สมรรถภาพทางกาย แบ่งออกเป็น กี่ ประเภท อะไร บ้าง

การที่คนเราจะทราบได้ว่า สมรรถภาพทางกายของตนจะดีหรือไม่นั้นจะต้องพิจารณาที่องค์ประกอบต่าง ๆ ของสมรรถภาพ ทางกาย ซึ่งสมรรถภาทางกายของนักกีฬาจะแตกต่างจากคนทั่วไป ซึ่งประกอบด้วยสมรรถภาพ ด้านย่อย ๆ 9 ด้าน


1. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
2. ความทนทานของกล้ามเนื้อ
3. ความเร็ว
4. ความอ่อนตัว
5. การประสานงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
6. ความเร็ว
7. การทรงตัว
8. พละกำลัง
9. การตอบสนองปฏิกิริยา

สมรรถภาพทางกาย แบ่งออกเป็น กี่ ประเภท อะไร บ้าง

องค์ประกอบต่าง ๆ ที่กล่าวไว้ข้างต้นแต่ละด้าน มีความหมายที่แตกต่างกันไป ดังนี้


1. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Strength) หมายถึง ความสามารถในการหดตัวหรือการทำงานของกล้ามเนื้อที่จะทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้สูงสุดในแต่ละครั้ง เช่น ความสามารถในการยกของหนัก ๆ ได้ มีพลังบีบมือได้เหนียวแน่น และสามารถออกแรง ผลักของหนัก ๆ ให้เคลื่อนที่ได้เป็นต้น


2. ความทนทานของกล้ามเนื้อ (Endurance) หมายถึงความสามารถของกล้ามเนื้อในการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งได้ติดต่อกัน เป็นเวลานาน ๆ ได้งานมาก แต่เหนื่อยน้อย ตัวอย่าง การทำงานที่แสดงถึงความทนทานของกล้ามเนื้อ เช่น การแบกของหนักได้ เป็นเวลานาน ๆ การวิ่งระยะไกล การถีบจักรยานทางไกลการงอแขนห้อยตัวเป็นเวลานาน ๆ เป็นต้น


3. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถของร่างกายในการเคลื่อนที่ในลักษณะเดียวกัน จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งในแนวเดียวกัน หรือในแนวตรงในระยะเวลาที่สั้นที่สุด เช่น การวิ่งระยะสั้น

4. ความอ่อนตัว (Flexibility) หมายถึง การประสานงานระหว่างกล้ามเนื้อ เอ็น พังผืด และข้อต่อต่าง ๆ ที่มีความยืดหยุ่นในขณะทำงาน หรือ อาจกล่าวได้ว่าเป็นความสามารถในการเหยียดตัวของข้อต่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในขณะทำงาน เช่น การก้มตัวใช้มือแตะพื้นโดยไม่งอเข่า การแอ่นตัวใช้มือแตะขาพับได้โดยไม่งอเข่า เป็นต้น


5.การประสานงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ หรือ ความสัมพันธ์ในการเคลื่อนไหว (Coordination) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างมือกับตาและเท้ากับตา หรืออาจเรียกได้ว่าเป็นการประสานงานของประสาทกับกล้ามเนื้อ ในการทำงาน ความสามารถในการเคลื่อนไหวอย่างราบรื่น กลมกลืน และมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นการทำงานที่ประสานสัมพันธ์กันระหว่างตา มือ และเท้า

สมรรถภาพทางกาย แบ่งออกเป็น กี่ ประเภท อะไร บ้าง

6. ความคล่องแคล่วว่องไว (Agility) หมายถึง ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทาง หรือเปลี่ยนตำแหน่งการเคลื่อนไหว ของร่างกายอย่างรวดเร็ว และตรงเป้าหมายตามที่ต้องการ ดังตัวอย่างที่แสดงถึงความว่องไว เช่น การยืนและ นั่งสลับกันด้วย ความรวดเร็ว เป็นต้น

1.2 สมรรถภาพทางกายพิเศษ (Special Physical Fitness) เป็นความสามารถใน การทํางานเฉพาะอย่างของกลไกในร่างกายที่มีประสิทธิภาพ ได้แก่

  1. การทรงตัว (Balance) เป็นการรักษาสมดุลของร่างกายในขณะอยู่กับที่หรือ เคลื่อนไหว
  2. กําลัง (Power) เป็น การเคลื่อนไหวร่างกายทันทีทันใด โดยที่ร่างกายใช้แรง จํานวนมาก
  3. ความคล่องแคล่ว (Agility) เป็นการเปลี่ยนทิศทางอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ร่างกายสามารถควบคุมการเคลื่อนไหวได้
  4. ความเร็ว เป็นความสามารถ ในการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างรวดเร็วจากที่หนึ่งไปยัง อีกที่หนึ่ง
  5. เวลาเคลื่อนไหว เป็นการเคลื่อนไหวส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายจากจุดหนึ่งไปยัง อีกจุดหนึ่ง เช่น การวัดเวลาการเคลื่อนไหวของแขนกับหัวไหล่โดยการขวางลูกบอลให้ไกลที่สุด
  6. เวลาปฏิกิริยา เป็นระยะเวลาที่จําเป็นต้องใช้เคลื่อนไหว เพื่อการตอบสนองต่อ สิ่งเร้าเฉพาะอย่าง
  7. การทํางานประสานสัมพันธ์ เป็นการสั่งการของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ ให้มีความสัมพันธ์กัน

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

การทดสอบสมรรถภาพทางกายมีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินสมรรถภาพร่างกายและสุขภาพว่ามีจุดอ่อนและจุดแข็งอะไรบ้าง เพื่อนําไปสู่การวางแผนปรับปรุงข้อบกพร่องต่างๆ ให้มีสมรรถภาพทางกายที่สมบูรณ์ การทดสอบสมรรถภาพ ได้แก่

  1. การตรวจร่างกายโดยทั่วไป เพื่อให้ทราบข้อบกพร่องทางสุขภาพ
  2. การวัดสัดส่วน เพื่อประเมินรูปร่าง โภชนาการ ส่วนประกอบต่างๆ เช่น การวัด ความหนาของไขมันใต้ผิว ด้วยเครื่อง Skinfold caliper การวัดรอบเอวด้วยสายวัด
  3. สมรรถภาพของหัวใจและปอด เพื่อประเมินการทํางานของระบบหายใจร่วมกับระบบการไหลเวียนของเลือดการทํางานของหัวใจ มีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด การวัดสมรรถภาพระบบไหลเวียนของเลือด ใช้การวัดชีพจร การวัดความดันโลหิตด้วยเครื่องวัดความดัน และวัดขนาดของหัวใจด้วยการเอกซเรย์
  4. การวัดสมรรถภาพของระบบหายใจ เช่น การประเมินความจุของปอดโดย การถีบจักรยาน 6 นาที อ่านค่าอัตราการเต้นของหัวใจและคํานวณหาค่า V02 Max ด้วยตารางมาตรฐานหรือการประเมินความจุของปอด โดยวิ่งหรือเดินเร็ว ตามระยะทางและเวลาที่กําหนดวัดชีพจร นําผลมาเปิดตารางมาตรฐาน
  5. ความอ่อนตัว เป็นการวัดความยืดหยุ่นของข้อต่อ เอ็นกล้ามเนื้อ เช่น การนั่งงอตัวไปข้างหน้าพร้อมยึดแขนไปข้างหน้าให้ไกลที่สุด
  6. การวัดความเร็วและความอดทนของกล้ามเนื้อ เช่น การใช้เครื่องมือ Hand grip dynamometer

คำค้น : มีอะไรบ้าง การประเมินขีดความสามารถของตนเองสามารถทําได้อย่างไร มีกี่ด้าน และมีด้านอะไรบ้าง คือ ลุกนั่ง เป็นการทดสอบ ด้านใด วัดแรงเหยียดขา เป็นการทดสอบ ด้านใด องค์ประกอบ มี กี่ ประเภท อะไร บ้าง ภาษาอังกฤษเรียกว่าอะไร นั่งก้มตัวไปข้างหน้า เป็นการทดสอบ ด้านใด ประเภท มีกี่ประเภท สามารถจัดแบ่งกลุ่มได้กี่กลุ่มใหญ่ๆ แบ่งออกเป็นกี่ประเภท แบ่งออกเป็นกี่ชนิด เกณฑ์ แบ่งออกเป็นกี่กลุ่ม องค์ประกอบ หมายถึง ยืนก้มตัว เป็นการทดสอบ ด้านใด วิ่ง100เมตร เป็นการทดสอบ ด้านใด วิ่ง 50 เมตร ความสำคัญของ และประโยชน์ของการมี 5 ด้าน หมายความว่าอย่างไร physical fitness หมายถึง การ์ตูน ประโยชน์ของการมี วิจัยที่เกี่ยวข้อง กีฬาวอลเลย์บอล จำแนกได้กี่ชนิด ผลการวิเคราะห์ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพ ประเภทของ วัดความจุปอด เป็นการทดสอบ ด้านใด วัดสมรรถภาพการใช้ออกซิเจนสูงสุด เป็นการทดสอบ ด้านใด ประกอบด้วย แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง บาสเกตบอล ที่สัมพันธ์กับทักษะ 9 ด้าน วอลเลย์บอล มีความสําคัญอย่างไร สําคัญอย่างไร ขั้นตอนการฟื้นฟู แบ่งเป็นกี่ประเภท วิจัยในชั้นเรียน พลศึกษา หมายถึงอะไร วิเคราะห์

ที่มา:sites.google.com/site/6032040038thaksakarphathna/prapheth-khxng-smrrthphaph-thang-kay-laea-kar-thd-sxb-smr-r

สมรรถภาพทางกายจําแนกออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

โดยทั่วไปสมรรถภาพทางกายแบ่งออกเป็น 2 อย่าง คือ 1. สมรรถภาพทางกายทั่วไป (General Physical fitness) 2. สมรรถภาพทางกายพิเศษ (Special Physical fitness)

ความสําคัญของสมรรถภาพทางกาย มีอะไรบ้าง

สมรรถภาพทางกายมีความสำคัญต่อการปรับปรุงคุณภาพชีวิตเป็นส่วนสำคัญ ที่จะทำให้มนุษย์สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพผลการเป็นผู้ที่มีประสิทธิภาพ ทางกายที่ดี คือ 1. ลดอัตราการเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ 2. เพิ่มพูนประสิทธิภาพของระบบต่างๆในร่างกาย เช่นระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบการหายใจ ระบบการย่อยอาหาร ฯลฯ 3. ทำให้รูปร่าง และ ...

สมรรถภาพทางกางกายมีกี่ด้าน

สมรรถภาพทางกายของตนจะดีหรือไม่นั้นจะต้องพิจารณาที่องค์ประกอบต่าง ๆ ของสมรรถภาพทางกาย ซึ่งกองส่งเสริมพลศึกษาและสุขภาพกรมพลศึกษา ได้กล่าว สมรรถภาทางกายโดยทั่วไป ประกอบด้วยสมรรถภาพ ด้านย่อย ๆ 9 ด้าน 1. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ 2. ความทนทานของกล้ามเนื้อ 3. ความทนทานของระบบหมุนเวียนของโลหิต

สมรรถภาพทางกายที่ดีจะมีลักษะณะเป็นอย่างไรบ้าง

สุเนตุ นวกิจกุล (2524:1) ได้ให้ความหมายของค าว่า สมรรถภาพทางกาย หมายถึง ลักษณะของสภาพร่างกายที่มีความสมบูรณ์แข็งแรง อดทนต่อการปฏิบัติงาน มีความ คล่องแคล่วว่องไว ร่างกายมีความต้านทานโรคสูง ผู้ที่มีสมรรถภาพทางกายที่ดี มักจะเป็นผู้มี จิตใจร่าเริงแจ่มใส และมีร่างกายสง่าผ่าเผย สามารถปฏิบัติภารกิจการงานไอย่างมี ประสิทธิภาพ