รัฐโบราณและรัฐไทยใน ดิน แดน ไทย ม. 1

ก่อนที่ชนชาติไทยจะอพยบเข้ามาตั้งอาณาจักรขึ้นในดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันนั้นได้มีหลายชนชาติตั้งหลักแหล่งอยู่ในบริเวณนี้มาก่อนกลุ่มชนเหล่านี้ได้สร้างความเจริญของตนรวมทั้งรับการถ่ายทอดอารยธรรมจากต่างชาติมาประยุกต์ใช้ด้วยต่อมาชนชาติไทยได้อพยพเข้ามาและตั้งอาณาจักรของคนไทยขึ้นปลุกครองแทนที่อาณาจักรเดิมโดยชาวไทยได้รับอารยธรรมบางอย่างจากอาณาจักรโบราณเหล่านั้นด้วย

นอกจากนี้ชุมชนก่อนสมัยสุโขทัยก็ได้มีการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาของตนเองสำหรับการแก้ปัญหาในการดำรงชีวิตจนมีความเจริญก้าวหน้าและความสามารถดำรงอยู่ได้อย่างดีท่ามกลางสภาวะสภาพแวดล้อมและธรรมชาติในขณะนั้นรวมทั้งได้เกิดผลงานของบุคคลสำคัญต่อการดำรงค์ชีวิตอยู่ของแว่นแคว้น บางแห่งเท่าที่มีหลักฐานปรากฏอันเป็นส่วนหนึ่งของพื้นฐานแห่งความเจริญก้าวหน้าของชุมชนในสมัยต่อๆมาบนพื้นแผ่นดินที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน

รัฐโบราณและรัฐไทยใน ดิน แดน ไทย ม. 1
  

รัฐโบราณและรัฐไทยใน ดิน แดน ไทย ม. 1


                 จนถึงสมัยอาณาจักรธนบุรี  อาณาจักรล้านนาได้ตกเป็นประเทศราชของไทยและต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2411 -2453 ได้ทรงรวมอาณาจักรล้านนาเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสยามประเทศ

ดินแดนไทยในอดีตมีอาณาจักรโบราณถือกำเนิดอยู่ก่อนแล้ว ได้แก่ แคว้นตามพรลิงค์ อาณาจักรศรีวิชัย อาณาจักรทวารวดี แคว้นละโว้ แคว้นหริภุญชัย รวมถึงรัฐโบราณของชนชาติไทย ได้แก่ แคว้นโยนกเชียงแสน อาณาจักรล้านนา แคว้นศรีโคตรบูร ซึ่งต่างก็มีความเจริญอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวและได้ถ่ายทอดความเจริญนั้นจนเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบมาถึงปัจจุบัน

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้

1. เปรียบเทียบลักษณะสำคัญของรัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทยได้

ด้านทักษะกระบวนการ

1. ทำงานเป็นกลุ่มในการศึกษาเรื่อง รัฐโบราณและรัฐไทยในดินแดนไทยได้

ด้านคุณลักษณะ

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้

2. มุ่งมั่นในการทำงาน

คุณลักษณะเฉพาะ

1. เห็นความสำคัญของอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่สืบทอดจากรัฐโบราณและรัฐไทยมาสู่ปัจจุบัน

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการ

- ตั้งคำถามนำและให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย

- การทำใบกิจกรรม เรื่อง ย้อนอดีตท่องเมืองโบราณ

- การนำเสนอหน้าชั้นเรียน

เครื่องมือวัด

- แบบประเมินการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17

เกณฑ์การวัด

- เกณฑ์คุณภาพการประเมิน (RUBRIC SCORE)     

เครื่องมือ

- คำถามนำ

- แบบประเมินการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17

เกณฑ์การวัด

- นักเรียนตอบคำถามถูกต้องมากกว่าร้อยละ 50

- เกณฑ์คุณภาพการประเมิน(RUBRIC SCORE)