จิตวิทยาสําหรับครู หนังสือ

จติ วทิ ยาสำ� หรับครู

(Psychology for Teachers)

คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

จติ วทิ ยาสำ� หรับครู
(Psychology for Teachers)

โดย อาจารย์ ดร.ภาวศทุ ธิ อุ่นใจ รองศาสตราจารย์ ดร.ปัญจนาฏ วรวัฒนชยั
รองศาสตราจารย์ ดร.ทยาดา รัตนภญิ โญวานิช ผูช้ ว่ ยศาตราจารย์ ดร.เปรมสุรยี ์ เชือ่ มทอง
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สมหมาย มหาบรรพต อาจารย์ฉัฐจฑุ า นกจันทร์

ISBN : 978-974-373-625-4

ข้อมูลทางบรรณานุกรมหอสมุดแหง่ ชาติ
จิตวิทยาส�ำหรบั ครู = Psychology for teachers.-- กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา, 2562.
162 หนา้ .
1. จิตวิทยาการศกึ ษา. I. ภาวศิ ทุ ธิ อุ่นใจ II. ช่อื เรือ่ ง
370.15
ISBN 978-974-373-625-4

พิมพ์ครั้งท่ี 2 สงิ หาคม 2563 จำ� นวน 1,000 เล่ม
ออกแบบปก แฝงกมล เพชรเกลี้ยง

สงวนลิขสทิ ธติ์ ามพระราชบญั ญัติลขิ สทิ ธิ์ (ฉบบั เพม่ิ เติม) พ.ศ. 2558
ห้ามลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกสว่ นใดส่วนหน่งึ ของหนงั สือเล่มนี้
ยกเวน้ แต่ไดร้ ับอนญุ าตเป็นลายลักษณอ์ กั ษรจากผเู้ ขียน

หนงั สอื ยมื เรียน หรือแจกฟรี (ห้ามจ�ำหนา่ ย)

จัดท�ำโดย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา
1061 ซอย 15 ถนนอสิ รภาพ แขวงหริ ญั รจู ี เขตธนบุรี กรงุ เทพฯ 10600
โทร. 02-473-7000 ต่อ 5000 โทรสาร : 02-472-5712 E-mail : [email protected]
https://www.edu.bsru.ac.th
พิมพท์ ี่ โรงพิมพ์ หจก.วรานนท์ เอน็ เตอรไ์ พรส์
6, 8 ซอย 13 ถนนสะแกงาม แขวงแสมด�ำ เขตบางขนุ เทยี น กรงุ เทพมหานคร 10150
โทร. 02-894-9050-3 E-mail : [email protected]

ค�ำนำ�

หนังสือจิตวิทยาส�ำหรับครูฉบับปรับปรุงคร้ังท่ี 2 เป็นหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับ
จติ วทิ ยาทจ่ี ำ� เปน็ สำ� หรบั ครใู นการจดั การเรยี นการสอนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพโดยครอบคลมุ ความรพู้ นื้ ฐาน
ทางจิตวิทยาพฒั นาการและการเรียนรู้ทฤษฎีพัฒนาการทฤษฎีการเรยี นรู้ ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การเรยี นรู้
สุขภาพจิต การปรับตัวและการแนะแนวเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังได้เพ่ิมเนื้อหาเก่ียวกับ
จิตวิทยาเดก็ พเิ ศษ และครกู บั การสรา้ งความสัมพันธร์ ะหวา่ งชุมชน และผูป้ กครอง เพอ่ื ใหค้ รอบคลมุ
ศาสตรก์ ารเรียนส�ำหรบั วชิ าจติ วทิ ยาการศึกษาส�ำหรับครมู ากขึ้น โดยคณาจารยใ์ นสาขาวิชาจิตวทิ ยา
ไดช้ ว่ ยกนั เรียบเรยี งขน้ึ จากเอกสาร ตำ� ราทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศภายใตบ้ รบิ ทของสภาพสงั คม
ปัจจุบัน
ความมุ่งหมายส�ำคัญของการเขียนหนังสือเล่มน้ี มุ่งให้ผู้ท่ีศึกษาทั้งในระดับปริญญาบัณฑิต
บัณฑติ ศึกษา ครู บคุ ลากรทางการศึกษา ตลอดจนผ้ทู ส่ี นใจ ใช้คน้ ควา้ ประกอบการศกึ ษาในรายวิชา
ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การจัดการเรยี นการสอน
ผู้เขียนขอขอบพระคุณ ครู อาจารย์ ผู้ประสิทธิประสาทความรู้ นักการศึกษา และผู้เขียน
หนังสอื ทกุ เลม่ ท่ีผเู้ ขียนได้นำ� ผลงานมาเรียบเรยี งและอ้างอิงในหนงั สือเลม่ นี้ กัลยาณมติ รทุกทา่ นทไี่ ด้
มีส่วนสนบั สนุน ช่วยเหลอื และให้ก�ำลังใจด้วยดีมาตลอด

คณาจารย์สาขาวชิ าจติ วิทยา
สิงหาคม 2563

คำนำ สำรบญั
สำรบญั
สำรบัญภำพ (3)
บทที่ 1 ควำมรู้พ้นื ฐำนทำงจติ วิทยำ (5)
(8)
ความหมายของจติ วทิ ยา
1
จดุ มงุ่ หมายของการศึกษาจิตวิทยา 2
สาขาวิชาทางจิตวิทยา 3
ประโยชนข์ องการศึกษาจิตวทิ ยา 4
กล่มุ แนวคดิ ทางจติ วทิ ยา 4
6
วิธกี ารศึกษาทางจิตวทิ ยา 11
ความสาคญั ของจติ วิทยาตอ่ อาชพี ครู 12
สรปุ
15
บทท่ี 2 ควำมรู้พ้ืนฐำนพฒั นำกำรของมนษุ ย์
15
ความหมายของพฒั นาการ 16
ความหมายของการเจรญิ เติบโต (Growth) 17
ลกั ษณะของการเปลยี่ นแปลงทีเ่ กดิ จากการพัฒนาการและการเจริญเตบิ โต 18
ระเบยี บแบบแผนของงานพัฒนาการ 20
21
องค์ประกอบที่เก่ยี วขอ้ งกบั พัฒนาการ 22
สาเหตตุ า่ ง ๆ ที่มอี ิทธิพลตอ่ พัฒนาการ 23
ลกั ษณะการส่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นตา่ ง ๆ ของมนุษย์ 26
29
ความฉลาดทางอารมณก์ ับการสง่ เสริมพัฒนาการ 31
การแบง่ ช่วงวยั ตา่ ง ๆ ของมนุษย์
สรุป 31
32
บทที่ 3 ทฤษฎพี ัฒนำกำร 33
36
ทฤษฎีพัฒนาการทางสตปิ ญั ญาของเพียเจท์ 38
ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปญั ญาของบรเู นอร์
ทฤษฎพี ัฒนาการทางบคุ ลกิ ภาพของฟรอยด์

ทฤษฎีพฒั นาการทางสงั คมของอีริคสัน
ทฤษฎพี ัฒนาการทางจรยิ ธรรมของโคลเบอรก์ ฃ

(6) 40
41
ทฤษฎีงานตามข้ันพฒั นาการของฮาวกิ เฮอรส์
สรุป 43
43
บทที่ 4 ควำมรพู้ ้นื ฐำนกำรเรยี นรู้ 44
45
ความหมายของการเรียนรู้ 46
กระบวนการเรยี นรู้ 60
องค์ประกอบของการเรยี นรู้ 62
ทฤษฎีการเรียนรู้
การถา่ ยโยงการเรียนรู้ 65
สรปุ 65
65
บทท่ี 5 ปัจจัยท่ีส่งผลตอ่ กำรเรยี นรู้ 67
71
สมองและระบบประสาท 74
ระดับสติปญั ญาหรือความสามารถของแต่ละบุคคล 75
การจาการลมื 75
แรงจงู ใจในการเรยี นรู้ 76
ความเหนอื่ ยล้ากับการเรยี นรู้
ความตงั้ ใจและความสนใจท่ีจะเรยี นรู้ 77
สภาพการณ์ทีจ่ ะก่อใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 77
สรปุ 85
86
บทที่ 6 กำรจัดสภำพแวดลอ้ มทสี่ นบั สนุนประสทิ ธิภำพกำรเรียนรู้
87
สภาพแวดล้อมดา้ นกายภาพ
สภาพแวดลอ้ มด้านจิตใจ 89
บทบาทของผ้บู รหิ ารในการสรา้ งเสริมบรรยากาศและสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี อือ้ ต่อ 89
การเรยี นรู้ 90
สรปุ 91
92
บทที่ 7 สขุ ภำพจติ และกำรปรบั ตวั

ความหมายของสขุ ภาพจิต
ลักษณะของผู้ทีม่ สี ขุ ภาพจติ ดี
ความหมายของการปรบั ตัว
ความตงึ เครยี ดทางอารมณ์

(7) 94
94
สาเหตุท่ีทาใหเ้ กิดการปรับตัว 102
วิธปี รบั ตัวในแบบต่างๆ 103
หลกั การปรบั ตัวท่ีดี 109
การสง่ เสรมิ สุขภาพจิตในโรงเรียน
สรุป 111

บทท่ี 8 กำรแนะแนวเพื่อส่งเสริมกำรเรียนรู้ 111
113
ความหมายของการแนะแนว 114
ความเปน็ มาของการแนะแนว 114
ความสาคัญของการแนะแนว 115
ประโยชน์ท่ไี ดร้ บั จากบริการแนะแนว 116
ประเภทของการแนะแนว 118
จุดมุง่ หมายของการแนะแนว 119
ปรัชญาของการแนะแนว 120
หลักการของแนะแนว 121
บริการแนะแนวในโรงเรียน 123
ปัญหาของนักเรียนท่คี วรได้รบั การแนะแนว 124
ปัญหาของนักเรยี นท่คี วรได้รับการแนะแนว
สรุป 125

บทท่ี 9 จิตวทิ ยำเดก็ พเิ ศษ 125
126
ความสาคัญในการจดั การเรียนการสอนให้เด็กพิเศษ 127
ความหมายของเด็กพเิ ศษ 128
ประเภทของเดก็ พิเศษ 132
แนวทางการจดั การเรียนการสอนให้เดก็ พิเศษแต่ละประเภท
สรุป 135
136
บทที่ 10 ครูกบั กำรสร้ำงควำมสัมพนั ธ์ระหว่ำงชุมชน และผูป้ กครอง 137
สมรรถนะครูกบั การสรา้ งความสัมพนั ธก์ บั ผู้ปกครอง และชมุ ชน 146
แนวทาง วิธีการ บทบาท ในการประสานงานกบั ผปู้ กครองและชมุ ชน
บทสรปุ

สำรบัญภำพ หนา้
3
ภาพที่ 1.1 จุดมงุ่ หมายของการศึกษาจิตวิทยาตามแนวคดิ ผ้เู ขียน 18
ภาพที่ 2.1 ทิศทางของพัฒนาการทางด้านร่างกาย 45
ภาพท่ี 4-1 แสดงกระบวนการเรยี นรู้ 48
ภาพท่ี 4-2 เครอ่ื งมือทพ่ี าฟลอฟใชใ้ นการทดลอง การวางเงอ่ื นไขแบบคลาสสกิ 51
ภาพท่ี 4-3 แสดงโครงสร้างการเกดิ พฤติกรรมการเรยี นรู้ของสกนิ เนอร์ 52
ภาพท่ี 4-4 การทดลองของสกินเนอร์ 53
ภาพท่ี 4-5 การฝกึ ใหน้ กพริ าบจิกแป้นสีตา่ งๆ 56
ภาพที่ 4-6 แสดงโครงสร้างการเกิดพฤติกรรมการเรยี นรู้ของธอรน์ ไดค์ 56
ภาพท่ี 4-7 แมวเปิดกรง 58
ภาพท่ี 4-8 พฤติกรรมการใชเ้ หตผุ ลของลงิ 78
ภาพที่ 6-1 การจดั ทน่ี ่งั เปน็ แถว 79
ภาพท่ี 6-2 การจดั ทนี่ ั่งเปน็ กลมุ่ 79
ภาพที่ 6-3 การจัดที่นงั่ เปน็ รูปครึ่งวงกลม 80
ภาพที่ 6-4 การจัดท่ีนงั่ เป็นรูปเกือกม้า 82
ภาพท่ี 6-5 อาคารเรียนอเนกประสงค์ 83
ภาพที่ 6-6 สนามโรงเรยี น 84
ภาพที่ 6-7 ตัวอย่างแหล่งเรียนรู้ห้องแนะแนว

บทที่ 1

ความรูพืน้ ฐานทางจติ วทิ ยา

อาจารย ดร. ภาวศุทธิ อนุ ใจ

จติ วิทยาเปนศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษยเพ่ือใหเกิดความเขาใจทางจิตวิทยาไดดี
ขึ้นจําเปนตองศึกษาความรูพ้ืนฐานทางจิตวิทยากอนเพ่ือนําไปสูความเขาใจในสาเหตุแหงพฤติกรรม
นั้นๆ และเพื่อที่จะสามารถอธิบาย ทํานายและควบคุมพฤติกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยความรู
พน้ื ฐานทางจิตวทิ ยาทีค่ วรศึกษาไดแก

ความหมายของจติ วทิ ยา

คําวา “จิตวิทยา” ในภาษาอังกฤษใชคําวา “Psychology” ซ่ึงมีรากศัพทมาจากภาษากรีก
2 คํา คอื “Psyche” และ “Logos” คําวา “Psyche” หมายถึง ลมหายใจของชวี ิต (Breath of Life)
ซึ่งสามารถแปลไดอีกอยางหนึ่ง คือจิต (Mind) สวน “Logos” แปลเปนภาษาไทยวา “วิชาการและ
การศึกษา” (ซึง่ ตรงกับภาษาอังกฤษวา Study) ดงั นั้นความหมายของ “Psychology” ตามรากศัพท
ภาษาองั กฤษจงึ หมายถงึ การศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ (เตมิ ศักด์ิ คทวณิช, 2546, หนา 11)

ในสมัยโบราณเช่ือกันวา จิต หรือ วิญญาณ เปนสิ่งท่ีควบคุมกิริยาอาการตาง ๆ ของรางกาย
และยังเปนตัวกําหนดพฤติกรรมของมนุษย การศึกษาพฤติกรรมมนุษยจึงเปนไปตามความเช่ือ และ
ความรูสึกซึ่งการรับรูของมนุษยมีขีดจํากัดและไมไดมีการศึกษาอยางมีระเบียบแบบแผนและ
ไม อาจพิสูจนไดจริงในระยะตอมาเม่ือวิทยาการการศึกษาเปล่ียนแปลงและการศึกษาทางดาน
วิทยาศาสตรเจริญกาวหนาข้ึนการศึกษาพฤติกรรมมนุษยจึงเปลี่ยนไปนักจิตวิทยาจึงหันมาสนใจ
ใน เร่ืองตางๆที่สามารถพิสูจนไดและน่ันก็คือการเร่ิมตนหันมาสนใจศึกษาจิตวิทยาในเร่ืองพฤติกรรม
ของมนุษยเพราะพฤติกรรมเปนสิ่งท่ีเราสังเกตไดและสามารถทดลองไดความเขาใจเกี่ยวกับเร่ือง
จิตวิทยา จึงไดเปลี่ยนไปดังน้ันการศึกษาวิชาจิตวิทยาจึงถือเปนวิทยาศาสตรสาขาหน่ึงซ่ึงเปน
การศึกษาศาสตร ทางดานพฤติกรรมศาสตร (Behavioral Sciences) โดยมีนักวิชาการและ
นกั จติ วทิ ยา ใหความหมายของจิตวิทยา ไวด ังนี้

เติมศักดิ์ คทวณิช (2546, หนา 12) ไดสรุปความหมายของจิตวิทยาไววา “จิตวิทยาเปนวิชา
ท่ีมุงศกึ ษาพฤติกรรมของมนษุ ยแ ละสัตว โดยใชระเบียบวธิ ีการศกึ ษาทางวิทยาศาสตร”

สิริอร วิชชาวุธ (2554 ,หนา 1) จิตวิทยา คือศาสตรที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย เพื่อเขาใจ
ในสาเหตุของพฤติกรรมในอันท่ีจะพยากรณและควบคุมพฤติกรรมในอนาคต สาเหตุท่ีทําใหเกิด
พฤติกรรมตามความคิดของนักจติ วิทยามาจากหลายแหลงเชน พันธุกรรม จากสังคม การเล้ียงดู หรือ
จากการเรยี นรเู ปน ตน

2

สุรพล พะยอมแยม (2545, อางถึงใน ไหมไทย ไชยพันธ, 2557, หนา 22 ) จิตวิทยาเปน
การศึกษาพฤติกรรมมนุษย โดยมีวัตถุประสงคหลักที่จะสรางความรูความเขาใจ ในการกระทําของ
ตนเองและการกระทําของผูอื่น โดยเฉพาะจุดมุงหมายท่ีจะหาคําตอบวาเหตุใด คนจึงกระทําเชนนั้น
(Understanding the Behavior) และสามารถนําความรูความเขาใจไปศึกษาวิเคราะหตอเน่ืองไป
จนถึงระดับการคาดคะเนวาพฤติกรรมดังกลาวจะเกิดข้ึนอีกหรือไมและจะเกิดในสถานการณใดบาง
(Prediction the Behavior) ตอจากนั้นหากศึกษาถึงข้ันที่จะควบคุมการกระทําใหเกิดข้ึนหรือไมให
เกิดข้ึนอยางไร (Controlling the Behavior) ก็สามารถทราบไดวาเปนการศึกษาพฤติกรรมมนุษย
ไดอ ยา งสมบรู ณ

มุกดา ศรียงค และคณะ (2553 ,หนา 1) จิตวิทยา คือ การศึกษาเชิงวิทยาศาสตร วาดวย
เร่ืองพฤติกรรมของส่ิงมีชีวิตโดยเฉพาะมนุษย มีจุดมุงหมายเพ่ืออธิบาย ทําความเขาใจ ทํานายและ
ควบคุมพฤตกิ รรมนั้นๆ

สวุ ไิ ล เรียงวัฒนสุข (2553, หนา 1) จิตวทิ ยา หมายถงึ การศึกษาพฤติกรรมและกระบวนการ
ตา งๆที่เก่ยี วของกับพฤตกิ รรม โดยมวี ัตถุประสงคท ี่จะศกึ ษา อธิบายและทํานายพฤติกรรมของบุคคล

จากการใหความหมายขางตน สามารถสรปุ ไดวา จติ วิทยา คอื วิชาที่ศกึ ษาเกี่ยวกบั พฤติกรรม
ของมนษุ ย เพ่อื ทําความเขา ใจ อธบิ าย พยากรณ และควบคุมพฤตกิ รรม โดยวธิ ีการเชิงวทิ ยาศาสตร

จดุ มุงหมายของการศึกษาจติ วทิ ยา

จากจุดมุงหมายของการศกึ ษาจิตวิทยาสามารถสรุปไดด ังนี้
1. เพื่อใหผูศึกษาเขาใจพฤติกรรม (Understanding Behavior) ของบุคคลอันจะทําให
สามารถเขา ใจตนเองและผูอนื่ ไดอ ยางถอ งแทย ่งิ ขึน้
2. เพ่ือใหผูศึกษาสามารถอธิบายพฤติกรรม (Explanation Behavior) ที่เกิดข้ึนได
โดยการทําความเขาใจมูลเหตุจูงใจในการแสดงพฤติกรรมโดยใชวิธีการทางท่ีมีแบบแผนข้ันตอน
ในการคน หาคําตอบ เพือ่ อธบิ ายถึงปจจัยท่ีเปน สาเหตสุ าํ คญั แหง พฤติกรรมท่แี สดงออกนนั้ ๆ
3. เพ่ือใหผูศึกษาสามารถทํานายพฤติกรรม (Prediction Behavior) ซ่ึงการทํานายน้ัน
หมายถึงการคาดคะเนผลทคี่ วรจะเกดิ ขึ้นจากสาเหตุตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม
4. เพื่อใหผูศึกษาสามารถควบคุมพฤติกรรม (Control Behavior) ที่ไมพึงประสงคใหลดลง
หรือหมดไปโดยในขณะเดียวกันนั้นก็จะตองสามารถเสริมสรางพฤติกรรมที่ พึงประสงค
ใหเกิดขึน้ ใหมดว ย

3

Understanding Explanation
Behavior
Behavior

Prediction Control
Behavior Behavior

ภาพท่ี 1.1 จุดมุงหมายของการศกึ ษาจิตวทิ ยาตามแนวคดิ ผเู ขียน

สาขาวิชาทางจิตวิทยา

สาขาวิชาทางจิตวิทยามหี ลายสาขาดวยกนั ซงึ่ แตล ะสาขาจะมีความเช่ยี วชาญและความลึกซึ้ง
แตกตางกันไป นักจิตวิทยาแตละสาขาก็จะมีหนาท่ีและทําหนาที่แตกตางกัน ในท่ีน้ีจะกลาวถึง
สาขาวชิ าทีค่ อ นขา งมีบทบาทที่สําคัญในประเทศไทย

1. จิตวิทยาคลินิค (Clinical Psychology) เปนสาขาท่ีศึกษาเกี่ยวกับความผิดปกติ
ทางพฤติกรรมของมนุษย การตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยา หรือจากการพิจารณาปญหาตาง ๆ ศึกษา
ประวัติโดยละเอียดหรืออาศัยหลักวิธีการตางๆ ทางจิตวิทยา เพื่อหาแนวทางในการปองกันหรือ
บําบัดรักษาผูที่มอี าการผดิ ปกติทางจิต

2. จิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychology) เปนศาสตรท่ีศึกษาเก่ียวกับ
การปรึกษาเชิงจิตวิทยา(Counseling) ซ่ึงเปนกระบวนการท่ีมุงใหผูมีปญหาไดทําความเขาใจกับ
ปญหาของตน และมองเห็นแนวทางในการแกปญหาไดดวยตัวเอง โดยนักจิตวิทยาการปรึกษา
(Counselor) มีหนาที่เปนผูเอ้ือใหผูมีปญหาไดเขาใจปญหาของตนอยางชัดเจนท่ีสุดนักจิตวิทยาการ
ปรกึ ษาจะไมเ ขา ไปบงการ แนะนํา หรอื แทรกแซง ผูรบั บริการ แตละชวยใหเคาสามารถจดั การปญหา
ไดด ว ยตัวเอง

3. จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental Psychology) เปนสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการ
เจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนษุ ยต ้ังแตเ ริ่มปฏิสนธิจนถึงวัยชรารวมทง้ั อิทธิพลของพันธกุ รรมและ
ส่ิงแวดลอมท่ีมีอิทธิพลตอการพัฒนาการและลักษณะความตองการความสนใจของคนในวัยตางๆ ซึ่ง
อาจแบง เปนจติ วิทยาเด็ก จิตวิทยาวยั รุนและจิตวิทยาวัยผูใหญ

4. จิตวิทยาสังคม (Social Psychology) เปนสาขาวิชาที่ศึกษาคนควาถึงพฤติกรรมของ
มนุษยที่มีปฏิสัมพันธกันในสังคม ภายใตปรากฏการณตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับมนุษยในสังคมตาง ๆ
เชน การเมือง ศาสนา เศรษฐศาสตร ความเชื่อ เจตคติ การรวมมือ การแขงขัน อิทธิพลของกลุม

4

นอกจะศึกษาพฤติกรรมของบุคคลในปรากฏการณตาง ๆ ทางสังคมแลว ยังเปนการคนควากฎเกณฑ
ตาง ๆ เพอ่ื พยากรณแ ละควบคมุ พฤตกิ รรมเหลา นน้ั ดวย

5. จิตวิทยาการศึกษา (Education Psychology) เปนสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวของกับเรื่อง
สภาพการเรียนรูประเภทและวิธีการเรียนรู โรงเรียนส่ิงแวดลอมที่มีผลตอผูเรียน การปรับตัวของครู
ความแตกตางระหวา งบคุ คลและการศึกษาเด็กเปน รายบุคคล

6. จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ (Industrial and Organizational Psychology)
เปนจิตวิทยาที่เกี่ยวของกับการศึกษาคนควาหาวิธีการและผลตางๆ ซึ่งจะกอใหเกิดประสิทธิภาพ
ในการทาํ งาน โดยการใชจิตวิทยาในการวิเคราะหงาน คดั เลือกพนักงาน ความพึงพอใจในการทาํ งาน
การจัดสภาพแวดลอมในการทํางาน อุบัติเหตุและความปลอดภัยในการทํางาน สุขภาพจิตของ
บุคลากรในองคก าร เปนตน

ประโยชนข องการศึกษาจิตวิทยา

วิชาจิตวิทยาเปนวิชาที่เก่ียวของกับการดําเนินชีวิตของมนุษยอยูตลอดเวลา เพราะเปนวิชา
ที่ศึกษาเก่ียวกับพฤติกรรมของบุคคล ถาไดศึกษาแลวจะทําใหสามารถเขาใจตนเอง รูจักตนเองดีข้ึน
และอีกท้ังยังเกิดประโยชนในการยอมรับผูอ่ืนไดงายข้ึน ทําใหสามารถดําเนินชีวิตหรืออยูรวมกับผูอ่ืน
ในสงั คมไดอยา งราบรืน่

ประโยชนของการศึกษาจติ วิทยาสรปุ ไดด งั น้ี (ฐติ ิมา นาคะผดงุ รตั น, 2548, หนา 17)
1. ชวยใหเขา ใจธรรมชาติพฤติกรรมของสิง่ มีชีวิตโดยเฉพาะมนุษย เชน การเรยี นรู การรับรู
การคดิ การปรับตวั ฯลฯ วาเกดิ ข้นึ ไดอยางไร เพราะอะไร
2. ชวยใหส ามารถนาํ ความรูม าใชใหเ กิดประโยชนตอตนเองและสังคมได
3. ชวยใหเขาใจตนเองและรูจักตนเองดีขึ้น ทําใหวางแผนดําเนินชีวิตของตนเองไดอยาง
เหมาะสม
4. ชว ยใหเ ขา ใจผอู นื่ ดีขึ้น ทําใหยอมรับและตัดสินผอู น่ื ไดถ ูกตอ งยิง่ ขึน้
5. ชว ยใหปรบั ตวั ไดด ี และสามารถสรางความสัมพนั ธกบั ผอู ่ืนไดด ี

กลมุ แนวคิดทางจติ วทิ ยา

จิตวิทยาไดม ีการเปลีย่ นแนวทางการศกึ ษามาเปนการใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตรมากข้ึน
จึงทําใหวิชาจิตวิทยาน้ันมีความกาวหนาอยางรวดเร็วจนทําใหเกิดแนวความคิดทางจิตวิทยาที่หลาก
หลายตาง ๆ กันออกไป ซ่ึงในแตละกลุมนั้นมแี นวความคิดท่ีมีความแตกตา งกันในประเด็นหลกั ใหญๆ
คือส่ิงที่สนใจศึกษาหรือจุดมุงหมายในการศึกษาคนควาแตกตางกันรวมถึงวิธีการในการศึกษาคนควา
และการยึดทฤษฎีหรือหลักเกณฑในการอธิบายพฤติกรรมของมนุษยแตกตางกัน จึงทําใหสามารถ
แบง กลุมแนวความคิดทางจติ วทิ ยาได ดงั นี้

5

1. กลุม โครงสรางแหงจิต (Structuralism)
ผูนํากลุมนี้ คือ วุนดท (William Wundt) จุดประส งคของการศึกษาในกลุมน้ี
คือ การวิเคราะหโครงสรางของจิต โดยเรียกวากระบวนการศึกษาจิต เนนการตีความความรูสึก
ของตนเอง (Introspection) ซึ่งแนวคิดมาจากความเช่ือวามนุษยประกอบดวยรางกาย (Body)
กับจิตใจ (mind) ซ่ึงตางเปนอิสระตอกันแตทํางานสัมพันธกันดังนั้นการกระทําของบุคคลจึงเกิดจาก
การควบคุมและส่ังการจิตใจ โดยสัมพันธกันภายใตสถานการณแวดลอมที่เหมาะสม และกอใหเกิด
เปนความคิด อารมณ ความจํา เปนตน
2. กลมุ หนาท่แี หงจิต (Functionalism)
ผูนาํ กลุมคือ จอหน ดวิ อี้ (John Dewey) และวิลเลยี ม เจมส (William James) แนวคิดของ
กลุมนี้เชื่อวาจิตมีหนาที่ควบคุมพฤติกรรมเพ่ือปรับตัวใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมได อยาง
เหมาะสมโดยสรุปวาการกระทําทั้งหมดหรือการแสดงออกมนุษยเปนการแสดงออกของจิต
เพ่ือ ปรับตัวใหเ ขากับสิ่งแวดลอมดังนั้นการศึกษาจิตใจคนจึงตองศึกษาท่ีการแสดงออกในสถานการณ
ตางๆ และการกระทําหรือการแสดงออกทัง้ หมดเก่ยี วของกบั ประสบการณของแตละบคุ คล พฤตกิ รรม
ของแตล ะคนจงึ แตกตางกนั ออกไป
3. กลุมพฤตกิ รรมนยิ ม (Behaviorism)
ผูนํากลุมคือ จอหน บี วัตสัน (John B. Watson) กลุมนี้มุงเนนศึกษาเฉพาะพฤติกรรมท่ี
สังเกตเห็นไดเทาน้ัน จงึ ไมเ ห็นดวยกับแนวคิดของกลุมโครงสรางจิตและกลุมหนาท่ีจิต เพราะถือวา จิต
มนุษยไมมีตัวตน ไมสามารถมองเห็น และวิธีการศึกษาโดยการตรวจสอบตนเอง (Introspection)
ก็ไมเปนวิธีการทางวิทยาศาสตรทําใหเชื่อถือไดยากเพราะขึ้นอยูกับความรูสึกของ บุคคลแนวคิดของ
พ ฤ ติ ก ร ร ม นิ ย ม เ น น ว า พ ฤ ติ ก ร ร ม ทุ ก อ ย า ง ต อ ง มี เ ห ตุ แ ล ะ เ ห ตุ น้ั น อ า จ ม า จ า ก ส่ิ ง เ ร า
ใน รูปใดก็ไดมากระทบและเกิดพฤติกรรมตอบสนอง นักคิดในกลุมน้ีจึงมักศึกษาพฤติกรรมตาง ๆ
ดวยวธิ ีการทดลองและใชการสงั เกตอยา งมีระบบจากการทดลองโดยสรุปวา การวางเง่ือนไขเปนสาเหตุ
สําคัญท่ีทําใหเกิดพฤติกรรมและถาเรารูสาเหตุของพฤติกรรม เราก็จะสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมได
ซึ่งแนวคดิ ของกลุม น้ีไดรบั การยอมรับวา เปนแนวคิดท่ีมีความเปนวทิ ยาศาสตร
4. กลมุ จิตวิเคราะห (Psychoanalysis)
แนวคิดของกลุมนี้นําโดย ซกิ มันด ฟรอยด (Sigmund Freud) โดยเชอื่ วาพฤติกรรมทั้งหลาย
มีสาเหตุเกิดจากพลังท่ีอยูในจิตของมนุษย ซึ่งอยูในขั้นจิตไรสํานึก จิตสวนน้ีจะรวบรวมความคิด
ความตองการ เก็บกดความรูสึกตาง ๆ เหลาน้ีไวใหลงอยูในจิตสวนน้ี อยาง ไรก็ตาม
หากความตองการหรือความรูสึกตางๆ ท่ีบุคคลเก็บกดไวยังมีพลังอยู ถาเกิดมีสิ่งใดมากระตุนขึ้น
พลังนี้ก็จะแสดงอิทธิพลทําใหบุคคลเกิดพฤติกรรมบางอยางที่ไมรูสึกตัว ความคิดเชนนี้ไดรับ
การตอตานอยางมากในตอนแรกๆแตในเวลาตอมาหลักการทางจิตวิเคราะหไดรับการยอมรับ
โดยการนาํ ไปใชในวงการของจติ แพทยห รือการบาํ บดั รักษาอาการท่ผี ิดปกติทางอารมณ และจิตใจ

6

5. กลมุ จติ วิทยาเกสตลั ท (Gestalt Psychology)
กลุมเกสตัลท เปนกลุมแนวคิดทางจิตวิทยาท่ีต้ังข้ึนโดยนักจิตวิทยาชาวเยอรมัน

ผูนํากลุมคือเวอไทเมอร(Max Werteimer)โดยมีแนวคิดวาการศึกษาทางจิตวิทยาน้ันจะตองศึกษา
จากการรับรูของมนุษยซ่ึงจะมุงความสนใจไปที่หลักการตางๆท่ีเก่ียวกับการจัดระบบการรับรู
ของมนุษย และจากการศึกษาพบวา มนุษยจะรับรูสวนรวมของสิ่งเรามากกวาเอาสว นยอ ยๆของสิง่ เรา
น้ันมารวม กันนอกจากจะศึกษาเก่ียวกับการรับรูแลวนักจิตวิทยากลุมนี้ยังศึกษาเก่ียวกับการเรียนรู
ซ่งึ ถือไดว า เปน ตน กําเนดิ ของการพัฒนาจิตวิทยากลุมความรูความเขา ใจ

6. กลมุ มนษุ ยนยิ ม (Humanism)
ผนู ําสําคญั ในกลมุ มนุษยนิยม ไดแก คารล โรเจอร (Calr R. Rogers) จิตวิทยากลุมมนุษย

นิยมเช่ือวา สามารถเขาใจถึงธรรมชาตขิ องมนษุ ยไดด ขี ้ึนดวยการศกึ ษาถึงการรบั รู ของบุคคลที่เกี่ยวกับ
ตนเอง ความคิดสวนตัวที่เขามีตอบุคคลอ่ืนและโลกที่เขาอาศัยอยู และยังมีความเช่ือวา มนุษย เรามี
คุณลักษณะที่สําคัญที่ทําใหเราแตกตางไปจากสัตว คือมนุษยเรามีความมุง มั่นอยากที่จะเปนอิสระ
เราสามารถกําหนดตัวเองไดและเรามีพลังจูงใจ (Motivational Force) ท่ีจะพัฒนาตนเองไปสูระดับ
ทสี่ มบูรณขึ้น ที่แสดงถงึ ความเปน จริงแหงตน ซ่งึ หมายถึงการพัฒนาความรูความสามารถท่ีตนเองมอี ยู
ใหเต็มที่ (Self Actualization)

วิธกี ารศกึ ษาทางจิตวทิ ยา

จากเบ้ืองตนท่ีไดสรุปแนวคิดเก่ียวกับจิตวิทยาวาเปนการศึกษาเกี่ยวกับ “พฤติกรรม” และ
การศึกษาพฤติกรรมจึงจําเปนตองอาศัยกระบวนการศึกษาท่ีมีระเบียบแบบแผน เพื่อใหไดมาซึ่งองค
ความรูท่ีถูกตองเช่ือถือไดและมีคุณคาการศึกษาทางจิตวิทยาจึงมีวิธีการศึกษาและ รวบรวมขอมูล
โดยใชวิธีการตา งๆ ดังนี้

1. การทดลอง (Experimentation) การทดลองเปนการศึกษาพฤติกรรมโดยการสราง
สถานการณบางอยางข้ึนมาหรือการจัดสภาพแวดลอมตามท่ีผูทดลองตองการศึกษาแลวคอยสังเกต
พฤติกรรมที่เปนผล ของการ จัดสภาพน้ัน สภาพการณเหลานี้เรียกวา ตัวแปร (Variable)
โดยสามารถแบง ตัวแปรได คอื

ก) ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) หมายถึง สิ่งท่ีผูศึกษาสามารถควบคุมหรือ
กาํ หนดไดตามความตอ งการ บางทีเรียกวา ตัวแปรตน

ข) ตัวแปรตาม (Dependent Variable)หมายถึงตัวแปรที่ไมสามารถควบคุมหรือกําหนดได
แตเปน ผลท่ีเกิดขึ้นจากการเปลีย่ นแปลงสถานการณแ ละสิ่งแวดลอ มในกลมุ ทดลอง

ตัวอยางการศึกษาทางจิตวิทยาโดยการทดลอง เชน การวิจัยปรับพฤติกรรมของสกินเนอร
ซ่ึงเปนการทดลองวาอิทธิพลของโปรแกรมพิเศษมีผลตอ พฤติกรรมนักเรียนอยางไร โดยมีลําดับ
ขั้นการวิจยั ดงั น้ี (สุรางค โคว ตระกลู , 2556 ,หนา 8)

7

1) ผูวิจัยสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนคนหนึ่งเปนเวลาหลายวัน จนกระทั่งไดแบบแผน
ของนักเรียนคนน้ัน

2) นักวจิ ยั เริ่มโปรแกรมพเิ ศษทผ่ี ูวจิ ยั คาดวาจะมอี ิทธพิ ลตอพฤติกรรมของนักเรยี น
3) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนคนเดียวกนั ภายใตโ ปรแกรมพิเศษ
4) หยดุ ใชโ ปรแกรมพเิ ศษ
5) สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
6) วเิ คราะหและสรปุ ผล
เปรียบเทียบพฤติกรรมแบบแผนของนักเรียนในหองเรียนธรรมดาตามขอ1และพฤติกรรม
ของนักเรียนภายใตโปรแกรมพิเศษถาปรากฏวานักเรียนมีพฤติกรรมดีข้ึนภายใตโปรแกรมพิเศษ
แตกลับไปมี พฤติกรรมเดิมเม่ือหยุดใชหรือถอนโปรแกรมพิเศษก็แสดงวาโปรแกรมพิเศษมีอิทธิพล
ตอพฤติกรรม ของนกั เรียน

2. การสํารวจ (Survey) เปนวิธีการศึกษาพฤติกรรมตาง ๆ ของมนุษยที่เกิดข้ึนในลักษณะ
ที่เปนจริงตามธรรมชาติโดยไมมีการสรางสถานการณหรือควบคุม สถานการณใด ๆ ซึ่งเปนวิธีการ
อีกวิธีหนึ่งที่นิยมใชในการเก็บรวบรวมขอมูล สิ่งที่ตองคํานึงคือจะตองมีวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพ
ในการคดั เลอื กกลมุ ตัวอยา ง (Sample Group) จากกลมุ ประชากร (Population) เพ่อื เปนตัวแทนที่ดี
โดยนกั จิตวทิ ยาสามารถเลือกใชวิธีการตางๆ ตามความเหมาะสมกบั สิง่ ที่ตองการศึกษาหรือสภาพของ
ปญหาวธิ ีการศึกษาท่ีใชโ ดยท่วั ไปประกอบ ดว ย การสงั เกต สัมภาษณ การใชแ บบสอบถาม เปนตน

2.1 วธิ กี ารสงั เกต (Observation Method)
เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการเฝาดูพฤติกรรมของบุคคลในสถานการณจริง

อยางมีจุดมุงหมาย และทําการบันทึกพฤติกรรมที่แสดงออกมาอยางตรงไปตรงมา ไมมีอคติ และ
อารมณส วนตวั การสงั เกตสามารถแบง ไดเ ปน 2 ลกั ษณะ ไดแ ก

- การสังเกตอยางมีแบบแผน (Formal Observation) น่ันคือ การสังเกตที่มี
การเตรียมพรอมไวลวงหนา มีการวางแผน กําหนดเวลา สถานการณ สถานที่ พฤตกิ รรม และบุคคลที่
จะสงั เกตไวอ ยางครบถวน

- การสังเกตอยางไมมีแบบแผน (Informal Observation) เปนการสังเกตอยาง
กระทันหันทันทีทันใด ไมมีการเตรียมตัวลวงหนา แตอยางไรก็ตาม ผูสังเกตควรจะตองมีจุดมุงหมาย
ในการสงั เกตดวย

การบันทึกการสังเกต (Observational Record)
การบันทึกการสังเกต เปนการกระทําเมื่อมีการสังเกตแลว โดยใชหลักในการบันทึก
ดงั นี้ (กมลรตั น หลาสวุ งษ, 2530)
1. บันทึกพฤติกรรมทีเ่ หน็ ไดชดั เจนโดยเรยี งตามลาํ ดับเหตุการณท ีเ่ กิดขนึ้ กอนหลงั
2. ใชภาษาที่งายตอการเขาใจและสอ่ื ความหมาย เพ่ือผูอ่ืนจะไดอานเขา ใจงายและ
เขาใจตรงกับผูบันทึก

8

3. ควรบันทึกพฤติกรรมของผูถูกสังเกตแยกไปจากการแสดงความคิดเห็นของ
ผู สังเกต และบันทึกเปนพฤติกรรมของผูถูกสังเกตในแตละครั้ง ไมควรใชวิธีการสรุปรวมพฤติกรรม
ที่ไดจากการสังเกตหลายๆ ครงั้ เขา ดวยกนั

4. ควรบันทึกทันทีหลังการสังเกตเสร็จสิ้นลง หรืออาจบันทึกในขณะสังเกต หากมี
การสังเกต ในระยะเวลานานและมผี ูสงั เกตหลายคน โดยการแบง เวลาในการสงั เกตและบนั ทึก

จุดสําคัญของการสังเกตคือ จะตองท0ําอยางระมัดระวัง ผูสังเกตตองไมเขาไปมีสวน
เก่ียวของกับส่ิงท่ีตัวสังเกต และตองจดบันทึกสิ่งที่ไดเห็นอยางละเอียด โดยไมเพิ่มเติมความรู
สวนตัวลงไป นอกจากน้ัน ผูสังเกตควรไดรับการฝกหัดสังเกตมาพอสมควร ตองเปน
คนละเอียดถี่ถวน และรูจัดเทคนิคการสังเกตเปนอยางดีเพื่อหลีกเลี่ยงขอผิดพลาดและกําจัด
ความลาํ เอยี งใหมนี อย ทส่ี ุด

ตวั อยาง แบบฟอรมบนั ทกึ การสังเกต

การบนั ทึกการสงั เกตครงั้ ท่ี ……..................
ชอ่ื ผูถ กู สังเกต………………………………………………..………………...........................อายุ……………ป
วัน เวลาท่สี งั เกต…………………………………………………………………………………........................…
สถานท…ี่ ………………………………………………………………………………………….............................

พฤตกิ รรมที่เกดิ ขน้ึ ………………………………………………………………............................................
……………………………………………………………………………………………........................................
……………………………………………………………………………………………........................................
……………………………………………………………………………………………........................................

ความคดิ เห็น…………………………………………………………………............................................…..
……………………………………………………………………………………………........................................
……………………………………………………………………………………………........................................
ขอเสนอแนะ…………………………………………………………………...........................................…..
……………………………………………………………………………………………........................................
……………………………………………………………………………………………........................................

ลงช่ือ………………………………
(ผูบันทกึ ขอมลู )

ตําแหนง………………………

9

2.2 การสัมภาษณ (Interview) เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอ มูลโดยใชการสนทนาระหวาง
บุคคล จุดประสงคเพื่อตองการรูรายละเอียดและทําใหเขาใจในตัวบุคคล เปนการถามตอบเพื่อใหได
ขอมูลที่ตองการ ทําไดทั้งเปนหมูและเปนรายบุคคล แตท้ังน้ีจะตองมีการวางแผนลวงหนาอยางดี
โดยมีวิธกี ารเปนขั้นตอนคือ ข้ันเตรียมการ ไดแก การเตรียมสถานท่ี คาํ ถาม นัดหมายเวลา และสราง
ความคุนเคยกับบุคคลที่จะถูกสัมภาษณ โดยเฉพาะการส่ือความหมายที่ตองเนนใหเหมาะสม
ในการสัมภาษณนั้นจะตองใชวิธีการสังเกตในการเก็บรวบรวมขอมูล ทั้งนี้เพื่อดูพฤติกรรมระหวาง
การสัมภาษณอีกดวย การยุติการสัมภาษณเม่ือถึงเวลาที่เหมาะสม ซึ่งการสัมภาษณแบงไดเปน
2 ประเภทคือ (จิราภรณ ต้ังกิตภิ ากรณ, 2556 ,หนา 9)

1.2.1 การสัมภาษณแบบมีโครงสราง (Formal Interview) เปนการสัมภาษณที่มี
คําถามและขอกําหนดแนนอนตายตัว จะสัมภาษณผูใดก็ช้ําถามแบบเดียวกัน มีลําดับขั้นตอนเรียง
เหมอื นกนั

1.2.2 การสัมภาษณแบบไมเปนทางการ (Informal Interview) การสัมภาษณ
แบบน้ี มักใชรวมกับการสังเกต เปนการสัมภาษณที่มีความยืดหยุนมาก ผูสัมภาษณเพียงแตเตรียม
แนวคําถามกวางๆไวลวงหนาผูสัมภาษณเพียงแตกลาวใหผูถูกสัมภาษณ ทราบประเด็นคําถาม
ท่ีตองการ แลวใหผูถูกสัมภาษณเลาเรื่องโดยอิสระ ผูถูกสัมภาษณสามารถแสดงความเห็นได
โดยอสิ ระ

ความแตกตา งระหวา งแบบสอบถามกบั แบบสมั ภาษณ
แบบสอบถาม เปนเคร่อื งมอื ที่ผูใหขอ มูลเปนผูกรอกขอมูลหรอื เปนผูตอบแบบสอบถามเอง
ซึ่งอาจสงทางไปรษณียหรือนําไปสงเองก็ได แตถาเปนแบบสัมภาษณ (Interview Form) ผูวิจัย
หรือผูสัมภาษณจะเปนผูถามและกรอกขอมูลลงในแบบสัมภาษณน้ันเอง ดังนั้นเวลาใชควรใช
ใหถ กู ตอง

2.3 การใชแบบสอบถาม (Questionnaire) เปนวิธีการศึกษาพฤติกรรมโดยใช
แบบสอบถาม ซึ่งเปนเครื่องมือชนิดหน่ึงที่สรางข้ึนเพ่ือวัดความคิดเห็นตางๆการศึกษาใชวิธีการ
สงแบบสอบถามไปยังตัวแทนกลุมที่ตองการเมื่อไดรับแบบสอบถามกลับคืนมาแลวจึงนํามาวิเคราะห
และแปลความหมาย ตอ ไป รปู แบบของแบบสอบถามมี 2 แบบ คือ

ก. แบบสอบถามแบบปลายเปด (Open-ended Form) แบบสอบถามแบบน้ีไมได
กาํ หนดคาํ ตอบไวผตู อบสามารถเขียนตอบหรอื แสดงความคดิ เห็นได อยางอิสระ

ข. แบบสอบถามแบบปลายปด (Closed-ended Form) แบบสอบถามแบบนี้
ประกอบดวยขอคําถามและตัวเลือก (คําตอบ) ซ่ึงตัวเลือกนี้สรางขึ้นโดยคาดวาผูตอบแบบสอบถาม
สามารถเลอื กตอบไดตามตองการ ผูตอบตอบงาย สะดวก รวดเร็ว นอกจากน้ีขอมูลทไ่ี ดส ามารถนําไป
วิเคราะห สรปุ ผลไดงาย

10

ตวั อยาง แบบฟอรมสาํ หรับบนั ทกึ การสมั ภาษณ

การสัมภาษณครง้ั ที่ .........................................
ชอื่ –นามสกลุ …………………………….......................………………………….. อายุ……………….ป
วนั ที่…………..... เดอื น……………………….... พ.ศ. ……......................... เวลา………………น.
สถานที่………………………………………….............................................................................

จดุ มงุ หมายในการสมั ภาษณ… ………………………………………………............................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

สรปุ ผลจากการสมั ภาษณ… ………………………………………………….............................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ความคิดเห็น…………………………………………………………………….................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ขอเสนอแนะ……………………………………………………………………................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

นดั สมั ภาษณค ร้ังตอ ไป วันที่…………………………….. เวลา……………………..น.
สถานท่ี………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ …………………………….. ผสู ัมภาษณ
ตําแหนง …………………………......................

11

3. การทดสอบ (Testing) เปนอีกวิธีหนึ่งท่ีนิยมใชในการศึกษาทางจิตวิทยา เนื่องจาก
การทดสอบจะใชแบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized test) ที่นักจิตวิทยาสรางข้ึนเพื่อวัดหรือ
ประเมินลักษณะทางพฤติกรรม การใชแบบทดสอบมีส่ิงที่ควรระวังมากที่สุดคือแบบทดสอบซ่ึงควรได
มาตรฐานและสามารถแปลผลไดอยางถูกตอง ดังนั้นเครื่องมือท่ีมีมาตรฐานในการวัดที่มีความตรง
(Validity) และความเช่ือมั่น(Reliability)และผูใชเคร่ืองมือก็ตองมีความรูพื้นฐานทางทฤษฎี
ทางจิตวทิ ยาและมี ความเช่ียวชาญในการใชแบบทดสอบเปน อยางดแี บบทดสอบทางจิตวิทยาอาจเปน
แบบทดสอบ ขอเขียนหรือขอสอบปฏิบัติก็ได มีจุดมุงหมายในการใชเพื่อวัดความสามารถดานตางๆ
ของมนษุ ย รวมทั้งการวดั บคุ ลิกภาพ อารมณ ความถนัด ความสนใจ ทศั นคติ

4. การศึกษาประวัติรายบุคคล (Life History) เปนการศึกษารายละเอียดตาง ๆ ท่ีสําคัญ
ของบุคคลเก่ียวกับประสบการณของบุคคลใดบุคคลหนึ่งอยางละเอียด แตตองใชเวลาศึกษาติดตอกัน
เปนระยะเวลาหนึ่งโดยการติดตามดูพัฒนาการหรือรูปแบบพฤติกรรมท่ีตองการศึกษาอยางละเอียด
แลว รวบรวมขอ มูลมาวิเคราะหพ จิ ารณาตีความเพ่ือใหเ ขาใจถึงสาเหตุของพฤตกิ รรม โดยมีจุดมุงหมาย
เพ่ือจะหาทางชวยใหบุคคลปรับปรุงตนเองใหดีขึ้นทุกดาน เชนอารมณ สังคมเจตคติความสนใจและ
การเรียซึ่งการรวบรวมขอมูลอาจทําไดโดยการศึกษาจากสมุดบันทึก ประวัติหรือพัฒนาผูนั้น
(จิราภรณ ต้ังกิติภากรณ, 2556 ,หนา 11) หรือจากสมุดบันทึกประจําวัน การสัมภาษณ การสังเกต
เปน ตน

ความสําคัญของจิตวิทยาตออาชพี ครู

ก า ร ใ ช ร ะ บ บ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ส ถ า บั น ศึ ก ษ า ต า ง ๆ เ ป น ส ว น ห น่ึ ง ห นึ่ ง ข อ ง ก า ร พั ฒ น า
ทาง พฤติกรรม การเรียนรูของบุคคล โดยมีการจัดการศึกษารวมกับการสงเสริมจากปจจัยอ่ืนๆ
เปนตัวผลักดันเพื่อใหเกิดพฤติกรรมและการเรียนรูตามเปาหมายที่ตองการ ดังน้ัน จิตวิทยาซึ่งเปน
ศาสตรแหงการศึกษาพฤติกรรมจึงเปนศาสตรพื้นฐานในการจัดการเรียนการสอนทุก ระดับ
ทุกหลักสูตรการศึกษาทเี่ กีย่ วของกับการเรยี นรู

การจัดการเรียนการสอนเปนการนําความรูเกี่ยวกับการเรียนรูไปใชใหเกิดประโยชนตอ
การจัดการเรยี นการสอนจึงกลาวไดวา หากครูมีความรูความเขาใจและสามารถนําความรูทางจิตวิทยา
การศึกษาไปใชในการจัดสภาพการเรียนการสอนและสภาพแวดลอมใหแกผูเรียนได ยอมสงผล
ใหผ เู รียนเกิดการเรียนรูดีกวา ครูท่ขี าดความรแู ละหลักการทด่ี ีในเร่ืองจิตวิทยาการศึกษา

จติ วทิ ยาสามารถชวยครไู ดในเรื่องตอ ไปนี้ (สรุ างค โควตระกูล, 2556, หนา 4)
1. ชวยครูใหรูจักลักษณะนิสัย (Characteristics) ของนักเรียนท่ีครูตองสอนโดยทราบ
หลกั พัฒนา ท้ังทางรา งกาย สตปิ ญ ญา อารมณ สังคม และบคุ ลิกภาพเปน สว นรวม
2. ชวยใหครูมีความเขาใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของนักเรียน เชน
อัตมโนทัศน (Self Concept) วาเกิดข้ึนไดอยางไร และเรียนรูถึงบทบาทของครูในการที่จะชวย
นกั เรยี นใหม อี ัตมโนทัศนท ่ดี ี และถกู ตอ งไดอยา งไร

12

3. ชวยใหครูมีความเขาใจในความแตกตางระหวางบุคคล เพ่ือจะไดชวยนักเรียน
เปน รายบุคคลใหพัฒนาศกั ยภาพของแตละบุคล

4. ชวยใหครูรูวิธีจัดสภาพแวดลอมของหองเรียนใหเหมาะสมแกวัยและชั้นพัฒนาการ
ของ นกั เรยี น เพ่ือจงู ใจ ใหน ักเรยี นมคี วามสนใจและอยากจะเรียนรู

5. ชวยใหครูทราบถึงตัวแปรตางๆ ที่มีอิทธิพลตอการเรียนรูของนักเรียน เชนแรงจูงใจ
อัตมโนทัศน และการตงั้ ความคาดหวงั ของครทู ่มี ตี อนักเรยี น

6. ชวยครูในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน เพ่ือทําใหการสอนมีประสิทธิภาพ
สามารถชวยใหนกั เรยี นทุกคนเรียนรูตามศกั ยภาพของแตละบุคคล

7. ชวยครูใหทราบหลักการและทฤษฎีการเรียนรูที่นักจิตวิทยาไดพิสูจนแลววาไดผลดี เชน
การเรียนรจู ากการสังเกตหรือเลียนแบบ

8. ชวยครูใหทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนท่ีมีประสิทธิภาพรวมถึงพฤติกรรมของครูที่มี
การสอนอยางมีประสิทธิภาพวามีอะไรบาง เชน การใชคําถาม การใหแรงเสริม และการทําตนเปน
ตน แบบ

9. ชว ยครูใหทราบวานักเรียนที่มผี ลการเรียนดีไมไดเ ปน เพราะระดับเชาวนปญ ญาเพียงอยาง
เดียวแตมีองคประกอบอ่ืนๆเชนแรงจูงใจ(Motivation)ทัศนคติอัตมโนทัศนของนักเรียนและ
ความ คาดหวังของครทู ่ีมตี อ ตัวนักเรียน

10. ชวยครูในการปกครองชั้น และการสรางบรรยากาศของหองเรียน ใหเอ้ือตอการเรียนรู
และเสริมสรางบุคลิกภาพของนักเรียน ครูและนักเรียนมีความรักและความไววางใจซึ่งกันและกัน
นักเรียนตางก็ชวยเหลือซึ่งกันและกัน ทําใหหองเรียนเปนสถานที่ที่ทุกคนมีความสุขและนักเรียน
รกั โรงเรยี น อยากมาโรงเรียน

สรุป

จิตวิทยา คือ การศึกษาเชิงวิทยาศาสตรวาดวยเรื่องกระบวนการของจิต และพฤติกรรม
โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือศึกษาพฤติกรรมของมนุษย อันจะทําใหเขาใจตนเองและผูอื่นไดดีขึ้น
โดยนักจิตวิทยาท้ังหลายจะใชวิธีการทางวิทยาศาสตรในการคนหาคําตอบเพื่อทําความเขาใจอธิบาย
ทํานายและควบคุมพฤติกรรมทั้งหลายเหลานั้น เพ่ือใหผูศึกษานําความรูไปประยุกตใช ในการ
แกปญหาตางๆที่เกิดขึ้นกับตนเองและสังคมแนวคิดของนักจิตวิทยามีหลายกลุมซึ่งแตกตางกัน
เนื่องจากจุดมุงหมายในการศึกษาคนควาแตกตางกัน รวมถึงวิธีการในการศึกษาคนควา ทฤษฎีหรือ
หลักเกณฑในการอธบิ ายพฤตกิ รรมของมนุษยแ ตกตางกัน ประกอบดวย แนวคิดกลุม โครงสรา งแหง จิต
(Structuralism) แนวคิดกลุมหนาที่แหงจิต (Functionalism) แนวคิดกลุมพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism) แนวคดิ กลุมจิตวิเคราะห (Psychoanalysis) แนวคิดกลมุ จติ วทิ ยาเกสตัลต (Gestalt
Psychology) และแนวคดิ กลมุ มนุษยนยิ ม (Humanism) เปนตน ซึ่งวธิ ีการศึกษาทางจติ วิทยามหี ลาย
วิธีไดแ ก การทดลอง การสํารวจ การใชแบบทดสอบ หรอื การศกึ ษาประวตั ริ ายบคุ คลเปนตน

13

ประโยชนของสาขาวิชาจิตวิทยามีหลายประการ ซึ่งหลักๆ คือ ทําใหสามารถเขาใจตนเอง
รจู กั ตนเองดขี ึน้ และอีกทงั้ ยังเกดิ ประโยชนใ นการยอมรับผูอ ่ืนไดงายขน้ึ ทาํ ใหสามารถดําเนินชีวติ หรือ
อยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางราบรื่นมีความสุข และมีประโยชนตอวิชาชีพครูคือ ชวยใหครูมีความ
เขานิสยั บุคลิกภาพ ความแตกตางระหวา งบุคคล และการจดั สภาพการเรียนการสอนใหเหมาะสมกับ
นักเรยี นไดอยา งมีประสิทธภิ าพ

15

บทท่ี 2

ความรพู ้นื ฐานพัฒนาการของมนุษย

รองศาสตราจารย ดร.ปญจนาฏ วรวฒั นชัย

การศึกษาพัฒนาการของมนุษยไมเพียงแตการศึกษาการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของเด็ก
ในระยะหนึ่งๆของพัฒนาการเพียงเทาน้ันแตยังตองศึกษาเพ่ือคนหาความหมายของพัฒนาการและ
การ เจริญเติบโต ลักษณะของการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดจากพัฒนาการ และการเจริญเติบโต ระเบียบ
แบบแผนของงานพัฒนาการ องคประกอบที่เก่ียวของกับพัฒนาการ รวมทั้งตองมีความเขาใจ
ถึงสาเหตุตาง ๆ ทีม่ ีอทิ ธพิ ลตอพฒั นาการและความฉลาดทางอารมณ สงผลตอพฒั นาการอยางไรบา ง
ซ่ึงจะชวยใหผูที่มีความสนใจ ศึกษาจิตวิทยาพัฒนาการ สามารถจัดองคประกอบท่ีเกี่ยวของ
กบั พัฒนาการของเด็กไดอ ยา งถกู ตอง

ความหมายของพัฒนาการ

คาํ วาพฒั นาการ (Development) มีผใู หค วามหมายไวหลายทา น ดังน้ี

อารี เพชรผุด (2528, หนา5) กลาววาพัฒนาการ หมายถึงการเปล่ียนแปลงท่ีความสามารถ
ใหม ในตัวเด็กประกอบการเปลี่ยนแปลงจากข้ันตํ่าไปข้ันสูงการเปล่ียนแปลงหรือการพัฒนาจะเร่ิม
ตัง้ แต ปฏิสนธจิ นถึงวุฒิภาวะ เปน กระบวนการท่ีเริ่มมาตั้งแตก อ นเกดิ

นิตยา คชภักดี (2530, หนา 12) กลาววา พัฒนาการหมายถึง กระบวนการเปล่ียนแปลง
ดานวุฒิภาวะ (Maturation) ของระบบตาง ๆ และตัวบุคคล ทําใหเพิ่มความสามารถของระบบหรือ
บุคคลใหทําหนาที่ตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และทําสิ่งท่ียากซับซอนย่ิงขึ้นไดตลอดจน
การเริ่มทักษะใหมและความสามารถในการปรับตวั ในภาวะ ใหมของบคุ คล

กันยา สุวรรณแสง (2538, หนา 55) ใหความหมายพัฒนาการวาเปนกระบวนการ
เปล่ียนแปลงท่ีเปนระเบียบในดานรูปรางและสวนตาง ๆ ของรางกาย การเปลี่ยนแปลงนี้จะเปนไป
เร่อื ย ๆ จากระยะหนงึ่ ไปอีกระยะหนง่ึ และอตั ราของการพฒั นาการนีไ้ มแนนอน แลว แตล ะบคุ คล

วิภาพร มาพบสุข (2543 , หนา 90) กลาววา การพัฒนาการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลง
ทางดานคุณภาพที่ติดตอกันไปต้ังแตมีการปฏิสนธิจนสิ้นชีวิตซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึน
กบั รางกายอารมณสังคมและสติปญญาเปนเกณฑพิจารณาซ่ึงเปนไปตามลําดบั ข้ันจากระยะ หน่ึงไปสู
อีกระยะหนึ่ง เพ่ือไปสูความมีวุฒิภาวะ ทําใหมนุษยมีลักษณะและความสามารถใหม ๆ เกิดขึ้น
การพฒั นาจงึ เปนผลทาํ ใหเกิดความเจริญกาวหนาเปน ลําดบั

16

สุชา จันทนเอม (2544 , หนา 39) กลาววา พัฒนาการเปนลําดับของการเปล่ียนแปลงหรือ
กระบวนการเปล่ียนแปลง (Process of Change) ของมนุษยทุกสวนที่ตอเน่ืองกันไปในระยะเวลา
หนึง่ ๆ ตง้ั แตแรกเกิดจนตลอดชวี ติ การเปล่ียนแปลงน้ีจะกาวหนา ไปเรอื่ ย ๆ เปนขั้น ๆ จากระยะหนึ่ง
ไปสอู ีกระยะหนึ่ง เพื่อที่จะไปสูการมีวุฒภิ าวะ ทําใหมีลกั ษณะและความสามารถใหม ๆ เกิดข้ึนซึ่งจะมี
ผลทําใหเจริญกาวหนา ย่ิงขึ้นตามลาํ ดบั

Crow and Crow (1965, p.15) กลาววา พฒั นาการหมายถงึ การเปลยี่ นแปลงทไี่ ดมาจาก
อิทธิพลของสภาพแวดลอม และการเรียนรูโดยรวม เปนการเปลี่ยงแปลงอวัยวะรางกายทั้งหมดดวย
ไมไ ดเ ปนการเปล่ียนแปลงสวนใดสวนหน่ึงของรางกาย เทานน้ั

Liebert Poulos และ Strauss (1974, p.5) กลาวถึง พัฒนาการวาหมายถึง กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับความเจริญงอกงามและการพัฒนาศักยภาพ ความสามารถ ตลอดชีวิตซึ่งเปน
การผสมผสานระหวา งวุฒิภาวะและสงิ่ แวดลอ ม

Hurlock (1980, p. 2) กลาววา พัฒนาการเปนการเปลี่ยนแปลงที่ประกอบดวยความ
เจริญกาวหนาอยางเปนระเบียบแบบแผน ซึ่งกระบวนการดังกลาวจะเปนการเปลี่ยนแปลงท้ัง
ทางรางกายและจติ ใจ

Bootzin(1991, p.15) กลาวถึงพัฒนาการวาเปนการเปลย่ี นแปลงที่เกิดขึ้นตลอดชวงอายุคน
ท้ังทางดานรางกายและพฤติกรรมไมวาจะทางเจริญงอกงามและเสื่อมสลาย หรือแมแตสภาวะท่ีหยุด
นิง่ เพือ่ รอการเปลยี่ นแปลงตอ ไป

กลาวโดยสรุป พัฒนาการหมายถึง การเปลี่ยนแปลงในดานรางกายและจิตใจ อยางเปน
ระเบียบแบบแผน ต้ังแตปฏิสนธิ จวบจนตลอดชีวติ ทําใหม ลี ักษณะและความสามารถ ใหม ๆ เกิดข้ึน
โดยควบคกู ับวฒุ ภิ าวะและการมปี ฏิสมั พนั ธกบั ส่งิ แวดลอ ม

ความหมายของการเจรญิ เติบโต (Growth)

อุบ ล รั ต น เ พ็ง ส ถิต ย ( 25 3 2 , ห น า 8 ) ให ค ว า ม หม า ยว า ก า รเ จ ริญ เ ติบ โ ต
เปนการเปลี่ยนแปลงทางดานการเพ่ิมข้ึนในแงของ จํานวนและปริมาณ โดยมีลักษณะท่ีสําคัญของ
การเจริญเติบโต คือ เด็กคนหนึ่งจะมีความแตกตางของการเจริญเติบโตแตกตางจากเด็กคนอื่น ๆ
ในแงของอตั ราการเจรญิ เตบิ โต ขอบเขตของการเจรญิ เติบโต เปน ตน

มลวิภา ทรงวุฒศิ ิล (2532, หนา 99) กลาววา การเจรญิ เตบิ โต เปนกระบวนการเปล่ยี นแปลง
ไปสูวุฒิภาวะ ทางดานการเพิ่มขนาด ซ่ึงอาจเกิดข้ึนเฉพาะที่หรือทุกสวนของรางกาย สามารถวัดได
เปนน้ําหนัก ความยาว ความกวาง ความหนา เชน นํ้าหนักของรางกาย ขนาดของอวัยวะตาง ๆ
เปนตน

17

นิตยา คชภักดี (2543, หนา 2) กลาววา การเจริญเติบโต หมายถึง การเปล่ียนแปลงขนาด
ของรางกาย ของอวัยวะ ซึ่งเกิดจากการเพิ่มจํานวนและขนาดของเซลล และสวนหลอเล้ียง (Matrix)
ทําใหรูปรางเปล่ียน เชนมีขนาดใหญข้ึน สูงข้ึน สัดสวนเปล่ียนแปลง การเพ่ิมจํานวน เชน ฟน และ
การเปลี่ยนลกั ษณะ เชน การเขาสูวยั หนุม สาว

วิภาพร มาพบสุข (2543, หนา 90) กลาววา การเจริญเติบโต หมายถึง การเปลี่ยนแปลง
ทางดา นสรีระโครงสรางของรางกาย และอวยั วะตาง ๆ ซึ่งเปนการเปล่ยี นแปลงท้งั ในเชิงปริมาณ และ
เชิงคุณภาพ เชน เด็กท่ีมีการเจริญเติบโตจะมีน้ําหนัก สวนสูงเพิ่มข้ึน มีอวัยวะภายในและสมอง
ที่สามารถทํากิจกรรมตาง ๆ ได เชน มีความคิด ความจํา การเรียนรู ความมีเหตุผล และสามารถ
รบั รูเรอ่ื งตา ง ๆ เปน ตน

สุชา จันทนเอม (2544 , หนา 39) กลาวถึงการเจริญเติบโต เปนการเปล่ียนแปลงในดาน
ขนาด รูปราง สัดสวน ตลอดจนกระดูกและกลามเนื้อ เมื่อเราพูดถึงความเจริญเติบโตของมนุษย
เรามักหมายถงึ การทีบ่ คุ คลมีนํ้าหนกั เพิม่ ขึ้น มสี วนสงู เพม่ิ ขนึ้

กลาวโดยสรุป การเจริญเติบโตเปนการเปล่ียนแปลงทางดานโครงสรางสรีระของรางกาย
และอวัยวะตางๆซ่ึงเกิดจากการเพ่ิมจํานวนและขนาดของเซลลท่ีเกิดขึ้นฉพาะท่ีหรือทุกสวนของ
รา งกาย

ลกั ษณะของการเปลีย่ นแปลงท่ีเกิดจากการพฒั นาการและการเจรญิ เติบโต

การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนเนื่องจากพัฒนาการและการเจริญเติบโต มีดังนี้ (อารี เพชรผุด,
2528 , หนา 5-6)

1. การเปลี่ยนแปลงทางดา นขนาด (Size) เชน ทางรางกายจะสูงขึ้น โตขึ้น นา้ํ หนักมากขึ้น
ทางดา นสมองมีจินตนาการกวางขวางขึ้น พูดไดมากขึ้น ความคิดอา นตา ง ๆ คอย ๆ เพิ่มข้ึนจนไปถึง
วุฒิภาวะ

2. การเปลี่ยนแปลงทางดานสัดสวน (Proportion) การเจริญเติบโตตาง ๆมิไดจํากัด
อยูอยางหนึ่งอยางใด แตเพียงอยางเดียว ทุก ๆ สวน ทุก ๆ ดาน จะเจริญเติบโตไปเปนสัดสวน
พอเหมาะพอดกี นั ทกุ สว นของรา งกายนัน้ เรากําหนดไมไดว า จะถงึ วฒุ ิภาวะเมื่ออายุเทาไร

3. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทําใหลักษณะเกา ๆ หายไปลักษณะเกา ๆ ก็คือลักษณะ
ความเปนเด็กทารก เชน ขน ผม (Baby Hair) จะหายไป ฟน นํ้านมกจ็ ะหัก ตอ มไทมัสจะหายไป
เมือ่ รา งกายเจริญเตบิ โตเขาสูวยั รุน

4. ลักษณะใหม ๆ ในรางกายจะเพ่ิมขึ้น จะมีฟนแทขึ้นมาแทนฟนนํ้านม และถา
การพัฒนาเขาเขตวยั เร่มิ เขาสูว ัยรุน (Puberty) ก็จะมีการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้น 2 อยาง คอื

4.1 เกิดการเปลี่ยนแปลงตอมเพศ คือตอมรังไข และอัณฑะจะเริ่มทํางานพรอมที่
จะสบื พันธุ ซ่ึงเปนลกั ษณะการเปล่ยี นแปลงทางเพศข้ันตน (Primary Sex Characteristic)

18

4.2 ผลจากการเปลี่ยนแปลงของตอมเพศทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงทางลักษณะอื่น ๆ
(Secondary sex charateristic) ตามมา เชนมีขนขึ้นตามตัว มีลูกกระเดือก มีหนาอก เสียงแตก
เปน ตน

การเปล่ียนแปลงท้ัง 4 ดาน จะเกิดข้ึนอยางชา ๆ และตอเน่ืองเปนลําดับข้ัน จะไมเกิดขึ้น
ทันทีทันใด การเปล่ียนแปลงทุกอยางท่ีเกิดขึ้นมีความสําคัญมาก และการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย
มีผลตอการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมและทัศนคติ เชน เม่ือรางกายเปล่ียนแปลงโตขึ้น ทัศนคติ
จะเรมิ่ เปลยี่ นไปดว ย

ระเบยี บแบบแผนของงานพัฒนาการ

ลักษณะระเบียบแบบแผนของงานพัฒนาการ ทําใหเขาใจในพฤติกรรมของมนุษยไดดียิ่งข้ึน
ประไพพรรณ ภมู วิ ุฒิสาร (2546 , หนา 73-76) ไดก ลาวสรปุ ลกั ษณะพฒั นาการไวดงั น้ี

1. พัฒนาการจะเปนไปตามแบบแผนเฉพาะมนุษยหรือสัตว ท่ีจัดอยูในพวกเดียวกัน จะมี
แบบแผนของการพัฒนาการคลาย ๆ กัน และการพัฒนาน้ีจะไมมีการขามข้ันกัน เชน
เด็กสามารถจะน่ังกอนยืน ยืนกอนเดินและเดินกอนว่ิง ซ่ึงพัฒนาการทางดานรางกาย จะมีทิศทาง
ของพัฒนาการทถ่ี ูกกาํ หนดแนน อน เปน 2 ทศิ ทางดวยกัน คือ

1.1 พัฒนาการจะเริ่มจากสวนบนไปสูสวนลาง (Cephalo-Caudal Direction) ซ่ึงเรา
จะสังเกตไดวาเด็กทารกจะพัฒนาอวัยวะสวนบนกอน แลวคอย ๆ พัฒนาอวัยวะตามลําตัว เชน
แขน แลวจึงมพี ฒั นาการลงมาทีส่ ว นขา เปน ตน

1.2 พัฒนาการจะเริ่มจากแกนกลางของลําตัว ไปสูอวัยวะสวนขางที่ไกลออกไป
(Preximo-Distal Direction) เด็กสามารถเคลื่อนลําตัวท้ังลําตัวกอนจึงมีการใชแขนในการหยิบจับ
ส่งิ ของ และคอ ย ๆ พฒั นาการใชม ือ และการใชน ิว้ มอื ตามลาํ ดับ

พฒั นาการจากส่วนบนลงมาสว่ นลา่ ง

พฒั นาการจากแกนกลางของลําตวั
ไปสอู่ วยั วะสว่ นข้างท่ีไกลออกไป

ภาพที่ 2-1 ทิศทางของพัฒนาการทางดานรางกาย
ท่มี า : ประไพพรรณ ภูมวิ ุฒสิ าร, 2546 , หนา 73)

19

2. กระบวนการพัฒนาการ จะเริ่มจากสวนใหญไปสูสวนยอย นั่นคือ ทารกจะมี
การเคล่ือนไหวทั้งตัว กอนสวนหนึ่งสวนใดของรางกาย แลวจึงคอย ๆ พัฒนาไปสวนตาง ๆ
ของรางกายไดมากข้ึน และมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น เชน สามารถใชแขน มือ น้ิว หยิบจับวัตถุได
ละเอียดมากขึน้

3. พัฒนาการจะเกิดขึ้นอยางตอเน่ือง จะเหน็ ไดจากการพัฒนาอวัยวะตาง ๆ ของเด็กทารก
ในครรภมารดา จะเกิดอยางตอเนื่องเพื่อเปนพ้ืนฐานในการพัฒนาในขั้นตอ ๆ ไป ถาหากมี
การหยุดหรือขาดข้ันตอน จะสง ผลกระทบกระเทอื นไปสูพัฒนาการในระยะตอ ๆ ไป ดว ย

4. อัตราพัฒนาการของเด็กแตละคนจะแตกตางกัน อัตราพัฒนาการของเด็กแตละคน
จะแตกตางกันขึ้นอยูกับองคประกอบใหญ ๆ อยู 2 ชนิด ดวยกันคือ พันธุกรรมและสภาพแวดลอม
ซึ่งองคประกอบทั้งสองทําใหเราพบวาในเด็กบางคนมีการเจริญเติบโตเร็ว บางคนเติบโตชา หรือ
พฤติกรรมบางอยา งอาจปรากฏเร็วในเดก็ คนหนึ่งแตปรากฏชา ในเด็กอีกคนหนึง่

5. อตั ราพัฒนาการสวนตาง ๆ ของรางกายแตกตา งกัน จะเห็นไดวาอวยั วะตาง ๆ หรือสวน
ตาง ๆ ของรางกายจะมีอัตราพัฒนาการที่แตกตางกันไมเติบโตพรอมกันหมดในเวลาเดียวกัน เชน
มือ เทา ระบบยอยอาหารจะเจริญเติบโตอยา งรวดเร็วในวัยรุน เปนตน

6. พัฒนาการทุกดานจะสัมพันธกันหมดและเราสามารถทํานายพัฒนาการของเด็กได
ถาพัฒนาการดานหน่ึงดานใดบกพรองก็จะนําไปสูความบกพรองในดานอื่น ๆ ตอไปดวย
เชน ถา พัฒนาการทางดานรางกายไมดี กจ็ ะกอ ใหเกดิ ผลกระทบตอ พัฒนาการทางดา นอารมณอีกตอ
หนึ่ง และนอกจากน้ันยังเปนผลตอพัฒนาการทางสังคมและพัฒนาการทางดานสติปญญาตอไปอีก
ดว ย และเราสามารถทํานายพัฒนาการไดโดยดูในเด็กเล็กๆวามีพัฒนาการเปนอยางไรและโตข้ึนจะมี
แนวโนมเปนอยา งไร

7. พัฒนาการในแตละวัยจะมีลักษณะเฉพาะวัยพฤติกรรมบางอยางในวันหนึ่งเราอาจคิดวา
ไม เปนปญหา แตถาพฤติกรรมนั้นเกิดขึ้นกับวัยอ่ืนเราก็คิดวาพฤติกรรมนั้นเปนปญหา เชน
พฤติกรรมของการยอนถามซ้ําแลวซ้ําอีกพฤติกรรมนี้ถาเกิดในระยะเด็กกอนวัยเรียนเราถือวาเปน
พฤตกิ รรมทีป่ กตถิ าพฤตกิ รรมนเ้ี กิดขึ้นในระยะเด็กวยั รนุ เรากถ็ อื วา พฤติกรรมนเ้ี ปนปญ หา

กลาวโดยสรุประเบียบแบบแผนของงานพัฒนาการทําใหเขาใจลักษณะการเปลี่ยนแปลงของ
มนุษยไดดีย่ิงข้ึน พัฒนาการของมนุษยจะกาวหนาข้ึนเรื่อย ๆ เพื่อใหมนุษยมีพฤติกรรมท่ีมี
ประสิทธิภาพ และสามารถดํารงชีวิตอยูในสภาพแวดลอมได พัฒนาการมีทั้งการแยกแยะ
พัฒนาการทเ่ี ฉพาะเจาะจง และการสะสมของพฒั นาการเกา เพ่อื สรางพฒั นาการใหมต อ ไป

20

องคป ระกอบทเ่ี ก่ยี วขอ งกับพฒั นาการ

พัฒนาการของมนุษย จะเกยี่ วของกับองคป ระกอบทสี่ าํ คัญ 2 อยา ง คอื

1. วฒุ ิภาวะ (Maturation)

พัชรี สวนแกว (2536 , หนา 28) ใหความหมายของวุฒิภาวะ คือ ผลรวมท่ีเกิด
จากอิทธิพลของยีนส ซึ่งถายทอดทางพันธุกรรมเปนตัวควบคุมแบบแผนของรางกาย กอใหเกิด
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตาง ๆ ในระดับอายุตาง ๆ โดยไมตองอาศัยประสบการณ หรือการเรียนรู
แตตองอยูภายใตสภาวะแวดลอมท่ีปกติดวย กลาวคือ การท่ีเด็กเจริญเติบโตขึ้นมาเปนขั้น ๆ
ตามลําดับวัยของธรรมชาติ เด็กจะมีลักษณะอยางหนึ่ง ๆ ออกมาใหเห็น เชน เด็กเมื่อถึงระยะหนึ่ง
ก็จะคลานได เปนตน

มธุรส สวางบํารุง (2543 , หนา 5) กลาววาวุฒิภาวะ คือความพรอมและ
การเปล่ียนแปลงของรางกายหรือพฤติกรรมในแตละระดับชวงของอายุ จะถูกกําหนด ขึ้นโดยยีนส
(Genes) ซง่ึ เปน ปจจยั ทางดา นพันธุกรรม ทีไ่ ดร บั มาจากบรรพบุรุษสูล กู หลาน การเรียนรจู ะไมมีสว น
เกีย่ วขอ งตราบใดท่วี ุฒิภาวะยังไมเ กดิ ข้นึ หรอื แสดงออกมา

สุชา จันทนเอม (2544 , หนา 40) ใหความหมายวา วุฒิภาวะ เปนกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีกําหนดเวลาเปนของตนเอง
เปนการเปล่ียนแปลงทางคุณภาพ มีขั้นลําดับ อัตรา แบบแผน มีความพรอมที่จะทําไดเอง
ตามธรรมชาติ เปนลาํ ดบั ขน้ั ตามวยั

Santrock (1997, pp. 45) เปรียบเทียบวา วุฒภิ าวะเปนพมิ พเ ขียว (Blueprint) ของคน
แตละคน ท่ีมีการวางโครงสรางอยางถาวรโดยไดรับการถายทอดผานยีนสของบรรพบุรุษ แตตอง
อาศยั ประสบการณแ ละการเรยี นรูข องแตละคน ที่จะชวยพฒั นาไปไดต ามปกติ

Kassin (1998, pp.36) ใหความหมายวาวุฒิภาวะเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงทาง
สรีระ ท่ีทําใหเกิดความพรอมที่จะเรียนรู หรือเกิดพฤติกรรมอยางใดอยางหน่ึง โดยไมจําเปนตอง
ฝกหัด เชน การน่งั ยืน เดิน ของทารกในระยะแรกของชวี ิต ข้ึนอยูกบั วุฒภิ าวะทัง้ สนิ้

จากที่กลาวมาพอจะสรุปไดวา วุฒิภาวะ เปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมท่ี
เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติในแตละระดับชวงของอายุ ทําใหพรอมท่ีจะประกอบกิจกรรมอยางใดอยาง
หนง่ึ ไดเ หมาะสมกบั วยั

2. การเรียนรู (Learning)

พัชรี สวนแกว (2536 , หนา 40) ใหความหมายการเรยี นรวู าเปน การเปลีย่ นแปลงและ
ปรับปรุงพฤติกรรมเพ่ือตอบสนองตอสถานการณที่ไดรับการเรียนรูจะเกิดขึ้นเม่ือมีการเปล่ียนแปลง
พฤติกรรมท่ีสังเกตไดองคประกอบที่จะกอใหเกิด การเรียนรูไดแกวุฒิภาวะและความพรอมซึ่งเปน
การเปลย่ี นแปลงทางดานรางกายและความสามารถที่จะทาํ สิ่งหนึง่ ส่งิ ใด

21

มธุรส สวางบํารุง (2544 , หนา 35) กลาววา การเรียนรูคือ การเปล่ียนแปลง
พฤติกรรมทม่ี น่ั คงถาวร อนั เปนผลมาจากประสบการณหรอื การฝกหัดของแตละคน

สุชา จันทนเอม (2544, หนา 40) กลาววา การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมท่ีตอง
มีการเรียนการสอน มีแบบแผน มีประสบการณ การเรียนของเด็กตองการการฝกหัดการทดลอง
เพื่อเปล่ียนแปลงในดานกิจกรรมซึ่งมีผลทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงโครงสรางทางรางกาย และ
พฤติกรรมของเดก็

กลาวโดยสรุปไดวาการเรียนรูเปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมท่ีคอนขางถาวรอันเปนผลมา
จากการฝกหัด และประสบการณตาง ๆ การเรียนรูเปนส่ิงจําเปนอยางย่ิง สําหรับการปรับตัวของ
มนษุ ย ดงั นัน้ การเรียนรูจงึ เปน สาเหตุอยางหน่งึ ทท่ี าํ ใหเ กิดการพฒั นาข้ึน

สาเหตตุ าง ๆ ทมี่ ีอิทธิพลตอพัฒนาการ

ส่ิงท่ีมีอิทธิพลตอการพัฒนาการมีหลายสาเหตุดวยกัน ที่สามารถรวบรวมได มีดังน้ี
(สชุ า จนั ทนเอม. 2544 , หนา 44-45)

1. สติปญา มีอิทธิพลอยางสูงตอการพัฒนาการของเด็ก เพราะเด็กที่มีสติปญญาดี
ยอมมีอัตราการพัฒนาดีกวาเด็กที่มีสติปญญาตํ่า โดยคนพบวาเด็กฉลาดจะสามารถเดินและพูดได
กอ นเดก็ โง

2. เพศ เด็กชายและเด็กหญิงยอมมีอัตราการพัฒนาตางกัน โดยเฉพาะพัฒนาการทางดาน
รางกาย ในเด็กแรกเกิดเด็กชายจะโตกวาเด็กหญิงเล็กนอย แตระยะตอมาเด็กหญิง
จะเจริญเติบโตรวดเร็วกวาเด็กชายโดยปกติเด็กหญิงจะถึงวุฒิภาวะทางเพศกอนเด็กชายราว 1-2 ป
และอัตราการพฒั นาดา นสมอง เด็กหญิงจะฉลาดเรว็ กวา เด็กชายเลก็ นอ ย

3. ตอ มตาง ๆ ในรางกาย เชน ตอ มไรทอ บางชนิด ทคี่ วบคุมความเจรญิ เติบโตของรางกาย
ถาตอมเหลานี้ทํางานผิดปกติ โดยขับฮอรโมนมากหรือนอยเกินไปอาจทําใหมีรางกายเจริญเร็ว
ผิดปกตหิ รืออาจทาํ ใหเตยี้ แคระไปกไ็ ด

4. อาหาร ตามปกติเด็กท่ีไดรับอาหารที่มีประโยชนและไดรับวิตามินตาง ๆ ครบถวน
จะมอี ัตราการพัฒนาท่ีรวดเรว็ กวาเด็กท่ีขาดอาหารหรอื ไดรับอาหารทไี่ มมีคณุ ภาพและอาจเปนสาเหตุ
ทาํ ใหเ กิดโรคตาง ๆ ไดง า ย

5. อากาศบริสุทธ์ิและแสงแดด ในระยะแรกถาเด็กไดรับแสงแดดและอากาศบริสุทธ์ิ
จะทําใหการพัฒนาการตางๆเปนไปอยางปกติดวยอัตราที่สมํ่าเสมอและยังทําใหเด็กมีสุขภาพที่ดี
อีกดวย

6. การบาดเจ็บหรือไดรับโรคภัยไขเจ็บ ซ่ึงสิ่งเหลาน้ีอาจมีผลทําใหการพัฒนาเปนไปอยาง
ผิดปกติ และทาํ ใหการพฒั นาของเด็กทเี่ ปน โรคหรือไดร ับบาดเจ็บน้ีเปนไปอยา งลาชาอกี ดวย

22

7. เช้ือชาติ มีผลตออัตราการพัฒนามากเหมือนกัน เชนเด็กแถบทะเลเมดิเตอรเรเนียน
มีพัฒนาการทางรางกายเร็วกวาเด็กที่อยูในประเทศทางเหนือของทวีปยุโรป นอกจากน้ี ยังพบวา
เด็กนโิ กรหรือเดก็ อนิ เดียนแดงจะมพี ฒั นาการทางรางกายชา กวา เด็กผิวชาวและผวิ เหลือง อกี ดวย

8. วัฒนธรรม เปนสวนหนึ่งที่มีผลทําใหการพัฒนาของเด็กแตกตางกันไปได เชน เด็กไทย
เปนเด็กสงบเสงี่ยม ไมกลาแสดงความคิดเห็น ท้ังน้ีเพราะถูกอบรมใหเชื่อฟงผูใหญ ตรงกันขามกับ
เด็กอเมริกันซ่ึงถูกปลอยใหแสดงความคิดเห็นอยางเสรี ทําใหเด็กกลาแสดงออกและยังปรับตัวเขา
สังคมไดดีกวาอีกดว ย

9. ลําดบั การเกิด ตามปกติลูกคนรองมักมีพฒั นาการเรว็ กวาลกู คนหวั ป เพราะสามารถทํา
ตามแบบอยางของพ่ีไดสวนลูกคนสุดทองมักไดรับการชวยเหลืออยูเสมอโดยไมตองทําเอง จึงอาจทํา
ใหการพัฒนาเปน ไปอยา งลาชา ได

10. การอบรมเลี้ยงดู ถาผูใหญปลอยใหเด็กไดรูจักพ่ึงตนเอง ทําอะไรดวยตนเอง
เด็กจะพัฒนาดา นตาง ๆ ไดเ ร็วกวา เดก็ ท่มี ีผูใ หญค อยชว ยเหลือตลอดเวลา

จะเห็นไดวาพัฒนาการของมนุษยจะครบสมบูรณได ยังตองอาศัยปจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
ดังท่ีกลาวมาท้ังหมด ดังน้ันในการสงเสริมพัฒนาการของเด็ก พอแม หรือผูท่ีเกี่ยวของ จะตองมี
ความเขา ใจเพอ่ื จะไดวางแนวทางสนองความตองการแตล ะดานไดอ ยางถกู ตอง

ลกั ษณะการสงเสรมิ พฒั นาการดา นตาง ๆ ของมนุษย

นักจิตวิทยาไดแบงพัฒนาการและการงอกงามของมนุษย ออกเปน 4 ดาน คือ
(สุภัททา ปณฑะแพทย, 2527, หนา 35)

1. พฒั นาการทางรางกาย หมายถึงความเจรญิ เติบโตท่เี ก่ียวกบั รา งกายท้งั หมด
2. พัฒนาการทางสติปญญา หมายถึงความสามารถในดานความคิด ความจํา ความมี
เหตุผล ความสามารถในการแกป ญหาตาง ๆ ทเี่ กดิ ขึน้ ไดอยา งรวดเร็ว
3. พัฒนาการทางอารมณ หมายถึงความสามารถในการควบคุมอารมณ หรือควบคุม
พฤตกิ รรมใหอยใู นภาวะท่ีสังคมยอมรับ
4. พัฒนาการทางสังคม หมายถึงความสามารถในการที่จะปรับตนใหเขากับสังคมท่ี
ตนอยูไ ดเปน อยางดี และสามารถปรับตนใหเขา กับสง่ิ แวดลอ มรอบตัวเองได

พัฒนาการท้ัง 4 ดานของมนุษยมักจะดําเนินควบคูพรอมกันไป แมวาในทางชวงของอายุ
พัฒนาการบางอยางจะยังไมปรากฏใหเห็นเดนชัดก็ตามที แตมันก็ไมไดหมายความวา พัฒนาการ
ทางดานอื่น ๆ จะไมมีการดําเนินอยู การศึกษาพัฒนาการแตละวัยทั้ง 4 ดานจะปรากฏในวัยทารก
วัยเด็ก วัยรุน วัยผูใหญและวัยชรา ซึ่งจะกลาวถึงอยางละเอียดในบทตอ ๆ ไป สําหรับพัฒนาการ
ดานอารมณน้ัน ในสวนท่ีเก่ียวของกับความฉลาดทางอารมณ เปนหัวขอหน่ึงที่จะขอกลาวถึงอยาง
ละเอยี ด เพอื่ เปน พน้ื ฐานในการศกึ ษา พฒั นาการทางอารมณใ นชว งวัยตา ง ๆ ตอไป

23

ความฉลาดทางอารมณกบั การสง เสริมพัฒนาการ

ในชวงหลายสิบปท่ีผานมา มีทั้งความเช่ือ และขอสรุปจากผลการศึกษาวิจัยวา บุคคลท่ีมี
ความสามารถ หรอื ความเฉลียวฉลาดทางสติปญญา (Intelligent Quotient) จะประสบความสําเร็จ
ในการกระทําสงิ่ ตาง ๆ ไดดี แตในความเปนจริง พบวา ผูที่ประสบความสําเร็จไมไดมีความสุขในชีวิต
เสมอไปจึงเกิดความสนใจวาสิ่งที่นอกเหนือไปกวาความเฉลียวฉลาดทางสติปญญาที่จะทําใหบุคคล
ทั้งประสบความสําเร็จ และมีความสุขนั้นคือสิ่งใด และก็พบวาสิ่งน้ันก็คือ ความเฉลียวฉลาด
ทางอารมณ (Emotional Quotient)

บุคคลท่มี คี วามฉลาดทางอารมณสูง ควรมีคุณลักษณะดงั นี้ (กรมสุขภาพจติ , 2543 , หนา 2)
1. รับรูอารมณข องตนเองมากกวาจะกลา วโทษผูอืน่ หรือสถานการณ
2. สามารถแยกแยะระหวา งความคดิ และความรสู ึกได
3. มคี วามรับผดิ ชอบตอความรูสกึ ของตนเอง ไมโ ทษผูอื่นหรอื สงิ่ อน่ื
4. รูจักใชค วามรสู กึ เพ่อื ชว ยในการตัดสินใจ
5. นบั ถือความรูสึกของผูอนื่
6. สามารถควบคมุ อารมณโกรธได
7. เขาใจ เห็นอกเหน็ ใจและยอมรับความรสู ึกของผอู นื่
8. รจู กั ฝกหาคณุ คาในทางบวก จากอารมณใ นทางลบ
9. ไมชอบแนะนํา ส่งั ควบคุม วิพากษว ิจารณ ตดั สนิ หรอื ส่ังสอนผอู ืน่
10. หลีกเลี่ยงการปะทะอารมณกับคนท่ีไมย อมรบั หรือไมเคารพความรสู กึ ของผอู นื่

ความฉลาดทางอารมณ เปนผลจากความสัมพันธระหวางบุคคลกับสิ่งแวดลอม
ถาส่ิงแวดลอมดี เชน มีคําชม หรือมีการใหกําลังใจกัน จะทําใหบุคคลในสังคมมองโลกในแงดี
มีความมั่นใจในตนเอง และมีการแสดงออกทางอารมณท่ีดีดวย ดังนั้น การพัฒนาความฉลาด
ทางอารมณ ตองอาศัยความรวมมือจากบุคคลในสังคมทุกฝาย ทั้งบิดา มารดา ครูอาจารย ฯลฯ
มาชวยฝกฝนอยางตอเน่ือง นอกจากการอบรมสั่งสอนจากบิดามารดา และครูอาจารยแลว
มีงานวิจัยพบวาตัวเด็กเองก็สามารถพัฒนาความฉลาดทางอารมณ โดยการสังเกตและเรียนรู
พฤตกิ รรมของบุคคลอ่ืน ดวยตนเอง ดังนี้

ทารกอายุ 5 – 6 เดอื น สามารถมปี ฏกิ ริ ิยาตอบสนองตอเสยี งและการส่อื สารได
เด็กอายุ 3 ป สามารถอานลักษณะอารมณท ่ปี รากฏบนสหี นา และแววตาได
เด็กอายุ 4 ป สามารถระบุลักษณะอารมณจากใบหนาและแววตาท่ีมองเห็นไดถูกตอง
50 เปอรเ ซ็นต
เด็กอายุ 6 ป สามารถจําแนกใบหนาท่ีแสดงถึงความสุขและความรูสึกขยะแขยงได
ถูกตอ ง 75 เปอรเ ซ็นต

24

ดังนั้นความฉลาดทางอารมณจึงสามารถพัฒนาไดจ ากตนเองท่ีไดสังเกตและเรียนรูพ ฤตกิ รรม
บุคคลอื่นในสังคมต้ังแตเด็กเล็กและจากการอบรมส่ังสอนของพอแมและครูอาจารยซ่ึงบุคคลท่ีมี
ความฉลาดทางอารมณมักจะเปนผูที่ประสบความสําเร็จและมีความสุขในชีวิตโกลแมน (Golomen,
1995 : 42-44) จงึ ไดเสนอวธิ กี ารพฒั นาความฉลาดทางอารมณ ดังน้ี

1. การรูจกั อารมณของตนเอง (Kowing one’s Emotion)

เปนการรูจักและเขาใจอารมณของตนเองตามที่เปนจริงแลวนําอารมณที่เกิดข้ึนมา
ปรับใชใหเหมาะสมกับสถานการณตาง ๆ จึงทําใหตนเองมีความสุข และใชความคิดไดอยาง
มีประสิทธิภาพ การรูจักอารมณตนเองจึงจัดเปนพื้นฐานท่ีสําคัญของการพัฒนาความฉลาด
ทางอารมณ ซ่ึงจะนําไปสูการรูจักการควบคุมอารมณและการแสดงออกไดดีขึ้น แนวทาง
ในการพฒั นาการรจู ักอารมณต นเองทาํ ไดดังน้ี

1.1 ใหเวลาทบทวนอารมณตนเองโดยพิจารณาวาตนเองมีลักษณะอารมณเชนไร
การแสดงออกทางอารมณเปนอยางไร ผลยอนกลับจากการแสดงอารมณพอใจหรือไม เหมาะสม
หรือไม ถาพอใจและเหมาะสม ตองแนใจวาไมเขาขางตนเอง ถาไมพอใจและไมเหมาะสม
ก็หาวิธีการแสดงออกทดี่ ใี นคร้งั ตอไป

1.2 ฝกใหเกิดการรูตัวอยูเสมอและมีสติกับการรูตัว โดยตองรูวารูสึกอยางไรกับตัวเอง
หรือส่ิงที่เกิดข้ึนรอบ ๆ ตัวขณะนี้ คิดอยางไรกับความรูสึกท่ีเกิดข้ึน และความคิดความรูสึกนั้น
มผี ลตอการแสดงอยางไร

2. การจัดการกบั อารมณต นเอง (Managing Emotion)

เปนความสามารถในการควบคุมอารมณตนเองไมแ สดงอารมณทนั ทีทนั ใดและรูจักแสดง
อารมณไ ด อยางเหมาะสมกบั บุคคล สถานท่ี เวลาและสถานการณต าง ๆ จึงทําใหเกิดความสบายใจ
ซ่ึงมีผลทําใหมีความสําเร็จและมีความสุขในการทํางาน และอยูรวมกับบุคคลอ่ืน แนวทาง
ในการฝก การจดั การกบั อารมณต นเองทําไดด ังนี้

2.1 ทบทวนวา มอี ะไรบา งที่ทําเพ่ือตอบสนองอารมณที่เกดิ ขน้ึ และผลตามมาเปนอยา งไร
2.2 เตรียมการในการแสดงอารมณ โดยฝกสั่งตัวเองวาจะทําหรือไมทําอะไร
ในครั้งตอไป
2.3 ฝกการรบั รูส ่ิงตา ง ๆในดานดี เพือ่ ใหเ กดิ ความสบายใจอารมณด ี
2.4 ฝกการสรางความรสู กึ ท่ีดตี อ ตนเองและสง่ิ รอบ ๆ ตวั
2.5 ฝกการมองหาประโยชนหรือโอกาสจากอุปสรรค โดยเปล่ียนมุมมองในแงดี คิดวา
เปน สงิ่ ทา ทาย
2.6 ฝก การผอ นคลายความเครียด โดยเลือกวธิ ีทเี่ หมาะสมกบั ตนเอง

25

3. การสรา งแรงจงู ใจใหต นเอง (Motivating Oneself)

เปนการมองแงดีของส่ิงตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นกับตนเองและสรางความเชอื่ ม่ันวา เราสามารถ
อยูกับสิ่งนั้นได เราสามารถทําได เราสามารถผานพนไปไดดวยดี ทั้งน้ีเพ่ือใหเกิดกําลังใจ
ที่จะสรา งสรรคส ิ่งดี มงุ ไปสูเปา หมายท่ีต้ังไว แนวทางในการสรา งแรงจงู ใจใหก บั ตนเองมีดงั นี้

3.1 ทบทวนวาส่ิงท่ีสําคัญในชีวิตของเรามีอะไรบาง ท่ีเราตองการ อยากได อยากมี
อยากเปน จัดอันดับความสําคัญ แลววางขั้นตอนท่ีจะมุงไปสูเปาหมายน้ัน ตองระวัง
อยา ใหเหตกุ ารณบางอยา งมาทําใหไ ขว เขวไปจนออกนอกทางที่จะบรรลุเปาหมาย

3.2 ถาทานเปนบุคคลประเภท “สมบูรณแบบ” (Perfectionist) (คือทุกอยาง
ที่เก่ียวกับกับทานตองดีที่สุด สมบูรณท่ีสุด ผิดพลาดไมได) ตองพยายามลดความสมบูรณแบบลง
ฝกสรางความยืดหยุนในอารมณ จะไดไมเครียด ผิดหวังจะเสยี กําลังใจหากเกิดสิ่งผิดพลาดบกพรอง
ขึ้น

3.3 ฝกการมองหาประโยชนจากอปุ สรรค มองหาสงิ่ ดีจากสิ่งเลวรา ยทเี่ กดิ ขึน้ แลว
3.4 ฝกสรางทัศนคติที่ดี ทําความเขาใจในเรื่องการมองโลกในแงดี หามุมมองที่ดี
ในเรอื่ งทเ่ี ราไมพ อใจ มองปญ หาใหเปนการเรียนรูเพ่ือเกดิ ความพึงพอใจ เปน การเพม่ิ พลัง แรงจงู ใจ
ใหตัวเอง
3.5 หมั่นสรางความหมายในชีวิตใหแกตนเอง มองส่ิงดีในตนเอง นึกถึงส่ิงท่ีสรางความ
ภูมิใจแมจะเปนส่ิงเล็ก ๆ นอย ๆ ในตัวเรา และพยายามใชส่ิงดีในตนสรางใหเกิดคุณคาแกท้ังตนเอง
และผูอืน่ อยเู สมอ
3.6 ใหก าํ ลังใจตวั เอง คิดอยูเ สมอวา เราทําได เราจะทํา ลงมอื ทํา

4. การหยัง่ รูอารมณผูอื่น (Recognizing Emotion in Others)

เปนความสามารถในการับรูอารมณ – ความรูสึกของผูอ่ืน มีความเขาใจ เห็นใจผูอ่ืน
สามารถปรับความสมดุลของอารมณตนเอง ตอบสนองตอผูอื่นไดอยางสอดคลองกัน ความสามารถ
ในดานน้ีเปนทักษะทางสังคม ซ่ึงใชในการดํารงชีวิตอยูในสังคม แนวทางการฝกการหย่ังรูอารมณ
ของผอู ่ืนมีดงั นี้

4.1 ใหความสนใจการแสดงออกของผูอื่น โดยการสังเกตสีหนา แววตา ทาทาง
การพูด ถอยคํา น้ําเสียง ตลอดจนการแสดงออกอื่น ๆ ฝกสังเกตบอย ๆ โดยเฉพาะสีหนา แววตา
จะสังเกตไดง ายกวาจดุ อื่น

4.2 อานอารมณความรสู กึ ของเขาจากสง่ิ ทส่ี งั เกตเหน็ วาเขากาํ ลงั มีอารมณค วามรสู ึกใด
4.3 ทําความเขาใจอารมณ ความรูสึกของบุคคลตามสภาพท่ีเขาเผชิญอยูหรือที่
เรยี กกนั ทวั่ ๆ ไป คอื เอาใจเขามาใสใจเรา
4.4 แสดงการตอบสนองอารมณความรูสึกของผูอื่นที่เปนการแสดงวาเขาใจ เห็นใจกัน
ทาํ ใหเ กดิ อารมณความรสู ึกทดี่ ตี อกนั

26

5. การรักษาความสัมพนั ธท ่ีดตี อ กนั (Handling Relationships)

เปนความสามารถในการอยูรวมกันและทํางานรวมกับผูอื่นโดยมีสัมพันธภาพที่ดีตอกัน
และสรางสรรคผลงานทเ่ี ปนประโยชน แนวทางการพฒั นาการรักษาความสัมพนั ธทดี่ ตี อกนั มดี ังนี้

5.1 การมองตนเองและผูอื่นในแงดี สรางอารมณท่ีดีตอกัน การฝกสรางความรูสึก
ท่ีดตี อผอู ่ืน เขาใจ เหน็ ใจ ผูอนื่ จะทําใหการเรม่ิ ของการมสี มั พนั ธภ าพท่ดี เี กิดข้นึ

5.2 ฝก การสอ่ื สารที่มปี ระสทิ ธภิ าพ สรา งความเขาใจทตี่ รงกัน ชัดเจน ฝกการเปน ผฟู ง
และพดู ท่ีดี

5.3 ฝกการแสดงนํ้าใจ ความเอ้ือเฟอรูจักการให การรับ การแลกเปลี่ยน ใหเกิดคุณคา
ประโยชน สําหรับตนเอง และสําหรบั บคุ คลทีเ่ กยี่ วขอ ง

5.4 ฝกการใหเกียรติผูอื่นอยางจริงใจ ใหการยอมรับ เพราะเปนส่ิงที่จะทําใหผูรับ
มีความภาคภมู ใิ จ และมีความรูส ึกท่ดี ตี อบแทนมา

5.5 ฝกการแสดงความช่ืนชอบ ช่ืนชม และใหกําลังใจซ่ึงกันและกัน ตามวาระที่
เหมาะสม

ในชีวิตจริง มนุษยเราใชอารมณมาก แตไมคอยไดพัฒนาอารมณ อยางจริงจัง เพราะให
สําคญั กบั ดา นความรู ความคิด และดานทกั ษะความชาํ นาญมากกวา นบั วาเปนโอกาสดที ่ใี นปจ จุบัน
มีผูใหความสนใจในการพัฒนาอารมณมากข้ึน หลังเหตุการณรุนแรงตาง ๆ เกิดขึ้นมากมายในสังคม
พบวาสวนใหญมีสาเหตุมาจากการไมสามารถควบคุมอารมณ ไมวาจะเปนเร่ืองการทะเลาะวิวาทกัน
การทํารายผูอื่น แมกระทั่งการทํารายตัวเองจึงเริ่มสนใจ และใหความสําคัญกับการใชอารมณ
วาหากใชอารมณไดอยางเหมาะสมกับสถานการณหรือใชอารมณอยางเฉลียวฉลาดแลว จะเปนผลดี
ตอประสิทธิภาพในความคิด และการแสดงพฤติกรรม การสรางพัฒนาการทางอารมณ
จึงมีความสําคัญอยางย่ิงในยุคปจจุบัน เร่ิมไดต้ังแตวัยทารกโดยมีพอแม และผูใกลชิด คอยดูแล
จวบจนกระทั่งเติบโตเปนเด็ก จากนั้นเด็กจะตองเขาไปสูโรงเรียน ซึ่งตองปรับตัวกับสิ่งแวดลอม
ที่เขาอยู หากเด็กมีพัฒนาการทางอารมณท่ีเหมาะสม จะชวยใหกาวเขาสูความเปนผูใหญที่มี
ความฉลาดทางอารมณสามารถใชชีวติ ในสงั คมไดอ ยางมคี วามสุข และประสบความสาํ เรจ็

การแบง ชว งวัยตาง ๆ ของมนุษย

นักจิตวิทยาพัฒนาการไดแบงชวงวัยตาง ๆ ของมนุษยไวตามระดับอายุโดยจําแนกได
ดงั ตอไปน้ี (Newman. 1999 , pp. 43)

1. ระยะกอนเกิด (Prenatal) โดยเริ่มตั้งแตปฏิสนธิจนกระท่ังคลอดซ่ึงไดแบงชวง
ของพฒั นาการในครรภมารดาออกเปน 3 ระยะดงั นี้

1.1 ระยะท่ีไขผ สมกบั สเปรม แลว เปน ตวั ออ น (Zygote) ประมาณ 0-2 สัปดาห
1.2 ระยะตวั ออ น (Embryo) ประมาณ 2 สปั ดาห – สปั ดาหที่ 10
1.3 ระยะพฒั นาการสมบรู ณ (Fetus) ประมาณ 3 เดือนจนกระทง่ั ถึงคลอด

27

2. วัยทารก แบงไดดังนี้
2.1 วัยทารกแรกเกดิ (Infancy) ตงั้ แต 0 – 2 สปั ดาห
2.2 วัยทารก (Babyhood) ต้ังแต 2 สปั ดาห – 2 ป

3. วัยเด็ก แบง ไดด ังน้ี
3.1 วัยเด็กตอนตน (Early Childhood) ตั้งแต 2 – 6 ป
3.2 วัยเด็กตอนปลาย (Late Childhood) เรม่ิ ตงั้ แต 6 – 12 ป

4. วยั รุน แบงระยะพัฒนาการออกเปน 3 ระยะดงั นี้
4.1 วยั แรกรุน (Puberty Preadolescence) ต้ังแต 12 – 14 ป
4.2 วัยรนุ ตอนกลาง (Middle Adolescence) ตัง้ แต 15 – 17 ป
4.3 วยั รนุ ตอนปลาย (Late Adolescence) เรมิ่ ตง้ั แต 18 – 20 ป

5. วัยผูใหญตอนตน (Early Adulthood) เร่ิมตง้ั แต 21 – 40 ป
6. วัยกลางคน (Middle Age) ตงั้ แต 40 – 60 ป
7. วยั ชรา (Old Age) 60 ปข้ึนไป

ศรีเรือน แกวกังวาล (2545, หนา 15-19) ไดแบพัฒนาการของมนุษยออกเปน 8 ชวงวัย
ไดแ ก

1. วัยกอนคลอด (ตั้งแตปฏิสนธิจนถึงคลอด) เปนวัยท่ีเริ่มจากการปฏิสนธิเปนตัวออน
และมีการเจริญเติบโตของตัวออน มีการพัฒนาโครงสรางของรางกายและอวัยวะตาง ๆ ในวัยน้ี
มีการพัฒนาทางรางกายเรว็ ท่ีสุด เมอ่ื เทียบกับชว งวัยอืน่ ๆ มคี วามไวตอ สง่ิ แวดลอ มตาง ๆ อยา งมาก

2. วัยทารกตอนตนและตอนปลาย (ต้ังแตแรกคลอด – 3 ป) วัยด็กเกิดใหมย ังชวยตัวเอง
ไมได มีระบบประสาทรับความรูสึกทํางานไดแลว การพัฒนาทางกายและทักษะการเคล่ือนไหว
ตาง ๆ เจริญรวดเร็วมาก มีความสามารถในการเรียนรูสิ่งใหม ๆ และการจําสิ่งตาง ๆ มีความเขาใจ
ในภาษาพูดทรี่ วดเร็ว และเร่มิ สนใจเดก็ คนอน่ื ๆ

3. วัยเด็กตอนตน (อายตุ ง้ั แต 3 – 6 ป) เปน วยั ทเ่ี ด็ก มีพัฒนาการทกั ษะในการใชก ลา มเน้ือ
ใหญแ ละเล็ก รจู กั ชวยตนเองและควบคมุ ตนเองได รูจกั ใชจ ินตนาการกวางไกล

4. วัยเด็กตอนกลาง (อายุต้ังแต 6 – 12 ป) เด็กสามารถเร่ิมคิดเปนเหตุผล และรูปธรรม
ความจําและความสามารถทางภาษาพัฒนาดีข้ึน มีการพัฒนาความคิดเกี่ยวกับตนเอง และรูจัก
ตนเองมากขน้ึ พฒั นาการของกลามเน้ือดขี ้นึ สามารถเลน กีฬาตา ง ๆ ได

5. วัยรุน (อายุตั้งแต 12 – 20 ป) เปนวัยท่ีมีการเปลี่ยนแปลงของรางกายท่ีรวดเร็ว
เร่ิมเขาสูวัยเจริญพันธ มีการคิดแบบนามธรรม และสามารถคิดแบบวิทยาศาสตรไดอยางกวางและ
ลึก ในวยั นี้อาจมชี อ งวา งระหวางวัยเกิดข้ึนได

6. วัยผใู หญตอนตน (อายุต้ังแต 20 – 40 ป) เปน วัยทีเ่ รมิ่ แสวงหาเพ่ือนสนิทอยา งจริงจัง
เริ่มหาคูครอง แตงงาน เปนสามี – ภรรยา และเปนพอ – แม ของลูก วัยน้ีรูจักตนเองมากขึ้น
รูจกั การคิดทมี่ ีความซับซอ นมากข้ึน การตัดสนิ ใจในเร่ืองตา ง ๆ อาจเปลย่ี นแปลงได

28

7. วัยผูใหญตอนกลาง (อายุต้ังแต 40 – 60 ป) เปนวัยที่แสวงหาความหมายของชีวิต
มีความรับผิดขอบสูงขึ้น เร่ิมมีความเสื่อมทางรางกายในดานตาง ๆ การเคลื่อนไหวเช่ืองชาลง
ในผูหญงิ จะหมดประจาํ เดอื น เร่ิมยอมรบั ความไมเ ทย่ี งของชีวิต และเตรีมพรอ มเพอ่ื เขา สูวยั สูงอายุ

8. วัยสูงอายุ (อายุ 60 ปข น้ึ ไป) เปนวัยทส่ี มรรถภาพทางรางกาย สติปญญาและความจํา
เร่ิมเสื่อมลง การเคลื่อนไหวชาลง รูจักการปรับตัวตอการเกษียณอายุ มีการคนหาความหมายของ
การดํารงชีวิต โดยยอนนึกถึงประสบการณท่ีผานมา รูจักเผชิญกับความตายของคนรัก และเตรียม
ตัวตายอยางสงบและมสี ติ

ที่กลาวมาแลวเปนการแบงวัยในทัศนะของนักจิตวิทยาตางประเทศสําหรับการแบงวัยของ
คนไทย เราก็มีมาแตโ บราณดงั คํากลาวทวี่ า

วยั แรกเกดิ – 20 ป เปนวัย “อาบน้ําบห นาว” เปนระยะที่คนไมมีทุกรอนใดๆ อยากไดอะไร
กม็ ีผูคอยทําให

วัย 20 – 30 ป เปนวัย “เกี้ยวสาวบเบื่อ” เปนวัยท่ีคนเริ่มสนุกสนานเต็มที่เริ่มมีความ
จริงจงั กับชวี ติ คู คิดที่จะมเี หยามีเรือนเหมอื นผูใหญท ง้ั หลาย

วัย 30 – 40 ป เปน วัย “สูเสือทุกทา” เปน ระยะท่คี นเริม่ ทํางานอยา งจรงิ จัง เพอื่ กอราง
สรางตวั

วัย 40 – 50 ป เปนวัย“ลามือกอนไก” เปนระยะปฏิบัติกิจไดกระฉับกระเฉงไมเหมือน
แตกอ น เปนวยั สดุ ทายทจี่ ะสรา งสรรคส ่ิงตาง ๆ เพ่ือความเจรญิ ของตนได

วัย 50 – 60 ป เปนวัย “ไปนากลับมาทอดหุย” เปนระยะที่กําลังวังชาของคนเรากําลัง
จะหมดลงแลว ทาํ อะไรสักหนอ ยรสู ึกกระโหยโรยแรง

วัย 60 – 70 ป เปนวัย “เปาขลุยบดัง” เปนระยะที่คนเขาสูวัยชราสมรรถภาพใน
การทาํ งานหมดลงแลว สิ่งท่ที าํ ไดในวยั น้ีคอื เลาเรอื่ งอดตี ใหล กู หลานฟง

วยั 70 – 80 ป เปน วยั “เดินหลงั บตรง”
วัย 80 – 90 ป เปน วัย “ลงดินบได” คือหมดแรง
วัย 90 – 100 ป เปนวัย “ขี้ไหลบฮู” ไมสามารถคุมสติตนเองไดกลับมีสภาพเปนทารก
อกี ครง้ั
วัย 100 ปข ้ึนไป เปนวยั “ไขก ต็ ายบไ ขก็ตาย”

จะเห็นไดวาการแบงวัยของคนไทย มีสวนคลายคลึงกับการแบงวัยของตางประเทศ แตของ
คนไทยแบงคอนขางละเอียดกวา ในวัยปลาย การเขาใจข้นั ตอนการแบงวัยของชีวิตชวยใหเ รา ๆ เขาใจ
ตนเองและเขาใจผูอ่ืนไดดีข้ึน ทําใหเราสามารถปฏิบัติตอเขาไดอยางเหมาะสมกับพัฒนาการ
ความตองการและความสนใจของเขา เปนทางนําไปสูความเขา ใจอันดตี อ กันระหวา งคนวยั ตา ง ๆ ได

29

สรุป

การเจริญเตบิ โตเปน การเปล่ียนแปลงทางการดา นโครงสรางสรรี ะของรา งกาย ซึง่ เปน การเพ่ิม
จํานวนและขนาดของเซลลท่ีเกิดขึ้น เฉพาะที่หรือทุกสวนของรางกาย สวนพัฒนาการ
เปนการเปลี่ยนแปลงดานคุณภาพทําใหมีลักษณะและความสามารถใหม ๆ เกิดข้ึน ดังนั้นพอจะกลาว
ไดวา ผลของพัฒนาการและการเจริญเติบโต กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ดานขนาด ดานสัดสวน
การเกิดลักษณะใหม ๆ แทนท่ีลักษณะเกา ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงทุกอยางที่เกิดข้ึนมีความสําคัญมาก
เพราะมีผลตอพฤติกรรมและทัศนคติของบุคคลแตละคน ในสวนพัฒนาการของมนุษย ทุกคนจะอยู
ภายใตระเบียบแบบแผนเดียวกัน มีแบบฉบับเฉพาะ นอกจากนี้อัตราพัฒนาการแตละสวนของ
รางกาย ยังมีความแตกตางกัน และพัฒนาการทุกดาน จะมีความสัมพันธกันหมดแตอยางไรก็ตาม
พัฒนาการของมนุษยจะเก่ียวของกับองคประกอบท่ีสําคัญ อยู 2 อยางคือ วุฒิภาวะและการเรียนรู
ซ่ึงจะมีปฏิสัมพันกัน อาจกลาวไดวา การเรียนรูจะไดผลดีที่สุด เม่ือวุฒิภาวะพรอม แตถาหากเลย
เวลาของวุฒิภาวะนี้แลว การเรยี นรกู ็ยากท่ีจะเกดิ ข้นึ หรือไมเ กิดเลย

นอกจากองคประกอบ 2 อยางที่กลาวมา ยังมีสาเหตุอื่น ๆ ท่ีมีอิทธิพลเกี่ยวของกับ
พัฒนาการดังเชน สติปญญา เพศ ระบบตอมในรางกาย อาหาร อากาศที่บริสุทธ์ิ โรคภัยไขเจ็บ
เชื้อชาติ วัฒนธรรม ลําดับการเกิด และการอบรมเล้ียงดูเปนตน ซึ่งผูเกี่ยวของจะตองมีความเขาใจ
เพื่อจะไดวางแนวทางสนองความตองการในแตละวัยไดอยางเหมาะสม การศึกษาพัฒนาการ
ของมนุษยทุกวัยจะตองศึกษาทั้ง 4 ดาน ไดแก ทางดานรางกาย ดานสติปญญา ดานอารมณ และ
ดา นสังคม สาํ หรบั ดา นอารมณจ ะเนนถึงการพฒั นาความฉลาดทางอารมณ ซง่ึ จะชวยใหบุคคล อยูใน
สังคมไดอยางเปนสุข และประสบความสําเร็จในชีวิต สําหรับการแบงวัยของมนุษย นักจิตวิทยา
มีการแบงวัยของมนุษยออกมาในแนวทางคลายคลึงกัน เพื่อสะดวกในการศึกษาลักษณะเดน ๆ
ของคนวัยนั้น ๆ ตอ ไป

31

บทที่ 3

ทฤษฎพี ัฒนาการ

รองศาสตราจารย ดร.ปญจนาฏ วรวัฒนชัย

การศึกษาพัฒนาการของมนุษยนักจิตวิทยาไมเพียงแตมุงสนใจศึกษาพัฒนาการของมนุษย
ในดานสรีระรางกาย หรือ การเปลี่ยนแปลงดานพฤติกรรมเทานั้น ในการศึกษายังตองคํานึงถึง
พัฒนาการดานอ่ืน ๆ ดวย เชน ดานความคิด อารมณ บุคลิกภาพ และสังคม เปนตน ดังนั้น
การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีพัฒนาการจึงเปนส่ิงสําคัญ ทั้งนี้เพ่ือที่จะไดเขาใจถึงพัฒนาการของมนุษย
ในแตละวัยไดดยี ่งิ ขน้ึ

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญ ญาของเพยี เจท

จอง เพยี เจท (Jean Piaget) เปนนักจิตวิทยาชาวสวิสที่มชี ื่อเสียง เขาสนใจศกึ ษาพัฒนาการ
ทางสตปิ ญ ญา และความคดิ ในเดก็ โดยเขาเช่อื วา ความคิด และสตปิ ญญาของคนเราพัฒนามาจาก
การได มีปฏิสัมพันธ (Interaction) กับส่ิงแวดลอม โดยประกอบดวยกระบวนการท่ีสําคัญ
2 กระบวนการ คอื (อษุ ณา เจรญิ ไวย, 2538, หนา 94)

1. กระบวนซึมซับหรือการดูดซึม (Assimilation) เกิดข้ึนเมื่อมนุษยนําส่ิงท่ีตนรับรู และ
ประสบการณใหม เขาไปผสมกลมกลืนกับ โครงสรางความรูเดิม เชน เด็กถูกสอนใหรูวาสัตวสี่ขา
ที่บานเรยี กวา “แมว” พอเดก็ เห็น สนุ ัข กจ็ ะเรยี กวา “แมว” เชนเดียวกนั

2. กระบวนการปรับและการจัดระบบ (Accommodation) เปน การปรับเปล่ยี นโครงสราง
ความรูเดิมใหเขา กบั ประสบการณใหม เมือ่ ไดม กี ารปฏิสัมพนั ธกับสิ่งแวดลอมมากขน้ึ ทาํ ใหโ ครงสราง
ความรูสอดคลองกบั ความเปนจรงิ ข้นึ

เพียเจท แบง ขั้นพฒั นาการทางสตปิ ญญาของบุคคลเปน 4 ขั้น ดังนี้ (Hetherrington and
Parke, 1993 อา งถงึ ใน ปราณี รามสูต, 2545 , หนา 293 – 294)

1. ขั้นตอบสนองตามรูปธรรม (Sensori Motor Operation) อายุแรกคลอด – 2 ป
เพียเจต อธิบายวา เด็กจะมีปฏิกิริยาตอสภาพจริง ๆ รอบตัวเขา การเคลื่อนไหวสวนใหญก็เปนไป
แบบอัตโนมัติ ไมไดใชสติปญญาเขามาเก่ียวของนัก จะรับรูเฉพาะส่ิงที่เปนรูปธรรมและเด็กมักจะ
แสดงพัฒนาการของสติปญญาและความคิดในรูปของการกระทํา ย่ิงถามีการสัมพันธกับส่ิงแวดลอม
มากเทาใด จะมีความคิดและสติปญญากวางขวางข้ึน จะแกปญหาเรื่องตาง ๆ ไดพอสมควร ท้ังที่ยัง
ส่ือความคิดของเขาออกมาเปนคําพูดหรือเปน ภาษาไมไ ด

32

2. ขั้นเรียนรูสิ่งแวดลอม (Preoperation)อายุ 2 – 7 ป ข้ันน้ีเด็กเริ่มเรียนรูสิ่งแวดลอม
มากข้ึน เริ่มรูจักจัดจําพวกสิ่งของ เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตางของสิ่งตาง ๆ เร่ิมใช
สัญลกั ษณแทนสง่ิ ของ ความคิดอานของวยั นี้ อยกู ับการรบั รสู ง่ิ ภายนอก ดงั นั้น ยิ่งมีโอกาสรับรูมาก
เทาใดก็ยิ่งมีวุฒิภาวะดานการคิดไดมากขึ้นเทาน้ัน นอกจากนั้น เด็กวัยนี้มักยึดตนเอง
เปน ศนู ยก ลางในการคิดและการกระทาํ ตา ง ๆ

3. ข้นั คดิ เชิงรปู ธรรม (Concrete Thinking Operation) อายุ 7 – 11 ป วัยน้ี ความคิด
อานของเด็กจะพัฒนาตอเน่ืองมาจากข้ันแรก ๆ ซึ่งสรุปไดวา สวนใหญความคิดของเด็ก
ยังขึ้นกับการรับรูภายนอก เริ่มใชภาษาเปนเคร่ืองมือในการคิด ซึ่งการวิจัยในระยะหลัง ๆ
ของนักการศึกษาทานอ่ืนไดผลสอดคลองกัน โดยพบวา ย่ิงเด็กมีประสบการณเพ่ิมมากขึ้นเทาใด
วุฒิภาวะทางความคิดและสติปญญาก็มีโอกาสพัฒนามากข้ึน เทาน้ัน เร่ิมมีความสามารถ
ในการแกปญหา การบวก คูณ จัดอันดับสิ่งของและจับคูส่ิงของท่ีเก่ียวของกันได เริ่มสามารถคิด
ยอนกลับ (Reversibility) และ รับความคิดผูอ่ืนได แตเร่ืองที่เกี่ยวกับนามธรรมหรือการคิด
หาเหตุผลยงั ไมส ามารถทาํ ได

4. ข้ันคิดเชิงนามธรรม (Formal Operation) อายุ 11 ปข้ึนไป ข้ันนี้เปนข้ันท่ีความคิด
อานของเด็กเริ่มออกนอกเหนือไปจากส่ิงแวดลอมที่ประสบควมสามารถทางนามธรรมมีมากข้ึนคือมี
ความสามารถในการสรา งภาพพจนสูงมักเขาใจสิ่งที่เปน นามธรรมไดโดยไมต องอาศัยรูปธรรม มีความ
เปนตวั ของตวั เองมากขึ้น มคี วามสามารถในการคดิ หาเหตุผลไดด ี

จากคําอธิบายตามทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของเพียเจต ดังกลาว จะเห็นไดวาเขาให
ความสําคัญของสิ่งเราและส่ิงแวดลอมรอบตัวของบุคคลวามีสวนเสริมสราง สติปญญาของบุคคล
ถาบุคคลใดอยูในส่ิงแวดลอมที่ดี มีการเรียนรูท่ีเหมาะสม จะมีผลตอพัฒนาการท่ีดีของความคิด
สติปญญา และวฒุ ิภาวะของเดก็

ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปญญาของบรูเนอร

เจอโรม บรูเนอร (Jerome S. Bruner) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เขามีความเช่ือวา
การเรียนรูจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธกับส่ิงแวดลอมซ่ึงนําไปสูการเรียนรู
โดยการคนพบ (Discovery Approach) บรูเนอร อธิบายถึงความคิดพ้ืนฐานของการเรียนรูไวดังน้ี
(สุรางค โคว ตระกูล, 2541 , หนา 212–213)

1. การเรียนรูเปนกระบวนการที่ผูเรียนมีปฏิสัมพันธ กับสิ่งแวดลอมดวยตนเอง
การเปลี่ยนแปลงท่ีเปนผลของการปฏิสัมพนั ธ นอกจากจะเกิดข้ึนในตัวของผูเรียนแลว ยังจะเปนผล
ใหเ กิดการเปลี่ยนแปลงในสง่ิ แวดลอมดว ย

2. ผูเรียนแตละคนจะมีประสบการณ และพื้นฐานความรูแตกตางกัน การเรียนรู
จะเกดิ ข้นึ จากการทผ่ี ูเรียนสรางความสัมพนั ธ ระหวางสิ่งทพ่ี บใหมกับประสบการณแ ละมีความหมาย
ใหม

33

3. พัฒนาการทางเชาวนปญญา จะเห็นไดชัดโดยที่ผูเรียนสามารถรับส่ิงเรา ท่ีใหเลือกได
หลายอยางพรอ ม ๆ กัน

นอกจากน้ีบรูเนอร ไดแบงพัฒนาการทางสติปญญา และการคิดของมนุษย ออกเปน
3 ขัน้ ดงั นี้ (พัชรี สวนแกว, 2536 , หนา 89–90)

1. Enactive Stage เปนระยะที่ทารกเขาใจสิ่งแวดลอมจากการกระทํา มีลักษณะ
พฒั นาการดานทักษะ ทารกจะเคลอ่ื นไหว จับ กัด แตะ ถู และตอกส่ิงของเพ่ือใหร ูจกั สง่ิ เหลา น้ัน
และมีประสบการณนอกจากนี้ทารกใชสายตาและเคลื่อนไหวมอื เชน กํา แบ ซึ่งเปนสัญชาตญาณ
ยง่ิ อายนุ อยก็ยิง่ กํามอื แนน ข้นั นีเ้ ปรยี บไดกับขั้นประสาทสัมผัสและการเคล่ือนไหวของเพยี เจท

2. Iconic Representation Stage เร่ิมต้งั แตอ ายุ 3 ป ระยะนีเ้ ด็กบางคนเริ่มตั้งแตป ลาย
ขวบแรก ถึงสามขวบครึ่ง โดยขอมูลตาง ๆ ไดมาจากการนึกวาดภาพในสมองสามารถเขาใจเฉพาะ
จากส่ิงท่ีรับรู ทําไปโดยไมไดคิด แตจะสนใจแสงสวาง เสียง การเคล่ือนไหว ความเดนชัด จะจํา
จากการเห็นและเกิดความประทบั ใจสนใจลกั ษณะตาง ๆ ของส่งิ แวดลอ มเพียงลักษณะเดียว เด็กวยั น้ี
จะไมร เู วลากอ นหลงั จะเขา ใจส่ิงที่รับรเู ฉพาะท่ีเปนกิริยาอาการ หรือตองเห็นเหตุการณ คดิ วาตนเอง
ยิง่ ใหญมีอารมณอ อนไหวงาย เชน แมเ ดนิ ไปก็รองให เปนตน เด็กจะไมสนใจอะไรแนนอนแตจ ะทํา
อะไรตามความรูความเขา ใจท่ีตนเคยเรียนรูหรือมีประสบการณ เทา น้นั ขั้นนี้ใกลเคียงกับข้ันกอนเกิด
ความคิดรวบยอดของเพยี เจท

3. Symbolic Representation Stage เปนระยะสุดทายท่ีพัฒนาจาก อายุ 7 ถึง
8 ปถึงวัยผูใหญเด็กสามารถคิดไดอยางอิสระโดยแสดงออกทางภาษาและใชภาษาเปนเครื่องมือ
ในการคิด คิดกอนทํา มีการเรียนรูและใชภาษา มีเหตุผล และเรียนคณิตศาสตรได ความเขาใจ
สัญลักษณ ทําใหรูจักสิ่งตาง ๆ และมีความเขาใจกวางขึ้น เชน บอกวา แมว ก็รูวาคลายเสือ
รูคุณสมบัติโดยไมตองเอาแมวจริงมาใหดู เปนตน มีความเขาใจขอความสั้น ๆ มีความจําและ
ติดตอส่ือสารกับคนอ่ืน ทําใหไดขอมูลงายขึ้น ข้ันน้ีเทากับข้ันปฏิบัติการคิดโดยใชนามธรรมของ
เพียเจท

จะเห็นไดวา แนวคิดของบรูเนอร จะใหความสําคัญการจัดสิ่งแวดลอม เพื่อตอบสนอง
การเรียนรูโดยการคนพบเพราะการเรียนรูเปนกระบวนการท่ีเก็บเก่ียวจาก ประสบการณรอบตัวเอง
และใชประสบการณท ี่ไดเก็บไวเปน เครอ่ื งมือเพอื่ พัฒนาสติปญ ญาตอ ไป

ทฤษฎีพัฒนาการทางบคุ ลิกภาพของฟรอยด

ซิกมันด ฟรอยด (Sigmund Freud) จิตแพทยชาวเวียนนา ผูซ่ึงใหความสําคัญ
กับพฒั นาการวยั แรก ๆ ของชวี ิต จะมอี ทิ ธิพลตอ บุคลิกภาพเมือ่ เติบโตขึ้น การจัดการตอบสนองและ
ใหประสบการณที่ดีตอความตองการทางรายกาย จะทําใหเด็กพัฒนาไปตามข้ันตอน นอกจากน้ี
ฟรอยด มีความเชื่อวา ชวงวิกฤติ (Critiesl Period) ของมนุษยจะอยูในชวง 5 ปแรกของชีวิต

34

ดังน้ันประสบการณตาง ๆ ที่รุนแรงท่ีเกิดข้ึนในชวงน้ีจะมีผลตอบุคลิกภาพเมื่อเติบโตขึ้น แนวคิด
ทสี่ าํ คัญซึง่ จะนําไปสูการทาํ ความเขา ใจเกย่ี วกับทฤษฎีพฒั นาการทางบคุ ลิกภาพของฟรอยด มีดงั นี้

การแบง ระดบั จติ
ฟรอยด แบง ระดับจติ ของมนุษยเปน 3 ระดบั คือ (ศรีธรรม ธนะภมู ,ิ 2535,หนา15-20)
1. จิตสํานึก (Conscious Mind) เปนระดับจิตท่ีผูแสดงพฤติกรรมทราบและรูตัว

จึงเปน การใชเ หตผุ ล ซ่งึ อยูบ นพื้นฐานของหลกั ความเปนจรงิ
2. จิตกอนสํานึก (Preconsciona Mind) เปนการเก็บสะสมประสบการณท่ีพรอม

จะถูกนํามาใชได ถา ถกู สิ่งเรามากระตนุ
3. จิตไรสํานึก (Unconscious Mind) เปนจิตสวนท่ีทํางานภายใตหลักความตองการ

ของตนโดยปราศจากเหตุผล ดังนั้นจิตสวนนี้จึงมีอิทธิพลตอบุคลิกภาพของมนุษย เพราะเก็บกด
สิง่ ทไ่ี มตอ งการ หรือส่ิงทท่ี าํ ใหต นรูสึกเจ็บปวด สงผลใหแสดงพฤตกิ รรมออกมาโดยไมรูตัว

โครงสรางทางบคุ ลกิ ภาพ
การศึกษาโครงสรางทางบุคลิกภาพจะประกอบดวยสวนสําคัญ 3 สวนไดแก
(นพมาศ อุงพระ, 2546, หนา 28 – 29)

1. อิด (Id) คือ สวนที่ประกอบดวยการทํางานของจิตไรสํานึกเปนสําคัญ เปนแรง
กระตุนใหบุคคลแสดงพฤติกรรมภายใตหลักการแสวงหาความสุข (Pleasure Principle) โดยท่ีไม
สนใจหลักของศีลธรรมหรือประเพณีของสังคม ทําตามความตองการตามสัญชาตญาณ
ตามธรรมชาติ ไดแก ความกาวราว และความตองการทางเพศ ดังน้ัน หากจะเปรียบโครงสราง
บคุ ลกิ ภาพสว นน้ี จะเหมือนดงั มหาสมทุ รที่กวา งใหญ มีความสับสน ไมเ ปนระเบยี บ และขาดเหตผุ ล
เปน บคุ ลิกภาพทย่ี งั ไมไ ดร บั การขัดเกลา หรอื ยงั ไมไดร ับการปรับปรุง

2. อีโก (Ego) คือ สวนท่ีควบคุมความตองการตามสัญชาตญาณของอิด ขณะที่ทารก
เตบิ โตขน้ึ การรับรูทางประสาทสัมผัส และการตอบสนองทางรางกายมีมากข้ึน ทําใหเด็กสามารถรบั รู
และรูถงึ ขอบเขตของการสนองตอบอยางมเี หตผุ ลจากผูเลีย้ งดู และสภาพแวดลอ ม การรับรคู วามเปน
จริงน้ีทําใหเกิดสวนอีโกของจิตใจ อีโกจะชวยทําใหพลังความปรารถนาของอิดระบายออกในทางท่ี
เหมาะสม และอีโกยังเก็บกด (Repress) ความตองการนี้ดวย แตสวนมากอีโกจะพยายามหาทาง
ประนีประนอมใหมีการระบายพลังงานของจิตใจ (Mental Energy) ในทางท่ีเปนไปไดและ
เหมาะสมกับสภาพความเปนจริง

3. ซูเปอรอีโก (Superego) คือ สวนของจิตใจท่ีประกอบดวยความรูสึกผิดชอบช่ัวดี
หรือมโนธรรม และคานิยมทางวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งจะเปนสวนท่ีกระตุนหรือหามการกระทํา
ของบุคคล ซูเปอรอีโกเกิดระหวางพัฒนาการทางจิตใจของเด็กโดยการเลียนแบบอยางจากบิดา
มารดา ในบางคร้ังเกิดความขัดแยงระหวางซูเปอรอีโกกับอีโก อีโกอาจสนับสนุนอิด แตสวนมาก
ซูเปอรอีโกจะสนับสนุนและชวยใหอีโกมีความหนักแนนในการหาทางออกใหความตองการตาม

35

สัญชาตญาณ ความขัดแยงระหวางซูเปอรอีโกกับอีโก ถามีมากเกินไปจะทําใหเกิด
ความรสู กึ ผิด (Guilt) และเสยี ใจ ทําใหบคุ คลนั้นอาจจะแกไขตนเองหรือลงโทษตนเองกไ็ ด

ข้นั ตอนพัฒนาการทางบุคลกิ ภาพ
ฟรอยด ไดแบงพัฒนาการทางบุคลิกภาพออกเปน 5 ข้ัน โดยเขาเชื่อวา ความตองการ
ทางรางกาย เปนความตอ งการตามธรรมชาตขิ องคน ความตองการน้ีเปนพลังชีวิตทาํ ใหคน แสวงหา
ความสุขความพอใจจากสวนตาง ๆ ของรางกาย ท่ีแตกตางไปตามวัยบุคคลใดพัฒนาไปตามขั้นตอน
ดวยดีบุคคลน้ันก็จะมีพัฒนาการทางบุคลิกภาพที่สมบูรณ แตหากไมเปนไปดังกลาวก็จะเกิดสภาวะ
การยึดติดในข้ันตอนใดขั้นตอนหน่ึง ทําใหบุคคลยิ่งออนแอข้ึน ฟรอยด ไดอธิบายพัฒนาการ
ทางบุคลกิ ภาพไวด ังน้ี (ศรเี รือน แกว กังวาล, 2544 , หนา 324 – 325)

1. ข้ันแสวงหาความสุขจากอวัยวะปาก (Oral Stage) ชวงน้ีอายุโดยประมาณต้ังแต
คลอดจนถึง 18 เดอื น ทารกมีความสขุ ในชวี ิตโดยทาํ กจิ กรรมตา ง ๆ ดวยปาก เชน การดดู เคี้ยวกดั
เลนดวยเสียง ผูที่มีพัฒนาการข้ันนี้ไมสมบูรณในชวงวัยน้ี เม่ือโตเปนผูใหญก็คงยังชอบแสวงหา
ความสุขดวยปากอยูอกี เชน ชอบกินจบุ จิบ ชอบพดู คุย ชอบเคี้ยวหมากฝรั่ง ชอบนินทา ชอบสูบ
บหุ รี่ เปนตน

2. ขั้นแสวงหาความสุขจากอวัยวะทวารหนัก (Anal Stage) ชวงน้ีอายุโดยประมาณ
ตั้งแต 18 เดือนถึง 3 ป เปนชวงที่ทารกหาความสุขโดยทํากิจกรรมที่ใชทวารหนัก หากชวงเวลานี้
มีพัฒนาการไมสมบูรณ ทารกน้ันจะโตเปนผูใหญที่มีบุคลิกภาพเปนคนเจาระเบียบ จูจี้ พิถีพิถัน
รกั ความสะอาดอยา งมาก

3. ขั้นแสวงหาความสุขจากอวัยวะเพศปฐมภูมิ (Phallic Stage) ชว งนี้อายโุ ดยประมาณ
ตั้งแต 3 ถึง 6 ป เดก็ มคี วามพงึ ใจทาํ กิจกรรมทเ่ี น่อื งดวยอวยั วะเพศ เชน เลน กับอวัยวะเพศของตน
กิจกรรมนี้อาจทําใหพอแมตกใจ ควรทําความเขาใจเสียวาเปนการเลนข้ันหนึ่งในการพัฒนาการตาม
ธรรมชาติ เมือ่ อายุผา นพนไปแลวเดก็ กเ็ ลกิ เลน ตอไปกเ็ ลียนบทบาททางเพศ จากบุคคลทตี่ นรสู ึกรัก
และใกลชิด ถาพอและแมเปนตวั แบบของเด็กจะเปนยคุ เด็กชาย “ติดแม” และ “เอาอยางพอ ” เปน
พิเศษ สวนเด็กหญิง “ติดพอ” และ “เอาอยางแม” เปนพิเศษ เชนเดียวกัน ชวงเวลานี้ ฟรอยด
เช่ือวาเปนชวงเวลาวิกฤติ (Critical Period) สําหรับเลียนบทบาททางเพศใหคลอยตามเพศของ
ตนเอง เด็กหญิงเด็กชายทลี่ ะเลยการเลียนแบบใหถูกแนวในระยะเวลานี้ จะโตเปน หญิงสาวชายหนุม
ทมี่ บี ทบาททางเพศตรงขามกับเพศทางกายจริงของตน

4. ขั้นแสวงหาความสุขจากสิ่งแวดลอมรอบตัว (Latency Stage) ชวงน้ีอยูระหวาง
อายุประมาณ 6 ถึง 11 ป เปนระยะที่พัฒนาการสวนตาง ๆ ของรางกายเปนไปอยางเชื่องชาเม่ือ
เทียบกับชวงเวลาท่ีผานมาเด็กเริ่มพัฒนาชีวิตสังคมนอกครอบครัว ดังน้ันจึงแสวงหาความพึงพอใจ
จากการติดตอกับผูคนรอบตัวและเพ่ือนรวมวัย เพ่ือนสนิทมักเปนเพศเดียวกันมากกวาตางเพศ ท้ังนี้
เปน การสบื เน่ืองจากการเลยี นและเรียนบทบาททางเพศตอ จากขั้นท่ี 3 ท่กี ลา วมาแลว

36

5. ข้ันแสวงหาความสุขจากแรงกระตุนของทุติยภูมิทางเพศ (Genital Stage)
เด็กอายุประมาณ 12 ถึง 20 ปยา งเขาสูวัยรุน และเริ่มเปนผูใหญ ลักษณะทุติยภูมิทางเพศบรรลุ
วุฒิภาวะสมบูรณทํางานไดเต็มที่ เม่ือเด็กหญิงมีระดู หนาอกขยาย รังไขผลิตไขเพื่อสืบพันธุ
เด็กชายถึงวัยผลิตนํ้าอสุจิ เด็กท้ังสองเพศมีความพอใจคบหาสมาคม รักใครผูกพันกับเพื่อนตางเพศ
ขณะเดยี วกนั กพ็ ยายามประพฤตติ นใหสมบทบาททางเพศ โดยเลียนแบบบุคคลเพศเดยี วกับทตี่ วั นยิ ม
ระยะน้ีมักเห็นชัดเจนวาเด็กคนใดแสดงบทบาททางเพศผิดปกติ ไดแก ผูนยิ มแสดงบทบาท ทางเพศ
ตรงขา มเพศจริงของตน และไมมีเยอ่ื ใยตองใจบคุ คลตา งเพศ

ทฤษฎพี ฒั นาการทางสังคมของอีรคิ สัน

อีริคสัน (Erikson) เปนนักจิตวิทยาในกลุมจิตวิเคราะห เกิดท่ีเมือง Frankfurt ประเทศ
เยอรมันนี เมื่อป ค.ศ. 1902 เขาไดรับการยกยองเปนศาสตราจารยในวิชาพัฒนาการมนุษย
จากมหาวิทยาลัย Harvard อีรัคสัน ไดพบกับแอนนา ฟรอยด บุตรสาวของ ฟรอยด จึงมีโอกาส
ฝกทางจิตวเิ คราะห จนคุนเคยกบั ฟรอยด ทําใหไดแนวคิด และนําไปประยุกตใ ชกบั การศกึ ษา ทฤษฎี
พัฒนาการทางสังคมของเขา ทฤษฎีของอีริคสัน ใหแนวคิดวาพัฒนาการทางบุคลิกภาพมีตั้งแต
เกิดจนถึงวยั ชรา พฒั นาการจะดําเนนิ ตอเน่ืองกันไปอยางเปนแบบแผนโดยแบงขนั้ พัฒนาการมากกวา
ฟรอยด คือ มี 8 ข้ัน โดย 5 ขน้ั แรกจะเนน พัฒนาการของเด็ก ซึ่งเปนชวงที่กําลังมีปญ หาตองการ
วางรากฐานของพัฒนาการถาสามารถผาน 5ขั้นแรกไปไดดวยดี ก็จะทําใหประสบความสําเร็จใน
พัฒนาการข้ันตอไป แตการจะผานพัฒนาการแตละขั้นตามแนวคิดของอีริคสันไดนั้น ตองอาศัย
ส่ิงแวดลอมทางสังคม ไดแก ความสัมพันธของบุคคลในครอบครัว กระบวนการสังคมประกิตและ
วัฒนธรรมทางสังคม เหลานี้เปนตน พัฒนาการ 8 ขั้น ตามแนวคิดของอีริคสัน เรียงลําดับ
ดังตอไปน้ี (Erikson, 1980 ; นวลละออ สภุ าผล, 2524 , หนา 76-97)

1. ข้ันพัฒนาความรสู กึ ไววางใจกบั ความรูสกึ ไมไ ววางใจ (Sense of Trust VS. Mistrust)
ข้ันนี้จะเริ่มตั้งแตแ รกเกิดถึง 1 ป ข้นั นเ้ี ปน ขั้นทีเ่ ด็กจะพัฒนาความไวเ นอ้ื เช่อื ใจ ความไววางใจทัง้ ตอ
ตนเองและตอบุคคลอื่น เม่ือทารกคลอดจากครรภมาสูส่ิงแวดลอมใหม จะมีความตองการ 2
ประการ คือ ความตองการทางกาย จะไดรับจาก อาหาร อากาศ น้ํา เปนตน สวนความตองการ
อีกประการหน่ึงคือ ความตองการทางจิตใจ จะไดจากความรัก ระหวาง แมลูก (Maternal
Relationship) เปนสิ่งสําคัญย่ิงกวาปริมาณของอาหาร และความอบอุนทางกายที่ไดรับ ถาทารก
ไดรับการตอบสนองในส่ิงที่เขาตองการอยางเพียงพอ ยอมทําใหเด็กเกิดความรูสึกไววางใจใน
ประสบการณใหม ที่เขาไดรับ ซึ่งเปนพื้นฐานของการสรางความรูสึกไววางใจตอบุคคลหรือ
ส่ิงแวดลอมอ่ืน ถาเด็กไดรับการเลี้ยงดูที่ไมเหมาะสม ยอมทําใหทารกเกิดความรูสึกหวาดกลัวตอ
สถานการณตาง ๆ ตอไปในอนาคต

2. ขั้นพัฒนาความเปนตัวของตัวเองกับความรูสึกสงสัยไมแนใจ (Autonomy VS.
Doubt) อยูใ นชวงอายุ 1 – 3 ป ในข้ันนีเ้ ปนระยะทเี่ ด็กกําลังเติบโต และมพี ัฒนาการทางกลามเนื้อ

37

ดีขึ้นเปนวัยแหงการทดลอง เขาสามารถทําส่ิงตาง ๆไดดวยตนเองซ่ึงถือวาเปนการคนพบความรูสึก
เปนตัวของตัวเอง การอบรมเล้ียงดูเด็กวัยนี้ จึงควรใหเด็กเรียนรูท่จี ะทําสิ่งตาง ๆ ตามความสามารถ
ของเด็ก เพ่ือเดก็ จะพัฒนาความรูสึกมั่นใจ โดยที่บิดามารดาและผใู หญตองใหคําแนะนํา ความเห็น
ใจ ความเขาใจ แตถาเด็กถูกควบคุมมากเกินไป ไมยอมปลอยใหทําอะไรดวยตนเองเนื่องจากกลัว
อันตรายท่จี ะเกดิ ขึ้น เด็กกเ็ กิดความละอาย ไมแนใ จและสงสัยในความสามารถของตนเอง

3. ขั้นพัฒนาความคิดริเร่ิมกับความรูสึกผิด (Initiative VS. Guilt) ขั้นน้ีอยูในชวงอายุ
3 – 5 ป เด็กมีความสามารถในการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมตาง ๆ ไดมากขึ้นกวาเดิม แตก็ยัง
อยใู นวงจาํ กัด เดก็ มักชอบต้งั คําถามตาง ๆ เนือ่ งจากความคิดเห็นและจนิ ตนาการตาง ๆ ขณะที่กําลัง
ทํากิจกรรมนั้น ๆ อยู ถาบิดามารดาตอบคําถามใหเด็กเขาใจโดยงาย และเหมาะสมกับวัยก็จะ
สงเสริมใหเด็กมีความคิดริเร่ิม อยากสํารวจ อยากเรียนรูส่ิงใหม ๆ แตถาผูใหญ เขมงวดตอ
การกระทํา ไมสนับสนุนใหเด็กไดเลนหรือทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยความคิดริเริ่มของตนเอง อีกทั้ง
มีการลงโทษหรือตําหนิ เด็กทําอะไรผิดพลาด เด็กจะเกิดความรูสึกผิดในตนเอง ไมกลาคิดหรือ
ทําอะไรดวยตนเอง ในระยะน้ี ทง้ั เด็กหญิง และเดก็ ชาย จะมพี ัฒนาการทางเพศโดยเด็กเริ่มมีความรู
เก่ียวกับความแตกตางระหวางเพศ เด็กชายจะรักและตองการเปนเจาของแม เด็กหญิงก็รักพอและ
ตองการเปนเจาของเชนเดียวกัน ความรูสึกนี้จึงพยายามเลียนแบบ (Indentification) บุคลิกภาพ
ของพอและแมที่มีเพศเดียวกันเพื่อใหพอและแมท่ีเปนเพศตรงขามกับตนพอใจ จุดน้ีมีผลใหเด็ก
เกิดการเรยี นรูทีจ่ ะแสดงพฤตกิ รรมตามบทบาททางเพศของตน

4. ข้ันพฒั นาความรูสึกขยันหม่ันเพียรกับความรูสึกดวย (Industry VS. Inferiority) อายุ
6 – 12 ป เดก็ มีความเจริญเตบิ โตและมคี วามอยากรอู ยากเห็น เดก็ จะพัฒนาเปนผูมีความรบั ผิดชอบ
ในการทํางานมากขึ้น โดยมีผูใหญใหกําลังใจในการทําจนสําเร็จ และใหคําชมเชยในความพยายาม
จะเปนผลใหเด็กเกิดความมานะพยายาม คุณลักษณะที่ตรงขามกันก็คือการมีปมดอย
ชวยตนเองไมไดอันเนื่องมาจากการที่เด็กทําสิ่งใดขึ้นมาแลว ผูใหญไมใหความสนใจเห็นวานาเบื่อ
เด็กก็จะพัฒนาความรูสึกดอยในตนเอง ในชวงนี้ เด็กจะเริ่มหางจากครอบครัว แตจะเริ่มมีสังคม
นอกบาน โดยเพอ่ื นจะมีอิทธิพลทีส่ าํ คัญ ดงั นั้นสงั คมนอกบานจงึ มีอทิ ธพิ ลตอเด็กมากข้ึน

5. ข้ันพัฒนาความเปนเอกลักษณกับความสับสนในบทบาท (Identity VS.Role
Confusion) อายุ 12 – 18 ป ชวงน้ีเด็กจะวิเคราะหตนเอง และพยายามแสวงหาเอกลักษณของ
ตนเอง ซึ่งจะชวยใหการตัดสินใจเก่ียวกับอนาคต ตลอดจนมีเปาหมายอะไรในอนาคตซ่ึง
ถาเด็กคนพบก็จะสามารถแสดงบทบาทของตนเองไดอยางถูกตอง แตถาเด็กหาตนเองไมพบ
ไมสามารถแสดงบทบาทไดถูกตองหรือไมสอดคลองเหมาะสมกับตนเองก็ทําใหเกิดความสับสนใน
ชวงน้ีเพื่อนจะมีความสําคัญและมีอิทธิพลตอพัฒนาการของเด็กวัยรุนมาก เพราะความสัมพันธ
กบั เพือ่ นจะเปน ส่งิ จําเปนในการสรางเอกลักษณของตนเองใหเ ขม แข็ง

6. ข้ันพัฒนาความผูกพันกับการแยกตัว (Intimacy VS. Isolation) อายุ 19 – 35 ป
หลังจากผานขั้นท่ี 5 แลวจะสามารถหาเอกลักษณของตนได รูวาตนเองคือใคร มีความเช่ืออยางไร
ตองการอะไรในชีวิต เปนวัยผูใหญตอนตน เปนระยะของการหาคูชีวิตและหลีกเลี่ยงการอยู

38

คนเดียว เร่ิมทํางานเพื่อประกอบอาชีพสรางหลักฐาน สรางครอบครัว และเริ่มสนใจในเพศตรงขาม
มองหาบุคคลท่ีตนเองพอใจ เพ่ือจะเลือกมาเปนคูครองของตนเองซ่ึงความมั่นคงของชีวิตแตงงานน้ัน
ขึน้ อยูกับการเลือกคูครองท่ีเหมาะสม มีการปรับตัวเขากับคูค รอง และเพ่ือนรวมงาน ถาสังคมทําให
เกิดความรูสึกวางเปลาสูญเสีย บุคคลก็จะแยกตัวออกไปจากสังคมและครอบครัวมีผลกระทบไปถึง
ความสามารถของการเปน ผูใหญทสี่ มบูรณ

7. ข้ันพัฒนาความรูสึกสรางสรรคสังคมกับการหมกมุนตอตนเอง (Gernerativity VS.
Self Absorption) จะมีอายุระหวาง 35 – 60 ป วัยกลางคนเปนวัยที่สรางประโยชนใหกับสังคม
ถาบุคคลมีการพัฒนาการในข้ันตน ๆ เปนไปดวยดี เมื่อมาถึงขั้นนี้ก็พรอมท่ีจะทําประโยชนตาง ๆ
ใหกับสังคม รูจักท่ีจะเลี้ยงดูบุตรใหเติบโตเปนสมาชิกท่ีดีของสังคม สิ่งสําคัญ อีกประการหนึ่งคือ
พัฒนาการข้ันนี้ของบุคคลจะเกี่ยวของกับสังคมมีความสนใจสังคมมีความรูสึกวาสังคมกับชีวิตสวนตัว
สามารถรวมเปนหน่ึงเดียว แตถาบุคคลใดไมพัฒนามาถึงข้ันนี้ก็จะเกิดความรูสึกทอแท เบื่อหนาย
ในชีวติ หมกมุนตอ ตนเอง ไมคิดสรา งประโยชนใหสังคม

8. ข้ันพัฒนาบูรณาภาพกับความสิ้นหวัง (Integrity VS. Despair) อายุ 60 ปข้ึนไป
วยั ชราซ่ึงเปนวัยสุดทายของชีวิต พัฒนาการในขัน้ สดุ ทายนี้มพี น้ื ฐานมาจากการปรับตัวในขนั้ แรก ๆ
ของชีวิต ก็จะบังเกิดความพึงพอใจในชีวิตของตน รูสึกหาความสุขความสงบ พงึ พอใจกับการมีชีวิต
อยูของตน แตถาข้ันพัฒนาตอนตน ไมเหมาะสมเมื่อมาถึงขั้นนี้ก็จะรูสึกส้ินหวัง รูสึกวาเวลาเหลือ
นอยเหลือเกิน สั้นเกินไปกวาท่ีจะแสวงหาวิธีตาง ๆ มาใชเพื่อใหชีวิตมีความสุข ไมยอมรับสภาพ
ความเปน อยูข องตนหาความสขุ ความสงบใหกับตนเองไมไ ด

ฉะน้ันอาจกลาวไดวา พัฒนาการในระยะตนจะมีผลตอพัฒนาการในขั้นตอ ๆ ไป เพราะ
ความม่ันคงของบุคคลข้ึนอยูกับการไดรับสิ่งที่ตนกระทําและสะสมมาถาไดเริ่มมีการพัฒนามาดวยดี
ต้งั แตแรกแลว กย็ อมทจ่ี ะมผี ลตอ การพฒั นาในข้นั ตอไปจนถึงวาระสุดทา ย

ทฤษฎีพฒั นาการทางจรยิ ธรรมของโคลเบอรก

ลอวเรนซ โคลเบอรก (Lawrence Kohlberg) เปนนักจิตวิทยาที่ไดสรางทฤษฎีพัฒนาการ
ทางจริยธรรมข้ึน โดยเขาเชื่อวา พัฒนาการทางสมองหรือสติปญญานั้นเปนรากฐานทางการพัฒนา
จริยธรรม และพัฒนาการทางจริยธรรมของบุคคลจะตองเกิดข้ึนเปนลําดับขั้น โดยเริ่มจากขั้นแรก
กอนเรื่อยไปจนถึงขั้นท่ี หก จะขามขั้นไมได และพัฒนาการอาจจะชะงักอยูในข้ันใดข้ันหน่ึงก็ได
ท้ังนี้ขึ้นอยูกับความสามารถทางสติปญญา และเหตุการณทางสังคม ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม
ของโคลเบอรก ประกอบดวยแนวคิดทางดานจริยธรรมและขั้นพัฒนาการ การใหเหตุผลเชิง
จรยิ ธรรม 6 ขนั้ ซึ่งมีระดบั ความคดิ ทางจริยธรรม 3 ระดบั ดังนี้

39

แนวคิดทางดานจริยธรรม (Moral) ประกอบดวยสาระสําคัญ 2 ประการดังน้ี
(มธุรส สวางบาํ รุง, 2543, หนา 18)

1. คานิยมจริยธรรม (Moral Value) คือ มองในเรื่องของความเชื่อ การตระหนักถึง
คณุ คาและความสาํ คัญ ความพึงพอใจท่ียึดถือตามกฎระเบยี บ ประเพณีของสังคม เปน เกณฑ

2. พฤติกรรมจริยธรรม (Moral Conduct) การแสดงความประพฤติปฏิบัติ
ของพฤติกรรมใหเปน ไปในแนวทางเดยี วกับมาตรฐานความประพฤติของบุคคลในสงั คมท่ีจะชวยตดั สิน
วาการกระทําดงั กลาวถกู ตองหรือผดิ

ระดับขั้นพัฒนาการ การใหเหตุผลเชิงจริยธรรม และระดับข้ันความคิดทางจริยธรรม
มีรายละเอียดดงั นี้ (ดวงเดอื น พนั ธมุ นาวิน, 2538 , หนา 63 – 64)

1. ระดับกอนกฎเกณฑ (Preconventional Level) เด็กจะเร่ิมรูจักตัดสินสิ่งท่ีพบเห็น
ผิดหรือถูก ดีหรือเลว โดยไมเขาใจในกฎเกณฑหรือนามธรรม เปนการตัดสินที่ถูกครอบงํา
โดยสง่ิ ภานนอก จรยิ ธรรมระดบั นี้แบงออกเปน 2 ข้ัน คอื

ข้ันที่ 1 หลีกเลี่ยงการลงโทษ (0-7 ป) ขั้นนี้เด็กเจตนาท่ีจะหลีกเลี่ยงการทําโทษทาง
กาย เชนกลัวโดนตี กลัวติดคุก เปนตน เด็กจะตัดสินวาสิ่งใดควรไมควร ดีไมดีจากการปฏิบัติตาม
คาํ สงั่ ของผูใ หญท ้ังการกระทาํ และการคิด

ข้ันท่ี 2 แสวงหารางวัล (10 ป) ในขั้นนี้เด็กจะตัดสินวา เด็กจะเกิดสํานึก
ทางจรยิ ธรรมวา ส่งิ ใดดีหรือไมดี ควรหรือไมค วรดวยการคํานึกถงึ รางวลั เปนสาํ คัญ หากพฤติกรรม
ใดทําไปแลวเขาไดรับรางวัล หรือเกิดความพอใจจากปฏิกิริยาโตตอบของผูอื่น ก็จะสรุปวา
พฤตกิ รรมนนั้ เปนสิ่งท่เี หมาะทคี่ วร

2. ระดับกฎเกณฑ (Conventional Level) เปนระดับท่ีเด็กจะเริ่มรูจักกฎเกณฑตาง ๆ
โดยยึดเอากฎของกลุม หรือสังคมเปนแกนกลางในการวินิจฉัยความดคี วามเลว ระดับนี้แบงออกเปน
2 ขัน้ คือ

ขั้นที่ 3 ทําตามที่ผูอื่นเห็นชอบ (13 ป) ขั้นนี้เด็กจะเริ่มเรียนรูวา พฤติกรรมที่ดีหรือ
เหมาะสมน้ันจะตอ งเปนทพ่ี อใจหรือเปน ที่ยอมรบั จากกลมุ เพื่อน และพรรคพวก หรือเด็กจะเกิดความ
สํานึกวา สิ่งใดควรหรือไมควร โดยพิจารณาจากการคาดหวังทาทีของผูอื่นในสังคมที่เขาอาศัยอยู
นน่ั เอง

ขั้นที่ 4 ข้ันทําตามกฎระเบียบของสังคม (16 ป) ขั้นน้ีเปนข้ันท่ีเด็กจะยึดเอา
กฎหรือระเบียบเปนมาตรฐานของการวินิจฉัย เขาจะตัดสินวาส่ิงใดควรหรือไม ก็โดยคํานึงถึงหนาที่
การเคารพตอผูมีอํานาจเหนือกวา กฎ และระเบียบที่สังคมยึดถือหรือปฏิบัติอยู เพราะเห็น
ความสาํ คัญและประโยชนของสว นรวมในสงั คม

3. ระดับเหนือกฎเกณฑ (Postconventional Level) เปนระดับท่ีบุคคลจะมีพัฒนาการ
ทางสติปญญาถึงขั้นสูงสุด จะเกิดจากความนึกคิดภายในตนอยางอิสระ ไมไดข้ึนอยูกับอํานาจ
ภายนอกเพยี งอยางเดยี วเหมือนระดบั แรก ๆ จรยิ ธรรมระดับนี้ แบง ออกเปน 2 ขัน้ คอื

40

ข้ันที่ 5 ละอายใจตนเอง (ผใู หญตอนตน ) ผูทมี่ พี ัฒนาการทางจริยธรรมถงึ ข้ันน้ี จะเปน
ผูมีเหตุผล มีจุดหมายแนนอน ทําตามสัญญาท่ีตนใหไวกับผูอื่น เห็นประโยชนสวนรวมมากกวา
สวนตัว มีความเคารพตนเอง และตองการใหผูอ่ืนเคารพตน มีความละอายใจตัวเอง
เมอื่ ทําความชว่ั ภมู ิใจเมือ่ ทําความดี

ข้ันที่ 6 อุดมคติสากล (ผูใหญตอนกลาง) บุคคลที่พัฒนาถึงขั้นนี้จะยึดหลักอุดมคติ
สากลเปนแนวปฏิบัติอยางแนนแฟน เปนมาตรฐานของการปฏิบัติไปตามคนหมูมาก ทําเพ่ือ
มนษุ ยชาติ

ทฤษฎงี านตามข้ันพัฒนาการของฮาวิกเฮอรส

ท ฤ ษ ฎี ง า น ต า ม ข้ั น พั ฒ น า ก า ร ( Developmental Task Theory) ข อ ง ฮ า วิ ก เ ฮ อ ร ส
(R.J. Havighurst) กลาวถึง “งานประจําวัย” ของบุคคลถึงวัยน้ัน ๆ วา เขาควรทําอะไรไดบางตาม
วัย จึงจะไดชื่อวาพัฒนาการสมวัยเกิดความรูสึกพอใจในความสําเร็จ ความรูสึกดังกลาวมีอิทธิพล
ตอพัฒนาการทางอารมณแ ละสงั คม และนอกจากน้ันยังเปน ฐานสนับสนุนความสําเร็จในงานตามข้ัน
พฒั นาการของวัยตอ ๆ ไปดวย ในทางตรงกันขา ม ความลมเหลวจะนําไปสูก ารไมม ีความสุข และเกิด
ความยงุ ยาก ในงานประจําวัยบางอยา งได

งานตามขั้นพัฒนาการโดยสังเขปของแตละวัย ซ่ึงบุคคลควรบรรลุไดตามวัยของตน
ตามแนวทฤษฎขี องฮาวกิ เฮอรส มีดงั นี้ (Bigner, 1983, อางถงึ ใน ปราณี รามสูต, 2543, หนา 296)

1. งานตามขั้นพัฒนาการของเด็กแรกเกิดถึง 6 ป คือ การเดิน การรับประทานอาหาร
แข็ง การพูด การควบคุมการขับถาย เรียนรูความแตกตางระหวางเพศ มีความคิดรวบยอด และ
ภาษาเกิดขึน้ บังคับการเคลือ่ นไหวและการทรงตวั มีการสรา งความสัมพันธกับบุคคลอ่ืน

2. งานตามข้ันพัฒนาการของเด็กวัย (6 – 12 ป) คือ การมีทักษะกลามเนื้อใน
การเลน เกม และทํางาน การคบเพือ่ น บทบาททางสังคม ทกั ษะอาน เขยี น คํานวณ ความคดิ รวบ
ยอดท่ีจําเปนในการใชชีวิตประจําวัน คุณธรรม คานิยม มโนธรรม มีความอิสระทําอะไรไดดวย
ตนเอง

3. งานตามขั้นพัฒนาการของวัยรุน (12 – 18ป) คือแสดงบทบาทในสังคมตามเพศของ
ตน ยอมรับการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย อิสระทางจิตใจ เตรียมตัวเลือกอาชีพ การเตรียมตัวเพ่ือ
แตง งานและชีวิตคู ทักษะทางสติปญญา ความรับผิดชอบตอสังคม

4. งานตามข้ันพัฒนาการของวัยผูใหญ คือ เริ่มตนประกอบอาชีพ การเลือกคู ปรับตัว
กับคูค รอง การเลี้ยงดูบตุ ร มบี ทบาทความเปนพลเมอื งดี มเี ครอื ขายทางสงั คมทีห่ มาะสม

5. งานตามขัน้ พัฒนาการของวยั กลางคน คอื ความรับผิดชอบตอ สงั คม ชว ยเหลือบคุ คล
ในสังคม มีกิจการพักผอนหยอนใจ การปรับตัวตอคูชีวิต ปรับตัวและรับผิดชอบตอพอแม
ในวัยชรา ยอมรบั การเปลยี่ แปลงทางสรีระ

41

6. งานตามขน้ั พฒั นาการในวยั ชรา คือ การปรบั ตัวตอ ความเส่ือมถอยของสุขภาพรา งกาย
ปรับตัวตอการเสียชีวิตของคูสมรส มีปฏิสัมพันธกับกลุมเพื่อนในวัยเดียวกัน ปรับตัวตอ
การปลดเกษียณและรายไดที่ลดลง ปรับตัวตอบทบาททางสังคมในแนวทางท่ียืดหยุน จัดระเบียบ
ชีวติ ความเปนอยูทางกายภาพอยา งเปนสุข

งานตามขั้นพัฒนาการของฮาวิกเฮอรสจะพัฒนาไปตามขั้นตอน และจะเกิดขึ้นในชวง
ระยะเวลาท่ีแนนอนของชีวิตแตละบุคคล และเปนกระบวนการตอเน่ืองที่จะนําไปสูความสําเร็จ
ความสขุ ในระยะตอมา

สรปุ

การศึกษาทฤษฎีพัฒนาการเปนส่ิงสําคัญท่ีทําใหเขาใจพัฒนาการของมนุษยในแตละวัยไดดี
ยิ่งข้ึน ดังเชน ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของเพียเจท เนนความสําคัญของสิ่งเราและ
สิ่งแวดลอม รอบตัวของบคุ คลวามีสว นเสริมสรา งสติปญญาของบุคคล ถาบุคคลไดอยูในส่ิงแวดลอม
ทดี่ ี มกี ารเรยี นรทู ี่เหมาะสม จะมีผลตอพัฒนาการที่ดีของความคิด สติปญ ญา และวุฒภิ าวะของเด็ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาของบรูเนอรจะใหความสําคัญการจัดส่ิงแวดลอมเพื่อตอบสนอง
การเรียนรูโดยการคนพบ เพราะการเรียนรูเปนกระบวนการท่ีเก็บเก่ียวจากประสบการณรอบตัวเอง
และใชป ระสบการณที่ไดเ ก็บไวเปนเครอื่ งมือเพอ่ื พัฒนาสตปิ ญ ญาตอไป

ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพของฟรอยด จะใหความสําคัญกับพัฒนาการวัยแรก ๆ
ของชีวิต ซ่ึงจะมีอิทธิพลตอบุคลิกภาพเมื่อเติบโตขึ้น การจัดการตอบสนองและใหประสบการณที่ดี
ตอความตองการทางรางกาย จะทําใหเด็กพัฒนาไปตามข้ันตอน ฟรอยดยังไดกลาวอีกวาบุคคลจะมี
โครงสรางบุคลิกภาพท่ีสําคัญ 3 สวนประกอบกันไดแก อิด อีโก และซูเปอรอีโก ซึ่งจะทํางาน
ประสานกัน เชน เดียวกับทฤษฎีพัฒนาการทางสังคมของอีริสัน กลาววา บุคคลจะมีพัฒนาการ
ตงั้ แตแรกเกิดจนถึงวัยชราอยางตอเน่ือง และเปนระเบียบแบบแผน โดยอาศัยสิ่งแวดลอมทางสังคม
สัมพันธภาพ ของบุคคลในสังคม กระบวนการสังคมประกิต และวัฒนธรรมทางสังคม จึงจะทําให
ผา นพฒั นาการทง้ั 8 ขน้ั ของอีริกสนั ไดอยา งสําเร็จ

ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอรกเนนวา พัฒนาการทางสมองหรือสติปญญา
เปนรากฐานของการพัฒนาจริยธรรม และพัฒนาการทางจริยธรรมของบคุ คลจะตองเกิดขึ้นเปนลําดับ
ข้ัน ซ่ึงประกอบดวย ขั้นพัฒนาการทางจริยธรรมอาจจะชะงักอยูในข้ันใดข้ันหนึ่งก็ได ทฤษฎีงาน
ตามข้ันพัฒนาการของฮาวิกเฮอรส จะเนนวา มนุษยทุกคนจะตองมีงานพัฒนาการประจําวัย
เปนข้ันตอนและตอเนื่อง เม่ือบุคคลผานแตละข้ันไปได จะเกิดความรูสึกเปนสุข ซ่ึงจะเปนรากฐาน
สนบั สนนุ ความสาํ เรจ็ ในงานพฒั นาการของวยั ตอ ๆ ไป