เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

การกำหนดตำแหน่งของสถานที่บนผิวโลก สามารถบอกได้โดยการบอกพิกัดของวัตถุด้วยค่าละติจูด (latitude) และลองติจูด (longitude) ในทำนองเดียวกันการบอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าสามารถบอกได้โดยใช้มุมห่าง (elongation) มุมทิศ (azimuth) และมุมเงย (altitude) 

    ระยะเชิงมุม และมุมห่าง

    เมื่อเราสังเกตดาวบนท้องฟ้าหลายๆดวง หากเราต้องการทราบว่า ดาวสองดวงบนท้องฟ้ามีระห่างบนทรงกลมท้องฟ้าเท่าไหร่ เราสามารถบอกได้ง่ายๆ โดยใช้ระยะเชิงมุม (angula distance) โดยบอกค่าระยะเชิงมุมบนดวงดาวต่างๆบนท้องฟ้าที่มีระยะห่างจากโลก สามารถสังเกตระยะเชิงมุมของดาวคู่เดียวกัน ได้ตรงกันเพราะโลกมีขนาดเล็กมาก เมื่อเทียบกับระยะห่างของดวงดาวจึงถือว่าโลกเป็นจุดๆหนึ่งและระยะเชิงมุมระหว่างดาวท้งสอง คือมุมระหว่างรัศมีที่ลากจากจุดศูนย์กลางของโลก ไปยังดาวทั้งสอง

    โดยระยะเชิงมุมระหว่างดวงอาทิตย์กับดาวเคราะห์ หรือดวงจันทร์จากมุมมองของผู้สังเกตบนโลกจะเรียกว่า มุมห่าง 

เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

มุมทิศ มุมเงย

    การบอกตำแหน่งของวัตถุบนพื้นโลกเราจะใช้พิกัดของละติจูด ควบคู่ไปกับลองจิจูด สำหรับพิกัดของดวงดาวบนท้องฟ้า เราสามารถบอกได้อย่างง่ายๆ ด้วยค่ามุมทิศควบคู่ไปกับมุมเงย ดังภาพ

เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า
    แผนที่ดาว

จากการที่ได้ศึกษาระยะเชิงมุม มุมทิศ มุมเงย ซึ่งเป็นการบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้าอย่างง่าย เราสามารถใช้ความรู้ดังกล่าวมาใช้ศึกษาดวงดาวร่วมกับการใช้แผนที่ดาว

-ขอบคุณแหล่งข้อมูล https://sites.google.com/site/wpuangdokmai/contant/homeworkforweekofoctober11th

เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

Author: Tuemaster Admin

ทีมงานจากเว็บไซต์ติวกวดวิชาออนไลน์ที่ดีที่สุด !! สำหรับ การเรียนออนไลน์ ม.ปลาย (ม.4, ม.5, ม.6)

เทพศิรินทร์ สป แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เรื่อง การบอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า

5  |  By Debsp_karnpitcha | Last updated: Mar 22, 2022 | Total Attempts: 6402

เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า
เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า
Settings

Feedback

During the Quiz End of Quiz

Difficulty

Sequential Easy First Hard First

เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

ให้ผู้เรียนเลือกข้อที่ถ กที่สุดเพียงข้อเดียว


  • 1. 

    คืนหนึ่งผู้สังเกตที่อยู่ประเทศไทยวัดตำแหน่งของดาวอังคารได้ดังนี้มุมอาซิมุท 90o มุมเงย 45o ผู้สังเกตซึ่งอยู่บนเส้นลองจิจูดเดียวกันกับผู้สังเกตในประเทศไทยแต่อยู่ที่ละติจูด60oเหนือจะสังเกต ดาวอังคารได้ในบริเวณใดบนท้องฟ้า

    • A. 

      ด้านตะวันออกเฉียงเหนือ

    • B. 

      ด้านตะวันออกเฉียงใต้

    • C. 

      ด้านตะวันตกเฉีนงเหนือ

    • D. 

      ด้านตะวันตกเฉียงใต้

  • 2. 

    มุมเงย หมายถึงข้อใด

    • A. 

      มุมที่เกิดจากเส้นตรงที่ลากจากผู้สังเกตไปยังวัตถุนั้นบนท้องฟ้ากับเส้นตรงที่ลากจาก ผู้สังเกตไปยังจุดตัดระหว่างเส้นขอบฟ้ากับเส้นดิ่งที่ลากผ่านวัตถุท้องฟ้านั้น

    • B. 

      มุมที่เริ่มวัดจากทิศเหนือมาตามเส้นขอบฟ้าทางทิศตะวันออกจนถึงจุดตัดของเส้น ขอบฟ้ากับเส้นดิ่งที่ลากผ่านวัตถุนั้น

    • C. 

      จุดที่อยู่บนทรงกลมท้องฟ้าเหนือศีรษะของผู้สังเกต

    • D. 

      เส้นที่ลากจากจุดเหนือศีรษะไปตามทรงกลมท้องฟ้าไป จนตัดและตั้งฉากกับเส้นขอบฟ้า

  • 3. 

    มุมอาซิมุท หมายถึงข้อใด

    • A. 

      มุมที่เกิดจากเส้นตรงที่ลากจากผู้สังเกตไปยังวัตถุนั้นบนท้องฟ้ากับเส้นตรงที่ลากจาก ผู้สังเกตไปยังจุดตัดระหว่างเส้นขอบฟ้ากับเส้นดิ่งที่ลากผ่านวัตถุท้องฟ้านั้น

    • B. 

      มุมที่เริ่มวัดจากทิศเหนือมาตามเส้นขอบฟ้าทางทิศตะวันออกจนถึงจุดตัดของเส้น ขอบฟ้ากับเส้นดิ่งที่ลากผ่านวัตถุนั้น

    • C. 

      จุดที่อยู่บนทรงกลมท้องฟ้าเหนือศีรษะของผู้สังเกต

    • D. 

      เส้นที่ลากจากจุดเหนือศีรษะไปตามทรงกลมท้องฟ้าไป จนตัดและตั้งฉากกับเส้นขอบฟ้า

  • 4. 

    เส้นขอบฟ้า หมายถึงข้อใด

    • A. 

      มุมที่เกิดจากเส้นตรงที่ลากจากผู้สังเกตไปยังวัตถุนั้นบนท้องฟ้ากับเส้นตรงที่ลากจาก ผู้สังเกตไปยังจุดตัดระหว่างเส้นขอบฟ้ากับเส้นดิ่งที่ลากผ่านวัตถุท้องฟ้านั้น

    • B. 

      มุมที่เริ่มวัดจากทิศเหนือมาตามเส้นขอบฟ้าทางทิศตะวันออกจนถึงจุดตัดของเส้น ขอบฟ้ากับเส้นดิ่งที่ลากผ่านวัตถุนั้น

    • C. 

      จุดที่อยู่บนทรงกลมท้องฟ้าเหนือศีรษะของผู้สังเกต

    • D. 

      เส้นที่ลากตามแนวขอบของครึ่งวงกลม จนตัดและตั้งฉากกับเส้นขอบฟ้า

  • 5. 

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    มุมอาซิมุทและมุมเงยของดาว A และดาว B มีค่าเท่าใด

    • A. 

      ดาว A มีค่ามุมอาซิมุทเท่ากับ 130 องศา มุมเงย = 60 องศา ดาว B มีค่ามุมอาซิมุทเท่ากับ 210 องศา มุมเงย = 60 องศา

    • B. 

      ดาว A มีค่ามุมอาซิมุทเท่ากับ 130 องศา มุมเงย = 60 องศา ดาว B มีค่ามุมอาซิมุทเท่ากับ 60 องศา มุมเงย = 130 องศา

    • C. 

      ดาว A มีค่ามุมอาซิมุทเท่ากับ 60 องศา มุมเงย = 130 องศา ดาว B มีค่ามุมอาซิมุทเท่ากับ 60 องศา มุมเงย = 120 องศา

    • D. 

      ดาว A มีค่ามุมอาซิมุทเท่ากับ 0 องศา มุมเงย = 60 องศา ดาว B มีค่ามุมอาซิมุทเท่ากับ 0 องศา มุมเงย = 60 องศา

O net เพื่อฝึกการทำข้อสอบ Online

Questions: 26  |  Attempts: 221   |  Last updated: Mar 20, 2022

  • Sample Question

    97. ข้อใดเป็นการนำระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูลมาใช้ในงานที่ให้ผลตอบแทนน้อยที่สุด

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    1. ใช้ทำบัญชีรายรับรายจ่ายส่วนบุคคล

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    2. ใช้ในการปลูกผักในแปลงเกษตรโรงเรียน

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    3. ใช้ในการควบคุมการผลิตผลไม้กระป๋องส่งออก

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    4. ใช้ในการควบคุมการผลิตและจำหน่ายชิ้นส่วนรถยนต์ของโรงงาน

Service Mind Test

Questions: 8  |  Attempts: 328   |  Last updated: Mar 21, 2022

  • Sample Question

    เมื่อช่างเข้าดำเนินการที่ Site ตามเลขจ๊อบ Incident ที่แจ้งไป เมื่อถึง Site ช่างควรทำข้อใดเป็นอันดับแรก ให้เรียงลำดับก่อนหลัง 1. ติดต่อเจ้าของเคสคุณ 2. แจ้งว่ามาทำเคส IM เลขที่ xxx 3. รายละเอียดเคสตามปัญหา 4. แนะนำตัว ชื่อ บริษัท

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    4 1 2 3

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    3 2 1 4

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    2 1 3 4

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    4 2 1 3

.เก็บคะแนน  5  คะแนน

Questions: 10  |  Attempts: 1971   |  Last updated: Mar 21, 2022

  • Sample Question

    ระบบคอมพิวเตอร์มีทั้งหมดกี่ส่วน

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    2 ส่วน

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    3 ส่วน

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    4 ส่วน

    เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า

    5 ส่วน

เฉลย แบบฝึกหัด การบอกตำแหน่งของวัตถุ ท้องฟ้า
Back to top