แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

Download

  1. No category

แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ยาและสารเสพติด กลุ่

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

ปัญหาด้านจิตใจ ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

ภาระงบประมาณ

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

วันนี้ - start-to

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

เรื่องน่าสนใจในเล่ม - โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ( ก่อนเรียน

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

เรื่องน่ารู้กับยาคุมฉุกเฉิน

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

ทั้งซาบซึ้ง-สะเทือนใจ หนูน้อย 7 ขวบสละชีวิต บริจาค"ไต"

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

มารู้จัก ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง.....กันเถอะค่ะ

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

ประกาศ โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์(ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ฯ เรื่อง สอบ

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

ชื่อเรื่อง “ได้ยาปลอดภัย เมื่อไปถึงบ้าน”

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

หน่วยการเรียนรู้ที3 พุทธสาวกและชาดก ชันประถม

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

ถ้อยแถลง ll TEXT - Deep South Watch | ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

ไข้หวัดใหญ่คืออะไร (What is Influenza ?) อาการของโรคไข้หวั

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

งานสุขภาพ ป้องกันโรค

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

หมวดวิชาภาษาอังกฤษ

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

book-Thai.pps

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

สื่อดิจิตอลเสริมการเรียนการสอน 8 กลุม สาระวิ

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

ข้อปฏิบัติและบทลงโทษของพนักงานขับรถ

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

121 เมื่อถูกด่าควรทำอย่างไร

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

ผู้หญิงคนหนึ่งชื่อ สมศรี เมื่อเธอเสียชีวิตเธ

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

  1. ข้อใดกล่าว ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับ”ยาเสพติดให้โทษ”
  • สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพ เข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้วทำให้เกิดผลต่อ ร่างกายและจิตใจ
  • สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพ เข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้วทำให้เกิดผลต่อ ร่างกายเท่านั้น
  • ผู้ที่เสพต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเป็นลำดับ มีอาการถอนยา เมื่อขาดยา มีความต้องการเสพทั้งร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา
  • พืชหรือส่วนของพืชที่เป็นหรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษ หรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษ

ตอบ   ข. สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพ เข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้วทำให้เกิดผลต่อ ร่างกายเท่านั้น

  1. “ผู้อนุญาต” ในพระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 หมายถึงใคร
  • เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา
  • คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ
  • ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง
  • รัฐมนตรี

ตอบ  ก.  เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา

  1. ใครคือผู้รักษาการตามตามพระราชบัญญัตินี้
  • สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ค. นายกรัฐมนตรี
  • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ง. เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา

ตอบ   ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข          

  1. ยาเสพติดให้โทษแบ่งเป็นกี่ประเภท
  • 3 ประเภท                                                                                    ค.  5  ประเภท
  • 4 ประเภท                                                                                   ง.  6  ประเภท

ตอบ  ค.  5  ประเภท

  1. ข้อใดเป็นยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง
  • มอร์ฟีน ค. เฮโรอีน
  • กัญชา ง. ฝิ่นยา

ตอบ  ค. เฮโรอีน

  1. ข้อใดเป็นประเภทของยาเสพติดให้โทษทั่วไป
  • โคคาอีน ฝิ่นยา                                                                          ค. โคเดอีน  กัญชา
  • มอร์ฟีน เฮโรอีน                                                                        ง. กระท่อม  ฝิ่นยา

ตอบ   ก. โคคาอีน   ฝิ่นยา  ( ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เช่น มอร์ฟีน  โคคาอีน  โคเดอีน  ฝิ่นยา )

  1. สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือ ประเภท 2
  • อาเซติคแอนไฮไดรด์ ค. ถูกทั้ง  ก  และ  ข
  • อาเซติลคลอไรด์ ง. ไม่มีข้อถูก

ตอบ  ค. ถูกทั้ง  ก  และ  ข

  1. ใครเป็นเป็นประธานกรรมการในคณะกรรมการควบคุม ยาเสพติดให้โทษ
  • รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
  • ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา
  • เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติด

ตอบ  ข. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  1. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการควบคุม ยาเสพติดให้โทษมีกี่คน
  • 5 คน                                                                             ค.  7  คน
  • ไม่เกิน 5  คน                                                              ง. ไม่เกิน  7  คน

ตอบ  ง. ไม่เกิน  7  คน

  1. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการควบคุม ยาเสพติดให้โทษอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี
  • 1 ปี                                                                                 ค. 3  ปี
  • 2 ปี                                                                                 ง.  4  ปี

ตอบ  ข.  2  ปี       

  1. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากตำแหน่งก่อนวาระเมื่อใด
  • รัฐมนตรีให้ออก ค. เป็นบุคคลล้มละลาย
  • ลาออก ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ

  1. การผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครองครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 คำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ได้ตั้งแต่เท่าใด ถือว่าผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ใน ครอบครองเพื่อจำหน่าย
  • 20 กรัม ขึ้นไป                                                            ค. 10  กรัม  ขึ้นไป
  • 30 กรัม ขึ้นไป                                                            ง. 40  กรัมขึ้นไป

ตอบ   ก. 20  กรัม ขึ้นไป    

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

  1. การมียาเสพติดให้โทษ ประเภท 2 ไว้ในครอบครองคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ได้ตั้งแต่เท่าใดถือว่ามีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย
  • 50 กรัม  ขึ้นไป                                                            ค. 90  กรัม  ขึ้นไป
  • 60 กรัม  ขึ้นไป                                                            ง. 100  กรัม  ขึ้นไป

ตอบ  ง. 100  กรัม  ขึ้นไป

  1. ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ได้เมื่อปรากฏว่าผู้ขออนุญาตเป็นใคร
  • กระทรวง ทบวง กรม องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นรวมทั้งกรุงเทพมหานคร สภากาชาดไทย หรือองค์การเภสัชกรรม
  • ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ
  • ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันชั้นหนึ่ง ในสาขาเภสัชกรรมหรือ ทันตกรรม หรือผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ชั้นหนึ่ง
  • ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ

  1. การมียาเสพติดให้โทษในประเภท 4 หรือในประเภท 5 ไว้ในครอบครอง มีปริมาณตั้งแต่เท่าใดให้ถือว่ามีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย
  • 5 กิโลกรัมขึ้นไป                                                                        ค.  10  กิโลกรัมขึ้นไป
  • 7 กิโลกรัมขึ้นไป                                                                        ง.  12  กิโลกรัมขึ้นไป

ตอบ  ค.  10  กิโลกรัมขึ้นไป

  1. มาตรา 36 ผู้มีหน้าที่ควบคุมการผลิตยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 คือ
  • เภสัชกร ค. แพทย์
  • คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ง. คณะกรรมการอาหารและยา

ตอบ    ก. เภสัชกร               

  1. ยาเสพติดให้โทษ ในประเภท 3 ที่ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต จำหน่าย นำเข้า หรือส่งออก ตามมาตรา 39 คือ
  • ยาปลอม ค. ยาผิดมาตรฐาน
  • ยาเสื่อมคุณภาพ ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ   ง. ถูกทุกข้อ

  1. ยาเสพติให้โทษในประเภท 3 ข้อใด ให้ถือว่าเป็นยาปลอม
  • แสดงชื่อหรือเครื่องหมายของผู้ผลิต หรือ ที่ตั้งของสถานที่ผลิต ซึ่งมิใช่ความจริง
  • ยาหรือสิ่งที่ทำขึ้นโดยแสดงว่าเป็นยาเสพติดให้โทษ ในประเภท 3 แต่ความจริงมิได้มียาเสพติดให้โทษในประเภท ๓ อยู่ด้วย
  • ผลิตขึ้นไม่ถูกต้องตามมาตรฐาน ถึงขนาด สารออกฤทธิ์ขาดหรือเกินกว่าร้อยละสิบของปริมาณที่กำหนดไว้จากเกณฑ์ต่ำสุดหรือสูงสุดตามที่ กำหนดไว้
  • ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ

  1. ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาเพื่อการค้าซึ่งยาเสพติดให้โทษ เว้นแต่
  • การโฆษณายาเสพติดให้โทษในประเภท 3 ซึ่งกระทำโดยตรงต่อผู้ประกอบ วิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันชั้นหนึ่งในสาขาทันตกรรมหรือเภสัชกรรม
  • ผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ชั้นหนึ่ง
  • เป็นฉลากหรือเอกสารกำกับยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 หรือประเภท 4 ที่ภาชนะหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 หรือประเภท 4
  • ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ 

  1. ผู้รับอนุญาตผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ผู้อนุญาตโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการมีอำนาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตได้ครั้งละไม่เกินกี่วัน
  • 30 วัน                                                                                           ค.  180  วัน
  • 90 วัน                                                                                            ง.  60  วัน

ตอบ   ค.  180  วัน

แบบ ทดสอบก่อน หลัง เรื่อง ยาเสพติด

สินค้า ใน แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 (0 ชนิด)

แสดงสินค้าที่ 0-0 จากทั้งหมด 0 ชิ้น