ข้อสอบวิชาคุณธรรมจริยธรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ กศน

ค ำอธิบำยรำยวิชำ สค0200035 คุณธรรมและจริยธรรมในกำรใช้สื่อสังคมออนไลน์จ ำนวน 2 หน่วยกิต ระดับประถมศึกษำ มัธยมศึกษำตอนต้น และมัธยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนที่ 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ศึกษำและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ กกกกกกก1. การสื่อสารในยุคดิจิทัล ความหมาย องค์ประกอบ และวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร ความหมาย และรูปแบบของ การสื่อสารในยุคดิจิทัล เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network ) มารยาทการสื่อสารในยุคดิจิทัล แนวโน้มสื่อดิจิทัล และกรณีศึกษา : การใช้ประโยชน์การสื่อสารในยุคดิจิทัล 2. คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ความหมายและความส าคัญของคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ ความส าคัญ การรู้เท่าทันสื่อ ความรับผิดชอบในการใช้สื่อสังคมออนไลน์กฎหมายเกี่ยวกับการ ใช้สื่อสังคมออนไลน์ ความแตกต่างระหว่างคุณธรรมจริยธรรมและกฎหมายเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ และกรณีศึกษา : การละเมิดคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ กกกกกกกบรรยายสรุป ก าหนดประเด็นศึกษาค้นคว้าร่วมกัน ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง พบกลุ่ม อภิปราย ผลการศึกษาค้นคว้า สรุปผลการเรียนรู้ที่ได้ร่วมกัน ฝึกปฏิบัติวิเคราะห์กรณีศึกษา จัดท ารายงานผลการ วิเคราะห์กรณีศึกษาส่งครูผู้สอน น าเสนอผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา และบันทึกผลการเรียนรู้ที่ได้ลงใน เอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) กำรวัดและประเมินผล กกกกกกกประเมินความก้าวหน้า ขณะจัดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยวิธีการสังเกต ซักถาม การตอบ ค าถาม การตรวจรายงานผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา และตรวจเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) และประเมินผลรวมหลังจัดประสบการณ์การเรียนรู้เสร็จสิ้นด้วยวิธีการให้ตอบแบบทดสอบวัดความรู้

รายละเอียดค าอธิบายรายวิชา สค0200035 คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ จ านวน 2 หน่วยกิต ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา จ านวน (ชั่วโมง) 6. ตระหนักและเห็นความส าคัญ ของการรู้เท่าทันสื่อ 7. ยกตัวอย่างการแสดงออกถึง ความรับผิดชอบในการใช้สื่อ สังคมออนไลน์ได้ 8. ตระหนักถึงความรับผิดชอบใน การใช้สื่อสังคมออนไลน์ 9. บอกสาระส าคัญของกฎหมาย เกี่ยวกับการสื่อสังคมออนไลน์ได้ 10. วิเคราะห์ข้อแตกต่างระหว่าง คุณธรรม จริยธรรมและกฎหมาย เกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ในสถานการณ์ที่ก าหนดได้ 11. วิเคราะห์กรณีศึกษา: การ ละเมิดคุณธรรมและจริยธรรมใน การใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่ศึกษา ได้ 12. ตระหนักถึงผลกระทบของ การละเมิดคุณธรรมและ จริยธรรมในการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ 3.3 องค์ประกอบของการ รู้เท่าทันสื่อ 3.4 แนวทางการปฏิบัติให้ รู้เท่าทันสื่อ 3.5 ข้อควรระวังในการใช้ สื่อ 4. ความรับผิดชอบในการใช้ สื่อสังคมออนไลน์ 4.1 ต่อตนเอง 4.2 ต่อบุคคลอื่น 4.3 ต่อสังคม 5. กฎหมายเกี่ยวกับการใช้ สื่อสังคมออนไลน์ 6. ข้อแตกต่างระหว่าง คุณธรรม จริยธรรมและ กฎหมายเกี่ยวกับการใช้สื่อ สังคมออนไลน์ 7. กรณีศึกษา: การละเมิด คุณธรรมและจริยธรรมใน การใช้สื่อสังคมออนไลน์

วิชาคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ส่อื สงั คมออนไลน์ สค0200035 จาหนว่ ย 2 หนว่ ยกิต กศน.ตาบลไผร่ อบ หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอโพธิป์ ระทับช้าง สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั พิจิตร สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

คณุ ธรรมจริยธรรมในการใช้สอื่ สังคมออนไลน์ สค0200035 กศน.ตำบลไผ่รอบ เครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ 1. แนวคิดเก่ยี วกบั เครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ ปัจจุบันการสื่อสารของมนุษย์ได้รับการพัฒนาให้ส่ือสารถึงกันอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลมา จากความกา้ วหน้าคา้ นเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทไ่ี ด้เข้ามามบี ทบาทในชวี ติ ประจำวันของมนุษย์มาก ขึ้นสื่อชนิดหนึ่งที่ผู้ใช้สามารถมีส่วนร่วมสร้าง และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่าง ๆ ผ่านระบบ อินเทอร์เน็ตได้ คือ social media คำนี้คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์เละ เทคโนโลยีสารสนเทศราชบัณฑิตยสถาน บัญญัติศัพท์ว่า สื่อสังคม หรือที่คนทั่วไปรียกว่า สื่อ ออนไลน์ หรือ สื่อสังคมออนไลน์ในทางเทคนิค สื่อสังคม จะหมายถึง โปรแกรมกลุ่มหนึ่งท่ีทำงาน โดยใช้พื้นฐานและเทคโนโลยีของเว็บ ตั้งแต่รุ่น 2.0 เช่น บีโบ มายสเปซ เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ วิกิพี เดยี facebook และบลอ็ กต่าง ๆ ในทางธรุ กิจเรียกส่อื สงั คมว่า สื่อทผ่ี บู้ ริโภคสร้างขึน้ (consuner- generated media หรือ CGM) สำหรับกลุ่มบุคคลผู้ติดต่อสื่อสาร กัน โดยผ่านสื่อสังคม ซ่ึง นอกจากจะสง่ ข่าวสารขอ้ มูลแลกเปลย่ี นกันแลว้ ยังอาจทำกิจกรรมท่ีสนใจร่วมกนั ด้วย กลุ่มบุคคล ที่ติดต่อสื่อสารกัน โดยผ่านสื่อสังคมดังกล่าว คือ social network ซึ่งคณะกรรมการจัดทำ พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ บัญญัติศัพท์ social network ว่า เครือข่ายสงั คม ในเครอื ข่ายสังคม กลุ่ม \"เพื่อน\" หรือ \"ผตู้ ดิ ตอ่ กัน\" จะต้องแนะนำตนเองอย่างส้ันๆ โดยทั่วไปซอฟตแ์ วรท์ ่ีใหบ้ รกิ ารเครอื ขา่ ยสังคมจะเปิดโอกาสใหก้ ลุ่มเพ่อื นๆ วิพากษ์วิจารณ์กับเอง ได้ ส่งข้อความส่วนตัว และเข้าไปอ่านข้อความของเพื่อน ๆ ในกลุ่มได้ ซอฟต์แวร์บางประเภทจะ สามารถให้เพื่อนๆ เพม่ิ เสียงและภาพเคลื่อนไหวลงในประวัติของตนได้ดว้ ย นอกจากนี้ เพื่อนบาง คนก็อาจจะสร้างโปรแกรมย่อยๆ ขึ้นมาให้ใช้ร่วมกันได้ เช่น เล่นเกม ถามปัญหา หรือปรับแต่ง รปู ภาพ ทำให้บางคนมีผสู้ มคั รเข้ามาเป็นเพื่อนด้วยมากมาย(ราชบัณฑติ สถาน, 2560) เครือข่ายสงั คมออนไลน์ (Social networks) คือ เวบ็ ไซตห์ รือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ช่วย ให้คนสามารถการสอื่ สารและแบง่ ปนั ข้อมลู บนอินเทอรเ์ นต็ โดยใชค้ อมพวิ เตอร์หรอื โทรศัพทม์ อื ถอื (แคมบริด, 2560) เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social network) คือ รูปแบบของเว็บไซต์ ในการ สร้างเครือข่ายสังคมสำหรับผู้ใช้งานในอนิ เทอร์เน็ต เขียนและอธิบายความสนใจ และกิจการท่ไี ด้ ทำ และเชื่อมโยงกับความสนใจและกจิ กรรมของผู้อ่ืน ในบริการเครือข่ายสังคมมักจะประกอบไป ด้วย การแช็ต ส่งข้อความ ส่ง อีเมล วิดีโอ เพลง อัปโหลดรูป บล็อก การทำงานคือ คอมพิวเตอร์ จดั ทำโดย นางสาวศริ ินันท์ ยอดนมุ่ ครู กศน.ตำบลไผร่ อบ

เก็บข้อมูลพวกนี้ไว้ในรูปฐานข้อมูล sq! ส่วน video หรือ รูปภาพ อาจเก็บเป็น ไฟล์ก็ได้ บริการ เครือข่ายสงั คมท่ีเป็นที่นิยมไดแ้ ก่ Facebook มายสเปซ เฟซบุ๊ก อร์กัต มัลติพลาย โดยเว็บเหล่านี้มีผู้ใช้มากมาย เช่น เฟสบุ๊คเป็นเว็บไซด์ที่คน ไทยใช้มากทส่ี ุด ในขณะท่อี อร์กัตเป็นท่ีนยิ มมากทีส่ ุดในประเทศอินเดยี ปจั จุบัน บริการเครือข่าย สังคม มผี ลประโยชน์คอื หาเงนิ จากการโมษณา การเลน่ เกมโดยใช้บตั รเติมเงิน (วิกพิ ีเดยี ,2560) โดยสรุป เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social network) หมายถึง เว็บไซต์หรือโปรแกรม คอมพวิ เตอร์ทช่ี ว่ ยให้คนสมารถสร้างเครือข่ายสงั คม สำหรับผ้ใู ชง้ านในอนิ เทอร์เน็ต เพื่อใช้ในการ สื่อสารแบง่ ปนั ข้อมูล เขียนและอธิบายความสนใจ และกิจการทไี่ ด้ทำ และเช่ือมโยงกับความสนใจ และกจิ กรรมของผอู้ ื่น เช่น facebook 2. ความหมายของสือ่ สงั คมออนไลน์ สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) เป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายสังคมออนไลน์(Social Network) โดยมผี ใู้ ห้ความหมายของสื่อสังคมออน์ไลน์ ไวด้ งั นี้ รปู แบบของสอ่ื ท่ีช่วยใหค้ น สามารถส่อื สารและแบ่งปนั ขอ้ มลู ด้วยการ ใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตหรือ โทรศพั ทม์ อื ถือ (ราชบัณฑิตสถาน, 2560) ส่ือชนดิ หน่งึ ที่ผใู้ ช้สามารถมีส่วนร่วม สรา้ ง และแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ต่าง ๆ ผ่านระบบ อนิ เทอร์เนต็ ได้ (แคมบริด, 2560) สื่อสังคม (social media) หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเปีนสื่อกลางที่ให้บุคคลทั่วไปมี ส่วนร่วมสร้างและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่างๆ ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ สื่อเหล่านี้เป็นของบริษัท ตา่ งๆ ที่ใหบ้ ริการผา่ นเว็บไซต์ของตน เชน่ เฟซบกุ๊ ไฮ ไฟฟ์ ทวติ เตอร์ วกิ ิพีเดยี (วิกิพเี ดยี ,2560) โดยสรุป Social media หมายถึง รูปแบบของสื่อชนิดหนึ่งที่ช่วยให้คน สามารถสื่อสาร และแบ่งปันด้วยการใช้อินเทอร์เน็ต ท้ังยังเปีนสื่อกลางที่ให้บุคคลทั่วไปมีส่วนร่วมสร้างและ แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ตา่ งๆ ผ่านอนิ เทอรเ์ นต็ ได้ เชน่ Slideshare 3. ประเภทของสอ่ื สงั คมออนไลน์ สื่อสังคมออนไลน์มีหลายรูปแบบ ทั้งประเภทเครื่องมือ และการประยุกต์ใช้งานที่ หลากหลาย ซ่ึง อาจแบ่งได้ดังน้ี (Williamson, Andy 2013: 9) 1. เครอื ข่ายสังคม (Social networking site) เป็นเว็บไซด์ท่บี คุ คลหรอื หน่วยงานสามารถ สร้างขอ้ มูล และเปลี่ยนขอ้ มูล (สถานะของตน) เผยแพร่รูปภาพ ภาพเคลือ่ น ไหว โดยทบี่ คุ คลอ่นื จัดทำโดย นางสาวศิรนิ ันท์ ยอดน่มุ ครู กศน.ตำบลไผร่ อบ

สามารถเข้ามาแสดงความชอบ หรือส่งต่อ หรือเผยแพร่ หรือ แสดงความเห็น โต้ตอบการ สนทนา หรอื แสดงความคดิ เห็นเพิ่มเตมิ ได้ เชน่ Facebook, Badoo, Googlet, Linkdin, Orkut 2. ไมโครบล็อก (Micro-blog) เป็นเว็บไซค์ที่ใช้เผยแพร่ข้อมลู หรือข้อความสั้น ในเรื่องที่ สนใจเฉพาะด้าน รวมทั้งสามารถใช้เครื่องหมาย # (hashtag)/ เพื่อเช่ือมต่อกับกลุ่มคนที่มีความ สนใจในเรอื่ งเดยี วกันได้ เชน่ Twitter, Blauk, Weibo, Tout, Tumbl 3. เว็บไซต์ที่ให้บริการแบ่งปันสื่อออนไลน์ (Video and photo sharing website) เป็น เว็บไซตท์ ่ีให้ผใู้ ช้สามารถฝาก หรอื นำสื่อขอ้ มูล รูปภาพ วีดโี อ ขนึ้ เว็บไซต์เพอ่ื แบง่ ปัน่ แก่ผู้อ่ืน เช่น Flicker, Vimero, Youtube, Instagram, Pinteres 4. บล็อก ส่วนบคุ คลและองค์กร (Personal and corporate blogs) เป็นเว็บไซตท์ ี่ผู้เขียน บันทึก เรื่องราวต่าง ๆ เสมือนเป็นบันทึกไดอารอี อน ไลน์สามารถเขียนในลักษณะไม่เป็นทางการ และแก้ไขได้บ่อย ซึ่งบล็อกสามารถใช้ได้ทั้งส่วนบุคคล และกลุ่ม หรือองค์กร เช่น Blogger, Wordpress, Bloggang, Exteen 5. บล็อกที่มีสื่อสิ่งพิมพ์เป็นเจ้าของเว็บไซต์ (Blogs hosted by media outlet) เป็น เว็บไซตท์ ่ีใช้ในการนำเสนอขา่ วสารของสอื่ สิ่งพิมพ์ ซ่ึงมีความเป็นทางการน้อยกว่าส่ือสิ่งพิมพ์แต่มี รูปแบบ และความเป็นทางการมากกว่าบล็อก เช่น theguardian.com เจ้าของคือ หนังสือพิมพ์ The Gardian 6. วิกิและพื้นที่สาธารณะของกลุ่ม (Wikis and online collaborative space) เป็นเว็บ ไซดท์ เี่ ป็นพน้ื ท่สี าธารณะ ออนไลนเ์ พ่ือรวบรวมขอ้ มลู และเอกสาร เช่น Wikipedia, Wilia 7. กลุ่มหรือพื้นที่แสดงความคิดเห็น (Foruns, discussion board and group) เป็นเว็บ ไซค์หรือกลมุ่ จดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ท่ีมีการแสดงความเหน็ หรือเสนอแนะ มที ้ังท่ี เป็นกลุ่มส่วนตัว และสาธารณะ เชน่ Google Groups, Yahoo Groups, Pantip. เกมสอ์ อนไลนท์ ี่มผี เู้ ล่นหลายคน (Online multiplayer gaming platform) เปน็ เวบ็ ไซดท์ ่ีเสนอรปู แบบการเล่นเกมสอ์ อนไลน์ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถเล่นได้คน เดียวหรือเป็นกลุ่มเช่น Second life, World of Warcraft 9. ข้อความสั้น (Instant messaging) การรับส่งข้อความสั้นจากมือถือ เช่น SMS (text messaging) 10. การแสดงตนวา่ อยู่ ณ สถานที่ใด (Geo-spatial tagging) เป็นการแสดงตำแหนง่ ท่อี ยู่ พร้อมความเห็นและรูปภาพ ในสอื่ สังคมออนไลน์ เช่น Facebook, Foursquare จัดทำโดย นางสาวศิรินันท์ ยอดนุม่ ครู กศน.ตำบลไผร่ อบ

สื่อสังคมออนไลน์บางสื่อมีความสามารถและให้บริการการใช้มากกว่าหนึ่งอย่าง เช่น Facebook เป็นทัง้ เครอื ข่ายสังคมออนไลนแ์ ละสามารถแบ่งปันรปู ภาพ ภาพเคล่อื น ไหวดว้ ย และ แสดงตำแหน่งทีต่ ัง้ หรอื Twitter ทเี่ ปน็ ทั้งเร่อื ข่ายสงั คมออนไลน์และไมโครบล็อกและการแบ่งปัน สถานะ เป็นต้น 4. การประยกุ ต์ใช้สอ่ื สงั คมออนไลน์ ปจั จบุ นั มีการประยุกตใ์ ชส้ ื่อสังคมออนไลน์ในงานด้านต่างๆอย่างแพร่หลาย โดยมีตัวอย่าง การประยุกตใ์ ช้ ดังนี้ จุลมณี สุระ โยธิน (2554 , 148:160) ในการศึกษา ผลของการจัดการเรียนรู้ร่วมกันทาง อนิ เทอรเ์ นต็ ดว้ ยการเขียนสะท้อนคิดผ่านสือ่ สังคมออนไลนท์ ี่มีต่อทกั ษะทางสังคมของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ได้ทำการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์ในฐานะเครื่องมือในการจัดเก็บ ข้อมลู ทั้งแบบประเมินทางสงั คม แบบสอบถามความคิดเหน็ และแบบสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ ธนพิ ร จลุ ศกั ด์ิ (2555) ไดศ้ ึกษาการเผยแพร่ธรรมะผ่านสอื่ สังคมออนไลน์ของพระมหาวุฒิ ชัย วชริ เมธี พบว่า รปู แบบของการเผยเพร่ธรรมะผ่านสอ่ื สังคมออนไลน์ ของพระมหาวุฒิชัย วชิร เมธนี ัน้ มกี าร ใช้เฟสบคุ๊ แฟนเพจ (Facebook Fan Page) โดยมีการใชม้ ัลตมิ ีเดียอยา่ งสมบูรณ์ทุก รูปแบบ โดยเป็นการกระจายไปยงั เมนตู ่างๆอย่างครบถ้วน โดยมีการใช้ข้อความตัวอักษร มากท่ีสุด รองลงมาคือการใช้รูปภาพ วิดี โอ ลิงค์ดาวน์โหลด และการใช้เสียง และยังพบว่าแต่ละเมนูมีการ นำเสนอมัลตมิ ีเดียมากกว่า 1 ชนดิ ซ่ึงเปน็ การผสมผสานเพือ่ ให้เกิดความน่าสนใจ และดึงดูดกลุ่ม ผู้ใช้ให้เข้าไปใชง้ าน วิลเลี่ยมสัน (2556) ได้นำเสนอการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์ ในการดำเนินการของ รฐั สภา ดังน้ี 1. ใชเ้ พือ่ การให้ข้อมูล เพอื่ ให้ขอ้ มลู พน้ื ฐานและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ แก่สาธารณชน รวมถึง การแลกเปลี่ยนและการส่งเสริมประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับกิจการของรัฐสภา เช่น การ ดำเนินการเกี่ยวกับกระบวนการตรากฎหมาย การติดตามกระทู้ถาม การประชุมกรรมาธิการ กจิ การพิเศษ การเยยี่ มชมรฐั สภา และรายงานการศกึ ษาท่นี า่ สนใจ 2. ใช้เพื่อให้ความรู้ เป็นแหล่งในการค้นคว้า ติดตาม เอกสารประกอบการอบรม และ แหลง่ ข้อมูลต่าง ๆ ของครอู าจารยแ์ ละนักเรยี น รวมท้งั ข้อมูลเก่ยี วกับรายงานการศกึ ษาของรัฐสภา บทความ เอกสารตา่ ง ๆ ของรัฐสภา จดั ทำโดย นางสาวศริ นิ ันท์ ยอดนุม่ ครู กศน.ตำบลไผร่ อบ

3. ใช้เพื่อการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เพื่อเชื่อมต่อกับกลุ่มต่าง ๆ ทั้งภาครัฐเอกชน และ องคก์ รต่าง ๆ เพ่ือเปน็ ชอ่ งทางสาธาร ณะสำหรับการติดต่อกับรัฐสภา 4. ใช้ในการสร้างความร่วมมือ และติดต่อกับประชาชน เป็นช่องทางที่ได้ผลดีในการให้ ข้อมูล และติดต่อกับประชาชน การส่งความคิดเห็น และ สร้างความสนใจต่อกระบวนการนิติ บญั ญัติรวมถงึ การใหค้ ำปรกึ ษาโดยตรงแก่สาธารณะ ในสว่ นที่เกีย่ วขอ้ งกบั กระบวนการนิดิบัญญัติ นโยบาย และกลยุทธิ์ในการใหป้ ระชาชนมีสว่ นรว่ มในกระบวนการนิติบัญญัติ เกียรติศักดิ์ เสสสุวรรณ (2556) ได้นำสื่อสังคมออนไลน์ไปประยุกด์ใช้ ด้วยการพัฒนา โมเดลสภาพแวดล้อมการเรยี นแบบสอื่ สังคมออนไลน์ท่ีส่งเสริมจิตสาธารณะในการเรยี นแบบภาระ งานเป็นฐาน สำหรับผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา เป็นการการเรียนการสอนบนเวบ็ แบบสื่อสังคม ออนไลน์เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองบนเว็บแบบฝึกปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้เกิดจิตสาธารณะ โดย โมเดลสภาพแวดล้อมการเรียนแบบสื่อสังคมออน์ไลน์ที่ส่งเสรมิ จิตสาธารณะในการเรียนแบบภาระ งานเป็นฐานที่พฒั นาขน้ึ ประกอบดว้ ย 1.องค์ประกอบของโมเดล มี 7 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) หลักการของโมเดล 2) วัตถุประสงค์ของโมเดล 3) กระบวนการเรียนการสอน 4) การจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนการ สอนแบบภาระงานเป็นฐาน 5) เน้ือหาและกิจกรรมท่ีส่งเสริมจิตสาธารณะ 6) ระบบการเรียนการ สอนบนเวบ็ แบบสอื่ สงั คมออนไลน์ 7) การวัดและการประเมินผล 2. ขั้นตอนกระบวนการเรียนการสอน มี 2 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ ขัน้ เตรยี มกอ่ นการเรียนการสอน และขั้นการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน 3. กิจกรรมประกอบการจัดการเรียนการสอนแบบภาระงานเป็นฐาน มี 8 กิจกรรม ได้แก่ 1) การกำหนดภาระงาน 2) การตระหนักรูป้ ัญหา 3) การค้นหาสาเหตุของปัญหา 4) การกำหนด ปัญหา ร) การหาแนวทางแก้ไขปัญหา 6) การค้นหาข้อสรุปและเลือกวิธี 7) การดำเนินการ แกป้ ญั หา 8) การสรปุ และประเมนิ ผล 4. เนอ้ื หาและกิจกรรมที่ส่งเสรมิ จิตสาธารณะ มี 5 กจิ กรรม 1) กระบวนการเรียนรู้เน้ือหา การปฏิบตั ิกจิ กรรมบนเว็บแบบส่ือสังคมออนไลน์ในกระบวนจัดการเรียนรู้แบบภาระงานเป็นฐาน 2) นักเรยี นปฏิบตั ิกจิ กรรมรายบคุ คล กิจกรรมเปน็ กลุม่ โดยการใชบ้ ทเรยี นการพฒั นาจติ สาธารณะ ผ่านรูปภาพ วดิ โี อ เนือ้ หา บทความ และการ์ตูนรว่ มกบั การชี้แนะทางวาจา ซึง่ การชี้แนะทางวาจา มีการสร้างระบบขั้นตอนการชี้แนะที่เหมาะสม กำหนดพฤดิกรรมการชี้แนะอย่างชัดเจนเพ่ื อให้ สอดคล้องกับหลักสูตรจิตสาธารณะ 3) กิจกรรมการดันคว้าประเภทเนื้อหา รูปภาพ วิดีโอ เน้น ด้านปัญหาที่เกิดในสังคมและการแก้ปัญหาในสังคม ตามตัวชี้วัคจิตสาธารณะ 4) กิจกรรมการ จดั ทำโดย นางสาวศิรนิ นั ท์ ยอดน่มุ ครู กศน.ตำบลไผร่ อบ

นำเสนอผลงาน การเผยแพรผ่ ลงาน การส่งงาน ผ่านส่ือสังคมออนไลน์ 5) กิจกรรมการแลกเปลี่ยน เรยี นรู้เรอื่ งจติ สาธารณะผา่ นสือ่ สงั คมออนไลน์ 5. ระบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบสื่อสังคมออนไลน์ มี 7 ประเภท 1) Blogger 2) Facebook 3) YouTube 4) WikiPedia 5) Skype 6) Multiply 7) Twitter เครื่องมือมี 6 ชนิด ดังนี้ 1) วิดีโอ 2) รูปภาพ 3) ห้องสนทน1 4) ส่งจดหมายอีเล็กทรอนิกส์ 5) การนำเสนองาน 6) การศกึ ษาคน้ ควา้ 6. การวัดและประเมินผล มี 3 ลักษณะ 1) การประเมินด้านกระบวนการ (Process) 2) การประเมินความคบื หนา้ (Progress) 3) การประเมินผลงาน (Product) คเชนทร์ กองพิลา (2558 ) ได้นำเสนอการประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการเรียนการ สอน เป็นการนำแหล่งข้อมูล ภาพ เสียง และปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชกิ ในเครือข่ายสังคมมาเปน็ สือ่ เครอ่ื งมอื และใช้แหลง่ ความรทู้ ี่หลากหลายบนเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลางหรือช่องทาง ในการเรียนการสอนส่งผลให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ มากมายตามความสนใจ ทำให้การเรียนรู้ เกดิ ข้นึ ไดท้ ุกเวลาทกุ สถานท่ี แต่ในปัจจุบันสอื่ สงั คมออนไลนม์ จี ำนวนมากมาย ดงั นั้น เมื่อจะนำมา ประยกุ ตใ์ ช้ในการเรียนการสอนจะต้องคำนงึ ถึงองค์ประกอบของสอื่ สังคมออนไลน์มาเป็นกรอบใน การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ดงั น้ี 1. การร่วมมือ (Collaboration) เป็นการแบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยตามประเด็น หัวข้อที่นักเรียนสนใจ มกี ารกำหนดบทบาท หนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบ โดยสมาชิกทุกคนในกลุ่ม ต้องร่วมมือกันในการเรียนรู้หรือทำกิจกรรมโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นเครื่องมือ เช่น Group (กลมุ่ รว่ มมอื กันเรียนรู้ตามหวั ขอ้ ที่นกั เรียนสนใจ) และ Member (การเป็นสมาชิกในกลุ่ม) 2. การสื่อสาร (Communication) เป็นการ ใช้ช่องทางของสื่อสังคมออนไลน์ในการ ติดต่อสื่อสาร พูดคุย แลกเปลี่ยน สอบถาม ติดตาม แสดงความคิดเห็นเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนร้กู นั ในสถานที่และเวลาที่แตกต่างกัน เครื่องมือสื่อสารควรเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการและ สภาพการใช้งานของผู้เรียนและสอดคล้องกับลักษณะกิจกรรม เช่น Facebook จดหมาย อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-mail) กระดานสนทนา (WebBoard) การพดู คยุ (Chat) 3. บริบททางสังคม (Social Context เป็นองค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อมความสัมพนั ธ์ ช่องทาง สถานที่ เวลา และสถานการณ์หรือเรือ่ งราวท่กี ำหนดให้ผู้เรียนเข้าไปร่วมทำกิจกรรมการ เรยี นรโู้ ดยใช้พน้ื ทขี่ องสื่อสังคมออนไลนท์ ่ีมรี ะบบการจดั การเรียนร้ทู พี่ ฒั นาขึ้นโดยสมาชกิ ทุกคนใน ห้องต้องเข้าร่วมกลุ่มจึงจะสามารถทำกิจกรรมได้ และมีการเชื่อมโยงเพื่อการสื่อสารกับกลุ่มใน เฟสบ๊คุ (Facebook) จดั ทำโดย นางสาวศริ นิ นั ท์ ยอดนมุ่ ครู กศน.ตำบลไผร่ อบ

4. เทคโนโลยี (Technologies) เป็นการจัดสภาพแวดล้อมการเรยี นรูห้ รือสิ่งอำนวยความ สะดวก โดยอาศัยเทคโนโลยีเครือข่ายในรูปแบบของสื่อสังคมออนไลน์ เป็นสื่อกลางในการ ติดต่อสื่อสารเพื่อเพิ่มศักยภาพในการเรียนรู้ การสื่อสารในลักษณะของการโต้ตอบ เช่น Facebook , Blog,YouTube , E-mail (Disscusion , Web Board , Chat, Comment , Reply) แบบทดสอบออนไลน์ รวมถึงการเชือ่ มโยงไปยังแหล่งทรพั ยากรสารสนเทศ อ่ืนๆ 5. การแบ่งปนั (Sharing หรือการแลกเปล่ียนเรียนรูเ้ ป็นกระบวนการสำคัญในการจัดการ ความรู้ ข้อมูล แหล่งข้อมูล ภาพ เสียง เนื้อหาผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อแบ่งปันให้กั บสมาชิกใน กลุ่มโครงงานและในเครอื ขา่ ย เช่น การแบ่งปั่นโดยใช้ Google Drive , Google Docs , Google Forms ,Google Sheets , Google Presentation อืน่ ๆ 6. ความสัมพนั ธ์ (Connections) โดยการใหส้ มาชิกทุกคนไดม้ ีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ทั้งในส่วนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ช่วยเหลือซึ่งกันและกันทั้งภายในกลุ่ม ระหว่างกลุ่มทุกคนอย่าง สม่ำเสมอ โดยกิจกรรมจะมุ่งเน้นการนำความรู้มาแลกเปลี่ยนกัน ร่วมแสดงความคิดเห็น รวมถึง การตั้งประเด็นการศึกษา คำถาม วัตถุประสงค์และหัวข้อนั้นๆ เช่น Group (กลุ่มตามหัวข้อ โครงงานของนกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ และกลุ่มแตล่ ะห้องเรียน) 7. การใช้เครือ่ งมือรว่ มกันสร้างเนือ้ หา (Content co-creation Tools) โดยการที่สมาชิก ในกล่มุ นอกกลุม่ และในเครอื ข่ายมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์ (Co-Creation) และนำเสนอข้อมูล เนื้อหา (Content) แสดงความคิดเห็นด้วยการ โพสต์คอมเม้นต์ โต้ตอบกัน ได้อย่างอิสระ ทำให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยนักเรียนจะเป็นทั้งผู้รับและผู้ให้ เช่น การแบ่งปั่น ( Sharing) การ แสดงความคิดเห็น (Comment) การ โต้ตอบ (Reply) การนำเสนอ (Youtube) การทำแผนท่ี ความคิด (Mind Map) โดยสรุป การประยุกตใ์ ช้สื่อสงั คมออนไลนใ์ นปัจจบุ นั น้ัน มีการประยุกต์ใช้ในหลายรูปแบบ ทงั้ ใช้เป็นเครือ่ งมือในการจัดเกบ็ ข้อมลู เพอ่ื การศกึ ษาวจิ ัย ใชเ้ ปีนเครอ่ื งมอื ในการเผยแพร่แบ่งปัน ขอ้ มลู ขา่ วสาร ใชเ้ ป็นเคร่อื งมือในการติดตอ่ ส่ือสารระหว่างหนว่ ยงานของรัฐกบั ประชาชน และใช้ เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอน ทั้งในรูปแบบของสื่อการสอน แหล่งข้อมูลการเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ จดั ทำโดย นางสาวศิรินนั ท์ ยอดนุ่ม ครู กศน.ตำบลไผ่รอบ

คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต เนอ่ื งจากอนิ เทอร์เนต็ คือ ระบบเครอื ข่ายขนาดใหญท่ ีเ่ กดิ จากการเชื่อมตอ่ เครือข่ายขนาด เล็กจำนวนมากเข้าด้วยกัน เมื่อมีระบบเครือข่ายเกิดข้ึน มันทำให้เราสามารถสื่อสารกับผู้อ่ืนผ่าน ทางระบบเครือข่ายได้ ทั้งกับคนสนิทและบุคคลทั่วไป ซึ่งการที่เราติดต่อสื่อสารกันได้เช่นนี้ ก็ เปรยี บเสมือนเรากำลังอยใู่ นสังคมแหง่ ใหมท่ ี่เรยี กวา่ สังคมในโลกอินเทอร์เน็ตนั่นเอง สิ่งที่ขาดไปไม่ได้เลยในการที่เราจะอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสงบสุข นั่นก็คือ มารยาท และกฎกติกาของสังคม นึกง่ายๆ ว่า ถ้าเกิดประเทศเราไม่มีกฎหมายในการจัดการบ้านเมือง เช่น กฎจราจร ผคู้ นคงขบั รถกันตามใจชอบ และต่อให้ขับรถชนคนอื่นกจ็ ะไมม่ ีการถูกลงโทษใดๆ ซึ่งคง ไมใ่ ช่เรอื่ งทีด่ ีแน่นอน ดังน้ัน ในยุคปจั จุบันทีเ่ ราแทบทุกคนต่างมสี งั คมอกี แหง่ หน่ึงอย่าง สงั คมในโลกอินเทอร์เน็ต เราจึงจำเป็นจะต้องรู้จักกฎ กติกา และมารยาทในการใช้อินเทอร์เนต็ หรือเราควรจะมีคุณธรรม และจรยิ ธรรมในการใชอ้ ินเทอร์เนต็ เพอ่ื เปน็ การใหเ้ กยี รติและไม่ละเมดิ สิทธขิ องผอู้ ่ืน สำหรับคณุ ธรรมและจริยธรรมการใช้อนิ เทอร์เนต็ ท่คี วรมี มีท้ังหมด 6 อยา่ ง ดงั น้ี 1. ใชถ้ อ้ ยคำสุภาพ การที่เราจะสื่อสารกับใครสักคนบนโลกอินเทอร์เน็ต เราต้องคำนึงเสมอว่า คนที่เราจะ สื่อสารด้วยเป็นใคร ถงึ แม้วา่ เราจะไม่เห็นหนา้ ของคู่ส่อื สาร แต่เราต้องคำนงึ ไว้กอ่ นวา่ เขามตี ัวตน มี ความรู้สึกยกตัวอย่างเช่น ถ้าครูจะโพสตท์ วงงานนักเรียนในกรุ๊ปเฟสบุ๊ครายวิชา ครูก็ต้องนึกกอ่ น วา่ ในฐานะครู จำเป็นจะตอ้ งใช้คำพดู กบั นักเรียนอย่างไร เพือ่ ใหน้ ักเรียนเข้าใจในส่ิงที่ครูต้องการ จะบอก โดยทนี่ ักเรียนกไ็ ม่ไดร้ สู้ กึ เหมอื นถกู ครคู ุกคามหรือทำหยาบคายใส่ จดั ทำโดย นางสาวศริ นิ นั ท์ ยอดนมุ่ ครู กศน.ตำบลไผร่ อบ

2. ปฏิบัตติ ามกฎ กติกา และมารยาททแ่ี ต่ละเว็บไซตก์ ำหนด แต่ละเว็บไซต์จะมีการกำหนดกฎ กติกา และมารยาทในการใช้เว็บไซต์ เพื่อให้กลุ่มผู้ใช้ เว็บไซต์สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข เช่น เว็บไซต์ YouTube มีการกำหนดว่า หากผู้ใด ต้องการอัปโหลดวิดีโอ เนื้อหาในวิดีโอนั้นจะตอ้ งไม่มีเนื้อหาที่ส่ือถึงความลามกหรืออนาจาร เป็น ตน้ 3. ใหเ้ ครดติ แหล่งท่มี าขอ้ มูลเสมอ เม่ือมีการนำข้อมูลผอู้ นื่ มาใช้ เม่อื เรามีการนำข้อมูลของคนอ่นื มาใช้ ไม่ว่าจะเป็นขอ้ ความ ภาพ เสียง หรือวิดโี อต่างๆเรา ตอ้ งให้แหล่งทมี่ าของขอ้ มูลนน้ั เพื่อเป็นการให้เกยี รตแิ ละไม่ละเมิดสทิ ธขิ องเจา้ ของข้อมูล หากเรา นำข้อมูลของผอู้ น่ื มาใช้โดยไม่ให้แหล่งทีม่ า เราอาจจะถกู ฟอ้ งรอ้ งเพราะไปขโมยข้อมูลของผู้อ่ืนมา ใช้โดยไม่ได้รบั อนญุ าตได้ * ลองสงั เกตดีๆ จะเหน็ วา่ ในเวบ็ ไซตน์ ้ีกม็ กี ารแปะเว็บไซต์แหลง่ ท่มี าขอ้ มลู เช่นกนั จดั ทำโดย นางสาวศิรนิ ันท์ ยอดนุ่ม ครู กศน.ตำบลไผร่ อบ

4. ไม่แชร์ขอ้ มลู ผิดๆ หรอื ภาพที่ไม่เหมาะสม การแชร์ข้อมูลผิดๆ หรือภาพที่ไม่เหมาะสมต่างๆ เช่น ภาพศพที่ไม่มีการเซ็นเซอร์ ภาพ อนาจาร หรือการแชร์ข้อมูลการรักษาโรคแบบผิดๆ การที่เราแชร์สิ่งเหล่านี้ออกไป ไม่ว่าจะด้วย ความสนุกหรืออะไรก็ตาม หากเราแชร์ไปโดยที่ไม่คิดไตร่ตรองให้ดี ก็จะทำให้คนอื่นๆ ที่มาเห็น ขอ้ มูลเหลา่ นเี้ ขา้ ใจผดิ หรอื รสู้ ึกไม่ดีได้ รวมถงึ อาจเป็นการละเมิดสิทธิของคนอนื่ อกี ด้วย ตวั อย่างการแชรข์ อ้ มลู ผดิ ๆ \"คิดก่อนเชื่อ เชค็ ก่อนแชร์ #ตง้ั สตหิ น่อยคอ่ ยโซเชยี ล\" 5. ไม่สร้างความรำคาญแก่ผู้อนื่ เวลาทีเ่ รามาเจอเพือ่ นๆ ที่โรงเรียน เราคงเคยบอกว่าเพ่อื นคนไหนนา่ รำคาญจากพฤติกรรม บางอย่าง เช่น เพื่อนพูดมาก เพื่อนขี้บ่น หรือเพื่อนชอบเซ้าซี้ขอให้เราทำอะไรสักอย่างใหไ้ ม่ยอม หยุดส่วนในโลกอินเทอร์เน็ต การสร้างความรำคาญแก่ผู้อื่นกไ็ ม่ได้แตกต่างไปมากนัก ยกตัวอย่าง เช่น การสแปมข้อความซ้ำๆ การส่งจดหมายลูกโซ่ หรือการส่งคำเชิญเล่นเกมไปให้คนอื่นบ่อย จนเกนิ ไป จัดทำโดย นางสาวศริ นิ ันท์ ยอดนมุ่ ครู กศน.ตำบลไผ่รอบ

ตวั อย่างการสร้างความรำคาญแก่ผู้อ่ืนในโลกอนิ เทอร์เน็ต \"อย่าชวน ถ้าเขาไมเ่ ล่น #ต้ังสติหนอ่ ยค่อยโซเชยี ล\" 6. ไมล่ ะเมดิ สทิ ธิและไมก่ ล่ันแกล้งผอู้ น่ื ปัจจุบันการละเมิดสิทธิและกลั่นแกล้งผู้อืน่ บนโลกอินเทอร์เน็ตมีเยอะมาก เช่น การแอบ ถา่ ยรปู คนอ่ืนโดยท่ีเจ้าตัวไม่ไดอ้ นุญาต แล้วนำรูปแอบถ่ายไปอปั ขึน้ Facebook พร้อมวิจารณ์เขา เสียๆ หายๆ หรือการไปโพสต์แสดงความคิดเห็นด้วยคำหยาบคาย ด่าทอผู้อื่นแบบไม่มีเหตุผล (ภาษาง่ายๆ ทเ่ี ราเรยี กกัน คอื “พวกนักเลงคียบ์ อรด์ ”) เปน็ ตน้ จดั ทำโดย นางสาวศิรินันท์ ยอดนุ่ม ครู กศน.ตำบลไผร่ อบ

กรณีศึกษา เช่น ข่าวที่มีคนแอบถ่ายผู้ชายรองเท้าขาดบนรถไฟฟ้า BTS แล้วอัปโหลด รูปภาพดงั กล่าวขึน้ บัญชเี ฟสบุ๊คส่วนตัว พร้อมพมิ พ์ขอ้ ความกล่าวหาว่า ผู้ชายในภาพติดกล้องไว้ที่ รองเทา้ เพอื่ ถ่ายภาพใต้กระโปรงหญิงสาว ท้ังๆ ทีผ่ ้ชู ายคนน้ันแค่รองเท้าขาดเฉยๆ ซึง่ มันทำให้เขา เส่อื มเสยี ชื่อเสยี งและถูกตราหน้าวา่ เป็นคนโรคจติ ในชั่วข้ามคืน อนิ เตอร์เน็ตมีกบั ผลกระทบต่อสังคมไทย อินเตอร์เน็ตเริ่มเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งต่อสังคมไทย แนวโน้มของการเผยแพร่ข้อมูลผ่าน อินเตอร์เน็ตนั้นมีมากยิ่งขึ้นและในรูปแบบที่หลากหลายกว่าเดิม การห้ามไม่ให้มีการเผยแพร่ วฒั นธรรมต่างชาตเิ ขา้ มาน้ันเปน็ ส่ิงทเ่ี ปน็ ไปไม่ได้ วธิ กี ารการทจี่ ะทำใหว้ ัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ ไม่ถกู กลืน หรือสูญหายไปจากสังคม ก็คือ การส่งเสริมและให้มีการเผยแพร่วัฒนธรรมผ่านทางส่ือ อินเทอรเ์ น็ตซึง่ สามารถทำได้งา่ ยและไดก้ ลุ่มผู้รับข่าวสารมากยิง่ ขึ้น การใช้อินเตอรเ์ นต็ มผี ลกระทบ ทง้ั ด้านบวกและลบ จดั ทำโดย นางสาวศริ นิ นั ท์ ยอดน่มุ ครู กศน.ตำบลไผร่ อบ

ผลกระทบด้านบวก มีดงั เชน่ ได้รบั ความร้ขู า่ วสารมากยง่ิ ข้ึน สามารถค้นหาข้อมลู ทเ่ี ปน็ ประโยชน์และทันสมัย ไมต่ อ้ งเสยี ค่าใช้จา่ ยสงู ผลกระทบด้านลบ มีดังเช่น อาจทำให้เยาวชนไดร้ ับข้อมลู หรอื ภาพในทางที่ไมด่ ไี ด้ อาจะทำให้เยาวชนสง่ ไปรษณยี อ์ ิเลก็ ทรอนกิ สห์ รอื สนทนาบนเครอื ข่ายท่ลี ่อแหลมต่อภัยสังคมได้ อาจทำให้เกิดความไม่เสมอภาคกนั ในเรือ่ งของการรบั ส่งขอ้ มูลข่าวสารระหว่างในพื้นท่ีมีการใช้ อนิ เตอรเ์ น็ตกับพน้ื ที่ทไ่ี มม่ ีการใชอ้ ินเตอร์เน็ตได้ ดังนั้นการใชิอินเตอร์เน็ตต้องพิจารณาอย่างถี่ถ้วน เพราะอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อเหมือนกับสื่อ ท่วั ไป ส่อื จะดหี รอื ไมน่ ัน้ ข้นึ อยู่กบั ผ้ใู ช้ สรปุ 13 ขอ้ สาระสำคญั จำงา่ ยๆ พ.ร.บ.คอม 60 มผี ลบังคบั ใช้แล้ว 1. การฝากร้านใน Facebook, IG ถือเป็นสแปม ปรบั 200,000 บาท 2. ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่รบั ความยนิ ยอม ใหผ้ ูร้ ับสามารถปฏิเสธข้อมูลนั้นได้ ไม่เช่นน้ัน ถือเปน็ สแปม ปรับ 200,000 บาท 3. สง่ Email ขายของ ถือเป็นสแปม ปรบั 200,000 บาท 4. กด Like ได้ไม่ผิด พ.ร.บ.คอมฯ ยกเว้นการกดไลค์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับสถาบัน เสี่ยงเข้า ขา่ ยความผิดมาตรา 112 หรอื มีความผดิ ร่วม 5. กด Share ถือเป็นการเผยแพร่ หากข้อมูลที่แชร์มีผลกระทบต่อผู้อื่น อาจเข้าข่าย ความผิดตาม พ.ร.บ.คอมฯ โดยเฉพาะทก่ี ระทบตอ่ บคุ คลที่ 3 6. พบขอ้ มลู ผิดกฎหมายอยูใ่ นระบบคอมพิวเตอรข์ องเรา แต่ไมใ่ ชส่ ิ่งท่ีเจา้ ของคอมพิวเตอร์ กระทำเอง สามารถแจง้ ไปยังหน่วยงานที่รบั ผิดชอบได้ หากแจง้ แล้วลบข้อมูลออกเจ้าของก็จะไม่มี ความผิดตามกฎหมาย เช่น ความเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึง Facebook ที่ให้แสดงความ คิดเห็น หากพบว่าการแสดงความเห็นผิดกฎหมาย เมื่อแจ้งไปที่หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบเพื่อลบได้ ทนั ที เจ้าของระบบเวบ็ ไซต์จะไมม่ คี วามผดิ 7.สำหรับ แอดมินเพจ ที่เปิดให้มีการแสดงความเห็น เมื่อพบข้อความที่ผิด พ.ร.บ.คอมฯ เมอ่ื ลบออกจากพน้ื ท่ีทต่ี นดแู ลแล้ว จะถือเปน็ ผูพ้ ้นผิด จัดทำโดย นางสาวศริ นิ นั ท์ ยอดน่มุ ครู กศน.ตำบลไผ่รอบ

8. ไมโ่ พสต์สิ่งลามกอนาจาร ที่ทำให้เกิดการเผยแพร่สู่ประชาชนได้ 9. การโพสตเ์ ก่ยี วกบั เด็ก เยาวชน ตอ้ งปดิ บงั ใบหน้า ยกเว้นเม่ือเปน็ การเชดิ ชู ชน่ื ชม อย่าง ใหเ้ กียรติ 10. การใหข้ ้อมลู เก่ยี วกบั ผู้เสยี ชวี ติ ต้องไมท่ ำใหเ้ กดิ ความเสื่อมเสียเชอ่ื เสยี ง หรือถูกดูหม่ิน เกลยี ดชัง ญาติสามารถฟ้องร้องไดต้ ามกฎหมาย 11. การโพสต์ด่าว่าผู้อื่น มีกฎหมายอาญาอยู่แล้ว ไม่มีข้อมูลจริง หรือถูกตัดต่อ ผู้ถูก กลา่ วหา เอาผดิ ผูโ้ พสต์ได้ และมีโทษจำคุกไมเ่ กนิ 3 ปี ปรับไมเ่ กิน 200,000 บาท 12. ไมท่ ำการละเมดิ ลขิ สิทธ์ิผู้ใด ไม่ว่าขอ้ ความ เพลง รปู ภาพ หรอื วดิ โี อ 13. ส่งรูปภาพแชร์ของผู้อื่น เช่น สวัสดี อวยพร ไม่ผิด ถ้าไม่เอาภาพไปใช้ในเชิงพาณิชย์ หารายได้ บญั ญัติ 10 ประการของการใชค้ อมพวิ เตอร์ 1. ตอ้ งไมใ่ ชค้ อมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมดิ ผู้อื่น 2. ตอ้ งไม่รบกวนการทำงานของผอู้ ื่น 3. ต้องไม่สอดแนม แกไ้ ข หรือเปิดดูแฟม้ ข้อมูลของผู้อน่ื 4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอรเ์ พอื่ การโจรกรรมขอ้ มูลข่าวสาร 5. ต้องไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอร์สร้างหลักฐานทเ่ี ป็นเท็จ 6. ต้องมีจรรยาบรรณการใช้เครือข่ายสงั คมออนไลน์ 7. ให้ระมัดระวังในการละเมิดหรอื สร้างความเสยี หายให้ผู้อ่ืน 8. ใหแ้ หล่งที่มาของข้อความ ควรอา้ งอิงแหลง่ ขา่ วได้ 9. ไมก่ ระทำการรบกวนผู้อนื่ ด้วยการโฆษณาเกนิ ความจำเปน็ 10. ดูแลและแก้ไขหากตกเปน็ เหยื่อจากโปรแกรมอันไมพ่ ึงประสงค์ เพื่อป้องกันมิให้คน อน่ื เป็นเหย่ือ จดั ทำโดย นางสาวศิรินนั ท์ ยอดนมุ่ ครู กศน.ตำบลไผร่ อบ