เนื้อหาวิทยาศาสตร์ ป.3 pdf

    หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ขั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เล่ม ๑ นี้ จัดเรียงลำดับของเนื้อหาให้สอดคล้องกับพัฒนการของผู้เรียนโดยผู้เรียนจะได้เรียนรู้กี่ยวกับการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว และอากาศและชีวิตของสัตว์ ซึ่งป็นพื้นฐาที่สำคัญต่อการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ผู้เรียนจะได้ทำกิจกรรการเรียนรู้ การฝึกปฏิบัติ ตอบคำถาม เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

สรุปความรู้
วชิ าวิทยาศาสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3

สรปุ ความรู้วชิ าวิทยาศาสตร์
เรอ่ื งแรงและการเคลือ่ นทขี่ องวัตถุ

แรง คอื ส่ิงท่กี ระทำต่อวัตถุ แล้วทำใหว้ ัตถเุ กิดกำรเปลีย่ นแปลงไป เชน่ ทำให้วตั ถุ
เคลอ่ื นที่ วัตถุหยดุ กำรเคลอื่ นที่ วัตถุเปลย่ี นทิศทำง วัตถเุ ปล่ยี นรปู ร่ำง
แรง มหี นว่ ยเป็น นวิ ตัน (N)

เมือ่ มีแรงกระทาตอ่ วัตถุ อาจทาใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงไดด้ ังนี้
1. ทำใหเ้ ปล่ียนจำกวตั ถหุ ยุดนงิ่ เป็นเคล่อื นที่

2. ทำให้เปล่ียนจำกวตั ถทุ ก่ี ำลังเคล่อื นท่ีอยู่ เปน็ หยดุ นง่ิ

3. ทำใหเ้ ปลยี่ นจำกเคลอ่ื นทีช่ ำ้ เป็นเรว็ ขน้ึ แรงผลกั
4. ทำใหเ้ ปลี่ยนจำกเคล่ือนทเ่ี รว็ เปน็ ช้ำลง
แรงดึง

5. ทำใหว้ ัตถเุ ปลี่ยนรูปรำ่ ง

6. ทำใหว้ ตั ถุเปล่ยี นขนำด ชนดิ ของการออกแรง มีดงั นี้
7. ทำให้วัตถเุ ปลี่ยนทิศทำง
แรงดึง เป็นกำรออกแรงกระทำตอ่ วัตถุ
ผลของแรงต่อการเปลี่ยนแปลง แลว้ ทำให้วตั ถุเคลอื่ นท่ีเขา้ หาตวั เรำ
การเคลอื่ นท่ขี องวตั ถุ แรงผลกั เปน็ กำรออกแรงกระทำต่อวัตถุ
แลว้ ทำใหว้ ตั ถุเคลือ่ นที่ออกจากตวั เรำ

กำรเคลื่อนทข่ี องวตั ถุจำเปน็ ต้องมแี รงเขำ้ มำกระทำ เมือ่ ต้องกำร
เคล่ือนยำ้ ยวตั ถุ เรำจำเป็นตอ้ งออกแรงดงึ ลำก หรอื ผลัก เพือ่ ให้
วัตถุเหล่ำนั้นเคลื่อนที่ ดังนัน้ แรงท่มี ำกระทำต่อวตั ถุเหล่ำนัน้ จงึ
สง่ ผลต่อกำรเคลอื่ นทีข่ องวตั ถโุ ดยตรง

สรุปความรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์
เรื่องแม่เหล็กและสมบตั ขิ องแม่เหลก็

แมเ่ หล็ก คอื วตั ถทุ ส่ี ามารถดงึ ดูดวตั ถุท่ีมสี ารแม่เหล็กได้
แมเ่ หล็กแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี
1. แม่เหล็กธรรมชาติ หรอื เรียกว่ำ แมกนีไทต์ แหล่งทพ่ี บแรแ่ มเ่ หลก็ ใน
ประเทศไทย ไดแ้ ก่ จงั หวดั ลพบุรี นครสวรรค์ เลย ชลบรุ ี ระยอง
กระบี่ และนครศรีธรรมรำช
2. แม่เหล็กประดิษฐ์ มีรูปร่างหลากหลายรูปแบบ เชน่

แม่เหลก็ รปู ตวั ยู แมเ่ หล็กแบบแท่ง แม่เหลก็ รูปวงแหวน แมเ่ หล็กรปู ทรงกลม

สารแม่เหล็ก

1. วัตถทุ ี่มีสารแม่เหล็กมักจะมีสว่ นผสมของโลหะบำงชนดิ เชน่ เหลก็ นิกเกลิ
และโคบอลต์

นอต ตะปู คลปิ หนบี กระดาษ ลูกกุญแจ

2. วัตถุท่ีไม่ใชส่ ารแมเ่ หลก็ แม่เหล็กจะไม่สำมำรถดึงดูดได้ เชน่ ไม้ แก้ว ยำง
กระดำษ และโลหะบำงชนดิ ได้แก่ ทองแดง สังกะสี เงนิ อลมู เิ นยี ม

ผ้า

ไม้ ยาง พลาสตกิ แกว้ กระดาษ

สรุปความรู้วชิ าวิทยาศาสตร์
เรือ่ งพลังงานไฟฟา้

พลงั งาน หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรทำงำน พลังงำนมีหลำยแบบ โดยพลงั งำน
สำมำรถเปลย่ี นจำกพลังงำนหนึ่งไปเปน็ อกี พลังงำนหนงึ่ ไดแ้ ละสำมำรถใช้ประโยชน์
จำกพลงั งำนในรปู แบบตำ่ ง ๆ

พลงั งานไฟฟา้ พลังงานแสง

คอื พลังงำนทีอ่ เิ ล็กตรอนเคล่ือนท่ผี ำ่ น คือ พลังงานท่ีรบั รู้ไดด้ ว้ ย
ตวั นำไฟฟำ้ ทำใหเ้ กดิ กระแสไฟฟำ้ ขน้ึ ตาจากแหลง่ กาเนิดแสง
ตัวอย่างการใชพ้ ลังงาน
ตวั อยำ่ งกำรใช้พลังงำน - เทยี นไข
- เครอ่ื งซักผ้ำ - เครื่องป่นั ผลไม้ - โคมไฟ

พลังงานเสยี ง พลงั งานความรอ้ น

คอื พลังงำนทเ่ี กดิ จำก คือ พลงั งำนท่ไี ด้มำจำกหลำยแหล่ง
กำรสนั่ สะเทือนของวตั ถุ ตัวอย่ำงกำรใช้พลงั งำน
ตวั อย่ำงกำรใชพ้ ลังงำน - ดวงอำทติ ย์
- วิทยุ - กำรเผำไหมถ้ ำ่ นหนิ หรอื เช้ือเพลิง
- กลอง

พลงั งานกล

คอื พลังงำนทเี่ กดิ ขนึ้ จำกกำรกระทำของ
แรงแล้วทำให้วัตถเุ คลือ่ นท่ี
ตัวอยำ่ งกำรใชพ้ ลังงำน
- กังหันลม
- น้ำตกไหลจำกทีส่ ูงลงส่ทู ต่ี ่ำ

สรปุ ความรู้วิชาวิทยาศาสตร์
เร่อื งแหลง่ พลงั งานในการผลิตกระแสไฟฟ้า

1. แหลง่ พลังงานท่ีมีจากดั

แหลง่ พลงั งานจากซากดกึ ดาบรรพ์ท่ใี ช้แล้วหมดไป หรือเมือ่ นามาใช้แล้วไม่
สามารถสรา้ งข้นึ มาทดแทนได้ เช่น ถ่านหนิ นา้ มนั และแก๊สธรรมชาติ

เปน็ แร่เชื้อเพลงิ ที่เกิดจากการทบั ถมกนั ของซากพชื ซากสตั วเ์ ปน็ เวลาหลายลา้ นปี
เป็นเชอ้ื เพลงิ ทไ่ี ด้จากการขดุ เจาะชนั้ ใต้ดินหรือใตท้ ะเล

2. แหลง่ พลังงานหมุนเวยี น แหล่งพลังงานทีน่ ามาใช้แลว้ สามารถนา

กลับมาใช้ใหม่ได้ หรือเป็นแหล่งพลงั งานทไี่ มม่ ีวันหมด
พลงั งานลม โดยอาศยั แรงลมท่พี ดั มาปะทะใบพัดของกังหันลม ทาให้กังหัน

ลมหมนุ เครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟา้ จึงทาให้สามารถผลติ ไฟฟ้าได้

พลงั งานนา้ โดยอาศัยแรงดนั ของนา้ จากเข่ือนหมุนกังหันท่มี แี กนติดกับ

เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ผลติ ไฟฟ้าออกมา

พลังงานแสงอาทิตย์ ต้องอาศยั เซลล์สุรยิ ะในการเปลี่ยนแปลงพลงั งานแสง

จากดวงอาทติ ยใ์ หเ้ ปน็ พลังงานไฟฟ้า

สรปุ ความรู้วชิ าวิทยาศาสตร์
เร่ือง การเปลย่ี นพลงั งาน

การเปลี่ยนพลงั งาน พลงั งำนมหี ลำยแบบ เช่น พลงั งำนกล พลงั งำน

ไฟฟ้ำ พลังงำนแสง พลังงำนเสียง พลงั งำนควำมร้อน โดยพลังงานสามารถ
เปลีย่ นจากพลงั งานหนงึ่ ไปเป็นอีกพลงั งานหนง่ึ ได้

ตัวอยา่ ง เชน่ การเปลยี่ นพลงั งานไฟฟ้า

เป็นพลังงานความรอ้ น

ทาให้ขนมปงั กรอบ

การเปลย่ี นพลงั งานไฟฟา้
เปน็ พลังงานกล

ทาให้แกนเครื่องป่นั หมุน

การเปลี่ยนพลังงานไฟฟา้
เป็นพลงั งานเสยี ง
ทาใหท้ ีวีเกิดเสียง

แผงเซลลส์ ุรยิ ะ เป็นอปุ กรณท์ ่ี
สามารถเปล่ียนพลังงานแสงจาก
ดวงอาทติ ย์เปน็ พลังงานไฟฟา้

เครือ่ งคิดเลข มเี ซลล์สุรยิ ะเป็น
สว่ นประกอบอยภู่ ายใน จงึ เปล่ียน
พลังงานแสงจากดวงอาทิตย์เป็น

พลงั งานไฟฟ้า

สรุปความร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์
เร่อื ง การเปลย่ี นพลงั งาน (ต่อ)

พลงั งานรูปหน่งึ ที่สามารถเปลย่ี นเป็นพลังงานอน่ื ได้มากกว่า 1 พลงั งาน

ตวั อยา่ ง เช่น พลงั งานไฟฟ้าเปลย่ี นเปน็

พลงั งานแสง
พลังงานกล
พลังงานเสยี ง

พลังงานไฟฟ้าเปล่ียนเป็น

พลงั งานแสง
พลงั งานกล
พลังงานความรอ้ น
พลงั งานเสยี ง

พลังงานไฟฟา้ เปลีย่ นเป็น

พลงั งานแสง
พลงั งานความรอ้ น

พลังงานไฟฟ้าเปลยี่ นเปน็

พลงั งานกล
พลังงานความรอ้ น

สรปุ ความรู้วิชาวทิ ยาศาสตร์
เร่อื ง การใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งประหยัดและปลอดภยั

การใชไ้ ฟฟา้ อย่างประหยัด

ตง้ั โทรทัศน์หา่ งจากผนงั อย่างน้อย 10 เซนตเิ มตร

ควรรดี ผ้าคร้ังละหลายตวั โดยไม่พรมน้าจนชุ่ม

เลือกซือ้ ตูเ้ ย็นทม่ี ีฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5
และไมต่ ้ังตูเ้ ยน็ ใกล้ผนงั เกินไป

ปรบั อุณหภูมิใหเ้ หมาะสมกับขนาดหอ้ ง
และปิดเคร่อื งปรบั อากาศทุกครัง้ เมอ่ื ไม่ใช้งาน

การใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งปลอดภยั

ตรวจสอบสายไฟฟา้ และอุปกรณ์ไฟฟ้าให้อยู่ใน
สภาพปกติ ถ้าเกดิ การชารดุ ควรบอกผ้ใู หญ่ใหแ้ กไ้ ขทันที

ในการเสยี บและถอดเต้าเสียบของเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้
ใหจ้ บั ทต่ี ัวของเตา้ เสียบส่วนท่ีเป็นฉนวนไฟฟ้าเท่านั้น

ไม่ควรใช้เต้ารับตวั เดยี วกบั เต้าเสียบหลาย ๆ ตวั เพราะจะทาให้เต้ารับ
ไดร้ ับกระแสไฟฟา้ มากเกนิ ไป อาจทาใหเ้ กิดไฟฟา้ ลดั วงจรได้

เม่ือร่างกายเปียกน้า ไม่ควรเปดิ หรอื ปดิ สวติ ซ์เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้
หรอื เสียบเต้าเสยี บ เพราะอาจถูกไฟฟา้ ดูดได้

เมื่อไม่ใชง่ านเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ควรปิดสวิตช์และถอดปลกั๊
ออกทุกครง้ั โดยเฉพาะเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าท่ีให้ความรอ้ น

สรปุ ความร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์
เร่อื ง ดวงอาทิตย์

ความสาคัญของดวงอาทิตย์

ดวงอาทติ ย์เปน็ ดาวฤกษ์ขนาดใหญท่ ่มี แี สงสว่างใน
ตัวเองเป็นแหลง่ พลงั งาน ที่มคี วามสาคัญตอ่ โลก
เพราะดวงอาทิตยใ์ หพ้ ลังงานความรอ้ นและพลังงานแสง
แกโ่ ลก ทาให้สง่ิ มีชีวิตนาพลงั งานไปใช้ประโยชน์ได้
เชน่ พชื ใช้พลังงานแสงของดวงอาทติ ยใ์ น

กระบวนการสร้างอาหารของพชื และแสงของ
ดวงอาทติ ย์ทาให้มนุษย์และสัตวม์ องเหน็ ส่งิ ต่าง ๆ
รอบตวั ในเวลากลางวัน

การหมุนรอบตัวเองของโลก ทาให้เหน็ ดวงอาทติ ยป์ รากฏข้ึนบน
ทอ้ งฟา้ ในเวลากลางวัน จากขอบฟ้าด้านหนึ่งและตกลบั ขอบฟ้า
อกี ด้านหน่ึง ทาให้โลกเข้าส่ชู ว่ งเวลากลางคืน

สรปุ ความรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์
เรื่อง ดวงอาทิตย์ (การเกิดทศิ )

การเกิดทศิ

ทิศเกิดจากการทโี่ ลกหมนุ รอบตวั เองและโคจรรอบดวงอาทิตย์ขึน้
และตก ซงึ่ มีการนาการข้นึ และตกของดวงอาทติ ยม์ าเป็นตัวกาหนดทิศ
โดยกาหนดให้ทิศทที่ างดวงอาทิตย์ข้ึนเปน็ ทศิ ตะวนั ออกและกาหนดให้
ด้านทด่ี วงอาทติ ยต์ ก เปน็ ทศิ ตะวันตก ซ่งึ ทาให้เราสามารถกาหนดทิศ
ได้ดงั นี้

ทศิ ท่ีเรามองเห็นดวงอาทติ ย์ขึ้นเปน็ ทิศตะวนั ออก (East)

เมอ่ื เราหันหน้าไปทาง เมอื่ เราหนั หนา้ ไปทาง
ทศิ ตะวนั ออก ดา้ นซา้ ยมอื ทศิ ตะวันออก ดา้ นขวามอื
จะเปน็ ทิศเหนือ (North) จะเป็น ทศิ ใต้ (South)

เมอ่ื เราหันหนา้ ไปทางทิศตะวนั ออก ด้านหลังจะเปน็ ทศิ ตะวนั ตก (West)

สรปุ ความรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์
เร่อื ง อากาศรอบตัว

เปน็ สสารในสถานะแกส๊ มีอยู่ทกุ หนทุกแห่งรอบตัวเรา ไมม่ ีสี ไมม่ ีกลิ่น

แก๊สไนโตรเจน แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์
มอี ยูใ่ นอากาศ 78 % ไอน้า และสงิ่ เจือปนอ่นื ๆ
มปี ริมาณมากทสี่ ุดใน มอี ยู่ในอากาศ 1 % โดยมี
อากาศ ทาหน้าท่ีเจือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
จางแกส๊ ออกซเิ จนใน ประมาณ 0.04 เปน็ แก๊สที่
อากาศใหม้ ปี รมิ าณ สาคญั ในกระบวนการสร้าง
เหมาะสมกับการ อาหารของพืช สว่ นที่เหลอื
ดารงชีวติ ของสง่ิ มชี ีวิต ได้แก่ ไอนา้ และสง่ิ เจอื ปน
อน่ื ๆ เช่น ฝนุ่ ละออง
แก๊สออกซเิ จน
มอี ยใู่ นอากาศ 21% เปน็ แก๊สทีส่ าคญั ที่สุด
ของสิ่งมชี ีวติ เพราะสง่ิ มีชวี ติ ใชแ้ ก๊ส
ออกซเิ จน ในการหายใจเพื่อการดารงชวี ิต

พชื ใช้แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์
ในกระบวนการสรา้ งอาหารของพืช

มนษุ ย์ใชแ้ ก๊สออกซเิ จนในการหายใจ
เพอื่ สรา้ งพลังงานให้กับรา่ งกายเพ่ือการดารงชีวติ

สัตว์ใชแ้ ก๊สออกซิเจนในการหายใจ

อากาศยงั ช่วยกรองความร้อนท่ีมาจาก
ดวงอาทติ ย์เพอ่ื ใหส้ ่องมายังโลกน้อยลง

ทาให้อุณหภมู ิบนโลกไมร่ อ้ นเกนิ ไป

สรุปความร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์
เรือ่ ง อากาศรอบตัว (มลพิษทางอากาศ)

มลพิษทางอากาศ คอื อากาศที่มแี กส๊ บางชนิด ฝนุ่ ละออง และควนั ที่ก่อใหเ้ กดิ อนั ตราย
ตอ่ การดารงชวี ติ ของสิง่ มชี วี ติ ชนดิ ตา่ ง ๆ ซึ่งเกิดได้หลายสาเหตุ เชน่

ภูเขาไฟปะทุ ไฟปา่ โรงงานอตุ สาหกรรม รถยนต์

มนุษย์ สัตว์

 เกิดการระคายเคอื งของดวงตา จมกู คอ  อาจไดร้ บั สารพษิ จากการหายใจ
 เกดิ โรคเกี่ยวกบั ระบบทางเดนิ หายใจ  จากการกินพชื ทีม่ ีสารพิษตกคา้ ง
 หากมฝี นุ่ ละอองจานวนมากจะมีผลตอ่ การ

มองเห็น ทาใหเ้ กิดอบุ ัติเหตุได้

อืน่ ๆ
พืช  เกิดการกัดกร่อนของสิง่ กอ่ สร้าง

 วสั ดุอุปกรณต์ า่ ง ๆ สกปรกงา่ ย

 ฝุ่นละอองเกาะบริเวณใบของพืชทา
ใหพ้ ืชสร้างอาหารได้น้อยลง

 ใบของพชื มีสีที่เปลยี่ นไป

สรปุ ความร้วู ชิ าวทิ ยาศาสตร์
เร่ือง อากาศรอบตัว (การเกิดลม)

แนวทางการปฏบิ ตั ิตน เพื่อลดมลพษิ ทางอากาศ

ใช้ถงุ ผา้ หรือ ถุงกระดาษ ใชร้ ถจักรยาน หรอื เดนิ
แทนการใช้ถงุ พลาสติก แทนการใช้รถยนต์

ไม่เผาขยะหรือสงิ่ ต่าง ๆ ปลกู ตน้ ไม้เพ่มิ ข้นึ เพ่ือดดู ซับ
เพราะจะทาให้เกดิ ควนั พิษ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์

คือ อากาศทีเ่ คลื่อนท่ี เกิดจากความแตกตา่ งกันของอุณหภมู อิ ากาศ
บรเิ วณทีอ่ ยู่ใกลก้ นั โดยอากาศ บรเิ วณท่ีมีอุณหภูมสิ ูงจะลอยตัวสงู ขน้ึ
และอากาศบรเิ วณทมี่ ีอณุ หภูมิตา่ กว่าจะเคลอ่ื นเขา้ ไปแทนที่

ลมบก เกิดในเวลากลางคืน เกดิ จากพืน้ ดิน

หรอื พืน้ ทรายคายความรอ้ นได้เรว็ กว่าพนื้ น้า

ลมทะเล เกดิ ในเวลากลางวนั เกดิ จากพื้นดนิ

หรือพื้นทรายรบั ความรอ้ น จากดวงอาทติ ยไ์ ด้
ดกี วา่ พื้นนา้

สรุปความรูว้ ิชาวิทยาศาสตร์
เรื่อง อากาศรอบตวั (การเกิดลม)

เครอ่ื งมือที่ใช้วดั กระแสลม

ประโยชน์ของลม โทษของลม