ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002 เฉลย

หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม

รายวิชา ศาสนาและหนาทพี่ ลเมือง
(สค31002)

ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551

หา มจาํ หนา ย

หนังสอื เรียนเลม น้จี ดั พมิ พดวยเงนิ งบประมาณแผน ดนิ เพื่อการศึกษาตลอดชวี ติ สําหรับประชาชน
ลิขสิทธ์เิ ปน ของ สํานกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร

สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารทางวชิ าการลาํ ดับท่ี 39/2554

หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม
รายวชิ า ศาสนาและหนาทพี่ ลเมอื ง (สค31002)
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

เอกสารทางวชิ าการลําดบั ท่ี 39/2554

คํานํา

สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ไดด าํ เนนิ การจดั ทาํ
หนงั สอื เรยี นชุดใหมน ีข้ ึ้น เพื่อสําหรับใชใ นการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคใ นการพฒั นาผเู รยี นใหม คี ณุ ธรรม
จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอและสามารถ
ดาํ รงชวี ติ อยใู นครอบครวั ชมุ ชน สงั คมไดอ ยา งมคี วามสขุ โดยผเู รยี นสามารถนาํ หนงั สอื เรยี น
ไปใชในการเรียนดวยวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม รวมทั้งแบบฝกหัด
เพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเมื่อศึกษาแลวยังไมเขาใจ สามารถกลับ
ไปศึกษาใหมได ผูเรียนอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูหลังจากศึกษาหนังสือเรียนนี้ โดยนํา
ความรไู ปแลกเปลย่ี นกบั เพอ่ื นในชน้ั เรยี น ศกึ ษาจากภมู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ จากแหลง เรยี นรแู ละ
จากสอื่ อนื่ ๆ

ในการดาํ เนนิ การจดั ทาํ หนงั สอื เรยี นตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษา
ขน้ั พน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2551 ไดร ับความรวมมอื ที่ดีจากผูท รงคณุ วฒุ ิและผเู ก่ยี วขอ งหลาย
ทานซ่ึงชวยกนั คนควา และเรยี บเรยี งเนอื้ หาสาระจากสอ่ื ตางๆ เพอื่ ใหไดสอ่ื ทีส่ อดคลองกบั
หลกั สตู รและเปน ประโยชนต อ ผเู รยี นทอ่ี ยนู อกระบบอยา งแทจ รงิ สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ขอขอบคณุ คณะทป่ี รกึ ษาคณะผเู รยี บเรยี ง ตลอดจน
คณะผูจดั ทําทุกทานทีไ่ ดใหความรวมมอื ดวยดี ไว ณ โอกาสนี้

สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั หวงั วา หนงั สอื เรยี น
ชุดนี้จะเปน ประโยชนใ นการจดั การเรยี นการสอนตามสมควร หากมขี อ เสนอแนะประการใด
สํานักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ขอนอ มรับไวดวยความ
ขอบคณุ ยิ่ง

สาํ นักงาน กศน.

สารบญั

หนา
คาํ แนะนาํ การใชห นังสือเรียน
โครงสรา งรายวิชา ศาสนาและหนาทีพ่ ลเมอื ง (สค31002)

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
บทท่ี 1 ศาสนาตางๆ ในโลก ..................................................................................1

เร่อื งท่ี 1 ความหมาย คณุ คา และประโยชนข องศาสนา...............................3
เรือ่ งที่ 2 พุทธประวัตแิ ละหลักธรรมคาํ สอนของพุทธศาสนา .......................4
เรือ่ งที่ 3 ประวัตศิ าสดา และคําสอนของศาสนาอิสลาม.............................21
เร่ืองท่ี 4 ประวัติศาสดา และคาํ สอนของศาสนาคริสต...............................23
เร่อื งท่ี 5 ประวัติศาสนาพราหณ- ฮินดู และคาํ สอน ....................................27
เรอ่ื งที่ 6 ประวตั ิศาสดาของศาสนาซกิ ซและคาํ สอน .................................37
เรื่องท่ี 7 การเผยแผศ าสนาตางๆในโลก ..................................................44
เร่อื งที่ 8 กรณตี วั อยา งปาเลสไตน............................................................48
เรอื่ งท่ี 9 แนวปอ งกัน และแกไ ขความขดั แยงทางศาสนา...........................49
เรอ่ื งท่ี 10 หลกั ธรรมในแตละศาสนาท่สี งผลใหอ ยูร วมกบั

ศาสนาอื่นไดอ ยา งมคี วามสุข.....................................................50
เรอ่ื งท่ี 11 วิธฝี กปฏบิ ตั พิ ัฒนาจติ ในแตละศาสนา .......................................52
บทท่ี 2 วฒั นธรรมประเพณแี ละคานิยมของประเทศของโลก...............................57
เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของวัฒนธรรม.....................................58
เรอื่ งท่ี 2 เอกลักษณว ัฒนธรรมไทย..........................................................59
เร่ืองท่ี 3 การเปล่ียนแปลงทางวฒั นธรรมและการเลือกรับวฒั นธรรม..........60
เรอ่ื งท่ี 4 ประเพณใี นโลก.........................................................................61
เรอ่ื งท่ี 5 ความสาํ คัญของคา นิยม และคา นิยมในสงั คมไทย.......................62
เรื่องที่ 6 คานิยมทีพ่ ึงประสงคข องสงั คมโลก ............................................65
เรอ่ื งท่ี 7 การปองกันและแกไขปญหาพฤติกรรมตามคา นิยม

ทไ่ี มพึงประสงคข องสงั คมไทย...................................................67
บทที่ 3 รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย..........................................................69

เร่อื งที่ 1 ความเปนมาการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนญู ...................................70
เรอ่ื งที่ 2 สาระสาํ คัญของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย ......................72

สารบญั (ตอ)

เร่อื งท่ี 3 บทบาทหนาทีข่ ององคกรตามรฐั ธรรมนญู
และการตรวจสอบการใชอํานาจรฐั .............................................81

เร่อื งที่ 4 บทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญท่มี ีผลตอการเปล่ียนแปลง
ทางสงั คมและมีผลตอ ฐานะของประเทศไทยในสังคมโลก............87

เรื่องท่ี 5 หนา ที่พลเมอื งตามรฐั ธรรมนูญและกฎหมายอนื่ ๆ.......................90
บทท่ี 4 สิทธิมนษุ ยชน..........................................................................................95

เรอื่ งท่ี 1 หลักสทิ ธมิ นุษยสากล................................................................96
เร่ืองที่ 2 สทิ ธิมนุษยชนในประเทศไทย ..................................................102
เรือ่ งท่ี 3 แนวทางการปฏิบตั ติ นตามหลักสทิ ธมิ นษุ ยชน..........................106
บรรณานกุ รม .............................................................................................111
เฉลยกิจกรรม .............................................................................................112

คาํ แนะนําในการใชห นงั สือเรยี น

หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เปน หนงั สอื เรยี นทจี่ ดั ทาํ ขนึ้ สาํ หรบั ผเู รยี นทเี่ ปน นกั ศกึ ษานอกระบบ

ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาท่ีพลเมือง
ผเู รยี นควรปฏิบตั ิ ดังนี้

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง
และขอบขายเนื้อหา

2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่
กาํ หนด แลว ตรวจสอบ กบั แนวตอบกจิ กรรมทก่ี าํ หนด ถา ผเู รยี นตอบผดิ ควรกลบั ไปศกึ ษา
และทําความเขา ใจในเน้อื หาน้ันใหม ใหเขาใจกอนทจี่ ะศึกษาเร่อื งตอไป

3. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทา ยเรอ่ื งของแตล ะเรอ่ื ง เพอ่ื เปน การสรปุ ความรู ความเขา ใจของ
เนอ้ื หาในเรอ่ื งนน้ั ๆ อกี ครง้ั และการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของแตล ะเนอื้ หาแตล ะเรอ่ื ง ผเู รยี นสามารถ
นําไปตรวจสอบกบั ครูและเพ่ือนๆ ที่รว มเรยี นในรายวิชาและระดบั เดียวกนั ได

4. หนงั สอื เรียนเลมนี้มี 4 บท คอื
บทที่ 1 ศาสนาตางๆ ในโลก
บทท่ี 2 วัฒนธรรมประเพณี และคา นิยมของประเทศไทยและของโลก
บทท่ี 3 รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
บทท่ี 4 สทิ ธมิ นษุ ยชน

โครงสราง
รายวิชาศาสนาและหนาทพี่ ลเมอื ง (สค31002)

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

สาระสาํ คัญ

เปน สาระทเ่ี กย่ี วกบั ศาสนาตา งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั กาํ เนดิ ศาสนาและศาสดาของศาสนา
ตา งๆ หลกั ธรรมสาํ คญั ของศาสนาตา งๆ การเผยแพรศ าสนา ความขดั แยง ในศาสนา การ
ปฏบิ ตั ติ นใหอ ยรู ว มกนั อยา งสนั ตสิ ขุ การฝก จติ ในแตล ะศาสนา การพฒั นาปญ ญาในการแกไ ข
ปญหา ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม วัฒนธรรมประเพณีดานภาษา การแตง กาย
อาหาร ประเพณีสําคัญๆ ของประเทศตางๆ ในโลก การอนุรักษและสืบทอดวัฒนธรรม
ประเพณี การมสี ว นรว มในการสบื ทอดและปฏบิ ตั ติ นเปน แบบอยา งในการอนรุ กั ษว ฒั นธรรม
ตามประเพณีของชาติ และการเลือกปรับใชวัฒนธรรมตางชาติไดอยางเหมาะสมกับตนเอง
และสังคมไทย คานยิ มท่พี ึงประสงคของสังคมไทยและประเทศตา งๆ ในโลก การปฏิบตั ติ น
เปน ผนู ําในการปองกันและแกไขพฤตกิ รรมไมเ ปนท่ีพงึ ประสงคใ นสงั คมไทย

ผลการเรียนรูท ีค่ าดหวัง

1. อธบิ ายประวัติ หลกั คาํ สอน และการปฏิบัตติ นตามหลกั ศาสนาท่ีตนนับถอื
2. เหน็ ความสาํ คญั ของ วฒั นธรรม ประเพณี และมสี ว นในการปฏบิ ตั ติ นตามวฒั นธรรม
ประเพณที อ งถน่ิ
3. ปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี
4. ยอมรับและปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุขในสังคมที่มีความหลาก
หลายทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี

ขอบขา ยเนือ้ หา

บทที่ 1 ศาสนาตา งๆ ในโลก
เร่อื งที่ 1 ความหมาย คณุ คา และประโยชนข องศาสนา
เร่อื งท่ี 2 พทุ ธประวตั แิ ละหลกั ธรรมคําสอนของพทุ ธศาสนา
เรอ่ื งท่ี 3 ประวตั ศิ าสดา และคําสอนของศาสนาอสิ ลาม
เร่อื งที่ 4 ประวตั ิศาสดา และคาํ สอนของศาสนาคริสต
เรือ่ งท่ี 5 ประวติ ิศาสนาพราหณ-ฮินดู และคาํ สอน
เร่อื งท่ี 6 ประวตั ิศาสดาของศาสนาซกิ ซแ ละคาํ สอน
เรือ่ งที่ 7 การเผยแผศาสนาตางๆ ในโลก
เร่ืองที่ 8 กรณตี วั อยา งปาเลสไตน

เรื่องท่ี 9 แนวทางปองกันและแกไ ขความขัดแยง ทางศาสนา
เร่อื งท่ี 10 หลักธรรมในแตละศาสนาที่สงผลใหอยูรวมกับศาสนาอ่ืนได

อยางมีความสขุ
เรอื่ งท่ี 11 วธิ ฝี กปฏบิ ัตพิ ัฒนาจติ ในแตละศาสนา
บทท่ี 2 วฒั นธรรมประเพณีและคานิยมของประเทศของโลก
เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั ของวัฒนธรรม
เรือ่ งที่ 2 เอกลกั ษณว ฒั นธรรมไทย
เร่ืองที่ 3 การเปลย่ี นแปลงทางวัฒนธรรมและรับวัฒนธรรม
เรือ่ งที่ 4 ประเพณใี นโลก
เรือ่ งที่ 5 ความสําคญั ของคานยิ ม และคา นยิ มในสังคมไทย
เรอื่ งที่ 6 คา นิยมท่ีพ่งึ ประสงคของสงั คมโลก
เรอ่ื งท่ี 7 การปอ งกนั และแกไ ขปญ หาพฤตกิ รรมตามคา นยิ ม

ทไ่ี มพ งึ ประสงคข องสงั คมไทย
บทท่ี 3 รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย

เรอ่ื งท่ี 1 ความเปน มาการเปลย่ี นแปลงรฐั ธรรมนญู
เรอ่ื งท่ี 2 สาระสาํ คญั ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
เรอ่ื งท่ี 3 บทบาทหนาท่ีขององคกรตามรัฐธรรมนูญและการตรวจสอบ

การใชอ าํ นาจรฐั
เรอ่ื งท่ี 4 บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู ทม่ี ผี ลตอ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม

และมผี ลตอ ฐานะของประเทศไทยในสงั คมโลก
เรอ่ื งท่ี 5 หนา ทพ่ี ลเมอื งตามรฐั ธรรมนญู และกฎหมายอน่ื ๆ
บทท่ี 4 สทิ ธมิ นษุ ยชน
เรอ่ื งท่ี 1 หลกั สทิ ธมิ นษุ ยสากล
เรอ่ื งท่ี 2 สทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทย
เรอ่ื งท่ี 3 แนวทางการปฏบิ ตั ติ นตามหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน
บรรณานุกรม

สอื่ ประกอบการเรยี นรู

1. หนังสือ ศาสนาสากล
2. ซีดี ศาสนาพุทธ

ศาสนาคริสต
ศาสนาอสิ ลาม
ศาสนาฮินดู
3. หนงั สือวัฒนธรรม ประเพณใี นสงั คมไทย
4. หนังสือ วัฒนธรรม ประเพณขี องประเทศตาง ๆ ในโลก
5. คอมพวิ เตอร อนิ เทอรเ นต็

1บทท่ี ศาสนาในโลก

สาระสาํ คัญ

ศาสนาตา งๆ ในโลกมคี ณุ คา และเปน ประโยชนต อ ชาวโลก เพราะกอ ใหเ กดิ จรยิ ธรรม
เปนแนวทางการดําเนินชีวิต ทําใหมนุษยสามารถปกครองตนเองได ชวยใหสังคมดีขึ้น
สาํ หรบั ประเทศไทยมผี นู บั ถอื ศาสนาพทุ ธมากทสี่ ดุ รองลงมาคอื ศาสนาอสิ ลามศาสนาครสิ ต
ศาสนาฮนิ ดู และศาสนาซกิ ซ แตใ นโลกมผี นู บั ถอื ศาสนาครสิ ตม ากทสี่ ดุ รองลงมาคอื ศาสนา
อิสลาม ศาสนาฮินดู และศาสนาพุทธ การศึกษาคําสอนศาสนาตางๆ ของศาสนิกชนเพ่ือ
นํามาประพฤติสงผลใหสังคมมีความสุข ศาสนาทุกศาสนาลวนสั่งสอนใหคนเปนคนดี
เพื่อสังคมเกิดความขัดแยงควรรีบหาทางแกไขโดยการนําคําสอนทางศาสนามาประพฤติ
ปฏิบตั ิจึงจะสง ผลใหสังคมเกดิ ความสงบสขุ ตลอดไป

ผลการเรียนทคี่ าดหวัง

1. มคี วามรคู วามเขา ใจศาสนาที่สําคัญๆในโลก
2. มีความรูค วามเขาใจในหลักธรรมสาํ คัญของแตล ะศาสนา
3. เห็นความสําคัญในการอยูรวมกบั ศาสนาอนื่ อยา งสันตสิ ขุ
4. ประพฤติปฏิบัติตนสงผลใหสามารถอยรู วมกันกับศาสนาอ่ืนอยางสนั ตสิ ุข
5. ฝกปฏิบัติพัฒนาจิตเพ่ือใหสามารถพัฒนาตนเองใหมีสติปญญาในการแกปญหา

ตางๆ และพฒั นาตนเอง

ขอบขา ยเนอ้ื หา

บทท่ี 1 ศาสนาในโลก
เรือ่ งที่ 1 ความหมายคณุ คาและประโยชนของศาสนา
เร่อื งที่ 2 พุทธประวัติและหลกั ธรรมคาํ สอนของพทุ ธศาสนา
เร่ืองที่ 3 ประวตั ศิ าสดาและคาํ สอนของศาสนาอสิ ลาม
เร่อื งท่ี 4 ประวัติศาสดาและคาํ สอนของศาสนาครสิ ต
เร่ืองที่ 5 ประวัติศาสนาพราหมณ- ฮนิ ดแู ละคาํ สอน
เรอ่ื งที่ 6 ประวตั ิศาสดาและคาํ สอนของศาสนาซกิ ซ
เร่ืองท่ี 7 การเผยแพรศาสนาตา งๆในโลก
เรอ่ื งที่ 8 กรณตี ัวอยา งปาเลสไตน

2 หนังสือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม

เร่อื งท่ี 9 แนวทางปองกนั และแกไขความขัดแยงทางศาสนา
เรื่องท่ี 10 หลกั ธรรมในแตละศาสนาทส่ี ง ผลใหอยูรวมกบั ศาสนาอนื่ ได

อยา งมคี วามสขุ
เรอ่ื งที่ 11 วิธฝี ก ปฏบิ ตั ิพฒั นาจติ ในแตละศาสนา

สอ่ื ประกอบการเรยี นรู

ซี.ดศี าสนาสากล
เอกสารศาสนาสากล และความขดั แยงในปาเลสไตน

รายวชิ าศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 3

เรอื่ งที่ 1 ความหมายคณุ คา และประโยชนข องศาสนา

ความหมายของศาสนา

ศาสนา คือ คําสอนที่ศาสดานาํ มาเผยแพรสง่ั สอน แจกแจงแสดงใหมนษุ ยเวนจาก
ความชั่วกระทําแตความดี ซึ่งมนุษยยึดถือปฏิบัติตามคําสอนน้ันดวยความเคารพเลื่อมใส
และศรทั ธาคาํ สอนดงั กลา วจะมลี กั ษณะเปน สจั ธรรมศาสนามคี วามสาํ คญั ตอ บคุ คลและสงั คม
ทาํ ใหม นษุ ยทุกคนเปนคนดีและอยูรว มกันอยางสันติสุข ศาสนาในโลกน้มี อี ยูม ากมายหลาย
ศาสนาดว ยกนั แตว ตั ถุประสงคอันสําคญั ยงิ่ มองทุกๆศาสนาเปน ไปในทางเดียวกนั กลา วคอื
ชกั จงู ใจใหค นละความชวั่ ประพฤตคิ วามดเี หมอื นกนั หมดหากแตว า การปฏบิ ตั พิ ธิ กี รรมยอ ม
แตกตา งกนั ความเช่ือถอื ของแตล ะศาสนา

คุณคาของศาสนา

1. เปนที่ยดึ เหนย่ี วจิตใจของมนษุ ย
2. เปน บอ เกดิ แหงความสามัคคีของหมคู ณะและในหมูมนษุ ยช าติ
3. เปนเคร่อื งดับความเรา รอ นใจทําใหส งบรมเยน็
4. เปนบอ เกิดแหงจริยธรรมศลี ธรรมและคุณธรรม
5. เปน บอ เกิดแหงการศกึ ษาขนบธรรมเนียมประเพณอี ันดีงาม
6. เปนดวงประทบี สองโลกทีม่ ืดมิดอวิชชาใหก ลับสวางไสวดว ยวิชชา

ประโยชนของศาสนา

ศาสนามีประโยชนมากมายหลายประการกลา วโดยสรปุ มี 6 ประการคือ
1. ศาสนาเปนแหลงกําเนิดจริยธรรม ศาสนาทุกศาสนาสอนใหเราทราบวาอะไร
คือความช่ัวที่ควรละเวนอะไรคือความดีที่ควรกระทําอะไรคือสิ่งที่บุคคลในสังคมพึงปฏิบัติ
เพอ่ื ใหอ ยูร วมกันอยางมีความสุขดังนั้นทกุ ศาสนาจึงเปนแหลง กาํ เนดิ แหงความดที ้งั ปวง
2. ศาสนาเปน แนวทางการดาํ เนนิ ชวี ติ ทกุ ศาสนาจะวางหลกั การดาํ เนนิ ชวี ติ เปน
ขน้ั ๆเชนพระพุทธศาสนาวางไว 3 ขนั้ คอื ขัน้ ตน เนนการพง่ึ ตนเองไดมีความสุขตามประสา
ชาวโลกขน้ั กลางเนน ความเจรญิ กา วหนา ทางคณุ ธรรมและขน้ั สงู เนน การลด ละ โลภ โกรธ หลง
3. ศาสนาทาํ ใหผ นู บั ถอื ปกครองตนเองได หลกั คาํ สอนใหร จู กั รบั ผดิ ชอบตนเอง
คนที่ทําตามคําสอนทางศาสนาเครงครัดจะมีหิริโอตตัปปะไมทําช่ัวทั้งที่ลับและท่ีแจงเพราะ
สามารถควบคุมตนเองได
4. ศาสนาชวยใหสังคมดีขึ้น คําสอนทางศาสนาเนนใหคนในสังคมเวนจากการ
เบียดเบียนกันเอารัดเอาเปรียบกันสอนใหเอื้อเฟอเผื่อแพรมีความซ้ือสัตยสุจริตตอกันเปน
เหตใุ หส งั คมมคี วามสงบสนั ตยิ ง่ิ ขน้ึ สอนใหอ ดทนเพยี รพยายามทาํ ความดสี รา งสรรคผ ลงาน
และประโยชนใ หกับสงั คม

4 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม

5. ศาสนาชวยควบคุมสังคมดีขึ้น ทุกสังคมจะมีระเบียบขอบังคับจารีตประเพณี
และกฎหมายเปนมาตรการควบคุมสังคมใหสงบสุขแตสิ่งเหลานี้ไมสามารถควบคุมสังคมให
สงบสุขแทจริงไดเชนกฎหมายก็ควบคุมไดเฉพาะพฤติกรรมทางกายและทางวาจาเทาน้ันไม
สามารถลึกลงไปถึงจติ ใจไดศาสนาเทานั้นจึงจะควบคุมคนไดท งั้ กาย วาจา และใจ

ศาสนาในประเทศศาสนาพทุ ธเปน ศาสนาประจาํ ชาตไิ ทยมผี นู บั ถอื มากทส่ี ดุ รองลง
มาคอื ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาคริสต ศาสนาพราหมณ- ฮินดู และศาสนาซิกซ รายละเอียดของ
แตล ะศาสนาดังตอไปนคี้ ือ

เรอ่ื งท่ี 2 พุทธประวตั ิและหลกั ธรรมคาํ สอนของพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนาเชือ่ เรอื่ งการเวยี นวา ย ตาย เกิด ในวัฎสงสารถา สัตวโลกยังมีกิเลส
คือโลภ โกรธ หลงจะตอ งเกิดในไตรภูมคิ ือ 3 โลก ไดแก นรกภูมิ โลกมนุษย และเทวโลก
และในการเกดิ เปน พระพทุ ธเจา เพอื่ ทจี่ ะโปรดสตั วโ ลกใหพ น บารมเี พอ่ื ใหบ ารมสี มบรู ณจ งึ จะ
เกดิ เปน พระพทุ ธเจา ใหพ ระเจา ไดบ าํ เพญ็ บารมมี าทกุ ภพทกุ ชาตแิ ละบาํ เพญ็ บารมอี ยา งยง่ิ ยวด
ใน 10 ชาตสิ ุดทายเรยี กวาทศชาติซงึ่ ไดกลาวไวในพระสุตตนั ตปฎ ก โดยมีความยอๆดังน้ี

1. เตมียช าดก

เปนชาดกที่แสดงถึงการบําเพ็ญเนกขัมมบารมีคือการออกบวช ความวาตระเตมีย
เกิดในตระกูลกษัตริยแตทรงเกรงวาจะตองข้ึนครองราชยเปนพระราชาเพราะทรงเห็น
การลงโทษโจรตามคําส่ังของพระราชา เชน เฆี่ยนบางเอาหอกแทงบา งพระองคจงึ ทรงแกลง
เปน งอ ย เปลย้ี หหู นวก เปน ใบ ไมพ ดู จากบั ใคร พระราชาปรกึ ษากบั พราหมณใ หน าํ พระองค
ไปฝงเสียพระมารดาทรงคัดคานแตไมสําเร็จจึงทรงขอใหพระเตมียครองราชย 7 วันเผ่ือ
พระองคจ ะตรสั บาง ครง้ั ครบ 7 วนั แลวพระเตมียกไ็ มตรัส ดังนั้นสารถจี ึงนาํ พระเตมียไปฝง
ตามคาํ สง่ั ของพระราชาครงั้ สารถขี ดุ หลมุ เตรยี มฝง ขณะกาํ ลงั ขดุ หลมุ พระเตมยี ล งจากรถและ
ตรสั ปราศรยั แจง วา พระองคต อ งการจะบวชไมต อ งการเปน พระราชจากนน้ั สารถกี ลบั ไปบอก
พระราชา พระราชาจึงเชิญพระเตมียกลับไปครองราชย พระเตมียกลับเทศนาสั่งสอนจน
พระชนกชนนีและบรวิ ารพากนั เลอื่ มใสออกบวชตาม

2. มหาชนกชาดก
ชาดกเรอ่ื งนแ้ี สดงถงึ การบาํ เพญ็ วริ ยิ บารมคี อื ความเพยี รใจความสาํ คญั คอื พระมหา
ชนกราชกุมารเดนิ ทางไปทางทะเล เรือแตกคนทัง้ หลายจมนํา้ ตายบางเปนเหยอ่ื ของสตั วน าํ้
บา งแตพ ระองคไ มท รงละความอตุ สาหะทรงวา ยนา้ํ โดยกาํ หนดทศิ ทางแหง กรงุ มถิ ลิ าในทสี่ ดุ
กไ็ ดร อดชวี ติ กลบั ไปกรงุ มถิ ลิ าได ชาดกเรอ่ื งนเ้ี ปน ทม่ี าแหง ภาษติ ทวี่ า เปน ชายควรเพยี รรา่ํ ไป
อยาเบอ่ื หนา ย(ความเพียร)เสียเราเห็นตวั เองเปน ไดอ ยางท่ปี รารถนาข้นึ จากนาํ้ มาสูบกได

รายวชิ าศาสนาและหนาทพ่ี ลเมอื ง (สค31002) << ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 5

3. สวุ รรณสามชาดก
ชาดกเรอื่ งนแ้ี สดงถงึ การบาํ เพญ็ เมตตาบารมคี อื การแผไ มต รจิ ติ คดิ จะใหส ตั วท งั้ ปวง
เปนสุขทั่วหนา มีเร่ืองเลาวา สุวรรณสามเลี้ยงมารดาบิดาของตนซึ่งเสียจักษุในปาและ
เน่ืองจากเปนผูเมตตาปรารถดีตอผูอื่นหมูเน้ือก็เดินตามแวดลอมไปในที่ตางๆวันหนึ่งถูก
พระเจา กรงุ พาราณสชี อื่ พระเจา กบลิ ยกั ษย งิ เอาดว ยธนดู ว ยเขา พระทยั ผดิ ภายหลงั เมอ่ื ทราบ
วาเปนมาณพผูเล้ียงมารดาบิดาก็สลดพระทัยจึงไปจูงมารดาของสุวรรณสามมามารดาบิดา
ของสวุ รรณกต็ งั้ สจั จกรยิ าอา งคณุ ความดขี องสวุ รรณสาม สวุ รรณสามกฟ็ น คนื สตแิ ละไดส อน
พระราชาแสดงคติธรรมวาผูใดเลี้ยงมารดาบิดาโดยธรรมแมเทวดาก็ยอมรักษาผูน้ันยอมมี
คนสรรเสรญิ ในโลกนลี้ ะโลกนไ้ี ปแลว กไ็ ปเกดิ ในสวรรคต อ จากนน้ั เมอื่ พระราชาขอใหส ง่ั สอน
ตอไปอกี กส็ อนใหทรงปฏบิ ตั ธิ รรมปฏิบัติชอบในบคุ คลท้ังปวง
4. เนมิราชชาดก
ชาดกเร่ืองนี้แสดงถึงการบําเพ็ญอธิฐานบารมีคือความต้ังใจมั่นคงมีเร่ืองเลาวาเนมิ
ราชไดข น้ึ ครองราชยต อ จากพระราชบดิ าทรงบาํ เพญ็ คณุ งามความดเี ปน ทร่ี กั ของมหาชนและ
ในที่สุดเมื่อทรงมอบราชสมบัติแกพระราชโอรสเสด็จออกผนวชเชนเดียวกับท่ีพระราชบิดา
ของพระองคเคยทรงบําเพ็ญมาทอดพระเนตรเห็นเสนพระเกศาหงอกบางก็สลดพระทัยใน
สังขารจงึ ทรงออกผนวช
5. มโหสถชาดก
ชาดกเรื่องนี้แสดงถึงการบําเพ็ญอธิฐานบารมีคือความต้ังใจม่ันคงมีเร่ืองเลาวามโห
สถบัณฑิตเปนท่ีปรึกษาหนุมของพระเจาวิเทหะแหงกรุงมิถิลาทานมีความฉลาดรูสามารถ
แนะนําในปญหาตางๆไดอยางถูกตองรอบคอบเอาชนะที่ปรึกษาอ่ืนๆที่ริษยาใสความดวย
ความดไี มพ ยาบาทอาฆาตครง้ั หลงั ใชอ บุ ายปอ งกนั พระราชาจากราชศตั รแู ละจบั ราชศตั รซู ง่ึ
เปนกษัตรยิ พ ระนครอื่นได
6. ภูริทัตชาดก
ชาดกเร่ืองน้ีแสดงถึงการบําเพ็ญศีลบารมี คือการรักษาศีลมีเร่ืองเลาวาภูริทัตตนา
คราชไปจําศีลอยูริมฝงแมนํ้ายนุนายอมอดทนใหหมองูจับไปทรมานตางๆทั้งที่สามารถจะ
ทําลายหมองไู ดดวยฤทธ์ดิ ว ยความท่มี ีใจม่ันตอ ศลี ของตนในท่ีสดุ กไ็ ดอิสรภาพ
7. จนั ทกุมารชาดก
ชาดกเรอื่ งนแ้ี สดงถงึ การบาํ เพญ็ ขนั ตบิ ารมคี อื ความอดทนจนั ทกมุ ารเปน โอรสของ
พระเจาเอกราชพระองคทรงชวยประชาชนใหพนจากคดีซ่ึงกัณฑหาลพราหมณราชปุโรหิต
เปน ผรู บั สนิ บนตดั สนิ คดขี าดความเปน ธรรมสง ผลใหก ณั ฑหาลพราหมณผ กู อาฆาตพยาบาท
วนั หนง่ึ พระเจา เอกราชทรงพระสบุ นิ เหน็ ดาวดงึ สเ ทวโลกเมอ่ื ทรงตนื่ บรรทมทรงพระประสงค
ทางไปดาวดงึ สเ ทวโลกจงึ ตรสั ถามกณั ฑหาลพราหมหก ณั ฑหาลพราหมหจ งึ กราบทลู แนะนาํ
ใหตรัสพระเศียรโอรส ธิดา มเหสี บูชายัญแมใครจะทัดทานขอรองก็ไมเปนผลรอนถึง
ทา วสกั กะ(พระอนิ ทร) ตอ งมาชแ้ี จงใหห ายเขา ใจผดิ วา วธิ นี ไ้ี มใ ชท างไปสวรรค มหาชนจงึ รมุ ฆา
กัณฑหาลพราหมณ และเนรเทศพระเจา เอกราชแลว กราบทลู เชญิ จันทกุมารข้นึ ครองราชย

6 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม

8. นารทชาดก
ชาดกเรอ่ื งนแี้ สดงถงึ การบาํ เพญ็ อเุ บกขาบารมคี อื การวางเฉยพระพรหมนารถไดช ว ย
ใหพระเจาอังคติราชแหงกรุงมิถิลามหานครพนจากความคิดเห็นผิดท่ีไดรับคําสอนจาก
คณุ าชวี กวารปู กายของคนสตั วเ ปน ของเทย่ี งแมต ดั ศรษี ะผอู นื่ แลว ไมบ าปสุ ทกุ ข เกดิ ไดเ อง
ไมม เี หตคุ นเราเวยี นวา ยตายเกดิ หนกั เขา กบ็ รสิ ทุ ธเิ์ องเมอ่ื พระองคม คี วามเหน็ ดงั นน้ั พระเจา
องั คตริ าชจงึ สง่ั ใหร อ้ื โรงทานและมวั เมาในโลกยี ร อ นถงึ พระธดิ าคอื พระนางรจุ าทรงหว งพระบดิ า
จึงสวดออนวอนขอใหพระบิดาพนจากความมัวเมารอนถึงพระพรหมนาทรทรงจําแลงกาย
เปน นกั บวชทรงสอนใหพ ระเจา องั คตริ าชใหก ลบั ความเหน็ ทผ่ี ดิ มาบาํ เพญ็ กศุ ล ถอื ศลี ทาํ ทาน
ปกครองเมอื งโดยสงบรม เย็น
9. วทิ รู ชาดก
ชาดกเร่ืองน้ีแสดงถึงการบําเพ็ญสัจจบารมีคือความซื่อสัตยบัณฑิตมีหนาที่ถวาย
คําแนะนําแกพระเจาธนัญชัยโกรัพยะซึ่งเปนพระราชาท่ีคนนับถือมากคร้ังหน่ึงปุณณกยักษ
มาทาพระเจาธนัญชัยโกทัพยะเลนสกาถาแพจะถวายมณีรัตนะอันวิเศษถาพระราชาแพตอง
ใหส่ิงท่ีปุณณกยักษตองการในท่ีสุดพระราชาแพปุณณกยักษของตังวิฑูรบัณฑิตพระราชา
หนวงเหนี่ยวประการใดไมสําเร็จวิฑูรบัณฑิตรักษาสัจจะไปกับยักษในท่ีสุดแมแมยักษจะทํา
อยางไรวิฑูรบัณฑิตก็ไมตายกับแสดงธรรมจนยักษเลื่อมใสและไดกลับคืนบานเมืองมีการ
ฉลองรับขวญั เปน การใหญ
10. เวสสันดรชาดก
เปนชาติสุดทายของพระพุทธเจาชาติตอไปจึงจะเกิดเปนพระพุทธเจาชาดกเร่ืองน้ี
แสดงถงึ การบาํ เพญ็ ทานบารมคี อื การบรจิ าคทานมเี รอ่ื งเลา วา พระเวสสนั ดรผใู จดบี รจิ าคทกุ อยา ง
ที่มีคนขอครั้งหนึ่งประทานชางเผือกคูบานคูเมืองแกพราหมณชาวกาลิงคะซึ่งตอมาขอชาง
ไปเพื่อใหเมืองของตนหายจากฝนแลงแตประชาชนโกรธขอใหเนรเทศพระราชบิดาจึงจํา
พระทยั ตอ งเนรเทศพระเวสสนั ดรซง่ึ พระนางมทั รพี รอ มดว ยพระโอรสธดิ าไดต ามเสดจ็ ไปดว ย
เมื่อชูชกไปขอสองกุมารก็ประทานใหอีกภายหลังพระเจาสัญชัยพระราชบิดาไดทรงไถสอง
กุมารจากชูชกและเสด็จไปรับพระเวสสันดรและพระนางมัทรีกลับกรุง(เรื่องนี้แสดงการเสีย
สละสว นนอ ยเพอื่ ประโยชนส ว นใหญค อื การตรสั รเู ปน พระพทุ ธเจา อนั จะเปน ทางใหไ ดบ าํ เพญ็
ประโยชนส วนรวมไดมิใชเสียสละโดยไมมีจดุ มุงหมายหรอื เหตุผล)

รายวชิ าศาสนาและหนา ทพี่ ลเมอื ง (สค31002) << ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 7
ประวัติพระพทุ ธเจา

พระพทุ ธเจา ทรงมพี ระนามเดมิ วา “สทิ ธตั ถะ”ทรงเปน พระราชโอรสของพระเจา สทุ โธ
ทนะกษตั รยิ ผ คู รองกรงุ กบลิ พสั ดุ แควน สกั กะและ “พระนางสริ มิ หามายา” พระราชธดิ าของ
กษตั รยิ ราชสกุลโกลยิ วงศแหง กรงุ เทวทหะ แควน โกลยิ ะ

ในคืนที่พระพุทธเจาเสด็จปฏิสนธิในครรภพระนางสิริมหามายา พระนางทรงพระ
สุบินนมิ ิตวา มีชา งเผอื กมีงาสามคูไดเ ขามาสพู ระครรภ ณ ทีบ่ รรทมกอนทีพ่ ระนางจะมพี ระ
ประสตู กิ าลท่ีใตต นสาละ ณ สวนลมุ พินวี นั เม่ือวนั ศกุ ร ขึน้ สบิ หา ค่าํ เดอื นวสิ าขะ ปจ อ 80
ปกอนพุทธศักราช (ปจจุบนั สวนลุมพนิ ีวนั อยใู นประเทศเนปาล)

ทนั ทที ปี่ ระสตู ิ เจา ชายสทิ ธตั ถะทรงดาํ เนนิ ดว ยพระบาท 7 กา วและมดี อกบวั ผดุ ขน้ึ
มารองรับพระบาทพรอมเปลงวาจาวา “เราเปนเลิศท่ีสุดในโลกประเสริฐที่สุดในโลกการ
เกดิ ครง้ั นเี้ ปน ครงั้ สดุ ทา ยของเรา” แตห ลงั จากเจา ชายสทิ ธตั ถะประสตู กิ าลไดแ ลว 7 วนั พระ
นางสริ มิ หามายากเ็ สดจ็ สวรรคาลยั เจา ชายสทิ ธตั ถะจงึ อยใู นความดแู ลของพระนางประชาบดี
โคตรมี ซ่ึงเปนพระกนิษฐาของพระนางสริ มิ หามายา

ทงั้ นี้ พราหมณท้ัง 8 ไดทํานายวาเจา ชายสทิ ธัตถะมลี กั ษณะเปน มหาบรุ ษุ คือ หาก
ดํารงตนในฆราวาสจะไดเปนจักรพรรดิ ถาออกบวชจะไดเปนศาสดาเอกของโลกแตโกณ
ฑัญญะพราหมณผูอายุนอยท่ีสุดในจํานวนนั้นยืนยันหนักแนนวาพระราชกุมารสิทธัตถะจะ
เสดจ็ ออกบวชและจะไดตรัสรูเ ปนพระพทุ ธเจา แนนอน

ชวี ติ ในวัยเดก็

เจาชายสทิ ธัตถะทรงศกึ ษาเลาเรยี นจนจบศลิ ปะศาสตรทั้ง 18 ศาสตรในสาํ นักครูวิ
ศวามิตรและเนื่องจากพระบิดาไมประสงคใหเจาชายสิทธัตถะเปนศาสดาเอกของโลกจึง

8 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม

พยายามทาํ ใหเ จา ชายสทิ ธตั ถะพบเหน็ แตค วามสขุ โดยการสรา งปราสาท 3 ฤดู ใหอ ยปู ระทบั
และจัดเตรียมความพรอมสาํ หรับการราชาภิเษกใหเ จาชายขึน้ ครองราชย เมอ่ื มีพระชนมายุ
16 พรรษา ทรงอภเิ ษกสมรสกบั พระนางพมิ พา หรอื ยโสธรา พระธดิ าของพระเจากรงุ เทวท
หะซ้งึ เปน พระญาตฝิ ายมารดาจนเมอื่ มีพระชนมายุ 29 พรรษา พระนางพิมพาไดใ หป ระสูติ
พระราชโอรสมีพระนามวา “ราหุล” ซง่ึ หมายถงึ “ชวงบาย”

เสด็จออกผนวช

วนั หนง่ึ เจา ชายสทิ ธตั ถะทรงเบอ่ื ความจาํ เจในปราสาท 3 ฤดู จงึ ชวนสารถที รงรถมา
ประพาสอทุ ยานครงั้ นน้ั ไดท อดพระเนตรเหน็ คนแก คนเจบ็ คนตาย และนกั บวช โดยเทวทตู
(ทูตสวรรค) ที่แปลงกายมาพระองคจึงทรงคิดไดวาน่ีเปนธรรมดาของโลกชีวิตของทุกคน
ตองตกอยูในสภาพเชนนั้น ไมมีใครสามารถหลีกเลี่ยงเกิด แก เจ็บ ตายได จึงทรงเห็นวา
ความสขุ ทางโลกเปน เพยี งภาพมายาเทา นนั้ และวถิ ที างทจี่ ะพน จากความทกุ ขค อื ตอ งครอง
เรอื นเปน สมณะ ดงั น้นั พระองคจึงใครจ ะเสดจ็ ออกบรรพชาในขณะทีม่ ีพระชนมายุ 29
พรรษา

ครานนั้ พระองคไดเ สดจ็ ไปพรอมกบั นายฉนั ทะ สารถซี งึ่ เตรียมมา พระทีน่ งั่ นามวา
กัณฑกะมุงตรงไปยังแมนํ้าอโนมานทีกอนจะประทับนั่งบนกองทรายทรงตัดพระเมาลีดวย
พระขรรคแ ละเปลยี่ นชดุ ผา กาสาวพตั ร (ผา ยอ มดว ยรสฝาดแหง ตน ไม) และใหน ายฉนั ทะนาํ
เคร่ืองทรงกลับพระนครกอนที่พระองคจะเสด็จออกมหาภิเนษกรณ(การเสด็จออกเพื่อคุณ
อนั ยิ่งใหญ) ไปโดยเพียงลําพังเพือ่ มุงพระพักตรไ ปแควนมคธ

บาํ เพ็ญทกุ รกริ ิยา

หลงั จากทรงผนวชแลว พระองคม งุ ไปทแ่ี มน าํ้ คยา แควน มคธไดพ ยายามเสาะแสวง

รายวิชาศาสนาและหนา ท่ีพลเมอื ง (สค31002) << ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 9

ทางพนทุกขดวยการศึกษาคนควาทดลองในสํานักอาฬารบสกาลามโครตร และอุทกดาบส
รามบตุ รเมอ่ื เรียนจบทง้ั 2 สํานักแลว ทรงเห็นวาน่ียงั ไมใ ชท างพนทกุ ข

จากน้ันพระองคไดเสด็จไปท่ีแมนํ้าเนรัญชรา ในตําบลอุรุเวลาเสนานิคม และทรง
บาํ เพญ็ ทุกรกริ ยิ า ดวยการขบฟน ดวยฟน กลนั้ หายใจ และอดอาหารจนรางกายซบู ผอมแต
หลังจากทดลองได 6 ป ทรงเห็นวาน่ียังไมใชทางพนทุกขจึงทรงเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยาและ
หันมาฉันอาหารตามเดิมดวยพระราชดําริตามท่ีทาวสักกเทวราชไดเสด็จลงมาดีดพิณถวาย
3 วาระ คือดดี พณิ สาย 1 ขงึ ไวตงึ เกนิ ไปเมอ่ื ดีกจ็ ะขาดดีดพณิ วาระที่ 2 ซง่ึ ขึงไวห ยอนเสยี ง
จะยืดยาดขาดความไพเราะและวาระที่ 3 ดีดพิณสายสุดทายท่ีขึงไวพอดีจึงมีเสียงกังวาน
ไพเราะดังนั้นจึงทรงพิจารณาเห็นวาทางสายกลางคือไมตึงเกินไป และไมหยอนเกินไป น้ัน
คอื ทางทีจ่ ะนําสกู ารพนทุกข

หลงั จากพระองคเลิกบาํ เพญ็ ทุกรกิรยิ า ทาํ ใหพ ระปญจวัคคยี  5 ไดแ ก โกณฑญั ญะ
วปั ปะ ภัททิยา มหานามะ อัสสชิ ทมี่ าคอยรับใชพระองคดวยความคาดหวังวาเมอ่ื พระองค
คนพบทางพนทุกขจะไดสอนพวกตนใหบรรลุดวยเกิดเลื่อมศัทธาท่ีพระองคลมเลิกความ
ตั้งใจ จงึ เดินทางกลบั ไปท่ีปาอสิ ปิ ตนมฤคทายวัน ตาํ บลสารนาถ เมอื งพาราณสี

ตรัสรู

ภาพพระพทุ ธเจา เทศนาโปรดปญจวคั คยี ท ง้ั 5
ครานัน้ พระองคทรงประทบั น่งั ขดั สมาธใิ ตตนพระศรีมหาโพธิ์ ณ อุรุเวลาเสนานิคม
เมอื งพาราณสี หันพระพกั ตรไ ปทางทศิ ตะวนั ออก และตัง้ จติ อธษิ ฐานดว ยความแนว แนว า
ตราบใดทยี่ งั ไมบ รรลสุ มั มาสมั โพธญิ าณ กจ็ ะไมล กุ ขนึ้ จากสมาธบิ ลั ลงั กแ มจ ะมหี มมู ารเขา มา
ขดั ขวางแตก พ็ า ยแพพ ระบารมขี องพระองคก ลบั ไปจนเวลาผา นไปในทส่ี ดุ พระองคท รงบรรลุ
รปู ฌาณ คอื

10 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม

ยามตน หรือปฐมยาม ทรงบรรลุปุพเพนวิ าสานุสตญิ าณ คอื สามารถระลกึ ชาตไิ ด
ยามสอง ทรงบรรลุจตุ ปู ปาตญาณ (ทิพยจักษุญาณ) คือรเู รอ่ื งการเกดิ การตายของ
สัตวทัง้ หลายวา เปนไปตามกรรมท่ีกาํ หนดไว
ยามสาม ทรงบรรลุอาสวักขยญาณ คือ ความรูท่ีทําใหสิ้นอาสวะ หรือกิเลสดวย
อริยสัจ 4 ไดแก ทกุ ข สมุทยั นิโรธ และมรรค และไดต รสั รูดว ยพระองคเองเปน พระสมั มา
สัมพุทธเจาและเปนศาสดาเอกของโลกซึ่งวันท่ีพระสัมมาสัมพุทธเจาตรัสรู ตรงกับวันเพ็ญ
เดอื น 6 ขณะทม่ี พี ระชนมายุ 35 พรรษา
แสดงปฐมเทศนา
หลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจาตรัสรูแลวทรงพิจารณาธรรมที่พระองคตรัสรูมาเปน
เวลา 7 สัปดาห และทรงเห็นวา พระธรรมนัน้ ยากสาํ หรบั บุคคลทวั่ ไปทีจ่ ะเขา ใจและปฏิบัตไิ ด
พระองคจ งึ ทรงพิจารณาวา บุคคลในโลกน้มี ีหลายจําพวกอยาง บวั 4 เหลา ทมี่ ีท้งั ผทู สี่ อน
ไดงาย และผูทสี่ อนไดย าก พระองคจ ึงทรงระลึกถงึ อาฬารดาบสและอทุ กดาบส ผูเปน พระ
อาจารยจงึ หวงั เสด็จไปโปรดแตท ้ังสองทานเสียชวี ิตแลว พระองคจงึ ทรงระลึกถงึ ปญจวัคคีย
ท้งั 5 ที่เคยมาเฝา รับใชจงึ ไดเ สด็จไปโปรดปญ จวคั คยี ที่ปาอิสิปตนมคทายวนั
ธรรมเทศนากณั ฑแ รกทพี่ ระองคท รงแสดงธรรม คอื “ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร”
แปลวา สตู รของการหมุนวงลอแหงพระธรรมใหเ ปน ไปซงึ่ ถือเปน การแสดงพระธรรมเทศนา
ครงั้ แรกในวนั เพ็ญ 15 คํา่ เดอื น 8 ซึ่งตรงกับวันอาสาฬหบูชา
ในการนพ้ี ระโกณฑญั ญะไดธ รรมจกั ษุ คอื ดวงตาเหน็ ธรรมเปน คนแรก พระพทุ ธองค
จงึ ทรงเปรง วาจาวา “อญั ญาสิ วตโกณฑัญโญ” แปลวา โกณฑญั ญะ ไดรูแลว ทาน โกณ
ฑัญญะ จึงไดสมญาวา อัญญาโกณฑัญญะ และไดรับการบวชเปนพระสงฆองคแรกใน
พระพทุ ธศาสนา โดยเรียกการบวชที่พระพุทธเจาบวชใหวา “เอหิภิกขอุ ุปสมั ปทา”
หลังจากปญ จวคั คยี อ ุปสมบททง้ั หมดแลว พุทธองคจึงทรงเทศนอนตั ตลกั ขณสตู ร
ปญ จวคั คีย จึงสําเร็จเปนอรหันตในเวลาตอมา

การเผยแพรพระพทุ ธศาสนา

ตอ มาพระพทุ ธเจา ไดเ ทศนพ ระธรรมเทศนาโปรดแกส กลุ บตุ รรวมทงั้ เพอื่ นของสกลุ
บตุ รจนไดส าํ เรจ็ เปน พระอรหนั ตท ั้งหมดรวม 60 รูป

พระพุทธเจาทรงมีพระราชประสงคจะใหมนุษยโลกพนทุกข พนกิเลส จึงตรัสเรียก
สาวกทง้ั 60 รปู มาประชุมกันและตรสั ใหสาวก 60 รูปจาริกแยกยายกนั เดนิ ทางไปประกาศ
ศาสนา 60 แหง โดยลําพังในเสนทางที่ไมซํ้ากันเพื่อใหสามารถเผยแผพระพุทธศาสนาใน
หลายพนื้ ทอ่ี ยา งครอบคลมุ สว นพระองคเ องไดเ สดจ็ ไปแสดงธรรม ณ ตาํ บลอรุ เุ วลา เสนานคิ ม

หลงั จากสาวกไดเ ดนิ ทางไปเผยแพรพ ระพทุ ธศาสนาในพนื้ ทต่ี า งๆทาํ ใหม ผี เู ลอ่ื มใส
พระพุทธศาสนาเปนจํานวนมากพระองคจึงทรงอนุญาตใหสาวกสามารถดําเนินการบวชได
โดยใชวิธีการ “ติสรณคมนูปสัมปทา” คือการปฏิญาณตนเปนผูถึงพระรัตนตรัยพระพุทธ
ศาสนาจงึ หยงั่ รากฝงลึกและแพรหลายในดนิ แดนแหง นน้ั เปน ตนมา

รายวชิ าศาสนาและหนา ท่ีพลเมือง (สค31002) << ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 11

เสดจ็ ดบั ขนั ธปุ รินิพพาน

พระสัมมาสัมพุทธเจาไดทรงโปรดสัตวและแสดงพระธรรมเทศนาตลอดระยะเวลา
45 พรรษาทรงสดับวาอกี 3 เดอื นขางหนาจะปรินพิ พานจึงไดทรงปลงอายสุ งั ขารขณะนั้น
พระองคไ ดป ระทับจาํ พรรษา ณ เวฬุคาม ใกลเมอื งเวสาลี แควน วัชชโี ดยกอนเสด็จดบั ขนั ธ
ปรินิพพาน 1 วันพระองคไดเสวยสุกรมัททวะที่นายจุนทะทําถวายแตเกิดอาพาธลงทําให
พระอานนทโกรธแตพระองคตรัสวา “บิณฑบาตที่มีอานิสงสท่ีสุด”มี 2 ประการ คือ เม่ือ
ตถาคต (พุทธองค) เสวยบิณฑบาตแลว ตรสั รูและปรนิ พิ พาน” และมพี ระดํารัสวา “โย โว
อานนท ธมม จ วินโย มยา เทสิ โต ปญญตโต โส โว มมจจเยน สตถา” อันแปลวา “ดกู อน
อานนท ธรรมและวนิ ยั อนั ทเ่ี ราแสดงแลว บญั ญตั แิ ลว แกเ ธอทง้ั หลายธรรมวนิ ยั จกั เปน ศาสดา
ของเธอท้งั หลาย เมอื เราลวงลับไปแลว”

พระพทุ ธเจา ทรงประชวรหนกั แตท รงอดกลน้ั มงุ หนา ไปเมอื งกสุ นิ ารา ประทบั ณ ปา
สละเพื่อเสด็จดับขันธุปรินิพพานโดยกอนท่ีจะเสด็จดับขันธุปรินิพพานนั้นพระองคได
อปุ สมบทแกพ ระสภุ ทั ทะปรพิ าชกซงึ่ ถอื ไดว า “พระสภุ ทั ทะ” คอื สาวกองคส ดุ ทา ยทพ่ี ระพทุ ธ
องคทรงบวชใหในทา มกลางคณะสงฆท ัง้ ทีเ่ ปนพระอรหันต และปถุ ชุ นจากแควนตา งๆรวม
ท้ังเทวดาท่มี ารวมตัวกันในวันน้ี

ในครานั้นพระองคทรงมีปจฉิมโอวาทวา “ดูกอนภิกษุทั้งหลายเราขอบอกเธอทั้ง
หลายสังขารท้ังปวงมีความเส่ือมสลายไปเปนธรรมดาพวกเธอจึงทําประโยชนตนเองและ
ประโยชนของผอู ่ืนใหส มบรู ณดว ยความไมป ระมาทเถิด” (อปปมาเทน สมปาเทต)

จากนนั้ ไดเ สดจ็ ดบั ขนั ธปุ รนิ พิ พานใตต น สาละ ณ สาลวโนทยานของเหลา มลั ลกษตั รยิ 
เมืองกสุ นิ ารา แควนมัลละ ในวนั ขน้ึ 15 ค่าํ เดอื น 6 รวมพระชนมายุ 80 พรรษา และวนั น้ี
ถือเปน การเรมิ่ ตนของพุทธศกั ราช

12 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม

สรุปหลักธรรมของพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาเปนศาสนาประเภทเทวนิยม คือ ไมนับถือพระเจา พระสัมมาสัม

พทุ ธเจา ทรงตรสั รคู วามจรงิ ของชวี ติ วา องคป ระกอบของชวี ติ มนษุ ยป ระกอบดว ยรปู และนาม
เทานัน้

รปู และนามเมอื่ ขยายความกจ็ ะเปน รปู จติ และเจตสกิ จากรปู จติ และเจตสกิ กข็ ยาย
ความดว ยขนั ธ 5 ไดแ ก รปู ขนั ธ วญิ ญาณขนั ธ เวทนาขนั ธ สญั ญาขนั ธ และสงั ขารขนั ธ สรปุ
ไดดังแผนภูมิองคป ระกอบของชวี ติ

องคป ระกอบของชวี ิตมนษุ ย

รปู นาม
จิต เจตสิก

รูปขันธ วญิ ญาณ เวทนา สัญญา สงั ขาร
แผนภมู ิ แสดงองคประกอบของชีวติ มนุษย

จากแผนภมู อิ งคป ระกอบของชวี ติ มนษุ ยด งั กลา วในทางพระพทุ ธศาสนาอธบิ ายวา
ชวี ติ คือความเปนอยขู องรา งกาย (รปู ) จติ และเจตสกิ (นาม) โดยอาศยั ความเปน ผนู ําเกิด
และตามรักษาดาํ รงชวี ติ และการกระทาํ ตางๆไดโ ดยอาศยั จติ และเจตสิกเปน ผูกาํ หนด

รูป คอื รางกายเปน ธรรมชาตทิ ไ่ี มมคี วามรูสกึ นึกคิดใดๆ ท้งั สนิ้
นาม คอื สว นทเ่ี ปน จติ และเจตสกิ เปน ธรรมชาตทิ ร่ี บั รสู งิ่ ตา งๆและสามารถรถนกึ คดิ
เรอื่ งราวสิง่ ตางๆได
จิต คอื ธรรมชาติที่รอู ารมณ ทาํ หนา ที่เห็น ไดย ิน รูร ส รูกลิ่น รูสกึ ตอ การสมั ผสั ถูก
ตอ งทางกายและรสู กึ คดิ ทางใจ
เจตสกิ คือ ธรรมชาตทิ ีร่ ูสึกนกึ คิดเรือ่ งราวสิ่งตางๆ
เมือ่ แยกรปู และนามใหละเอยี ดขึน้ ก็จะอธบิ ายดวยขันธ 5 คอื
รปู ขนั ธ (รปู ) หมายถงึ อวยั วะนอ ยใหญห รอื กลมุ รปู ทม่ี อี ยใู นรา งกายทง้ั หมดของเรา
วิญญาณขนั ธ (จติ ) หมายถึง ธรรมชาตทิ ร่ี ับรูส ิ่งตางๆ ทมี่ าปรากฏทางตา หู จมูก
ล้นิ กาย ใจ อีกทัง้ เปน ธรรมชาตทิ ่ที ําใหเกิดความรูสาํ นกึ คดิ ตางๆ
เวทนาขันธ( เจตสกิ ) หมายถึงความรสู กึ เปน สขุ เปนทุกข ดใี จ เสียใจ หรือเฉยๆ

รายวชิ าศาสนาและหนา ท่ีพลเมอื ง (สค31002) << ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 13

สัญญาขนั ธ (เจตสิก) หมายถึง ธรรมชาติทีม่ ีหนา ทใี่ นการจําหรือเปน หนว ยความ
จาํ ของจติ น่นั เอง

สงั ขารขนั ธ( เจตสกิ )หมายถงึ ธรรมชาตทิ ป่ี รงุ แตง จติ ใหม ลี กั ษณะตา งๆ เปน กศุ ลบา ง
การเกดิ ขึ้นของจติ (วญิ ญาณขันธ) จะเกดิ ขึน้ โดยมเี จตสิก (เวทนาขนั ธ สัญญาขันธ สงั ขาร
ขนั ธ) เกดิ ขนึ้ รว มดว ยเสมอเฉพาะจติ อยา งเดยี วไมส ามารถรบั รหู รอื นกึ คดิ อะไรไดเ ลย จติ และ
เจตสิกจะแยกจากกันไมไดตองเกิดรวมกันอิงอาศัยกัน จิตแตละดวงที่เกิดจะตองมีเจตสิก
เกดิ รวมดว ยเสมอ

จากความจรงิ ของชวี ติ ทพี่ ระพทุ ธองคท รงคน พบวา ชวี ติ เปน เพยี งองคป ระกอบของ
รูปและนามเทานั้นแตเหตุท่ีคนเรามีความทุกขอยูเพราะความรูสึกนึกคิดท่ีเปนเร่ืองเปนราว
วา “มเี รามเี ขา” ทาํ ใหเกดิ การยึดมน่ั ถอื ม่ันดว ยอวิชา (ความไมร )ู วา สภาพธรรมเทานนั้ เปน
เพยี งรูปและนามท่ี “เกดิ ข้ึน ต้งั อยูแลว ดบั ไป” เทา นัน้

1. หลักธรรมเพอ่ื ความหลุดพนเฉพาะตัว คอื อริยสจั 4
อรยิ สจั 4 แปลวา ความจรงิ อนั ประเสริฐมอี ยูส ี่ประการ คือ
1) ทกุ ข คอื สภาพท่ที นไดย าก ภาวะท่ที นอยใู นสภาพเดิมไมไดสภาพทบี่ ีบคน้ั

ไดแ ก ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก การเกา ) มรณะ (การตาย การสลายไป การสญู สิ้น)
การประสบกับส่ิงอันไมเปนที่รัก พลัดพรากจากส่ิงอันเปนท่ีรัก การปรารถนาส่ิงใดแลว
ไมสมหวงั ในส่งิ น้นั กลาวโดยยอ ทกุ ขก ็คืออปุ าทานขันธหรือขนั ธ 5

2) ทกุ ขสมทุ ยั คอื สาเหตทุ ท่ี าํ ใหเ กดิ ทกุ ข ไดแ กต ณั หา 3 คอื กามตณั หา-ความ
ทะยานอยากในกาม ความอยากไดท างกามารมณ, ภวตณั หา-ความทะยานอยากในภพ ความ
อยากเปน โนน เปนน่ี ความอยากทีป่ ระกอบดวยภาวทิฏฐิหรอื สัสสตทิฏฐิ และวิภาวตณั หา-
ความทะยานอยากในความปรารถนาจากภพความอยากไมเปนโนนไมเปนนี่ ความอยากที่
ประกอบดว ยวภิ วทฏิ ฐิหรืออุจเฉททฏิ ฐิ

3) ทุกขนิโรธ คือความดับทุกข ไดแกดับสาเหตุท่ีทําใหเกิดทุกขกลาวคือดับ
ตัณหาท้ัง 3 ไดอยางสน้ิ เชิง

4) ทกุ ขนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา คอื แนวปฏบิ ตั ทิ นี่ าํ ไปสหู รอื นาํ ไปถงึ ความดบั ทกุ ข
ไดแ ก มรรคอนั มี องคป ระกอบอยแู ปดประการ คอื (1)สมั มาทฏิ ฐิ – ความเหน็ ชอบ(2)สมั มา
สังกัปปะ-ความดําหริชอบ(3)สัมมาวาจา-เจรจาชอบ(4)สัมมากัมมันตะ-ทําการงานชอบ(5)
สมั มาอาชวี ะ-เล้ียงชพี ชอบ(6)สมั มาวายามะ-พยายามชอบ(7)สมั มาสติ-ระลกึ ชอบ และ (8)
สมั มาสมาธ-ิ ตง้ั ใจชอบ ซ่งึ รวมเรยี กอีกชื่อหนึง่ ไดวา “มชั ฌิมาปฏิปทา” หรอื ทางสายกลาง

2. หลักธรรมเพ่อื การอยรู ว มกนั ในสังคม
1) สัปปุริสธรรม 7

สัปปุริสธรรม 7 คอื หลักธรรมของคนดหี รือหลักธรรมของสัตตบรุ ษุ 7 ประการ ไดแ ก รจู กั
เหตุรจู กั ผล

(1) รจู กั เหตหุ รอื ธมั มญั ญตา หมายถงึ ความเปน ผรู จู กั เหตุ รจู ะจกั วเิ คราะห
หาสาเหตุของสิง่ ตา งๆ

14 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม

(2) รจู กั ผลหรอื อตั ถญั ญตา หมายถงึ ความเปน ผรู จู กั ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการกระทาํ
(3) รจู กั ตนหรอื อตั ตญั ญาหมายถงึ ความเปน ผรู จู กั ตนทงั ในดา นความรู คณุ ธรรม
และความสามารถ
(4) รูจักประมาณหรือมัตตัญุตา หมายถึง ความเปนผูรูจักประมาณรูจักหลัก
ของความพอดี การดําเนนิ ชีวติ พอเหมาะพอควร
(5) รจู กั กาลเวลาหรอื กาลญั ตุ า หมายถงึ ความเปน ผรู จู กั กาลเวลารจู กั เวลาไหน
ควรทําอะไรแลว ปฏิบตั ใิ หเ หมาะสมกับเวลานนั้ ๆ
(6) รูจ ักบคุ คลหรือบุคคลสญั ตุ า หมายถงึ ความเปนผรู ูจักปฏบิ ัตกิ ารปรบั ตน
และแกไขตนใหเหมาะสมกบั สภาพของกลมุ และชุมชน
(7) รจู กั บคุ คลหรอื บคุ คลสญั ตุ า หมายถงึ ความเปน ผรู จู กั ปฏบิ ตั ติ นใหเ หมาะสม
กบั บคุ คลซง่ึ มคี วามแตกตา งกนั
การที่บุคคลไดนําหลักสัปปุริสธรรม 7 มาใชในการดําเนินชีวิตพบกับความสุข
ในชวี ิตได
2) อิทธบิ าท 4
อทิ ธบิ าท 4 คอื หลกั ธรรมทน่ี าํ ไปสคู วามสาํ เรจ็ แหง กจิ การมี 4 ประการคอื ฉนั ทะ
วิรยิ ะ จติ ตะ วิมงั สา
(1) ฉันทะ คอื ความพอใจใฝร กั ใฝห าความรแู ละความสรางสรรค
(2) วริ ิยะคอื ความเพยี รพยายามมีความอดทนไมทอ ถอย
(3) จติ ตะคือความเอาใจใสและตง้ั ใจแนว แนใ นการทํางาน
(4) วมิ งั สาคอื ความหมั่นใชปญญาและสตใิ นการตรวจตราและคดิ ไตรต รอง
3) กศุ ลธรรมบถ 10
กศุ ลกรรมบถ 10 เปน หนทางแหง การทาํ ความดงี ามทางแหง กศุ ลซง่ึ เปน หนทาง
นําไปสูความสุขความเจริญแบงออกเปน 3 ทางคอื กายกรรม 3 วจกี รรม4 และมโนกรรม
1. กายกรรม 3 หมายถงึ ความประพฤตดิ ที แี่ สดงออกทางกาย 3 ประการ ไดแ ก

(1) เวน จากการฆา สตั ว คอื การละเวน จากการฆา สตั วก ารเบยี นเบยี นกนั เปน
ผเู มตตากรณุ า

(2) เวนจากการลักทรัพยคือเวนจาการลักขโมย เคารพในสิทธิของผูอ่ืนไม
หยบิ ฉวยเอาของคนอน่ื มาเปน ของตน

(3) เวนจากการประพฤติในกาม คือการไมลวงละเมิดสามีหรือภรรยาผูอ่ืน
ไมลว งละเมิดประเวณีทางเพศ

2. วจีกรรม 4 หมายถึงการเปนผูมีความประพฤติดีซึ่งแสดงออกทางวาจา
4 ประการ ไดแ ก

(1) เวน จากการพูดเท็จ คอื การพูดแตความจรงิ ไมพูดโกหก หลอกลวง
(2) เวน จากการพดู สอ เสยี ด คอื พดู แตใ นสง่ิ ทท่ี าํ ใหเ กดิ ความสามคั คี กลมเกลยี ว
ไมพูดจาในสงิ่ ท่ีกอ ใหเกิดความแตกแยก แตกราว

รายวิชาศาสนาและหนา ทพี่ ลเมอื ง (สค31002) << ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 15

(3) เวนจากการพูดคําหยาบคือพูดแตคําสุภาพ ออนหวาน ออนโยน กับ
บคุ คลอ่ืนทั้งตอ หนา และลบั หลงั

(4) เวนจากการพูดเพอเจอคือพูดแตความจริงมีเหตุผลเนนเนื้อหาสาระที่
เปน ประโยชนพ ดู แตส ิ่งท่จี าํ เปน และพดู ถูกกาลเทศะ

3. มโนกรรม 3 หมายถึง ความประพฤติที่เกดิ ข้ึนในใจ 3 ประการ ไดแก
(1) ไมอ ยากไดข องของเขา คอื ไมค ดิ จะโลภอยากไดข องผอู น่ื มาเปน ของตน
(2) ไมพ ยาบาทปองรายผูอนื่ คอื มจี ติ ใจมีปรารถนาดี อยากใหผ อู ื่นมีความ

สขุ ความเจริญ
(3) มีความเหน็ ที่ถกู ตอ ง คือ ความเช่อื ทีถ่ ูกตอ ง คือความเช่ือในเรือ่ งการ

ทาํ ความดีไดดี ทําชว่ั ไดชว่ั และมีความเชือ่ วาความพยายามเปน หนทางแหงความสําเร็จ

สังคหวัตถุ 4

สังคหวัตถุ 4 เปนหลักธรรมคําสอนทางพระพุทธศาสนาที่เปน วิธีปฏิบัติเพ่ือ
ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนท่ียังไมเคยรักใครนับถือ ใหความรัก ความนับถือ สังคหวัตถุเปน
หลักธรรมท่ีชวยผูกไมตรีซึ่งกันและกันใหแนนแฟนยิ่งขึ้นประกอบดวย ทาน ปยวาจา
อัตถจริยา สมานนัตตตา

1. ทาน คือการใหเปนสิ่งของตนใหแกผูอ่ืนดวยความเต็มใจเพื่อเปนประโยชนแก
ผรู บั การใหเ ปน การยดึ เหนย่ี วนาํ้ ใจกนั อยา งดยี งิ่ เปน การสงเคราะหส มานนาํ้ ใจกนั ผกู มติ รไมตรี
กันใหย ง่ั ยืน

2. ปยวาจา คือ การเจรจาดวยถอยคําไพเราะออนหวานพูดชวนใหคนอื่นเกิด
ความรกั และนบั ถอื คาํ พดู ทด่ี นี น้ั ยอ มผกู ใจคนใหแ นน แฟน ตลอดไปหรอื แสวงความเหน็ อกเหน็ ใจ
ใหกาํ ลังใจรจู ักพดู ใหเ กดิ ความเขา ใจดี สมานสามคั คี ยอมทาํ ใหเกิดไมตรีทาํ ใหร ักใครนบั ถอื
และชว ยเหลือเกือ้ กูลกนั

3. อตั ถจรยิ า คอื การประพฤตสิ ิง่ ท่ีเปน ประโยชนแ กกนั คอื ชว ยเหลอื ดวยแรงกาย
และขวนขวายชว ยเหลอื กจิ กรรมตา งๆใหล ลุ ว งไปเปน คนไมด ดู ายชว ยใหค วามผดิ ชอบชวั่ ดี
หรือชวยแนะนาํ ใหเกิดความรคู วามสามารถในการประกอบอาชพี

4. สมานนตั ตตา คอื การวางตนเปน ปกตเิ สมอตน เสมอปลายไมถ อื ตวั และการวางตน
ใหเหมาะสมกับฐานะของตนตามสภาพ ไดแก เปน ผใู หญ ผนู อย หรอื ผเู สมอกันเอาไปใส
ปฏบิ ตั ิตามฐานะ ผนู อยคาราวะนอบนอ มยาํ เกรงผูใหญ

อบายมุข 6

คาํ วา อบายมขุ คอื หนทางแหง ความเลอ่ื มหรอื หนทางแหง ความหายนะความฉบิ หาย
มี 6 อยา ง ไดแก

1. การเปนนักเลงผูหญิง หมายถึง การเปนคนมีจิตใจใฝในเรื่องเพศเปนนักเจาชู
ทาํ ใหเสยี ทรัพยส นิ เงนิ ทอง สูญเสยี เวลาและเสียสุขภาพ

16 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม

2. การเปนนกั เลงสุรา หมายถงึ ผูท่ดี ม่ื สุราจนติดเปน นสิ ยั การดมื่ สรุ านอกจากจะ
ทาํ ใหเสยี เงินเสยี ทองแลวยงั เสยี สุขภาพและบนั่ ทอนสตปิ ญญาอีกดวย

3. การเปน นกั เลงการพนนั หมายถงึ ผทู ชี่ อบเลน การพนนั ทกุ ชนดิ การเลน การพนนั
ทําใหเสยี ทรัพยส ินเสยี สขุ ภาพ การพนนั ไมเคยทาํ ใครร่าํ รวยม่งั มเี งินทองไดเลย

4. การคบคนช่ัวเปนมิตร หมายถึง การคบคนไมดีหรือคนช่ัวคนชั่วชักชวนใหทํา
ในสิง่ ท่ีไมถูกตอ งและอาจนําความถกู ตอ งมาสูตนเองและครอบครัว

5. การเที่ยวดูการละเลน หมายถึง ผูท่ีชอบเท่ียวการละเลนกลางคืนทําใหเสีย
ทรัพยส ินและอาจทําใหเกดิ การทะเลาะเบาะแวงในครอบครวั

6. เกียจครา นทาํ การงาน หมายถึง ผูไมช อบทาํ งาน ขเี้ กียจ ไมข ยันขนั แข็ง

เบญจศลี เบญธรรม

เบญจศีลเบญธรรม คือ หลักธรรมทค่ี วรปฏบิ ตั คิ วบคกู นั มงุ ใหบคุ คลทําความดี
ละเวนความชัว่

เบญจศลี (สงิ่ ที่ควรละเวน ) เบญจศีล(สงิ่ ที่ควรละเวน )
1. เวนจากการฆาสตั ว 1. มีความเมตตากรุณา
2. เวนจากการลักทรัพย 2. ประกอบอาชีพสจุ รติ
3. เวน จากการประพฤตผิ ิดในกาม 3. มีความสํารวมในกาม
4. เวนจากการพูดเท็จ 4. พดู ความจริงไมพ ดู โกหก
5. เวนจาการเสพของมึนเมา 5. มสี ติสัมปชญั ญะ

โลกบาลธรรมหรอื ธรรมคมุ ครองโลก

โลกบาลธรรมหรอื ธรรมคมุ ครองโลก เปน หลกั ธรรมทช่ี ว ยใหม นษุ ยท กุ คนในโลกอยู
กันอยางมีความสุขมีน้ําใจ เอ้ือเฟอมีคุณธรรมและทําแตสิ่งท่ีเปนประโยชนประกอบดวย
หลักธรรม 2 ประการ ไดแ ก หิรโิ อตปั ปะ

1.หิริ คือความละลายในลักษณะ 3 ประการ แลวไมท าํ ความช่วั (บาป) คอื
(1) ละอายแกใ จหรือความรูส กึ ท่ีเกิดข้ึนในใจตนเองแลวไมทาํ ความชวั่
(2) ละอายผูอ น่ื หรอื สภาพแวดลอมตางๆ แลวไมทําความช่ัว
(3) ละอายตอความชว่ั ทีต่ นจะทําน้นั แลวไมท าํ ความชว่ั

2.โอตตัปปะ คอื ความเกรงกลวั หมายถึง
(1) เกรงกลวั ตนเอง ตเิ ตยี นตนเองได
(2) เกรงกลวั ผอู ่ืนแลวไมก ลาทาํ ความช่วั
(3) เกรงกลวั ตอผลของความ ชั่วท่ที าํ จะเกิดขึ้นแกต น
(4) เกรงกลวตอ อาญาของแผนดนิ แลว ไมก ลาทําความช่วั

รายวิชาศาสนาและหนาทพ่ี ลเมือง (สค31002) << ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 17
นิกายสําคัญของพระพทุ ธศาสนา

หลงั จากทพี่ ระพทุ ธเจา ปรนิ พิ พานแลว ประมาณ 100 ป พระพทุ ธศาสนากเ็ รมิ่ มกี าร
แตกแยกในดา นความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ติ ามพระธรรมวนิ ยั จนถงึ สมยั พระเจา อโศก
มหาราชกแ็ ตกแยกกนั ออกเปน นกิ ายใหญๆ 2 นกิ าย คอื มหายาน (อาจารยิ วาท) กบั หนิ ยาน
(เถรวาท)

มหายาน “มหายาน” แปลวา “ยานใหญ” เปนลทั ธขิ องภกิ ษุฝา ยเหนือของอินเดยี
ซดบัง่ึ มกจีเิ ลดุ สมทงุ หงั้ ยมงั าไยดทแรจี่ปูกะภไ เขาผพคยาํ แสพอรนพ ในระพพรทุะพธศทุ าธสศนาสาในหาม ใหหผาชนั นแปเลรอื่ ไปมตใสาเมสลยี าํกดอ บั นลแทั ลธว นิจงึไี้ ดสอเ ขนา ใไหปรเจะรงญิบั
รงุ เรืองอยูใ นทิเบต จีน เกาหลี ญี่ปนุ และเวยี ดนาม เปน ตน

หนิ ยาน คําวา “หนิ ยาน”เปน คําทฝ่ี ายมหายานตง้ั ให แปลวา “ยานเล็ก”เปน ลัทธิ
ของภิกษุฝายใตท่ีสอนใหพระสงฆปฏิบัติเพ่ือดับกิเลสของตนเองกอนและหามเปล่ียนแปลง
แกไ ขพระวนิ ยั อยา งเดด็ ขาด นกิ ายนมี้ ผี นู บั ถอื ในประเทศศรลี งั กา ไทย พมา ลาว และกมั พชู า
โดยเฉพาะประเทศไทยเปน ศนู ยก ลางนกิ ายเถรวาท เพราะมกี ารนบั ถอื พระพทุ ธศาสนานกิ าย
นสี้ บื ตอ กนั มาตง้ั แตบ รรพชนพระพทุ ธเจา ไมใ ชเ ทวดาหรอื พระเจา แตเ ปน มนษุ ยท ม่ี ศี กั ยภาพ
เหมอื นสามญั ชนทวั่ ไป สามารถบรรลสุ จั ธรรมไดด ว ยความวริ ยิ ะอตุ สาหะ หลกั ปฏบิ ตั ใิ นชวี ติ
ท่ีทุกคนควรกระทําคือทําความดีละเวนความชั่ว ทําจิตใจใหผองแผวและการท่ีเราจะทําส่ิง
เหลานํา้ ไดน ั้นจะตอ งมศี ลี สมาธิ ปญ ญาเพ่ือเปนพาหนะนาํ ผโู ดยสารเขา ทะเลแหง วฎั สงสาร
ไปสพู ระนิพพาน

18 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม

ความแตกตา งของนิกายหนิ ยานกับนกิ ายมหาชน

นิกายหินยาน นิกายมหายาน

1. ถอื เร่ืองอริยสจั เปน สําคญั 1. ถือเรอื่ งบารมีเปน สําคัญ

2. คณุ ภาพของศาสนิกชนเปนสําคญั 2. ถือปริมาณเปนสําคัญกอนแลวจึงเขา
ปรับปรุงคุณภาพในภายหลังดังนั้นจึงตอง
ลดหยอนการปฏิบัติพระวินัยบางขอตกลง
เขาหาบุคคลและเพ่ิมเทวดาและพิธีกรรม
สังคีตกรรมเพ่ือจูงใจคนไดอธิบายพุทธมติ
อยางกวางขวางเกินประมาณเพ่ือการเผย
แพรจนทําใหพระพุทธพจนซึ่งเปนสัจนิยม
กลายเปน ปรชั ญาและตรรกวทิ ยาไป

2. มีพระพุทธเจาองคเดยี ว คอื 3. มพี ระพุทธเจาหลายองค องคเดิมคือ อาทิ
พระสมณโคดมหรอื พระศากยมนุ ี พุทธ (กายสีน้ําเงิน)เมื่อทา นบาํ เพ็ญณานก็
เกดิ พระณานนพิ ทุ ธอกี เปน ตน วา พระไวโรจน
พุทธะอักโขภัยพุทธะ รัตนสมภพพุทธ
ไภสัชชคุรุ โอฆสิทธิและอมิตาภา เฉพาะ
องคน ม้ี มี าในรา งคนเปน (มานษุ พี ทุ ธะ) คอื
พระศากยมุนี

4. มคี วามพน จากกเิ ลส ชาตภิ พ เปน 4. มคี วามเปน พระโพธวิ์ สตั วห รอื พทุ ธภมู ิ เพอื่
อัตกัตถจริยแลวบําเพ็ญ ประโยชน บาํ เพญ็ โลกตั ถจริยาไดเ ตม็ ที่ เปน ความมุง
แกผูอ่ืนเปนโลกัตถจริยเปนความ หมายของพระโพธ์ิสัตวหลายองคเชนพระ
มงุ หมายสําคัญ อวโลกิเตศวรมัชชุลี วิชรปาณี กษิตคสร 3
สมนั ตภัทรอรยิ เมตไตร เปนตน

5. มบี ารมี 10 ประการ คือ ทาน ศลี 5. มบี ารมี 6 ประการ คือ ทาน ศลี วนิ ยั ขนั ติ
เนกขมั มะ ปญ ญา วริ ยิ ะ ขนั ติ สจั จะ ฌาน ปญญา อันใหถ ึงความสําเร็จเปนพระ
อธษิ ฐาน เมตตา อเุ บกขา อนั ใหถ งึ โพธสิ ัตวและเปน ปฏปิ ทาของพระโพธสิ ัตว
ความเปน พระพุทธเจา

6. ถือพระไตรปฎกเถรวาท คือ พระ 6. ถือพระธรรมวินัยเกา และมีพระสูตรใหม
ธรรมวินัยยุติตามปฐมสังคายนา เพมิ่ เตมิ เชนสขุ วดียูหสูตร ลงั กาวตาร ลทั
ไมม พี ระวินัยใหมเพ่มิ เติม ธรรมปุณฑริกสูตร ปรัชญาปารมิตาสูตร
เปนตน

รายวิชาศาสนาและหนา ที่พลเมอื ง (สค31002) << ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 19

นิกายหนิ ยาน นกิ ายมหายาน

8. รักษาวนิ ยั เดมิ เอาไว 8. ปรับปรุงพระธรรมวินัยใหเขากับภาวะ
แวดลอม

9. ถือวาพระอรหันตเมื่อนิพพานแลว 9. ถือวาพระอรหันตเม่ือปรินิพพานแลวยอม
ไมเกิดใหมอ กี กลับมาเกดิ ใหมสาํ เร็จเปน พระพุทธเจา อีก

10. ยอมรับแตธรรมกายและนิรมาน 10. ถอื วา พระพุทธเจามี 3 กาย คอื ธรรมกาย
กายบางนอกน้นั ไมยอม ไดแ ก กายธรรม สมั โภคกายหรอื กายจาํ ลอง
หรอื กายอวตารของพระพทุ ธเจา เปน กสั สป
สัมพุทธะบางเปนพระศากยมุนีบาง เปน
พระกกสุ นั ธะบา ง เปน ตน นน้ั แลว ลว นเปน
สัมโภคกายของพระพุทธองคเดิม (อาทิ
พทุ ธะ) ทงั้ นัน้ และนิรนามกาย คือกายท่ี
ตอ งอยสู ภาพธรรมดา คอื ตอ งแก เจบ็ และ
ปรินิพพาน ซ่ึงเปนกายท่ีพระพุทธเจาสรา ง
ขึ้นเพื่อใหคนเห็นความจริงของชีวิตแต
สาํ หรบั พระพทุ ธเจา องคท แี่ ทน น้ั ไมต อ งอยู
ในสภาพเชนน้ีแบบเดียวกันกับปรมาตมัน
ของพราหมณ

บุคคลสาํ คัญในสมยั พทุ ธกาล

พระสารีบุตร เปนอัครสาวกเบ้ืองขวาของพระพุทธเจาไดรับการยกยองจาก
พระพุทธเจาวาเปนเลิสกวาพระสงคท้ังปวงในดานสติปญญา นอกจากน้ีพระสารีบุตรยังมี
คุณธรรมในดานความกตัญูและการบําเพ็ญประโยชนไดแกพุทธศาสนาอีกดวยทานไดรับ
การยกยองวาเปนธรรมเสนาบดี คูกับพระพุทธเจาท่ีเปนธรรมราชา เนื่องจากทานเปนผูมี
ปฏิญาณในการแสดงพระธรรมเทศนาคือช้ีแจงใหผูฟงเขาใจไดชัดเจนสําหรับในดานความ
กตญั นู น้ั ทา นไดฟ ง ธรรมจาก พระอสิ สชเิ ปน ทา นแรกและเกดิ ธรรมจกั ษคุ อื ดวงตาเหน็ ธรรม
หมายความวา สงิ่ ใดเกดิ เปน ธรรมดายอ มดบั เปน ธรรมดา จากนน้ั เมอ่ื กอ นทที่ า นจะนอนทา น
จะกราบทศิ ที่พระอสั สชอิ ยแู ละหันศรีษะนอนไปยงั ทิศนนั้

พระมหาโมคคลั ลานะ เปน อคั รสาวกเบ้ืองซายของพระพทุ ธเจาเปน ผมู ีเอตทคั คะ
ในดานผูมีฤทธิ์ทานเปนผูฤทธานุภาพมากสามารถกระทําอิทธิฤทธ์ิไปเย่ียมสวรรคและนรก
ได จากนน้ั นาํ ขา วสารมาบอกญาตมิ ติ รของผทู ไี่ ปเกดิ ในสวรรคแ ละนรกใหไ ดท ราบประชาชน
ทั้งหลายจึงมาเลื่อมใสพระพุทธศาสนาทําใหประชาชนเลื่อมคลายความเคารพเดียรถีย

20 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม

(นักบวชลัทธิหนึ่งในสมัยพุทธกาล)พวกเดียรถียจึงโกรธแคนทานมากจึงลงความเห็นวาให
กําจัดพระโมคคัลลานะ นอกจากนั้นจึงจางโจรไปฆาพระเถระ พวกโจรจึงลอมจับพระเถระ
ทานรตู วั หนีไปได 2 คร้ังในครงั้ ที่ 3 ทานพิจารณาเหน็ วาเปนกรรมเกา จงึ ยอมใหโจรจบั อยา ง
งา ยดายโจรทบุ กระดกู ทา นจนแหลกเหลวไมม ชี น้ิ ดี กอ นทท่ี า นจะยอมนพิ านเพราะกรรมเกา
ทานไดไ ปทลู ลาพระพุทธเจา กอ นแลวจงึ นิพาน

อนาถบิณฑิกเศรษฐี เปนผูไดรับการยกยองเปนนายกฝายอุบาสกทานเปนเศรษฐี
อยเู มอื งสาวตั ถเี ปน ผมู ศี รทั ธาแรงกลา เปน ผสู รา งพระเชตวุ นั มหาวหิ ารถวายแกพ ระพทุ ธเจา
พระพทุ ธเจา ทรงประทบั อยทู ว่ี ดั นถี้ งึ 19 พรรษา นอกจากทา นจะอปุ ถมั ภบ าํ รงุ พระภกิ ษสุ งฆ
แลวยังไดสงเคราะหคนยากไรอนาถาอยา งมากมายเปน ประจาํ จงึ ไดชอื่ วา อนาถบณิ ฑิก ซงึ่
แปลวา ผมู ีกอ นขาวเพอื่ คนอนาถา

พระเจา พมิ พสิ าร เปน อบุ าสกทสี่ าํ คญั อกี ผหู นง่ึ พระองคเ ปน พระเจา แผน ดนิ ครอง
แควนมคธครองราชยสมบัติอยูที่กรุงราชคฤหทานถวายพระราชอุทยานเวฬุวันแก
พระพุทธเจา นับวาเปนวัดแหงแรกในพระพุทธศาสนา

พระอานนท เปน สหชาตแิ ละพทุ ธอปุ ฏ ฐากของพระพทุ ธเจา ไดร บั การยกยอ งวา เปน
เอตทัคคะวาเปนผูมีพหูสูตเน่ืองจากทรงจําพระสูตรท่ีพระพุทธเจาตรัสไวและเปนผูสาธยาย
พระสูตรจนทําใหการปฐมสังคายนาสําเร็จเรียบรอย นอกจากนั้นทานยังทําหนาที่เปนพุทธ
อปุ ฏ ฐากของพระพทุ ธเจา ไดอ ยา งดรี วม 25 พรรษาดว ยความขยนั ขนั แขง็ ทเี่ ปน ภารกจิ ประจาํ
และไดรับการยกยอ งจากสมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจาใหเปนเอตทคั คะ(เลิศ) 5 ประการ คอื

1. มีสตริ อบคอบ
2. มีความทรงจําแมน ยํา
3. มีความเพยี รดี
4. เปนพหูสูต
5. เปน ยอดของพระภิกษผุ อู ุปฏ ฐากพระพุทธเจา
นางวิสาขา ผูเปนฝา ยอบุ าสิกา เปน เลิศในการถวายทานและนางเปน ผูมีความงาม
ครบ 5 อยา ง ซงึ่ เรยี กวา เบญจกลั ยาณี ไดแก เปนผมู ผี มงามคือมผี มยาวถงึ สะเอวแลว
ปลายผมงอนขึ้น เปน ผมู เี นอ้ื งามคอื ริมฝปากแดงดุจผลตาํ ลงึ สุกและเรียบชดิ สนิทดี เปน ผู
มกี ระดกู งามคอื ฟน ขาวประดจุ สงั ขแ ละเรยี บเสมอกนั เปน ผมู ผี วิ งามคอื ผวิ งามละเอยี ดถา ดาํ
กด็ าํ ดงั ดอกบวั เขยี วถา ขาวกข็ าวดงั ดอกกรรณกิ ารเ ปน ผมู วี ยั งามแมจ ะคลอดบตุ รถงึ 10 ครง้ั
ก็คงสภาพรางกายสาวสวยดุจคลอดครงั้ เดยี ว ปกตินางวสิ าขาไปวัด วันละ 2 ครัง้ คือเชา
เยน็ และมขี องไปถวายเสมอเวลาเชา จะเปน อาหารเวลาเยน็ จะเปน นา้ํ ปานะนางเปน ผสู รา งวดั
บุพผารามถวายพระบรมศาสดาและเปนผูคิดถวายผาอาบน้ําฝนแกพระเณรเพราะพระเณร
ไมม ีผาอาบน้ําเปลอื ยกายอาบนํา้ ฝนดไู มเ หมาะสม

รายวิชาศาสนาและหนา ที่พลเมอื ง (สค31002) << ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 21

เร่ืองที่ 3 ประวัติศาสดา และคําสอนของศาสนาอสิ ลาม

ศาสดาของศาสนาอิสลามคือนบีมูฮัมหมัด ศาสนาอิสลามเกิดขึ้นในดินแดนทะเล
ทรายอาหรับเมืองเมกกะประเทศซาอุดีอาระเบีย ในยุคนั้นชาวอาหรับแตกออกเปนหลาย
กลุมขาดความสามัคคียากแกก ารปกครอง มกี ารรบพงุ ฆา ฟน กนั ตลอดเวลา ไมม ศี าสนาเปน
แกน สาร คนสว นใหญน บั ถอื เทพเจา และรปู เคารพตา งๆ ประชาชนไมม ศี ลี ธรรม สตรจี ะถกู
ขม เหงรงั แกมากที่สดุ นบีมูฮมั หมัดเกิดขน้ึ ทามกลางสภาพสงั คมทเี่ สื่อมทราบเชนนี้ จึงคิด
หาวิธีท่ีจะชวยปรับปรุงแกไขสถานการณน้ีใหดีขึ้น นบีมูฮัมหมัดเปนผูที่ฝกใฝในศาสนา
หาความสงบและบําเพญ็ สมาธทิ ถี่ ้ําฮรี อ บนภูเขานรู ในคืนหนงึ่ ของเดือนรอมฎอน กาเบรียล
ทูตของพระเจาไดนําโองการของอัลลอฮมาประทาน นบีมูฮัมหมัดไดนําคําสอนเหลานี้มา
เผยแพรจนเกิดเปนศาสนาอิสลามข้ึน ในระยะแรกของการเผยแผศาสนาไดรับการตอตาน
เปนอยางมาก ถึงกับถูกทํารายจนตองหลบหนีไปอยูเมืองมะดีนะฮ จนเปนที่ยอมรับและมี
คนนบั ถอื มากมาย กก็ ลบั มายดึ เมอื งเมกกะทาํ การเผยแผศ าสนาอสิ ลามอยา งเตม็ ที่ การเผย
แผศาสนาของอิสลามออกไปยังประเทศตางๆ ในยุคหลังเปนไปโดยไรสงครามเขายึดเมือง
เพื่อเผยแผศาสนา โดยมีคมั ภรี ใ นศาสนาอิสลามคือคัมภรี อ ัลกุรอาน

แนวประพฤติปฏบิ ตั ิและหลกั คาํ สอนของศาสนาอิสลาม

แนวประพฤตปิ ฏบิ ตั แิ ละหลกั คาํ สอนของศาสนาอสิ ลามประกอบดว ยรายละเอยี ดที่
สําคญั ๆดงั ตอ ไปนี้คือ

1. ศรทั ธาตออัลเลาะห ใหศรัทธาโดยปราศจากขอ สงสัยใดๆ วา พระอัลเลาะหท รง
มอี ยจู รงิ ทรงดํารงอยดู วยพระองค ทรงมมี าแตด ง้ั เดมิ โดยไมมสี ง่ิ ใดมากอ นพระองค ทรง
ดํารงอยูตลอดกาล ไมมีสิ่งใดอยูหลังจากพระองคทรงสรางทุกอยางในทองฟา เพียบ
พรอมดว ยคุณลักษณะอนั ประเสรฐิ

2. ศรัทธาตอมลาอิกะฮุ ซึ่งเปนบาวอัลเลาะหประเภทหน่ึงท่ีไมอาจมองเห็นตัวตน
หรือทราบรปู รางท่แี ทจ รงิ บรรดามลาอกิ ะฮุนปี้ ราศจากควมผิดพลาด บรสิ ุทธจิ์ ากความมัว
หมองท้งั ปวง มีคณุ สมบัติไมเ หมือนมนุษยค อื ไมก นิ ไมน อน ไมมีเพศ สามารถจาํ แลงรางได

3. ศรทั ธาในพระคมั ภรี ข องพระเจา คอื ศรทั ธาวา อลั เลาะหท รงประทานคมั ภรี ใ หก บั
บรรดาศาสนทูตเพือ่ นําไปประกาศใหประชาชนไดท ราบหลักคําสอนซง่ึ มอี ยู 2 ประเภทคอื

1) สอนถงึ ความสมั พันธร ะหวา งมนษุ ยกับพระเจา
2) สอนถึงความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษยดวยกัน โดยบรรดาคัมภีรที่
ประทานมานั้นมีวิธปี ระทานตา งๆ กันดงั นค้ี ือ

(1) ถายทอดโองการตางๆ เขาจติ ใจของศาสนา
(2) การไดยนิ เสียงในลักษณะอยใู นภวังคห รือการฝน
(3) โดยมลาอกิ ะฮฺ มนี ามวา ญิบรลี ถกู สงมาพรอ มกับโองการของพระเจา

22 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม

นาํ มาใหศ าสดาดว ยคาํ พดู อนั ชดั เจน สาํ หรบั คมั ภรี อ ลั กรุ อานไดถ กู บนั ทกึ ตง้ั แตศ าสดานบมี ฮู มั
หมดั ยงั มชี ีวติ อยแู ละไดท อ งจําโดยสาวกของทาน คมั ภีรน ีไ้ มเคยปรับปรุงแกไ ขแตอยางไร มิ
ใชว รรณกรรมท่มี นษุ ยประพนั ธขึ้นมา แตถ กู ประทานมาจากอลั เลาะหเจา

4. ศรทั ธาในบรรดาศาสนทตู ใหศ รทั ธาวา อลั เลาะหท รงคดั เลอื กบคุ คลเปน ผสู ง สาร
นําบทบญั ญัตขิ องพระองคม าสงั่ สอนแกป วงชน อัลกุรอานสอนวา ศาสนทูตทป่ี รากฏชอื่ ใน
คมั ภีรอ ลั กรุ อานมี 25 ทา น มุสลิมทุกคนตอ งศรทั ธาในบรรดาศาสนทูตดังกลา วท้งั หมดจะ
ละเวน ทา นหนง่ึ ทา นใดมไิ ดแ ละถอื วา ทกุ ทา นทก่ี ลา วมานเ้ี ปน มสุ ลมิ และเปน บา วของอลั เลาะห
เหมือนๆ กนั

5. ศรทั ธาตอ วนั ปรโลก มหี ลกั การวา มวี นั หนง่ึ ทเ่ี ปน วนั พจิ ารณาผลกรรมของมนษุ ย
ทั้งหมด ทัง้ นี้เพอื่ ทุกสิ่งทุกอยางในจักรวาลไดพินาศแตกดับหมดแลว จากนั้นอัลเลาะหจะ
ไดใหทุกคนคืนชีพมาชําระงานที่เขาประกอบไวในโลกดงั ขอ ความวา ผูประกอบความดีจะ
ไดร บั ตอบสนองดว ยส่งิ ดี ผปู ระกอบกรรมช่ัวก็จะไดร ับผลตอบสนองคือการลงโทษดงั ขอ
ความวา ผใู ดประกอบกรรมดแี มเ พยี งนอ ยนดิ เขากจ็ ะไดเ หน็ มนั และผใู ดประกอบกรรมชว่ั
แมเ พยี งนอยนดิ เขากจ็ ะไดเ หน็ มนั

6. การศรทั ธาตอ กฎกาํ หนดสภาวะ คอื ระเบยี บอนั รดั กุมทอี่ ัลเลาะหทรงกาํ หนดไว
แกโลก การศรัทธาตอกฎกําหนดสภาวะคือการยอมรับในอํานาจของอัลเลาะหท่ีทรงครอบ
ครองความเปนไปของทุกส่ิงแตละส่ิงเปนไปตามพระประสงคท่ีพระองคทรงกําหนดไวทุก
ประการเชน การถอื กาํ เนดิ ชาติพันธุ เปนตน

การนมัสการน้ีจะทําคนเดียวก็ได แตถาจะรวมกันทําเปนหมูย่ิงไดกุศลเพิ่มข้ึน มี
ขอ หา มในการนมสั การเม่ือเวลามนึ เมา

7. การถอื ศลี อด การ
ถอื ศลี อดเปน หลกั มลู ฐานของ
อสิ ลามขอ หนงึ่ ทมี่ สุ ลมิ ทกุ คน
ตองปฏิบัติ มีกําหนดขึ้นใน
ทุกๆ ป ปล ะ 1 เดอื น คอื ตก
เดือนรอมฎอน อันเปนเดอื น
ที่ 6 แหงปอิสลาม นับแบบ
จนั ทรคติ

การถอื ศลี อด คอื การ
งดเวน จากการบรโิ ภคและอน่ื ๆ
ตามทก่ี าํ หนดไวแ นน อน มหี ลกั เกณฑใ นการปฏบิ ตั ิ คอื

1. เปนมุสลิม
2. มีอายบุ รรลศุ าสนาภาวะ (ประมาณ 15 ป)
3. มสี ติสมั ปชัญญะ
4. มพี ลังความสามารถท่จี ะปฏิบัตไิ ด

รายวชิ าศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค31002) << ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 23

กิจกรรมท่กี ระทําในพิธีศลี อด คือ
1. ตัง้ จติ ปรารถนา (นยี ะฮ) ไวแตก ลางคนื วาตนจะถือศีลอด
2. งดเวนการกนิ ด่มื และอนื่ ๆ ตามขอ กําหนด

จุดประสงคของการถอื ศีลอด
1. เพอ่ื ทําใหจติ ใจบริสุทธ์ิ
2. ใหรูจักควบคุมจิตใจและตดั กิเลส
3. ใหร จู กั รสของการมขี นั ติ
4. ใหรูจักสภาพของคนยากจน อนาถา จะทาํ ใหเ กดิ ความเมตตาแกค นท่วั ไป
จดุ เริ่มตน ของการเขาถือศีลอดในเดือนรอมฎอนตามศาสนาบญั ญัติ

เรือ่ งท่ี 4 ประวตั ศิ าสดาและคาํ สอนของศาสนาคริสต

ศาสนาครสิ ตเ ปน ศาสนาประเภทเอกเทวนยิ มคอื เชอื่ วา มพี ระเจา สงู สดุ เพยี งองคเ ดยี ว
เปนผูสรางโลกและสรรพส่ิง พระเจาองคนั้นคือ พระยะโฮวาห ศาสนาคริสตเชื่อวามนุษยมี
บาปมาแตก าํ เนดิ พระเจา จงึ สง พระเยซมู าไถบ าป เชอื่ วา วญิ ญาณเปน อมตะ เมอื่ ถงึ วนั ตดั สนิ
โลก มนษุ ยจ ะไปอยใู นสวรรค หรอื ในนรกชวั่ นริ นั ดร เชอ่ื วา มเี ทวดาอยมู ากมายทงั้ ฝา ยดแี ละ
ฝา ยช่ัว ซาตานเปน หัวหนา ฝา ยช่ัวในที่สุดก็จะถกู พระเจาทาํ ลาย

ศาสนาคริสตเปนศาสนาท่ีมีผูนับถือมากที่สุดในโลก คําวา Christ มาจากภาษา
โรมัน วา Christus และคําน้ีมาจากภาษากรกี อกี ตอ หน่งึ คือคําวา Christos ซ่ึงแปลมาจาก
คําวา Messiah ในภาษาฮบิ รู คําวา messiah แปลวา พระผูปลดเปลือ้ งทกุ ขภ ยั

ศาสนาคริสตเกิดในปาเลสไตนเมอ่ื พ.ศ. 543 โดยคํานวณจากปเกดิ ของพระเยซู
ซ่ึงเปนศาสดาของศาสนาน้ี ศาสนาคริสตเปนศาสนาที่พัฒนามาจากศาสนายูดายหรือยิว
เพราะศาสนาครสิ ตน บั ถอื พระเจา องคเ ดยี วกนั กบั ศาสนายดู ายคอื พระยะโฮวาห พระเยซเู ปน
ชาวยวิ มไิ ดป รารถนาท่จี ะตง้ั ศาสนาใหมแ ตทรงตอ งการปฏริ ปู ศาสนายวิ ใหบ รสิ ทุ ธข์ิ ึ้น ทรง
กลา ววา “อยา คดิ วา เรามาทาํ ลายพระบัญญตั ิ และคาํ ของศาสดาพยากรณเ สยี เรามไิ ดม า
ทาํ ลายแตม าเพ่ือทาํ ใหสําเรจ็ ”

กอ นหนา ทพี่ ระเยซปู ระสตู ิ ประเทศปาเลสไตนไ ดต กเปน เมอื งขน้ึ ของจกั รวรรดใิ กล
เคยี งตดิ ตอ กนั เปนระยะเวลากวา 100 ป เรม่ิ ตงั้ แตศตวรรษที่ 1 กอ นครสิ ตก าล ตกเปน
เมอื งขน้ึ ของอัสซีเรยี บาบโิ ลเนียจกั รวรรดิเปอรเ ซยี จกั รวรรดิกรีกในสมัยพระเจา อเล็กซาน
เดอรมหาราช และในท่ีสุดตกเปนของอาณานิคมจักรวรรดิโรมัน ตลอดเวลาท่ีตกเปนเมือง
ขึ้นนี้ ผูพยากรณห ลายทานไดพยากรณถึงพระเมสสิอา (Messiah) พระผูชวยใหรอด ซึ่ง
เปนพระบุตรของพระเจา ท่จี ะเสด็จมาปลดแอกชาวยิวใหไดร ับเสรีภาพและจะทรงไถบ าป ให
ชาวยิวพนจากความหายนะและไดรับความรอดช่ัวนิรันดร ในสมัยน้ันชาวยิวเช่ือใน

24 หนังสือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม

คาํ พยากรณน ้ีมาก และพระเยซูประสตู ิในชวงเวลาน้ันพอดี พระเยซเู กิดที่หมบู า นเบธเลเฮม
แขวงยูดาย กรงุ เยรซู าเลม็ มารดาชอื่ มาเรยี บดิ าช่อื โยเซฟ ตามประวัติมาเรียน้นั ต้งั ครรภมา
กอ นขณะทย่ี งั เปน คหู มน้ั กบั โยเซฟ เทวฑตู จงึ มาเขา ฝน บอกโยเซฟวา บตุ รในครรภม าเรยี เปน
บตุ รของพระเจา ใหต งั้ ชอ่ื วา เยซู ตอ มาจะเปน ผไู ถบ าปใหก บั ชาวยวิ โยเซฟจงึ ปฏบิ ตั ติ ามและ
รบั มาเรยี มาอยดู ว ยโดยไมส มสเู ยย่ี งกรยิ า พระเยซไู ดร บั การเลยี้ งดอู ยา งดี เปน ศษิ ยข องโยฮนั
ศกึ ษาพระคมั ภรี เ กา จนแตกฉาน ทา นมนี สิ ยั ใฝส งบชอบวเิ วก เมอ่ื อายุ 30 ป ไดร บั ศลี ลา งบาป
ทแ่ี มน าํ้ จอรแ ดน ตง้ั แตน น้ั มาถอื วา ทา นสาํ เรจ็ ภมู ธิ รรมสงู สดุ ในศาสนา พระองคม สี าวก 12 คน
เปน หลกั ในศาสนาทําหนา ท่ีสืบศาสนามนี ักบญุ เปโตร (Saint Peter) เปนหัวหนาผูสืบตํา
แหนงนักบุญเปโตรตอๆ มาจนถึงปจจุบันเรียกวา สมเด็จพระสันตะปาปาพระเยซเู ผยแผ
ศาสนาทั่วดินแดนปาเลสไตนเปนเวลา 3 ป มีพวกปุโรหติ ธรรมาจารยแ ละพวกซซี ารเกลยี ด
ชังขณะท่ีพระองครับประทานอาหารม้ือคํ่ากับสาวก 12 คนเปนมื้อสุดทาย ทหารโรมันจับ
ตวั ทา นในขอ หาเปน กบฎและถูกตัดสินใหลงโทษประหารชีวิตโดยตรึงกับไมกางเขนไว จน
สิ้นพระชนม

วธิ ีการเผยแผคําสอนของพระเยซู

พระเยซูใชว ิธีการ 3 วิธีในการเผยแผคํา
สอนคอื

1. การรกั ษาบคุ คลทเ่ี จบ็ ปว ยใหห าย คน
ตายใหฟ น เปน การปลกู ศรทั ธาของปวงชนใหเ กดิ
มีขน้ึ ตอ อํานาจของพระเจา

2. การแสดงความฉลาดในการแกป ญ หา
เชน เมอื่ มกี ารใหต ดั สนิ คดหี ญงิ ผดิ ประเวณี พระ
เยซูตรัสวาลงโทษได แตผูลงโทษจะตองเปนผู
บรสิ ทุ ธิ์ เปน ตน

3. การประกาศหลักการแหงความรัก
ความเมตตา กรณุ า และกลา ววา จงรกั ศตั รทู า น จงอธษิ ฐานเพอ่ื ผทู ข่ี ม เหงทา น ทาํ ดงั นแ้ี ลว
ทานจะเปน บตุ รของพระบิดาของทา นในสวรรค

หลักธรรมของศาสนาคริสต

ศาสนาครสิ ตจารกึ หลักธรรมไวในคัมภรี ไบเบลิ้ หลักธรรมของพระเยซบู างขอ ตรง
ขามกบั ศาสนายิว บางขอ ใหก ารปฏิรปู และประยกุ ตเ สียใหม เชน

1. พระเจา ทรงเปน บดิ าทดี่ ี พรอ มทจี่ ะประทานอภยั ใหแ กบ ตุ รทก่ี ลบั ใจ แตข ณะเดยี ว
กันกท็ รงเปน ผูทรงไวซ ง่ึ ความเด็ดเดย่ี ว ลงโทษผทู ่ีไมเชือ่ ฟง

รายวชิ าศาสนาและหนา ทีพ่ ลเมือง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 25

2. พระเยซูทรงเปนผูประกาศขาวดีโดยแจงใหทราบวาอาณาจักรของพระเจามาถึง
แลว ผทู ี่ศรทั ธาจะไดรับมหากรณุ าธิคุณจากพระเจา

3. หลักการสํานึกผิด ใหพิจารณาตนเองวาใหทําผิดอะไร และต้ังใจท่ีจะเลิกทํา
ความชว่ั นน้ั เสยี

4. หลักความเสมอภาคคือความรัก ความเมตตาของพระเจาท่ีมีตอมนุษยท้ังมวล
โดยไมเ ลือกช้นั วรรณะผทู ี่ทาํ ความดแี ลว ตองไดร บั รางวลั จากพระเจา โดยเสมอภาคกนั

5. ใหละความเคียดแคนพยาบาท การจองเวรซ่ึงกันและกัน ใครรักก็รักตอบ ใคร
อาฆาตมงุ รายกต็ อ งใหอภยั

คาํ สอนของพระเยซทู ส่ี ําคญั ๆ อกี คอื

1. พระเยซเู ปน บตุ รของพระเจา ทรงสง ใหม าเกดิ ในโลกมนษุ ย เพอ่ื ไถบ าปใหม นษุ ย
มิไดเ สดจ็ มาปราบศัตรูดวยอาวธุ แตทรงมาสรา งสนั ติ

2. ผทู เี่ ชอื่ พระเยซู จะไดร บั ความรอดและชวี ติ นริ นั ดร จะไมถ กู พพิ ากษาวนั สนิ้ โลก
สว นผทู ่ไี มศรัทธาจะถกู พิพากษาในวนั สิ้นโลก

3. ทรงสง่ั สอนใหช าวยวิ กลบั ใจใหม มใิ หน บั ถอื เฉพาะในดา นประกอบพธิ กี รรมหรอื
ทอ งคาํ สวดดว ยปากไมจ รงิ ใจ ทรงตเิ ตยี นพวกพระยวิ วา เปน พวกปากวา ตาขยบิ ไมร จู กั พระเจา
ทแ่ี ทจ รงิ

4. บญั ญตั ขิ องพระเยซทู สี่ งู สดุ คอื “การรกั พระเจา สดุ ใจและรกั เพอ่ื นบา นเหมอื นตวั
เราเอง” ผทู พ่ี ระเจาโปรดปรานคือผูท่อี ยูในความดคี วามชอบธรรมทง้ั กาย วาจา ใจ ผูทผี่ ิด
ดา นจิตใจถือวา มีบาปเทา กบั การกระทาํ

5. สอนไมใหกังวลความสุขทางโลกอันไดจากวัตถุใหแสวงหาความสุขดานจิตใจ
ผูท่หี ว งสมบตั ิจะไมไดข น้ึ สวรรค ไมไดพ บกบั พระเจา

6. ในดานการปฏิบัติตอเพื่อนมนุษยทรงสอนวา การไมทําชั่วตอบแทนกรรมชั่ว
หรือทําดีตอบแทนความดีเทา น้นั ยงั ไมเพยี งพอ ใหทาํ ดีตอบแทนความช่วั และใหรักศัตรู
ดงั ทไ่ี ดเ ปรยี บเทยี บวา อยา ตอ สคู นชว่ั ถา ผใู ดตบแกม ขวาของทา นกจ็ งหนั แกม ซา ยใหเ ขาดว ย

7. ความดีสูงสุดคือการทําตัวตามแบบพระเยซู คุณธรรมสูงสุดคือความรัก ความ
เมตตา กรณุ า ความออ นโยน ความถอมตน ความอดทนตอความทกุ ขท ง้ั ปวง

พธิ ีกรรมสาํ คัญของศาสนาครสิ ต เรียกวาพธิ ศี กั ดิ์สิทธิ์ 7 ประการ คือ
1. ศีลลางบาปหรือศีลจุม (Baptism) กระทําเม่ือเปนทารกหรือเม่ือเขาเปน
คริสตศาสนิกชน พิธีน้ีกระทําตามแบบของพระเยซูเมื่อกอนทรงออกเทศนา ใหนิกาย
คาทอลิกปจจุบันไมจุมตัวในนํ้าแตใชน้ําศักด์ิสิทธิ์เทบนศีรษะเพ่ือเปนสัญลักษณของ
การลา งบาป ศลี นส้ี าํ คญั ทสี่ ดุ ผใู ดไมไ ดร บั ศลี ลา งบาปจะไมไ ดช อื่ วา เปน บตุ รของพระเจา และ
จะไมไ ดชีวิตนริ นั ดร
2. ศลี กาํ ลงั (Confirmation) กระทาํ อกี ครง้ั หนง่ึ เมอ่ื พน วยั เดก็ และเปน ผใู หญแ ลว เพอ่ื
เปน คริสตศาสนิกชนที่สมบูรณ

26 หนังสือเรยี นสาระการพัฒนาสังคม

3. ศีลมหาสนิท (Holy Communion) สําหรับคริสตศาสนิกชนอาจทําทุกวัน
ทุกสัปดาห ทุกเดือนหรืออยา งนอ ยปล ะ 1 ครง้ั โดยรบั ประทานขนมปง และเหลา องนุ เปน
สญั ลกั ษณตามแบบท่พี ระเยซูกระทาํ แกอคั รสาวกในพระกระยาหารม้ือสุดทายกอนถูกตรึง
กางเขน ขนมปงคือ พระกาย เหลาองุนคือพระโลหิตของพระเยซู ฝายคาทอลิกเช่ือวา
การกระทําพิธีนผี้ ูไดรบั ประกาศจะมชี ีวิตนิรนั ดร

4. ศีลแกบ าป (Penance) สาํ หรับคาทอลกิ ทีก่ ระทําบาปประสงคจ ะไดรบั การอภยั
บาปตองไปสารภาพบาปนน้ั ตอ นกั บวชดว ยความสาํ นกึ ผดิ อยา งแทจ รงิ ถอื วา นกั บวชไดร บั
อาํ นาจในการยกบาปโดยตรงจากสนั ตะปาปา ซ่ึงเปนผูแทนของพระเยซูคริสต นักบวชจะ
ยกบาปและตกั เตือนสั่งสอนไมใ หท ําบาปอกี

5. ศลี เจมิ คนไข (Extreme Unetion) กระทําเมื่อคนไขเจบ็ หนักใกลจ ะตาย เมื่อ
ชําระบาปขั้นสุดทายจะชวยใหมีสติกําลัง สามารถตอสูกับความตายจนถึงที่สุด วิธีทํา
บาทหลวงใชน้ํามันศักดิ์สิทธิ์เจิมทาที่หู จมูก ปาก มือ และเทาของคนไข พรอมกับสวด
อวยพร ทกุ คนในบานจะตอ งสวดพรอม

6. ศลี สมรสหรอื ศลี กลาว ( Matrimony) กระทําแกคบู าวสาวในพธิ ีสมรส ผรู บั ศีล
สมรสโดยถูกตองแลวจะหยารางกันไมได และหามสมรสใหมขณะท่ีสามีภรรยายังมีชีวิตอยู
การจดทะเบียนสมรสตามกฎหมายโดยไมไ ดรับศลี สมรส ไมถอื วาเปน สามีภริยาโดยถกู ตอ ง
ตามกฎหมายของศาสนา

7. ศีลอนุกรม (Holy Order หรือ Ordination) เปนศีลบวชใหกับบุคคลที่เปน
บาทหลวง ผูมีอํานาจโปรดศีลอนุกรมคือสังฆราช ซึ่งถือเปนผูแทนของพระเยซูคริสต
เม่ือไดรับศีลอนุกรมแลวไมอนุญาตใหสมรส กฎขอน้ีเกิดข้ึนภายหลังโดยศาสนาจักรเปนผู
ออกกฎน้ี

นกิ ายของศาสนาคริสต

เดมิ ศาสนาครสิ ตม นี กิ ายเดยี วคอื โรมนั คาทอลกิ มศี นู ยก ลางอาํ นาจอยทู ส่ี าํ นกั วาตกิ นั
กรุงโรม ใชภ าษาละตินเปน ภาษาของศาสนา ประมุขของศาสนาคอื สนั ตะปาปา เนนวาเปน
ผูส ืบทอดศาสนาคาํ สอนของพระเยซูมีพระคอื บาทหลวง เปนนกิ ายทีเ่ ช่อื เรอ่ื งบุญบาป รปู
เคารพถือไมกางเขนท่ีพระเยซูถูกตรึงอยู ตอมาอาณาจักรไบเซนไทนมีศูนยกลางท่ี
กรุงคอนสแตนติโนเปล ประเทศตุรกี ปจจุบัน มีความเปนอิสระไมยอมอยูใตอํานาจของ
สันตะปาปาจึงแยกนิกายมาชื่อวา กรีกออรธอดอกซ ไมมีศูนยกลางอํานาจที่ใดโดยเฉพาะ
ใหความสําคัญของประมุขที่เรียกวา ปาตริอารค หรืออารคบิชอป ตอมามีบาทหลวงชาว
เยอรมนั ช่อื มารต ิน ลเู ธอร ไมพอใจการปกครองของสํานกั วาติกนั และโดนขบั ออกจาก
ศาสนาจักรในป ค.ศ.1521 จงึ แยกตนเองออกมาตัง้ นิกายใหมค อื โปรเตสแตนต เนน คมั ภีร
ไมมีนกั บวช รบั ศีลศกั ด์ิสทิ ธเ์ิ พยี ง 2 อยา งคอื ศีลลางบาปและศลี มหาสนทิ

รายวชิ าศาสนาและหนาทพ่ี ลเมอื ง (สค31002) << ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 27

เรือ่ งที่ 5 ประวัติศาสนาพราหมณ- ฮนิ ดูและคําสอน

ศาสนาพราหมณห รอื ฮนิ ดเู กดิ ในเอเชยี ใตค อื ประเทศอนิ เดยี เมอ่ื ประมาณ 1,400 ป
กอนคริสตศักราชเกิดจากพวกอารยันท่ีอพยพเขามาในประเทศอินเดียถือกันวาเปนศาสนา
ที่เกาแกท่ีสุดในโลก พระเวทเปนคัมภีรศาสนาพราหมณไดรับการยกยองวาเปนคัมภีรที่
เกา แกท ส่ี ดุ ในโลก และเปน วรรรคดที เี่ กา แกท สี่ ดุ ในโลกชอื่ ของศาสนาเปลย่ี นไปตามกาลเวลา

ในตอนแรกเรมิ่ เรยี กตวั เองวา “พราหมณ” ตอ มาศาสนาเสอ่ื มลงระยะหนง่ึ และไดม า
ฟนฟูปรับปรุงใหเปนศาสนาฮินดู โดยเพิ่มบางส่ิงบางอยางเขาไป มีการปรับปรุงเน้ือหา
หลกั ธรรมคาํ สอนใหด ขี น้ึ คาํ วา “ฮนิ ด”ู เปน คาํ ทใ่ี ชเ รยี กชาวอารยนั ทอ่ี พยพเขา ไปตง้ั ถน่ิ ฐาน
ในลุมแมนํ้าสินธุ และเปนคําที่ใชเรียกลูกผสมของชาวอารยันกับชาวพื้นเมืองในชมพูทวีป
และชนพ้ืนเมืองน้ีไดพัฒนาศาสนาพราหมณโดยการเพ่ิมเติมอะไรใหมๆ ลงไป แลวเรียก
ศาสนาของพวกน้วี า “ศาสนาฮนิ ดู” เพราะฉะนั้นศาสนาพราหมณจึงมอี ีกชื่อในศาสนาใหม
วา “ฮินด”ู จนถงึ ปจ จบุ นั

ในอดีตศาสนาพราหมณหรือฮินดูจะมีการจัดคัมภีรออกเปน 3 พวกตามการ
ยกยองนับถือเทวะทั้ง 3 โดยแยกเปน 3 นิกายใหญๆ นกิ ายใดนับถอื เทวะองคใดกย็ กยอง
วา เทวะองคน้ันสูงสดุ ตอ มานกั ปราชญช าวฮินดูไดก าํ หนดใหเ ทวะทง้ั 3 องคเ ปน ใหญส งู สดุ
เสมอกนั เทวะท้งั 3 องคน ี้รบั การนาํ มารวมกนั เรียกวา “ตรีมูรต”ิ ใชค ําวาสวดวา “โอม” ซ่ึง
ยอมาจาก “ อะ อุ มะ” แตละพยางคแทนเทวะ 3 องค คือ

“อะ” แทนพระวษิ ณุหรอื พระนารายณ
“อุ” แทนพระศิวะหรอื อิศวร
“มะ” แทนพระพรหม

พระนารายณ พระศิวะ พระพรหม

ในประเทศอินเดียไดมีการแบงชนชั้นออกเปน 4 วรรณะ คือ พราหมณ กษัตริย
แพศย คอื พอคาคหบดี และศูทรกรรมกรคนใชแ รงงาน วรรณะพราหมณถ อื วา เปน วรรณะ
สูงสดุ เปน พวกทาํ หนา ท่ีทางศาสนา “พราหมณ” เปน คาํ ศพั ททเ่ี นอ่ื งมาจากคําวา “พรหม”
คนในวรรณะนถี้ อื วา ตนสบื เชอ้ื สายมาจากพรหม สามารถติดตอเกี่ยวของกับโองการตางๆ

28 หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสังคม

จากพรหมซึ่งเปนพระผูเปนเจามาแจงแกชาวโลกมนุษยได สามารถติดตอบวงสรวง
ออนวอนเทพเจา ใหมาประสาทพรหรือบันดาลความเปน ไปตา งๆ ในโลกมนุษยได

พวกพราหมณจงึ เปน ทเ่ี คารพยําเกรงของคนทุกวรรณะ แมแ ตก ษัตริยผเู ปน ใหญใ น
การปกครอง เมื่อพวกพราหมณมีอํานาจมาก มีคนยําเกรงมาก โอกาสที่จะแสวงหาลาภ
สกั การะจงึ มมี าก พวกพราหมณแ ตล ะพวกจะแขง ขนั ในการทาํ พธิ โี ดยถอื วา การจดั ทาํ พธิ ตี า งๆ
ใหถ กู ตอ งตามพธิ ที ก่ี าํ หนดไวใ นพระเวทเปน สง่ิ สาํ คญั ชนวรรณะพราหมณไ ดร วบรวมสรรพวชิ า
ทงั้ หลายทตี่ นคน พบหรอื เขา ใจเรอ่ื ง ประมวลความรเู รยี กวา “ไสยศาสตร” ซง่ึ ขน้ึ ตน ดว ยวชิ า
ที่สําคัญที่สุดคือ “พระเวท” อันหมายถึงวิชาการท่ีเกี่ยวกับพรหม เทวดาและส่ิงศักด์ิสิทธิ์
ท้ังหลายท่ีมนุษยตองเคารพบูชา สมัยนั้นยังไมมีหนังสือ จึงตองใชวิธีทองจําและสอนตอๆ
กนั มา พระเวทประกอบดว ย “มนตร”ี คอื คาถาสาํ หรบั ทอ งจาํ กบั “พราหมณะ” ซงึ่ เปน คมั ภรี 
คูมือท่ีพวกพราหมณแตละกลุมไดเพ่ิมเติมในพิธีกรรมของตนใหละเอียดพิศดารข้ึนจน
พราหมณเองไมส ามารถทอ งจาํ ได จึงตอ งมคี ูม อื “พราหมณะ” คอื คาํ อธิบายลัทธิพิธกี รรม
ตา งๆ ของพระเวท แตเ ดิมมี 3 อยาง เรียกวา “ไตรเพท” ไดแ ก

1. ฤคเวท เปน คมั ภรี เ กา แกท ส่ี ดุ ถอื กนั วา ออกจากโอษฐข องพระพรหมซง่ึ พวกษี
ไดสดับแลวนํามาอนศุ าสนนรชนอกี ตอหนึ่ง กลา วดวยเทวดาตา งๆ และการบนบานใหชวย
ขจดั ภยั ทัง้ มวล

2. ยชรุ เวท กลา วดว ยพธิ กี รรมตา งๆ เปน ตาํ ราการทาํ พธิ กี รรมของพราหมณโ ดยตรง
3. สามเวท กลาวดวยบทคาถาสังเวยสําหรับแหกลอมเทวดา บูชานํ้าโสมแกเทวะ
ทงั้ หลาย (“สาม” แปลวา สวด”) ดงั มบี ทแหก ลอ มพระนเรศร- พระนารายณ หลงั พธิ ตี รยั ยมั ป
วายเสรจ็ สนิ้ แลว ตอ มาเพม่ิ “อาถรรพเวท” ซง่ึ เปน พระเวททเ่ี กย่ี วกบั อาถรรพต า งๆ มมี นตร
สําหรับใชในกิจการทั้งปวงรักษาโรคภัยไขเจ็บ หรือกําจัดผลรายอันจะมีมาแตพยาธิและ
มรณภยั และรวมทง้ั สาํ หรบั ใชท าํ รา ยแกห มอู มติ รโดยเสกสง่ิ หนงึ่ สงิ่ ใดเขา ตวั หรอื ฝง รปู ฝง รอย
หรอื ทาํ เสนห ย าแฝด
นอกจากพระเวททงั้ 4 นแ้ี ลว ยงั มี “พระเวทรอง” อีก 4 อยา ง เรียก “อปุ เวท” เปน
วิชาที่กลาวดวยวทิ ยาศาสตรต างๆ อันเปนวทิ ยาการโดยเฉพาะคือ
1. อยุรเวท ไดแก ตําราแพทยศาสตร กลาวดว ยการใชส มุนไพรและมนตต า งๆ
ในการรกั ษาโรคมีเทวดาประจําเปนเจาของคือษีทง้ั แปดซ่ึงไมป รากฏนามแนนอน
2. คานธรรมเวท ไดแก ตาํ ราขบั รองและดนตรี กับนาฏศาสตรห รือการฟอนรํา มี
เทวดาประจาํ คอื พระนารทฤๅษี หรอื ทีเ่ รยี กวา พระนารอท หรือ พระปรคนธรรพ
3. ธนุรเวท ไดแก วชิ ายงิ ธนแู ละการใชอ าวุธสงคราม ซ่ึงบดั นเี้ รียก “ยทุ ธศาสตร”
มเี ทวดาประจําคือ พระขนั ทกุมาร
4. สถาปต ยเวท ไดแ ก วิชากอสรางซง่ึ เรยี กวา “ สถาปตยกรรม” เทวดาประจําคือ
พระวิษณุกรรม

รายวิชาศาสนาและหนา ท่พี ลเมอื ง (สค31002) << ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 29

วรรณะพราหมณใ นศาสนาฮินดู

ในประเทศอนิ เดียไดแบง ออกเปน 4 วรรณะ คอื พราหมณ กษัตริย แพศย ศูทร ใน
ท่ีนี้จะกลาวถึงวรรณะพราหมณ หรือตระกูลนักบวชเทาน้ัน นี้ไมจําเปนตองบวชทุกคน
แบง ออกเปน 4 ชน้ั คอื

1. พรหมจารี คือพวกนักเรียน มีหนาท่ีเปนผูปฏิบัติและศึกษาพระเวทในสํานัก
คณาจารยค นใดคนหนึ่ง (เทยี บกบั ศาสนาพุทธ คือ สามเณร และนวกะ)

2. คฤหบดี คอื ผคู รองเรอื น มภี รรยา มคี รอบครวั เปน หวั หนา ในบา น อา นและสอน
พระเวท ทําการบชู าเอง หรือชวยผูอ ่ืนกระทํายัญกรรม ใหท าน และรับทักษณิ า

3. วานปรสั ถ คือผอู ยปู า ละเคหสถานและครอบครัวเขาปา เพื่อทรมานตน มักนอ ย
ในอาหารและเครื่องนุงหม กระทําทกุ รกิรยิ า สมาธิมง่ั คงในกจิ วัตร ไดแ ก

ฤๅษี แปลวา ผแู สวง หมายถงึ แสวงหาโมกษะ คอื การหลุดพนจากการเวยี นวาย
ตาย เกิด

โยคี แปลวา ผูบําเพ็ญโยคะ คือทรมานกายโดยวธิ แี หงอริ ิยาบถตางๆ เพื่อหวงั
ผลสาํ เรจ็ เปนผูว ิเศษ เชน ยนื ขาเดียว เหนี่ยวกนิ ลมนานนับสบิ ป นั่งสมาธิโดยไมล กุ ขึ้นเลย
เปน เวลาสบิ ป

ดาบส แปลวา ผูบาํ เพ็ญตน คอื ความเพงเลง็ ในดวงจิตเพื่อประโยชนใหอาตมัน
เขารว มอยูในปรมัตถ (หรอื ปรพรหม) ใหเกิดความบรสิ ทุ ธิใ์ สสะอาด แมกระทบอารมณใ ดๆ
กไ็ มแ ปรปรวน

มนุ ี แปลวา ผสู งบไดแ กผ สู าํ เรจ็ ฌานสมบตั ิ คอื ผกู ระทาํ ตบะและโยคะจนถงึ ทส่ี ดุ แลว
สทิ ธา แปลวา ผูสาํ เร็จฌานสมบัติ คือ ผกู ระทําตบะและโยคะจนถึงท่สี ดุ แลว
นักพรต แปลวา ผูบ วชและถอื พรตตามลทั ธิพราหมณ
ชฎลิ แปลวา ฤๅษผี มู ุนมวยผมสงู เปนชฎา

นิกายและลทั ธิ

มสี ่นี ิกายดวยกนั คือ
นกิ ายไศวะ ถอื พระอศิ วรเปน ใหญ และนบั ถอื พระนารายณ พระพรหม กบั เทพอน่ื ๆ
ดวย
นิกายไวษณพ ถอื พระนารายณเ ปน ใหญ และนบั ถือพระศิวะ พระพรหม กับเทพ
อื่นๆ ดว ย
นิกายศากต ถือวาพระแมอาทิศักตี หรือพระแมปราศักตีเปนใหญ และนับถือ
พระพรหม พระนารายณ กับ เทพอ่ืนๆ ดวย
นิกายสมารต ถือเทพหาองคดวยกัน คือ พระพิฆเณศวร พระแมภวานี คือ
พระศักตี พระพรหม พระนารายณ พระศวิ ะ ไมม ีองคใ ดใหญก วาโดยเฉพาะ

30 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม

ลทั ธิ
ปรมาตมัน คือ พรหมัน แบงออกเปน 2 ระดับ อปรหมัน ความเจริญสูงสุด
(Ultimate Reality) และปรพรหมัน คือ ความจริงข้นั เทพเจาสูงสุด (Supreme Being)
คําสอนในคัมภีรอ ุปนิษัท ทําใหศ าสนาพราหมณเ ปน เอกนยิ ม (Monoism) เชื่อวา สรรพส่ิง
มาจากหนง่ึ และกลับไปสูความเปนหนึ่ง หลงั จากคมั ภีรอ ปุ นิษทั ไดพ ฒั นาจนถึงขดี สุด ทาํ ให
เกิดลทั ธปิ รชั ญาอกี 6 สํานกั ดังตอ ไปน้ี
1. นยายะ เจา ลทั ธิคือ โคตมะ
2. ไวเศษกิ ะ เจาลทั ธิคือ กนาทะ
3. สางขยะ เจาลัทธิคือ กปล ะ
4. โยคะ เจาลทั ธิคอื ปตัญชลี
5. มมี างสาหรือปูรวมมี างสา เจาลทั ธคิ อื ไชมินิ
6. เวทานตะหรอื อุตตรมมี างสา เจาลัทธิคือ พาทรายณะหรอื วยาส
ลทั ธนิ ยายะ
นยายะ แปลวา การนําไป คือนาํ ไปสกู ารพจิ ารณา สอบสวน อยา งละเอียดถ่ีถวน
หรือวิธีการหาความจริงซง่ึ อาศยั หลกั ตรรกวทิ ยา เพราะเหตนุ ช้ี ่อื เรียกสําหรบั ลทั ธินยายะจึง
มหี ลายอยา ง เชน ตรรกวทิ ยาบา ง วชิ าวา ดว ยวาทะบา ง โคตมะผเู ปน เจา ของลทั ธนิ เ้ี กดิ ประมาณ
550 ป กอ น ค.ศ. หรอื กอ นพระพทุ ธเจา ปรนิ พิ พานประมาณ 7 ป วิธที ่ีจะไดค วามรู ความ
เขาใจท่ีถูกตอ งตามหลักของลทั ธนิ ยายะน้ันมอี ยู 16 ประการ เชน
1. ประมาณ หรือวิธีใหเกิดความรูชอบน้ันมี 4 อยาง คือ 1.การรูประจักษ
2.การอนมุ านหรือคาดคะเน 3. การเปรียบเทยี บ 4.บรรยายถอ ยคํา
2. ประเมยะ เรื่องท่ีพึ่งรูชอบมี 12 อยาง คือ 1.อาดมัน 2.สรีระ 3.อนินทรีย
4.อรรถ 5.พุทธิ 6.มนะ 7.พฤติกรรม 8.โทษ 9.การเกิดอีก(หลังตายไปแลว)
10.ผลแหง ความดคี วามชว่ั 11.ความทุกข 12. ความหลุดพน
3. สงั สะยะ ความสงสัย เปนตน
ลัทธิไวเศษิกะ
คําวา ไวเศษกิ ะ คือ วเิ ศษ หมายถงึ ลกั ษณะทที่ ําใหส งิ่ หน่ึงตา งไปจากอกี หนงึ่ ทา น
กณาทะ ผูตั้งลทั ธิน้ี เกดิ ในศตวรรษที่ 3 กอ นคริสตศกั ราช ลทั ธนิ ีส้ อนเพ่ือความหลุดพนไป
การหลุดพนนั้น การรูอาตมันไดอ ยา งแจม แจงเปน วิธีการสาํ คญั ยิ่ง
ลัทธินใ้ี ชวธิ ีตรรกวิทยา คอื สิ่งทม่ี ีอยูจรงิ ช่ัวนริ ันดร มีอยู 9 อยา ง คอื 1.ดิน 2.น้าํ
3.ไฟ 4.ลม 5.อากาศ 6. กาละ 7.ทิศ 8.อาตมนั 9. ใจ ดวยการรวมตัวของส่ิงเหลา น้ี
ส่งิ อน่ื ๆ ยอ มเกิดขนึ้ มากมาย
ลทั ธิสางขยะ
ลทั ธสิ างขยะนี้ ถอื วา เปน ปรชั ญาฮนิ ดทู เี่ กา แกท ส่ี ดุ เพราะนบั เปน ครงั้ แรกทไี่ ดม กี าร
พยายามทําใหปรัชญาของพระเวทกลมกลืนกับเหตุผล ษกี ปละเปน ผแู ตงคมั ภยี แหง ลทั ธิ
นีท้ านเกิดในสมยั ศตวรรษที่ 6 กอน ค.ศ. รว มสมัยกบั พระพทุ ธเจา

รายวิชาศาสนาและหนาทีพ่ ลเมือง (สค31002) << ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 31

คําวา สางขยะ แปลวา การนบั หรอื จํานวน กลาวถึงความจรงิ แท 25 ประการยอม
ลงเปน 2 คือ บรุ ษุ ไดแก อาตมนั หรือวญิ ญาณสากล และประกฤติ(ปกต)ิ คอื สง่ิ ทีเ่ ปน
เนอ้ื หาหรอื ตนกําเนิดของส่ิงทัง้ หลาย

ความมุง หมายของลทั ธิน้ี เพ่อื สรางปญญาใหเกิดเพื่อทําลายเหตแุ หงความทกุ ขท ง้ั
ปวงและปลดเปลอ้ื งอาตมนั ออกจากสงิ่ ผกู พนั ความทกุ ขใ นความหมายของลทั ธนิ แ้ี บง ออก
เปน 3 ประการ ดงั นี้

1. ความทกุ ขท่เี กดิ ข้นึ จากเหตุภายใน เชน ความผดิ ปกตขิ องรางกายและจิตใจ
2. ความทุกขทีเ่ กดิ ข้นึ จากเหตุภายนอก เชน มนษุ ย สัตว หรือส่งิ ไมม ชี วี ิตอนื่ ๆ
3. ความทุกขท่ีเกิดข้ึนจากเหตุนอกอํานาจ หรือเหนือธรรมชาติ เชน บรรยากาศ
ดาวพระเคราะห การแกทกุ ขเหลา นี้ ตองใชป ญญาทส่ี ามารถปลดเปลื้องอาตมันออกจากสงิ่
ผูกพัน โดยหลกั การแลว ลัทธินี้เปนอเทวนิยม ไมเ ชอ่ื เรือ่ งพระเจาสรา งโลก เปน ทวนิ ิยม คือ
เชื่อวา ของจริงมอี ยู 2 อยาง คอื 1.อาตมัน 2.เนอ้ื หาของส่ิงท่ีเขามาผสมกับอาตมนั
ลทั ธโิ ยคะ
ลทั ธโิ ยคะ คาํ วา โยคะ เปน ศาสตรเดมิ ท่ีมีมานานแลว ปตญั ชลี เปน ผรู วบรวมเรยี บ
เรียงขนึ้ ทานจงึ ไดรบั เกยี รตวิ าเปน ผตู ง้ั ลทั ธิโยคะ ประมาณ 3 หรือ 4 ศตวรรษกอ น ค.ศ.
โยคตะ แปลวา การประกอบหรอื การลงมอื ทาํ ใหเ กดิ ผล ลทั ธนิ อี้ าศยั ปรชั ญาของสางขยะเปน
ฐานจดุ หมาย คอื จะชว ยมนษุ ยใ หห ลดุ พน ออกจากความทกุ ข 3 ประการดงั กลา วในลทั ธสิ าง
ขยะ คือ
ในการทําใหหลุดพนจากความทกุ ข ซ่งึ เกิดจากเหตุภายใน เชน โรคภยั ไขเ จ็บหรอื
ความประพฤติผิดตองพยายามใหบรรลุความไมยึดถือโลก โดยไมจําเปนตองแยกตัวออก
จากโลก
ในการทาํ ใหหลดุ พนจากความทกุ ข ซึ่งเกิดจากเหตภุ ายนอก เชน สัตวร า ย หรือโจร
ผรู า ย เปนตนพึงสาํ รวมจิตใจใหบรสิ ุทธ์ิ สะอาด
ในการทําใหหลดุ พนจากเหตุนอกอํานาจ หรอื เห็นธรรมชาติ เชน ธาตุ หรอื อํานาจ
อนั เรน ลับละเอยี ดออ น พงึ บําเพญ็ สมาธิ ซงึ่ เปน จดุ ประสงคอนั แทจ รงิ ของลัทธนิ ้ี
โยคีหรือผูบําเพ็ญโยคะยอมพยายามที่จะเปนผูหลุดพนจากวงกลมแหงชีวิตและ
ความตายอยา งเดด็ ขาดโดยพจิ ารณาเหน็ ธรรมชาตวิ า เปน พลงั อนั เดยี ว แตท าํ งานสองแง คอื
จากภายนอก พลังงานนี้พยายามท่ีจะแยกสง่ิ ท้งั หลายออกจากกนั ทเ่ี รยี กวา ความตาย จาก
ภายในพลังงานน้ีพยายามท่ีจะรวมส่ิงทั้งหลายเขาดวยกันที่เรียกวาชีวิต การบําเพ็ญโยคะก็
เพ่ือรวมพลังงาน 2 อยางนี้เขาดวยกัน โยคะวางกฎสําหรับปฏิบัติและวางพิธีเพ่ือควบคุม
หรอื สํารวมระวงั จติ ของแตล ะบคุ คลท่ีเรยี กวา ชวี ะ จนเปนอันหนึง่ อันเดียวกนั จติ ใจสากลที่
เรยี กวา ปรุ ษุ ะ เม่ือชีวะบรรลุถงึ สภาพดง้ั เดิมของตนคอื ปรุ ษุ ะ ก็ชอื่ วา เปน อสิ ระ หรือหลดุ
พนจากสถานการณท ัง้ ปวงแหงพายุและความสงบ ความสุข ความทุกข และช่อื วา พน จาก
ความทกุ ขท งั้ ปวง

32 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม

คําวา “โอม” เปนคําศักด์ิสิทธิ์ในลัทธิโยคะ ใชสําหรับรวมความหมายที่เน่ืองดวย
พระเปนเจา แลวกลาวซ้ําๆ กันเพื่อใหเกิดความรูถึงส่ิงสูงสุด และเพ่ือปองกันอุปสรรคใน
การบําเพ็ญโยคะ

อบุ ายวิธใี นการบําเพ็ญโยคะ มี 8 ประการ ดังน้ี
ยมะ สาํ รวจความประพฤติ
นยิ มะ การบําเพ็ญขอวตั รทางศาสนา
อาสนะ ทานั่งท่ถี กู ตอง
ปราณายามะ การบงั คบั ลมหายใจไปในทางท่ีตอ งการ
ปรตั ยาหาระ การสํารวม ตา หู จมูก ล้ิน กาย
ธารณา การทาํ ใจใหมนั่ คง
ธยานะ การเพง
สมาธิ การทําใจแนวแน ตัง้ ม่ันอยา งลกึ ซ้ึง
ลัทธิมมี างสา
คําวา มีมางสา แปลวา พิจารณา สอบสวน หมายถึง พิจารณาสอบสวนพระเวทได
แก สอบสวนมันตระกับพราหณะ ไชมินิ ผูแตงคัมภีรมีมางสูตร เกิดข้ึนสมัยระหวาง
600 - 2000 ป กอนคริสตศ กั ราช
ความมุงหมายของลัทธิมีมางสา คือ สอบสวนถึงธรรมชาติแหงการกระทําที่ถูก
ตองซึ่งเรียกสั้นๆ วา “ธรรม” ขอเสนออันเปนฐานของลทั ธิมอี ยวู า หนา ที่หรือการกระทาํ
เปน สาระอนั สาํ คญั ยงิ่ ของความเปนมนษุ ยถ า ไมม กี ารทาํ ปญ ญากไ็ มม ีผล ถา ไมม ีการกระทํา
ความสุขก็เปนสิ่งที่เปนไปไมได ถาไมมีการกระทําจุดหมายปลายทางของมนุษยก็ไมมีทาง
จะทําใหสมบูรณไดเพราะฉะน้ันการกระทําท่ีถูกตอง ซึ่งเรียกวาส้ันๆ วา “ธรรม” จึงเปน
สงิ่ จาํ เปน ในเบื้องตนของชีวติ
การกระทําทุกอยา งมีผล 2 ทาง คือ ผลภายนอกกับผลภายใน ผลภายนอกเปนผล
หยาบเปนส่ิงที่แสดงตัวออกมา ผลภายในเปน ผลละเอียด เปน ส่งิ ท่ีเรยี กวา “ศกั ยะ” คอื ยงั
ไมแ สดงตวั แตอ าจใหผ ลไดเ หมอื นนากิ าทไี่ ขลานไว ยอ มมกี าํ ลงั งานสะสมพรอ มทจี่ ะแสดง
ผลออกมา
ผลภายนอกเปน ของชว่ั คราว ผลภายในเปน ของชวั่ นริ นั ดร เพราะฉะนนั้ การกระทาํ
ท้ังหลาย จงึ เทา กบั เปน การปลกู พืชในอนาคต
ในขอเสนอข้ันมูลฐานน้ี ลัทธิมางสาสอบสวนถึงการกระทําหรือกรรมท้ังปวงอัน
ปรากฏพระเวทแลวแบง ออกเปน 2 สว น คอื มันตระ กับพราหมณะ มี 5 หัวขอ ดงั นี้
วธิ ี ระเบียบ วิธี
มันตระ หรือบทสวด
นามเธยะ ชือ่
นเิ สธะ ขอหาม

รายวิชาศาสนาและหนาทีพ่ ลเมอื ง (สค31002) << ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 33

อรรถวาทะ คําอธิบายความหมาย หรอื เนื้อความ
ลทั ธิเวทานตะ
ลทั ธเิ วทาตะ สอบสวนถงึ สว นสดุ ทา ยของพระเวท จงึ มรี ากฐานตงั้ อยบู นปรชั ญาของ
อุปนษิ ัท ซงึ่ เปน ทีส่ ดุ แหงพระเวท และมีหลักการสวนใหญว า ดวยเร่อื งญาณ หรือปญ ญาอนั
สอบสวนถงึ ความจรงิ ขั้นสุดทา ยเก่ยี วกบั ปรุ ุษะ หรอื พระพรหม
ผเู รยี บเรียงคมั ภรี เวทานะ คอื พาทรายณะ กลาวกนั วาทา นเปนอาจารยข องทานไช
มินิ ผูต้งั ลทั ธมิ ีมางสาพาทรายณะอยูในสมยั ระหวาง 600-200 ป กอ นครสิ ตศ กั ราช
ในการปฏิบตั ิเพื่อใหบ รรลุจดุ หมายปลายทางของลัทธนิ ้ี มีหลกั การอยู 4 ขอ ดงั น้ี
วิเวกะ ความสงัดหรือความไมเก่ียวในฝายหนึ่ง ระหวางส่ิงอันเปนนิรันดรกับมิใช
นิรนั ดรระหวา งส่ิงแทก บั ส่ิงไมแ ท
ปราศจากราคะ คอื ไมมคี วามกําหนดยินดี หรือความติดใจ ความตอ งการ เชน
ความปรารถนาท่จี ะอภริ มย ในผลแหงการกระทํา ทัง้ ในปจ จบุ นั และอนาคต
สลัมปต ความประพฤติชอบ ซ่ึงแจกออกอีกหลายอยาง เชน สมะ ความสงบ ทมะ
การฝก ตน อปุ รติ มใี จกวา งขวาง ไมต ดิ ลทั ธนิ กิ าย ตติ กิ ษา ความอดทน ศรทั ธา ความเชอ่ื
สมาธานะ ความตง้ั ม่นั สมดลุ แหงจติ ใจ
มุมุกษุตวะ ความปรารถนาที่ชอบ เพื่อจะรูความจริงขั้นสุดทาย และเพื่อความ
หลดุ พน

คาํ สอนที่สําคญั ของศาสนาพราหมณ-ฮินดู

หลกั ธรรมสาํ คัญของศาสนาพราหมณ- ฮินดู หลักธรรม 10 ประการ
1. ธฤติ ไดแก ความม่ันคง ความเพยี ร ความพอใจในสิง่ ท่ีตนมี
2. กษมา ไดแ ก ความอดทน อดกลนั้ และมีเมตตากรณุ า
3. ทมะ ไดแก การขม จิตมใิ หหว่ันไหวไปตามอารมณ มสี ติอยูเสมอ
4. อัสเตยะ ไดแ ก การไมล ักขโมย ไมกระทําโจรกรรม
5. เศาจะ ไดแ ก การทําตนใหส ะอาดทงั้ กายและใจ
6. อนิ ทรยี นคิ รหะ ไดแก การขมการระงับอนิ ทรีย 10 คือ ตา หู จมกู ล้นิ ผิวหนัง

มือ เทา ทวารหนกั ทวารเบา และลาํ คอ ใหเ ปนไปในทางที่ถกู ตองอยใู นขอบเขต
7. ธี ไดแก การมสี ติ ปญญา รูจกั การดาํ เนนิ ชวี ติ ในสงั คม
8. วทิ ยา ไดแก ความรูทางปรัชญา
9. สัตยา ไดแก ความจรงิ คือ ความซ่อื สัตยส จุ ริตตอ กนั
10. อโกธะ ความไมโกรธ

34 หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม

หลักอาศรม 4
1. พรหมจารี ศกึ ษาเลาเรียนและพฤติพรหมจรรย จนถึงอายุ 25 ป ศึกษาจบ จงึ
กลบั บาน
2. คฤหสั ถ ครองเรอื น จบจากการศกึ ษา กลบั บา น ชว ยบดิ ามารดาทาํ งาน แตง งาน
เพ่อื รกั ษาวงศต ระกูล ประกอบอาชีพโดยยึดหลกั ธรรมเปน เครอื่ งดาํ เนินชีวิต
3. วานปรสั ถ สงั คมกาล มอบทรัพยส มบตั ิใหบุตรธดิ า ออกอยปู า แสวงหาความ
สงบ บําเพญ็ ประโยชนต อ สงั คม การออกอยปู าอาจจะทําเปน คร้ังคราวกไ็ ด
4. สนั ยาสี ปรพิ าชก เปน ระยะสดุ ทา ยแหง ชวี ติ สละความสขุ ทางโลก ออกบวชเปน
ปรพิ าชกเพอ่ื หลดุ พน จากสงั สารวัฎ

การเผยแผของศาสนาพราหมณใ นประเทศ

ศาสนาฮินดูที่มีอิทธิพลตอวัฒนธรรมไทยนั้นคือชวงท่ีเปนศาสนาพราหมณ โดย
เขามาท่ีประเทศไทยเมื่อใดน้ันไมปรากฏระยะเวลาที่แนนอน นักประวัติศาสตรสวนมาก
สนั นษิ ฐานวา ศาสนาพราหมณน นี้ า จะเขา มายอ นสมยั สโุ ขทยั โบราณสถานและรปู สลกั เทพเจา
เปน จํานวนมาก ไดแสดงใหเหน็ ถึงอทิ ธิพลของศาสนา เชนรปู ลักษณะนารายณ 4 กร ถอื
สงั ข จกั ร คทา ดอกบวั สวมหมวกกระบอก เขา ใจวา นา จะมอี ายปุ ระมาณพทุ ธศตวรรษท่ี 9-10
หรอื เกา ไปกวานัน้ (ปจจุบนั อยูพพิ ธิ ภัณฑสถานแหง ชาติ พระนคร)

นอกจากนไี้ ดพ บรปู สลกั พระนารายณท าํ ดว ยศลิ าทอี่ าํ เภอไชยา จงั หวดั สรุ าษฎรธ านี
โบราณสถานทสี่ าํ คญั ทข่ี ดุ พบ เชน ปราสาทพนมรงุ จงั หวดั บรุ รี มั ย ปราสาทหนิ พมิ าย จงั หวดั
นครราชสมี า พระปรางคส ามยอด จังหวดั ลพบรุ ี เทวสถานเมอื งศรีเทพ จังหวดั เพชรบุรณี 
ตอมาในสมยั สุโขทยั ศาสนาพราหมณไ ดเขา มามบี ทบาทมากขึ้นควบคูไปกับพทุ ธศาสนา ใน
สมยั นมี้ ีการคนพบเทวรูปพระนารายณ พระอศิ วร พระพรหม พระแมอ ุมา พระหริหระ สวน
มากนิยมหลอ สําริด

รายวชิ าศาสนาและหนา ท่ีพลเมือง (สค31002) << ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 35

นอกจากหลักฐานทางศิลปกรรมแลวในดานวรรณคดีไดแสดงใหเห็นถึงความเช่ือ
ของศาสนาพราหมณ เชน ตาํ รบั ทา วศรจี ฬุ าลกั ษณห รอื นางนพมาศ หรอื แมแ ตป ระเพณลี อย
กระทง เพื่อขอขมาลาโทษพระแมค งคานา จะไดอทิ ธิพลจากศาสนาพราหมณเชน กัน

ในสมัยอยุธยา เปนสมัยที่ศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลทางวัฒนธรรมประเพณี
เชนเดียวกับสุโขทัยพระมหากษัตริยหลายพระองคทรงยอมรับพิธีกรรมที่มีศาสนาพราหมณ
เขา มา เชน พิธแี ชงน้ํา พิธีทํานาํ้ อภเิ ษกกอ นขึ้นครองราชยสมบัติ พธิ ีบรมราชภิเษก พระราช
พิธีจองเปรียง พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญพระราชพธิ ีตรยี มั ปวาย เปน ตน โดย
เฉพาะสมเดจ็ พระนารายณม หาราชทรงนบั ถอื ทางไสยศาสตรม ากถงึ ขนาดทรงสรา งเทวรปู หมุ
ดว ยทองคาํ ทรงเครอ่ื งทรงยาราชาวดสี าํ หรบั ตง้ั ในการพระราชพธิ หี ลายองค ในพธิ ตี รยี มั ปวาย
พระองคไดเสด็จไปสงพระเปนเจา นับถอื เทวสถานทุกๆ ป ตอ มาในสมยั รตั นโกสนิ ทรตอน
ตน พธิ ตี า งๆ ในสมยั อยธุ ยายงั คงไดร บั การยอมรบั นบั ถอื จากพระมหากษตั รยิ แ ละปฏบิ ตั ติ อ
กันมา คอื

1. พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก

พระราชพิธีน้ีมีความสําคัญ เพราะเปนการเทิดพระเกียรติขององคพระประมุข
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกไดโปรดเกลาฯ ใหผูรูแบบแผนครั้งกรุงเกาทําการ
คนควาเพื่อจะไดสรางแบบแผนที่สมบูรณตามแนวทางแตเดิมมาในสมัยกรุงศรีอยุธยาและ
เพ่มิ พิธสี งฆเขาไปซง่ึ มี 5 ขั้นตอน คือ

1. ข้ันเตรยี มพิธี มกี ารทาํ พธิ เี สกนํา้ การทําพิธจี ารกึ พระสุพรรณบัฏ ดวงพระ
ราชสมภพ และแกะพระราชลัญจกรประจาํ รัชกาล

2. ขั้นพิธีเบือ้ งตน มกี ารเจริญพระพทุ ธมนต
3. ขั้นพิธีบรมราชาภิเษก มีการสรงพระมุรธาภิเษก จากนั้นรับการถวายสิริราช
สมบตั ิและเคร่ืองสริ ริ าชกกธุ ภัณฑ
4. ขน้ั พธิ เี บอ้ื งปลาย เสดจ็ ออกมหาสมาคมและสถาปนาสมเดจ็ พระบรมราชนิ แี ลว
เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปทําพิธีประกาศพระองคเปนศาสนูปถัมภกในพระพุทธศาสนา พรอม
ท้ังถวายบังคมพระบรมศพพระบรมอัฐิ พระเจาอยูหัวองคกอนและเสด็จเฉลิมพระราช
มณเฑียร เสด็จเลยี บพระนคร

2. การทํานํา้ อภิเษก

พระมหากษัติยท่ีจะเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษก จะตองสรง
พระมุรธาภิเษกและทรงรับนํา้ อภิเษกกอนไดรับการถวายสิริราชสมบัติตามตําราพราหมณ
นาํ้ อภเิ ษกนใี้ ชนํา้ จากปญจมหานที คอื คงคายมนุ า มหิ อจริ วดี และสรภู ซงึ่ ทําเปนนาํ้ ทไี่ หล
มาจากเขาไกรลาส อนั เปน ท่สี ถติ ของพระศวิ ะ สมยั กรงุ รัตนโกสนิ ทรตง้ั แตรชั กาลท่ี 1 ถงึ
รชั กาลท่ี 4 ใชนํา้ จาก 4 สระในเขตจงั หวัดสุพรรรณบรุ ี คือสระเกษ สระแกว สระคงคาและ
สระยมุนา และไดเ พ่ิมนํา้ จากแมน ้ําสําคัญในประเทศอกี 5 สาย คือ

1) แมน้ําบางปะกง ตักทีบ่ ึงพระอาจารย แขวงนครนายก

36 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม

2) แมนาํ้ ปาสกั ตกั ทีต่ าํ บลทา ราบ เขตสระบุรี
3) แมนา้ํ เจาพระยา ตักท่ตี าํ บลบางแกว เขตอา งทอง
4) แมน ํ้าราชบรุ ี ตักทีต่ ําบลดาวดึงส เขตสมุทรสงคราม
5) แมน ํา้ เพชรบรุ ี ตักท่ตี าํ บลทาไชย เขตเมืองเพชรบุรี

3. พระราชพิธจี องเปรยี ง(เทศกาลลอยกระทง)

คอื การยกโคมตามประทปี บชู าเทพเจา ตรมี รู ติ กระทาํ ในเดอื นสบิ สองหรอื เดอื นอา ย
โดยพราหมณเ ปนผูท าํ พธิ ใี นพระบรมมหาราชวัง พระราชครูฯ ตอ งกินถวั่ กนิ งา 15 วนั สว น
พราหมณอื่นกินคนละ 3 วัน ทุกเชาตองถวายน้ํามหาสังขทุกวันจนถึงลดโคมลง ตอมา
สมัยรัชการที่ 4 ไดทรงโปรดใหเพิ่มพิธีทางพุทธศาสนาเขามาดวยโดยโปรดใหม ีสวดมนต
เย็นแลวฉันเชา อาลักษณอานประกาศพระราชพิธี จากนั้นแผพระราชกุศลใหเทพยดา
พระสงฆเจริญพุทธมนตตอไป จนไดฤกษแลวทรงหลั่งนํ้าสังขและเจิมเสาโคมชัยจึงยก
โคมขนึ้ เสาโคมชยั นี้ท่ียอดมฉี ตั รผา ขาว 9 ช้ัน โคมประเทียบ 7 ช้นั ตลอดเสาทานาํ้ ปนู ขาว
มหี งสต ดิ ลกู กระพรวน นอกจากนม้ี เี สาโคมบรวิ ารประมาณ 100 ตน ยอดฉตั รมผี า ขาว 3 ชน้ั

4. พระราชพธิ ีตรียัมปวาย

เปน พธิ ีสง ทา ยปเกา ตอ นรบั ปใหมของพราหมณ เชอ่ื กนั วา เทพเจา เสดจ็ มาเยย่ี มโลก
ทกุ ปจงึ ตดั พธิ ีตอ นรบั ใหใหญโตเปนพิธีหลวงที่มีมานานแลวในสมัยรัตนโกสินทรไดจัดกัน
อยางใหญโตมากกระทําพระราชพิธีน้ีที่เสาชิงชาหนาวัดสุทัศน ชาวบานเรียกพิธีน้ีวา
“พธิ ีโลช งิ ชา” พธิ นี ก้ี ระทําในเดือนอายตอ มาเปลี่ยนเปนเดอื นยี่

5. พระราชพธิ ีพชื มงคลจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ

แตเดิมมาเปนพราหมณ ภายหลังไดเพิ่มพิธีสงฆจึงทําใหเกิดเปน 2 ตอน คือ
พิธีพืชมงคงเปนพิธีสงฆเริ่มต้ังแตการนําพันธุพืชมารวมพิธี พระสงฆสวดมนตเย็นท่ีทอง
สนามหลวงจนกระทงั่ รงุ เชา มกี ารเลย้ี งพระตอ สว นพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั เปน พธิ ขี อง
พราหมณก ระทาํ ในตอนบา ย ปจ จบุ นั นพี้ ธิ กี รรมของพราหมณท เี่ ขา มามอี ทิ ธพิ ลตอ สงั คมไทย
เริ่มลดบทบาทลงไปมากเพราะพุทธศาสนาไดเขามามีอิทธิพลแทนทั้งในพระราชพิธีและ
พธิ กี รรมทัว่ ๆ ไปในสงั คม อยา งไรก็ตามพธิ ีพราหมณเทาท่เี หลืออยแู ละยังมผี ูปฎิบตั สิ ืบกัน
มาไดแ ก พิธีโกนผมไฟ พิธีโกนผมจุก พธิ ี
ตัง้ เสาเอก พธิ ีตั้งศาลพระภมู ิ พธิ เี หลานยี้ ัง
คงมีผูนิยมกระทํากันท่ัวไปในสังคม สวน
พระราชพิธีทีป่ รากฏอยู ไดแ ก พระราชพิธี
พืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระ
ราชพธิ ีบรมราชภิเษก และพิธีทํานาํ้ อภิเษก
เปน ตน

รายวชิ าศาสนาและหนาท่ีพลเมอื ง (สค31002) << ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 37

สําหรับพิธีกรรมในศาสนาฮินดซู ึ่งเปน พราหมณใหม ไมใ ครมอี ิทธิพลมากนัก แตก็
มีผูนับถือและสนใจรวมในพิธีกรรมเปนครั้งคราว ท้ังนี้อาจเปนเพราะความเชื่อในพระเปน
เจา ตรมี รู ตทิ ง้ั 3 องค ยงั คงมอี ทิ ธพิ ลควบคไู ปกบั การนบั ถอื พทุ ธศาสนาประกอบกบั ในโบสถ
ของพวกฮนิ ดมู กั จะตง้ั พระพทุ ธรปู รวมๆไปกบั รปู ปน ของพระผเู ปน เจา ทงั้ นสี้ บื เนอื่ งมาจาก
ความเชอื่ ในเรอื่ งอวตารของพระวษิ ณุ ทาํ ใหค นไทยทน่ี บั ถอื พทุ ธศาสนาบางกลมุ นยิ มมาสวด
ออ นวอนขอพรและบนบาน หลายคนถงึ ขนาดเขา รว มพธิ ขี องฮนิ ดู จงึ เขา ลกั ษณะทว่ี า นบั ถอื
ท้งั พทุ ธทง้ั ฮนิ ดูปนกันไป

ศาสนาพราหมณ- ฮินดใู นโลก

ปจจุบันศาสนาพราหมณ-ฮินดูนับถือกันมากในประเทศอินเดีย และมีอยูเปน
สว นนอยในประเทศตา งๆ เชน ลงั กา บาหลี อินโดนเี ซยี ไทย และแอฟริกาใต

เรอ่ื งท่ี 6 ประวัตศิ าสดาและคาํ สอนของศาสนาซกิ ข

1. ประวัตศิ าสดา
ศาสนาซกิ ข เปน ศาสนาประเภทเอกเทวนยิ ม มที า นครุ นุ านกั เทพ เปน ศาสดาองคท ่ี 1
สบื ตอ มาถึงทานคุรโุ ควนิ ทสิงห เปน ศาสดาองคท่ี 10 มีสวุ รรณวิหารต้งั อยูที่เมอื งอัมรสิ สา
แควนปญจาป ประเทศอินเดยี เปน ศนู ยชาวซกิ ขท ัว่ โลก ตามทีป่ รากฏในประวตั ศิ าสตร มี
ประมุขแหงศาสนาซิกขอ ยู 10 ทานดว ยกนั คอื
1. ครุ นุ านกั กอ นสน้ิ ชีพไมส ามารถพง่ึ ลูกชายสองคนเปนผูสืบตอทางลัทธไิ ด ทา น
จงึ ไดป ระกาศแตง ตง้ั ศษิ ยท ร่ี กั ของทา นคนหนง่ึ ซง่ึ เปน คนขวน้ั เชอื กขายชอ่ื ลาหนิ า (Lahina)
เปน ผสู บื ตอ แตเ นอ่ื งจากศษิ ยผ นู ม้ี กี ารเสยี สละตอ ทา นครุ นุ านกั ตลอดมา ทา นจงึ เปลยี่ นนาม
ใหใ หมว าอังคัต (Angal) แปลวา ผเู สียสละรา งกาย
2. คุรุอังคัต (พ.ศ.2081-2095) ทานผูน้ีเปนนักภาษาศาสตร สามารถเผยแพร
คําสอนของอาจารยไปไดยิ่งกวาคุรุคนใด ทานเปนคนแรกที่แนะนําสาวกใหนับถือคุรุนานัก
วา เปน พระเจาองคห นึ่ง
3. คุรอุ มาร ทาส (Amardas พ.ศ. 2095-2117) ทา นเปน ผูท ่ไี ดช ่ือวา เปนคน
สภุ าพ ไดต้ังองคก ารลัทธซิ ิกขข้ึนมาเปน อนั มาก ไดช ่อื วา เปน ผูส งเสรมิ ลัทธซิ ิกขไ วไ ดอ ยา ง
ม่ันคง
4. ครุ รุ ามทาส (Ramsas พ.ศ. 1117-2124) ทา นเปนผสู รา งศูนยกลางของลทั ธิ
ซิกขไวแหง หนึ่งใหช ่อื วา “หริมณเฑยี ร” คอื วิหารซิกขไ วในทะเลสาบเล็กๆ แหง หนง่ึ อยทู าง
ทิศตะวันออกเฉียงใตของแควนลาฮอร สถานท่ีดังกลาวเรียกวา อมฤตสระ กลายเปนท่ี
บาํ เพญ็ บญุ ศนู ยก ลางลทั ธซิ กิ ข เชน เดยี วกบั เมอื งเมกกะศนู ยก ลางของลทั ธอิ สิ ลาม ทา นได
ตั้งแบบแผนไววา ผูสืบตอตําแหนงคุรุ จําเปนตองเปนเช้ือสายของตนเองดังน้ันทานได
แตง ตง้ั บุตรชายของทา นเปนคุรตุ อไป

38 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม

5. ครุ ุอรชุน (Arjan พ.ศ. 2124-2149) เปนผูรวบรวมคัมภีรใ นลทั ธิซกิ ขไ ด
มากกวาผูใด คัมภีรที่รวบรวมเก็บจากโอวาทของคุรุท้ังส่ีทานที่ผานมา และไดเพ่ิมโอวาท
ของทา นเองไวใ นคมั ภรี ด ว ย เปน ผอู อกบญั ญตั วิ า ชนชาตซิ กิ ข ตอ งแตง ตวั ดว ยเครอ่ื งแตง กาย
ของศาสนานิยม ไมนิยมแตงตัวดวยวัตถุมีราคาแพงตั้งกฏเกณฑเ กบ็ ภาษเี พอ่ื บาํ รงุ ศาสนา
ไดช่ือวาเปนผูเผยแพรลัทธิไดอยางกวางขวาง เสริมสรางหริมณเฑียรข้ึนเปน สุวรรณวิหาร
สิน้ ชพี ในการตอ สกู ับกษตั ริยกรุงเดลี

6. คุรุหรโิ ควินทะ (Hari Covind พ.ศ. 2149-2181) เปนคุรคุ นแรกที่สอนให
ชาวซิกขนิยมดาบใหถือดาบเปน เครอ่ื งหมายของชาวซกิ ขผ เู ครง ครดั ในศาสนาเปน ผสู ง เสรมิ
กาํ ลงั ทหาร สง่ั สอนใหช าวซกิ ข เปน ผกู ลา หาญตานทานศตั รู (ซ่ึงเขามาครองดินแดนอินเดยี
อยูใ นขณะน้ัน)

เปน ทน่ี า สงั เกตวา นบั ตง้ั แตส มยั นเ้ี ปน ตน ไป เรอ่ื งของศาสนาซกิ ข เปน เรอ่ื งของอาวธุ
เรอ่ื งความกลา หาญ เพ่อื ตอ สูศัตรผู มู ารกุ รานแผน ดนิ

7. คุรหุ ริไร (Hari Rai พ.ศ.2181-2207) ทานผูนไี้ ดท ําการรบตานทานโอรังเซฟ
กษัตริยม ุสลมิ ในอินเดยี

8. คุรุหริกิษัน (Hari Rai พ.ศ.2207-2181)ไดดําเนินการเผยแพรลัทธิดวยการ
ตอ ตานกษัตรยิ โอรังเซฟ เชนเดียวกบั คุรุหริไร

9. คุรุเทคพาหาทูร (Tegh Bahadur พ.ศ.2218-2229) เปนนักรบท่ีแกลวกลา
สามารถดา นทานการรกุ รานของกษตั รยิ อ สิ ลาม ทเี่ ขา มาครอบครองอนิ เดยี และขม ขศู าสนา
อนื่ ทา นไดเ ผยแพรศ าสนาซกิ ขอ อกไปไดก วา งขวาง สดุ เขตตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของประเทศ
อนิ เดยี และแผม าทางใตจ นถงึ เกาะลงั กา ทา นไดต า นทานอสิ ลามทกุ ทาง พวกมสุ ลมิ ในสมยั
นัน้ ไมก ลา สูรบกบั คุรุทานนี้ได

10. ครุ ุโควินทสิงห (Covind Singh พ.ศ.2229-2251) เปน บุตรของครุ ุเทคพาหา
ทรู เ ปน ผรู เิ รม่ิ ตงั้ บทบญั ญตั ใิ หมใ นศาสนาซกิ ข ดว ยวธิ ปี ลกุ ใจสานศุ ษิ ยใ หเ ปน นกั รบ ตอ ตา น
กษตั รยิ ม สุ สมิ ผเู ขา มาขม ขศ่ี าสนาอน่ื เพอ่ื จรรโลงชาติ ทา นไดต ง้ั ศนู ยก ลางการเผยแพรล ทั ธิ
ซิกขอยูที่เมืองดัคคา (Dacca) และแควนอัสสัมในเบงกอลตะวันออก ทานไดประกาศแก
สานศุ ษิ ยท ง้ั หลายวา ทกุ คนควรเปน นกั รบตอ สกู บั ศตั รู เพอ่ื จรรโลงชาตศิ าสนาของตน ซกิ ข
ทกุ คนตอ งเปนคนกลาหาญ คําวา “สงิ ห” อันเปน ความหมายของความกลา หาญ เปน ชื่อ
ของบรรดาสานุศิษยแหงศาสนาซิกขมาตั้งแตคร้ังนั้น และ “สิงห” ทุกคนตองรวมเปน
ครอบครวั บรสิ ุทธ์ิ

2. พระคมั ภีร

เปนส่ิงสําคัญท่ีตองเคารพสูงสุด จัดวางในท่ีสูงบนแทนบูชา จะตองมีผูปรนนิบัติ
พระคัมภรี อยูเสมอ คือการศกึ ษาและปฏิบตั ิตามอยางเครง ครัด ชาวซิกขทุกคนจะตอ งถอด
รองเทาและโพกศีรษะ กอนเขาไปในโบสถจะตองเขาไปกราบพระคัมภีร ดวยความเคารพ
เสียกอ น

รายวชิ าศาสนาและหนา ทพี่ ลเมือง (สค31002) << ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 39

คมั ภรี ข องศาสนาซกิ ขเ รยี กวา ครนั ถ-ซาหปิ หรอื คนั ถะ (ในภาษาบาล)ี หมายความวา
คมั ภรี  หรอื หนงั สอื สว นใหญเ ปน คาํ รอ ยกรองสน้ั ๆ รวม 1,430 หนา มคี าํ ไมน อ ยกวา ลา นคาํ
มี 5,894 โศลก โศลกเหลาน้ีเขากับทํานองสังคตีไดถึง 30 แขนง จัดเปนเลมได
37 เลม ภาษาทใ่ี ชใ นคมั ภรี ม อี ยู 6 ภาษาหลกั คอื ปญ จาบี (ภาษาประจาํ แควน ปญ จาปอนั เปน
ถิ่นเกดิ ของศาสนา) มุลตานี เปอรเซยี น ปรากริตฮนิ ดี และมารถี

ศาสนาซกิ ขโ บราณประมาณรอ ยละ 90 เชน เดยี วกบั ศาสนกิ ชนในศาสนาอน่ื ทไ่ี มเ คย
รอบรูคัมภีรของศาสนาของตน ดังน้ัน คัมภีรจึงกลายเปนวัตถุศักด์ิสิทธ์ิ ผูไมเก่ียวของ
ไมสามารถแตะตองไดที่หริมณเฑียรหรือสุวรรณวิหาร ในเมืองอมฤตสรา แควนปญจาป
มสี ถานทป่ี ระดิษฐานคมั ภีรถอื เปนศูนยก ลางศาสนาซิกข

ในวหิ ารของศาสนาซกิ ขไมบงั คบั ใหรปู เคารพนอกจากคมั ภรี  ใหถอื วา คมั ภรี นน้ั คอื
ตัวแทนของพระเจา ทุกเวลาเชา ผูรักษาวิหาร จะนําผาปกดิ้นราคาแพงมาหุมหอคัมภีร
เปน การเปลยี่ นผา คลมุ ทาํ ความสะอาดวางคมั ภรี ล งบนแทน ภายในมา น ซงึ่ ปก ดว ยเกลด็ เพชร
กอนพิธีสวดในเวลาเชา ครั้งตกเย็นก็นําคัมภีรไปประดิษฐานไวบนต่ังทองในหองพิเศษ
ไมยอมใหฝนุ ละอองจบั ตอ งได

คมั ภรี เ ดมิ หรอื ชว งแรกของศาสนานเ้ี รยี กวา อาทคิ นั ถะ รวบรวมโดยครุ ทุ า นทหี่ า คอื
ครุ อุ รชนุ (เทพ) ประมวลจากนานาโอวาทซงึ่ ครุ ทุ า นแรกคอื ครุ นุ านกั และโอวาทของครุ ทุ า น
ตอ ๆ มา พรอ มทง้ั วาณ(ี คาํ ภาษติ )
ของภคัตคือ ปราชญผูที่มีความ
ภกั ดอี ยา งยง่ิ ตอ ลทั ธนิ อ้ี กี 11 ทา น
และ มี วาณี ของภ คัต ผู มี อาชีพ
ประจาํ สกลุ มารวมไวใ นอาทคิ นั ถะ
ดวย

ใน เวลา ตอมา ได มี ก าร
รวบรวมโอวาทของครุ อุ กี ครง้ั หนงึ่
โดยคุรุโควินทสิงหไดรวบรวม
โอวาทของคุรุเทคพาหาทูรรวม
เปนคัมภีรค รันถ-ซาหปิ อนั สมบูรณ

3. จรยิ ธรรมของซิกข

คําสอนตามคัมภีรครันถ-ซาหิป ซึ่งบรรดาทานคุรุท้ังหลายไดประกาศไวเกี่ยวกับ
จรยิ ธรรมอนั เปนเครอื่ งยังสงั คมและประเทศชาตใิ หม ั่นคงอยูได และยงั จติ ใจของผปู ฎบิ ตั ิให
บรรลถุ งึ ความผาสกุ ขั้นสดุ ทา ยไดมนี ยั โดยสังเขปคอื

เกยี่ วกับพระเจา “รปู ทงั้ หลายปรากฏข้นึ ตามคําสง่ั ของพระเจา (อกาลปุรษุ ) ส่งิ มี
ชีวิตทั้งหลายอุบัติมาตามคําส่ังของพระเจา บุตรธิดาจะไดรูถึงกาํ เนิดบิดามารดาไดอยางไร
โลกทัง้ หมดรอยไวดว ยเสน ดา ยคือคาํ สัง่ ของพระเจา”

40 หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสังคม

“มนษุ ยท ง้ั หลายมพี ระบดิ าผเู ดยี ว เราทง้ั หลายเปน บตุ รของทา น เราจงึ เปน พน่ี อ งกนั ”
“พระเจาผูสรางโลก (อกาลปุรุษ) สิงสถิตอยูในส่ิงทั้งหลายท่ีพระเจาสรางและสิ่ง
ทง้ั หลายก็อยใู นพระเจา ”
“อาหลา (อลั ลอห) ไดส รางแสงสวางเปน ครงั้ แรก สัตวท ้งั หลายอุบัตมิ าเพราะศกั ดิ์
ของอาหลาสิ่งทอี่ า หลา สรา งข้ึน เกดิ มาแตแ สงสวางน้ันเองจึงไมม ใี ครสงู ไมม ีใครตํ่า ใครจะ
ไมถามถึงวรรณะ และกําเนิดของทาน ทานจงแสวงหาความจริง ซ่งึ พระเจาแสดงแกทาน
วรรณะ และกาํ เนดิ ของทา นเปน ไปตามจารตี ของทา นเอง”
“อยาใหใครถือตัวเพราะวรรณะของตน ผูซึ่งรูจักพรหมน่ันแหละเปนพราหมณ
อยาถอื ตวั เพราะวรรณะความถอื ตวั เชนน้ี เปนบอเกิดแหง ความช่วั ฯลฯ
“คนท้งั หลาย บางก็เปน อทุ าสี สันยาสี โยคี พรหมจารี ยติ ฮินธุ ฯลฯ บางคนเปน
อมิ านซาฟจ งึ ถอื วา คนทง้ั หลายเปน วรรณะเดยี วกนั หมด กรตุ า (ผสู รา งโลกตามสาํ นวนฮนิ ด)ู
และกรมี (อาหลา ตามสาํ นวนมุสลิม) เปนผูเ ดียวกนั เปนผเู ผื่อแผป ระทานภัยอยา เขาใจผดิ
เพราะความสงสยั และเชอื่ ไปวา มพี ระเจา องคท สี่ อง คนทง้ั หลายจงปฏบิ ตั แิ ตพ ระเจา องคเ ดยี ว
คนทง้ั หลายยอมมีพระเจา เดยี ว ทา นจงรูไวซ่งึ รูปเดียว และวิญญาณเดยี ว”
เก่ียวกับการสรางโลก ซิกขสอนวา แตเริ่มแรกมีแตกาลบุรุษ ตอมามีหมอกและ
กา ซหมุนเวียนอยูไ ดล านโกฎปิ  จึงมธี รณี ดวงดาว น้าํ อากาศ ฯลฯ อุบตั ขิ ้นึ มา มีชีวติ อบุ ตั ิ
มาบนส่ิงเหลานี้นับดวยจํานวน 8,400,000 ชนิด มนุษยมีฐานะสูงสุด เพราะมีโอกาส
บาํ เพญ็ ธรรม เปน การฟอกดวงวญิ ญาณใหส ะอาดอนั เปน หนทางใหห ลดุ พน จากการเกดิ การตาย
ซกิ ขส อนวา โลกมมี ากตอ มาก ดวงสรุ ยิ ะ ดวงจนั ทร มมี ากตอ มาก อากาศและอวกาศ
กวา งใหญไพศาลอันผูมกี ิเลสยากท่จี ะหย่ังรไู ด
เก่ยี วกับเศรษฐกจิ สงั คม ซกิ ขสอนวา
1. ใหตื่นแตเชาอยา งนอยครึ่งชัว่ โมงกอนรุงอรุณ
2. ตื่นแลว ใหบรกิ รรมทางธรรมเพ่ือฟอกจิตใจใหส ะอาด
3. ใหประกอบสมั มาชพี
4. ใหแบง สวนของรายได 10 สวน มอบใหแ กกองการกสุ ล
5. ใหละเวนการเสพของมนึ เมา ประพฤตผิ ิดประเวณี
เกย่ี วกบั ประเทศชาติ ศาสนาซกิ ขต งั้ ขน้ึ โดยครุ นุ านกั ผมู องเหน็ ภยั ทปี่ ระเทศชาติ
กําลงั ไดร ับอยูจากคนตางชาติและคนในชาตเิ ดียวกัน จึงไดประกาศธรรมส่งั สอน เพ่อื ความ
ดาํ รงอยขู องชาติ ครุ วุ าณขี องทา นเปน เครอื่ งกระตนุ ใหผ รู บั ฟง มคี วามสามคั คมี คี วามรกั ชาติ
โดยไมเ กลียดชาตอิ น่ื
ตอ มาในสมยั ครุ โุ ควนิ สู งิ ห ทา นไดส ง่ั สอนใหช าวซกิ ขเ ปน ทหารหาญ เสยี สละเลอื ดเนอ้ื
และชีวิตเพื่อชาติ คุรุหลายทานเชนคุรุอรชุนเทพ และคุรุเทคบาหาทูร ไดสละชีพเพื่อชาติ
และศาสนาและบางทานสละชพี เพอ่ื ปองกนั ศาสนาซกิ ข กลาวคือ
- ครุ ชุ นุ เทพ ถกู กษตั รยิ อ สิ ลามคอื ชาหนั ครี บ งั คบั ไมใ หท า นประกาศศาสนา ทา น
ถกู จบั ขงั ทป่ี อ มเมอื งลาฮอร ถกู ทรมานใหนั่งบนแผนเหล็กเผาไฟ และถูกโบยดวยทรายคั่ว