ รวบรวมข้อมลู อยา่ งเป็นระบบ

วธิ กี าร (Method) ข้ อ มู ล ที่ น า ม า ใ ช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ท่ี มี ก า ร วางแผน การเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็น ระบบ

เวลา (Timeliness) ข้อมูลท่ีมีคุณภาพจะต้องมีความเป็น ปัจจุบันหรือมีความทันสมัย และมีการระบุ ช่วงเวลาในการสร้างข้อมูลท่ีตรงกับความ เป็นจริง

. อ้ า ง อิ ง ข้ อ มู ล จ า ก ห นั ง สื อ เ รี ย น วิ ช า วิทยาการคานวณ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี(สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ

การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยใช้หลักการ Prompt มีอะไรบ้าง

ใช้หลักการ PROMPT Presentationการนำเสนอข้อมูลต้องชัดเจน ตรงตามเนื้อหา กระชับ Relevance การพิจารณาความสัมพันธ์ ความสอดคล้องของข้อมูลกับสิ่งที่ต้องการ Objectivity ข้อมูลที่นำมาใช้ต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ไม่มีเจตนาแอบแฝง หรือเป็นข้อมูลที่แสดงความคิดเห็น Method มีการวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ

การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลมีอะไรบ้าง

เพื่อเป็นการตรวจสอบความน่าเชื่อของแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่สืบค้นมาได้ผู้สืบค้นสามารถประเมินความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลได้ ดังนี้ 1. บอกวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยแพร่ข้อมูลไว้ในเว็บไซต์ 2. การเสนอเนื้อหาตรงตามวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยแพร่ข้อมูลของเว็บไซต์ 3. เนื้อหาเว็บไซต์ไม่ขัดต่อกฎหมาย ศีลธรรม และจริยธรรม

การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยใช้ประเด็นพิจารณาของ "พรอมท์" มีกี่หัวข้อ

ประเด็นพิจารณาตามหลักการ "พรอมท์ (PROMPT)" มีอะไรบ้าง การนำเสนอ ความสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ วิธีการ แหล่งที่มา เวลา ความสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ วิธีการ แหล่งที่มา ความกระชับ การนำเสนอ วัตถุประสงค์ วิธีการ แหล่งที่มา เวลา ความกระชับ การนำเสนอ

พรอมท์ คืออะไร

(พรอมพฺทฺ) adj. รวดเร็ว, ฉับพลัน, โดยพลัน, ทันทีทันใด, (เงิน) จ่ายได้ทันที. vt. กระตุ้น, ให้กำลังใจ, สนับสนุน, ถือหาง, บอกบท. vi. บอกบท. n. เวลาจำกัดในการชำระหนี้, การกระตุ้น, การให้กำลังใจ, การบอกบท, สิ่งเตือนใจ., See also: promptness n. prompter.