แผนการสอน งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 20101-2001

20101-2001 งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

20101-2001 งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน           1 - 6 - 3 
                   (Gasoline Engine Job)

จุดประสงค์รายวิชา  เพื่อให้
             1. เข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
             2. สามารถใช้เครื่องมืออุปกรณ์ช่างยนต์ได้ถูกต้องตามขั้นตอน
             3. สามารถถอด ประกอบ ตรวจสภาพชิ้นส่วน ปรับแต่งและบำรุงรักษาเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
             4. มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงานรับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัยและรักษา สภาพแวดล้อม

สมรรถนะรายวิชา
            1. แสดงความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
            2. ถอด ประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีนตามคู่มือ
            3. ตรวจสภาพชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีนตามคู่มือ
            4. ปรับแต่งเครื่องยนต์แก๊สโซลีนตามคู่มือ
            5. บำรุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีนตามคู่มือ

คำอธิบายรายวิชา
              ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน การใช้เครื่องมืออุปกรณ์ช่างยนต์  หลักการทำงาน    การถอด ประกอบ ตรวจสภาพชิ้นส่วนระบบน้ำมันเชื้อเพลิง ระบบจุดระเบิด ระบบหล่อลื่น ระบบระบายความร้อน ระบบไอดี ระบบไอเสีย การสตาร์ทเครื่องยนต์  การปรับแต

แผนการสอน งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 20101-2001

1. แผนกำรจดั กำรเรียนรมู้ ีกำรวเิ ครำะหห์ ลกั สูตรรำยวิชำ เพ่อื กำหนดหน่วยกำรเรยี นรู้ท่ีมุ่งเนน้ สมรรถนะอำชีพ

☑ วเิ ครำะห์/จัดทำในแผนฯแลว้  ไม่มี/ไมไ่ ดว้ ิเครำะห์ไว้

2. แผนกำรจดั กำรเรยี นรมู้ ีกำรบรู ณำกำรคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ และปรัชญำ
ของเศรษฐกิจพอเพียง
 ไม่ไดบ้ ูรณำกำร
☑ บรู ณำกำรแลว้

3. แผนกำรจัดกำรเรยี นรมู้ ีกำรกำหนดรปู แบบ/วิธกี ำรเรยี นรู้สกู่ ำรปฏบิ ตั ิและกิจกรรมกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ี่
หลำกหลำย
 ไม่ได้กำหนดรูปแบบ
☑ กำหนดรูปแบบแล้ว

4. แผนกำรจัดกำรเรยี นร้มู ีกำรกำหนดกำรใชส้ ่ือ เคร่อื งมอื อปุ กรณ์ และเทคโนโลยีกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี
เหมำะสมและนำมำใชใ้ นกำรจัดกำรเรยี นกำรสอน

☑ กำหนดกำรใช้สื่อฯแลว้  ไม่ได้กำหนดกำรใช้ส่อื ฯ
5. แผนกำรจัดกำรเรยี นรมู้ ีกำรกำหนดแนวทำงกำรวดั และประเมินผลตำมสภำพจริง ด้วยรูปแบบ วิธกี ำรท่ี
หลำกหลำย
 ไม่ได้กำหนด
☑ กำหนดแลว้

 ควรอนญุ ำตใหใ้ ชส้ อนได้ ลงชอื่
 ควรปรับปรุงเก่ียวกับ (นำยคมสนั ต์ ปำ้ ยจตั ุรสั )
 อนื่ ...................................... ครผู ู้สอน

 เห็นควรอนญุ ำตให้ใช้สอนได้
 ควรปรับปรุงดงั เสนอ
 อนื่ ๆ ..................................................

ลงช่ือ ลงช่ือ
(นำยชมุ พล แกว้ ศิริ) (นำยชุภำมติ ร ทะนนั ไธสง)
หัวหน้ำแผนกวชิ ำ รองผอู้ ำนวยกำรฝ่ำยวชิ ำกำร
............../................./....................
............./................./.............

4

คานา

แผนกำรจดั กำรเรียนรูช้ อ่ื วชิ ำ ช่ือวชิ ำ งำนเคร่อื งยนต์แก๊สโซลีน ( Gasoline Engine Job ) รหสั วิชำ
รหสั 20101-2001 ท–ป–น 1 – 6 - 3 น้มี ุง่ เน้นฐำนสมรรถนะและบรู ณำกำรหลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ได้จดั ทำขนึ้ เพ่ือใชเ้ ป็นคมู่ อื ประกอบกำรเรยี นกำรสอนในรำยวชิ ำเพ่ือพัฒนำผู้เรียนเปน็ สำคญั ตำม
หลักสูตรประกำศนยี บตั รวชิ ำชพี พทุ ธศักรำช 2562 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชวี ศึกษำ
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

กำรจัดทำไดม้ ีกำรพัฒนำเพอ่ื ให้เหมำะสมกับผเู้ รียน โดยแบ่งเนอื้ หำออกเปน็ 11 หน่วย
กำรเรียนรู้ ประกอบด้วย

1) วิวฒั นำกำรและประเภทของเคร่อื งยนต์
2) หลักกำรทำงำนของเครือ่ งยนต์แก๊สโซลีน
3) โครงสรำ้ งของเครอ่ื งยนต์แก๊สโซลนี
4) ระบบจุดระเบิด
5) ระบบน้ำมนั เชื้อเพลิงเครื่องยนต์
6) ระบบฉดี นำ้ มนั เชื้อเพลงิ แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์
7) ระบบไอดีและไอเสีย
8) ระบบหลอ่ ลื่นเครือ่ งยนต์
9) ระบบหลอ่ เยน็ เครื่องยนต์
10) ระบบสตำรต์ เครือ่ งยนต์
11) กำรบำรุงรกั ษำ กำรแก้ไขขอ้ ขัดข้องของเครื่องยนต์ และกำรปลอดภยั กำรทำงำน
พร้อมทั้ง แบบฝึกหัด ใบงำน แบบทดสอบพร้อมเฉลย และส่ือกำรเรียนกำรสอนต่ำง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนได้
ฝกึ ทกั ษะในสถำนกำรณต์ ่ำง ๆ มีทักษะกำรคิดและแก้ปัญหำ และบูรณำกำรกับกำรทำงำนตำมสำขำอำชีพต่ำง
ๆ ตอ่ ไป
ผู้จัดทำหวังว่ำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้เล่มนี้คงจะเป็นแนวทำงและเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน และผู้สนใจ
ทวั่ ไป หำกมีข้อเสนอแนะประกำรใด ผูจ้ ดั ทำยินดีนอ้ มรบั ไว้เพอ่ื ปรับปรุงในโอกำสต่อไป

ลงชื่อ
(นำยคมสนั ต์ ป้ำยจัตุรัส)
ครผู สู้ อน

สารบญั 5

หน้า

รายการตรวจสอบและอนุญาตใหใ้ ช้ ก

คานา .......................................................................................................................... ข

สารบญั ........................................................................................................................... ค

ส่วนประกอบตอนต้น . 1

หลกั สตู รรายวชิ า ...................................................................................... 2

หน่วยการเรยี นรู้ ............................................................................................ 3

หน่วยการเรยี นรทู้ ส่ี อดคลอ้ งกบั สมรรถนะรายวชิ า ............................................... 4

โครงการจดั การเรยี นรู้ .......................................................................................... 5

การวดั ผลและประเมนิ ผล ........................................................................................ 8

ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู รรายวชิ า ............................................................................ 9

ส่วนประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ ..................................................................... 10

6

ส่วนประกอบตอนต้น

7

หลักสูตรรายวชิ า

ชื่อวชิ า งำนเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี ( Gasoline Engine Job )

รหัสวิชา 20101-2001 ท–ป–น 1 – 6 - 3

จานวนชัว่ โมงสอน 5 ช่ัวโมง : สัปดำห์ ระดบั ช้ัน ปวช

วชิ ำงำนเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี ( Gasoline Engine Job )รหัสวิชำ 20101-2001 ท–ป–น
1 – 6 - 3 เปน็ รำยวิชำตำมโครงสร้ำงหลักสตู รประกำศนียบตั รวิชำชพี พุทธศักรำช 2562 สำขำวชิ ำ
ชำ่ งยนต์ หมวดวิชำสมรรถนะวิชำชพี กลุ่มสมรรถนะวชิ ำชพี เฉพำะ มจี ดุ ประสงค์รำยวิชำ สมรรถนะ
รำยวิชำ และคำอธิบำยรำยวิชำ ดงั นี้
จุดประสงค์รายวิชา เพอ่ื ให้

1. เข้ำใจเกยี่ วกับโครงสร้ำงและหลักกำรทำงำนของเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี
2. สำมำรถใชเ้ ครื่องมืออุปกรณ์ช่ำงยนต์ได้ถูกต้องตำมขั้นตอน
3. สำมำรถถอด ประกอบ ตรวจสภำพชิ้นส่วน ปรบั แต่งและบำรุงรักษำเครื่องยนต์แกส๊ โซลีน
4. มกี ิจนิสัยที่ดใี นกำรทำงำนรับผดิ ชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลำ สะอำดปลอดภัยและ

รกั ษำสภำพแวดล้อม
สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงควำมรูเ้ กยี่ วกับโครงสร้ำงและหลกั กำรทำงำนของเคร่อื งยนต์แก๊สโซลีน
2. ถอด ประกอบชิน้ ส่วนเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลีนตำมคู่มือ
3. ตรวจสภำพช้ินสว่ นเครือ่ งยนต์แกส๊ โซลนี ตำมคู่มอื
4. ปรับแต่งเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลนี ตำมค่มู ือ
5. บำรุงรักษำชน้ิ ส่วนเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีนตำมคู่มอื

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษำและปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับควำมปลอดภยั ในกำรทำงำน กำรใชเ้ คร่ืองมืออปุ กรณช์ ำ่ งยนต์ หลกั กำร

ทำงำน กำรถอด ประกอบ ตรวจสภำพชนิ้ สว่ นระบบน้ำมนั เชื้อเพลงิ ระบบจุดระเบิด ระบบหลอ่ ลนื่ ระบบ
ระบำยควำมร้อน ระบบไอดี ระบบไอเสยี กำรสตำร์ตเคร่ืองยนต์ กำรปรบั แตง่ และกำรบำรงุ รกั ษำ
เครอ่ื งยนต์แก๊สโซลนี

8

หน่วยการเรยี นรู้

ชือ่ วิชา งำนคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี ( Gasoline Engine Job )

รหัสวชิ า 20101-2001 ท–ป–น 1 – 6 - 3

จานวนชั่วโมงสอน 5 ช่วั โมง : สัปดำห์ ระดบั ชนั้ ปวช

หนว่ ยที่ ชือ่ หน่วย จานวน ที่มา
ช่ัวโมง
1 ววิ ฒั นำกำรและประเภทของเครื่องยนต์
ABCDE F
5 //////

2 หลกั กำรทำงำนของเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี 5 //////

3 โครงสร้ำงของเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลนี 10 / / / / / /

4 ระบบจดุ ระเบดิ 5 //////
5 ระบบนำ้ มันเชอ้ื เพลงิ เครือ่ งยนต์ 10 / / / / / /
6 ระบบฉีดนำ้ มันเช้อื เพลิงแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 10 / / / / / /

7 ระบบไอดีและไอเสีย 10 / / / / / /

8 ระบบหลอ่ ล่ืนเครื่องยนต์ 5 //////

9 ระบบหลอ่ เย็นเครอ่ื งยนต์ 5 //////
10 ระบบสตำร์ตเครื่องยนต์ 10 / / / / / /

11 กำรบำรุงรักษำ กำรแก้ไขข้อขัดข้องของ 5 //////
เครอื่ งยนต์ และกำรปลอดภยั กำรทำงำน

วัดผลสมั ฤทธก์ิ ำรเรยี น 10

รวม 90

หมายเหตุ A = หลกั สูตรประกำศนยี บัตรวิชำชพี พุทธศักรำช 2562
B = กิจกรรมส่งเสริมกำรเรียนรู้
C = แบบฝกึ หดั ท้ำยหนว่ ย
D = ใบงำนของแผนกำรสอน
E = เอกสำรประกอบกำรสอน
F = หนงั สือเรยี น วชิ ำ งำนเครื่องยนต์แก๊สโซลนี ของ

9

ความสอดคล้องของหน่วยกบั สมรรถนะรายวิชา

ชือ่ วิชา งำนคร่อื งยนต์แก๊สโซลนี ( Gasoline Engine Job )

รหสั วชิ า 20101-2001 ท–ป–น 1 – 6 - 3

จานวนชัว่ โมงสอน 5 ช่วั โมง : สปั ดำห์ ระดบั ช้ัน ปวช

ช่อื หน่วย ชวั่ โมง สมรรถนะ

หน่วย 1.
แสดงควำมรู้เ ีก่ยวกับโครงสร้ำงแลหลักกำรทำงำนของ
เคร่ืองยนต์แก๊สโซ ีลน
ถอด ประกอบช้ินส่วนเค ่รืองยนต์แก๊สโซลีน
ตำม ู่ค ืมอ
ตรวจสภำพ บำรุงรักษำเค ่ืรองยนต์แก๊สโซลีน
ตำม ู่ค ืมอ

1 ววิ ฒั นำกำรและประเภทของเครอ่ื งยนต์ 5
2 หลกั กำรทำงำนของเครื่องยนต์แก๊สโซลนี 5
3 โครงสรำ้ งของเครื่องยนต์แก๊สโซลนี 10 
4 ระบบจุดระเบิด 5
5 ระบบนำ้ มันเช้อื เพลงิ เครือ่ งยนต์ 10 
6 ระบบฉีดน้ำมนั เช้อื เพลิงแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 10 
7 ระบบไอดแี ละไอเสีย 10 
8 ระบบหล่อลนื่ เคร่ืองยนต์ 5
9 ระบบหลอ่ เย็นเครื่องยนต์ 5
10 ระบบสตำร์ตเครื่องยนต์ 10 
11 กำรบำรุงรักษำ กำรแก้ไขข้อขัดข้องของ 5

เครอื่ งยนต์ และกำรปลอดภยั กำรทำงำน 10
วัดผลสมั ฤทธกิ์ ำรเรียน 90
รวม

10

ตารางวเิ คราะห์หลกั สตู รรายวิชา

ช่อื วิชา งำนเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลีน ( Gasoline Engine Job )

รหัสวชิ า 20101-2001 ท–ป–น 1 – 6 - 3

จานวนช่วั โมงสอน 5 ชว่ั โมง : สปั ดำห์ ระดับชั้น ปวช

พุทธิพสิ ยั (40%)

พฤติกรรม ความรู้
ความเข้าใจ
ชื่อหน่วย การนาไปใช้
การ ิวเคราะห์
การ ัสงเคราะห์
รวม
ทักษะพิ ัสย (30%)
จิต ิพ ัสย (30%)

รวม
ลา ัดบความสาคัญ
จานวนช่ัวโมง

1 ววิ ัฒนำกำรและประเภทของ 1 1 .5 .5 42284 5
เครอ่ื งยนต์
32274 5
2. หลกั กำรทำงำนของ 1 1 .5 .5
เครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน 3.5 3 3 9.5 3 10

3.โครงสร้ำงของเคร่ืองยนต์แก๊ส 1 1 .5 1 3.5 2 2 7.5 4 5
โซลีน 4.5 4 4 12.5 1 10

4. ระบบจุดระเบดิ 1 1 1 .5 4.5 4 4 12.5 1 10

5. ระบบน้ำมนั เชือ้ เพลิง 1 1 1 1.5 4.5 4 4 12.5 1 10
เครอ่ื งยนต์ 32274 5
32274 5
6. ระบบฉดี น้ำมันเชื้อเพลิงแบบ 1 1 1 1.5 4.5 3 3 10.5 2 10
อิเลก็ ทรอนิกส์
5
7. ระบบไอดีและไอเสยี 1 1 1 1.5
32274
8. ระบบหล่อลน่ื เครื่องยนต์ 1 1 .5 .5

9. ระบบหลอ่ เยน็ เครอื่ งยนต์ 1 1 .5 .5

10. ระบบสตำร์ตเคร่ืองยนต์ 1 1 1 1.5

11. กำรบำรุงรักษำ กำร

แก้ไขข้อขดั ข้องของ 1 1 .5 .5
เครอ่ื งยนต์ และกำร

ปลอดภยั กำรทำงำน

สอบกลางภาค 5

สอบปลายภาค 5
90
รวม 11 11 8 10 40 30 30 100
11
ลาดบั ความสาคญั 2243

หมายเหตุ กำรสอบกลำงภำคเรยี น/ ปลำยภำคเรียนนั้นขน้ึ อยู่กับวทิ ยำลัยฯ หรืออำจำรยผ์ ้สู อน

11

การวัดผลและประเมินผล

ช่อื วชิ า งำนเครอ่ื งยนต์แก๊สโซลนี ( Gasoline Engine Job )

รหสั วชิ า 20101-2001 ท–ป–น 1 – 6 - 3

จานวนชวั่ โมงสอน 5 ชั่วโมง : สัปดำห์ ระดับชั้น ปวช

1. การวัดผล

- พุทธพิ ิสัย 1) แบบฝึกหัด 10 %

2) ทดสอบหลงั เรยี น 10 %

3) วดั ผลสมั ฤทธิ์ 20 %

รวม 40 %

- ทักษะพสิ ยั 1) ใบงำน 20 %

2) วดั ผลสัมฤทธ์ิ 10 %

รวม 30 %

- จิตพสิ ัย รวม 30 %

รวมท้งั หมด 100 %

(คะแนนทดสอบกอ่ นเรยี นไวส้ ำหรับเปรียบเทยี บกบั คะแนนทดสอบหลงั เรียน)

คะแนนระหว่างภาค/ปลายภาค 70 : 30

ระหว่ำงภำค 1) แบบฝึกหัด 15 %

2) ทดสอบกลำงภำค 15 %

3) ใบงำน 25 %

4) จติ พสิ ัย 15 %

รวม 70 %

ปลำยภำค ทดสอบปลำยภำค 30 %

รวม 100 %

2. การประเมนิ ผล (อิงเกณฑ์)

80 – 100 คะแนน ได้ผลกำรเรียน 4.0 หมำยถงึ ผลกำรเรยี นอยู่ในเกณฑ์ดเี ย่ียม

75 – 79 คะแนน ไดผ้ ลกำรเรียน 3.5 หมำยถงึ ผลกำรเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ดีมำก

70 – 74 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 3.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑด์ ี

65 – 69 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 2.5 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑด์ พี อใช้

60 – 64 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 2.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้

55 – 59 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 1.5 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน

50 – 54 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 1.0 หมายถงึ ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑอ์ ่อนมาก

 50 คะแนน ไดผ้ ลการเรยี น 0 หมายถงึ ผลการเรยี นต่ากวา่ เกณฑข์ นั้ ต่า

12

โครงการจดั การเรียนรู้

ช่ือวิชา งานเครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลนี ( Gasoline Engine Job )

รหสั วิชา 20101-2001 ท–ป–น 1 – 6 - 3

จานวนชวั่ โมงสอน 5 ชวั่ โมง : สปั ดาห์ ระดบั ชนั้ ปวช

หน่วย ชื่อหน่วย/สาระสาคญั สปั ดาห์ ชวั ่ โมง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ คณุ ธรรม จริยธรรม
ที่ ท่ี ท่ี ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะ

1 วิวฒั นาการและประเภทของ 1 1-5 1.บอกจุดประสงคร์ ายวชิ า มาตรฐาน อนั พึงประสงค์
รายวชิ า และคาอธบิ ายรายวชิ าตาม
เครอ่ื งยนต์ หลกั สตู รฯ และบอกแนวทางวดั ผล ความมมี นุษยสมั พนั ธ์
และการประเมนิ ผลการเรยี นรไู้ ด้ ความมวี นิ ยั
1.จุดประสงคร์ ายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า 2.อธบิ ายววิ ฒั นาการของเครอ่ื งยนต์ ความรบั ผดิ ชอบ
และคาอธบิ ายรายวชิ าและสมรรถนะ ได้ ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
รายวชิ าพรอ้ มทงั้ แนวทางวดั ผลและการ 3.อธบิ ายหน้าทข่ี องเครอ่ื งยนตไ์ ด้ ความสนใจใฝร่ ู้
ประเมนิ ผล 4.อธบิ ายประเภทของเครอ่ื งยนตไ์ ด้ ความรกั สามคั คี
2.ววิ ฒั นาการของเครอ่ื งยนต์ 5.อธบิ ายการจดั วางวาลว์ ของ ความกตญั ญกู ตเวที
3.หน้าทข่ี องเครอ่ื งยนต์ เครอ่ื งยนตไ์ ด้
4.ประเภทของเครอ่ื งยนต์ 6.อธบิ ายการทางานของหอ้ งเผาไหม้
5.การจดั วางวาลว์ ของเครอ่ื งยนต์ ของเครอ่ื งยนต์ได้
6.หอ้ งเผาไหมข้ องเครอ่ื งยนต์ 6.อธบิ ายการเปรยี บเทยี บเครอ่ื งยนต์
7.การเปรยี บเทยี บเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี แก๊สโซลนี กบั เครอ่ื งยนตด์ เี ซลได้
กบั เครอ่ื งยนต์ดเี ซล 7.ถอดและตดิ ตงั้ เครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี
8.การถอดและตดิ ตงั้ เครอ่ื งยนต์ ได้

แกส๊ โซลนี 2 6-10

2 หลกั การทางานของเครอ่ื งยนต์ 1.อธบิ ายการทางานของเครอ่ื งยนต์

แกส๊ โซลีน แก๊สโซลนี ได้
2.อธบิ ายเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี
1.การทางานของเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี 4 จงั หวะได้
3.อธบิ ายเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี
2.เครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลนี 4 จงั หวะ 2 จงั หวะได้
3.เครอ่ื งยนต์แก๊สโซลนี 2 จงั หวะ 4.อธบิ ายการเปรยี บเทยี บเครอ่ื งยนต์
4.การเปรยี บเทยี บเครอ่ื งยนต์ 2 จงั หวะ 2 จงั หวะและ 4 จงั หวะได้
และ 4 จงั หวะ 5.อธบิ ายสมรรถนะของเครอ่ื งยนต์ได้
5.สมรรถนะของเครอ่ื งยนต์ 6.วดั สมรรถนะของเครอ่ื งยนต์ได้
6.การวดั สมรรถนะของเครอ่ื งยนต์ 7.ถอดประกอบสายพานไทมงิ่ ได้
7.การถอดประกอบสายพานไทมงิ่ 8.ปรบั ความตงึ สายพานไทมงิ่
8.การปรบั ความตงึ สายพานไทมงิ่ เครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี ได้
เครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี 9.ถอดประกอบเพลาขอ้ เหวย่ี งได้
9.การถอดประกอบเพลาขอ้ เหวย่ี ง

13

หน่วย ชื่อหน่วย/สาระสาคญั สปั ดาห์ ชวั่ โมง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ คณุ ธรรม จริยธรรม
ท่ี ท่ี ที่ ค่านิยม และ
คณุ ลกั ษณะ
3 โครงสร้างของเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลีน 3 11-15 อนั พึงประสงค์
1.อธบิ ายโครงสรา้ งของเครอ่ื งยนตไ์ ด้
1.โครงสรา้ งของเครอ่ื งยนต์ 2.อธบิ ายหน้าทก่ี ารทางานของชน้ิ สว่ น ความมมี นุษยสมั พนั ธ์
2.หน้าทก่ี ารทางานของชน้ิ ส่วนต่าง ๆ ความมวี นิ ยั
3.อุปกรณ์เกบ็ อาการสนั่ ต่าง ๆ ได้ ความรบั ผดิ ชอบ
4.การถอดฝาสบู และการตดิ ตงั้ ฝาสบู 3.อธบิ ายการทางานของอุปกรณ์เกบ็ ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
อาการสนั่ ได้ ความสนใจใฝร่ ู้
4.ถอดฝาสบู และการตดิ ตงั้ ฝาสบู ได้ ความรกั สามคั คี
ความกตญั ญกู ตเวที
3 5.การถอดลกู สบู กา้ นสบู และการตดิ ตงั้ 4 16-20 5.ถอดลกู สบู กา้ นสบู และการตดิ ตงั้ ได้
6.การทาความสะอาดลกู สบู 6.ทาความสะอาดลกู สบู ได้

7.การเลอื กแหวนลกู สบู ใหมแ่ ละการ 7.เลอื กแหวนลกู สบู ใหมแ่ ละตดิ ตงั้ ได้
ตดิ ตงั้

4 ระบบจดุ ระเบิด 5 21-25

1.ระบบจุดระเบดิ 1.อธบิ ายระบบจดุ ระเบดิ ได้

2.หน้าทข่ี องระบบจุดระเบดิ 2.อธบิ ายหน้าทข่ี องระบบจุดระเบดิ ได้

3.ส่วนประกอบของระบบจุดระเบดิ 3.อธบิ ายสว่ นประกอบของระบบจุด

4.การทางานของระบบจดุ ระเบดิ แบบ ระเบดิ ได้

แบตเตอร่ี 4.อธบิ ายการทางานของระบบจดุ ระเบดิ

5.การจดุ ระเบดิ ลว่ งหน้า แบบแบตเตอรไ่ี ด้

6.ระบบจุดระเบดิ แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 5.อธบิ ายการจดุ ระเบดิ ลว่ งหน้าได้

7.สว่ นประกอบของระบบจุดระเบดิ แบบ 6.อธบิ ายระบบจดุ ระเบดิ แบบ

อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ด้

8.การทางานของระบบจดุ ระเบดิ แบบ 7.อธบิ ายสว่ นประกอบของระบบจดุ

อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระเบดิ แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ด้

9.การปรบั แต่งระบบจดุ ระเบดิ 8.วเิ คราะหก์ ารทางานของระบบจดุ

ระเบดิ แบบอเิ ลก็ ทรอนิกสไ์ ด้

9.ปรบั แต่งระบบจดุ ระเบดิ ได้

5 ระบบน้ามนั เชื้อเพลิงเคร่ืองยนต์ 6 26-30

1.ระบบน้ามนั เชอ้ื เพลงิ เครอ่ื งยนต์แกส๊ 1.อธบิ ายระบบน้ามนั เชอ้ื เพลงิ

โซลนี เครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี ได้

2.คุณสมบตั ขิ องน้ามนั เชอ้ื เพลงิ 2.อธบิ ายคุณสมบตั ขิ องน้ามนั เชอ้ื เพลงิ

3.สารเพม่ิ คณุ ภาพของน้ามนั แก๊สโซลนี ได้

4.วธิ กี ารจดั ส่งน้ามนั เชอ้ื เพลงิ 3.อธบิ ายสารเพมิ่ คุณภาพของน้ามนั แกส๊

5.ส่วนประกอบของระบบน้ามนั เชอ้ื เพลงิ โซลนี ได้

4.อธบิ ายวธิ กี ารจดั ส่งน้ามนั เชอ้ื เพลงิ ได้

5.อธบิ ายส่วนประกอบของระบบน้ามนั

เชอ้ื เพลงิ ได้

14

5 6.การถอดประกอบปมั ๊ น้ามนั เชอ้ื เพลงิ 7 31-35 6.ถอดประกอบปมั๊ น้ามนั เชอ้ื เพลงิ ได้
7.การถอดประกอบคารบ์ เู รเตอร์ 7.ถอดประกอบคารบ์ เู รเตอรไ์ ด้
8.วเิ คราะหป์ ญั หาการทางาน ระบบ
น้ามนั เชอ้ื เพลงิ แก๊สโซลนี ได้

หน่วย ช่ือหน่วย/สาระสาคญั สปั ดาห์ ชวั่ โมง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ คณุ ธรรม จริยธรรม
ท่ี ท่ี ท่ี ค่านิยม และ
คณุ ลกั ษณะ
6 ระบบฉีดน้ามนั เชื้อเพลิงแบบ 8 36-40 อนั พงึ ประสงค์
อิเลก็ ทรอนิกส์
1.ระบบฉดี น้ามนั เพลงิ แบบ 1.อธบิ ายระบบฉดี น้ามนั เพลงิ แบบ ความมมี นุษยสมั พนั ธ์
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อเิ ลก็ ทรอนิกสไ์ ด้ ความมวี นิ ยั
2.ประเภทของระบบฉดี น้ามนั เชอ้ื เพลงิ 2.อธบิ ายประเภทของระบบฉดี น้ามนั ความรบั ผดิ ชอบ
3.โครงสรา้ งระบบฉดี น้ามนั เชอ้ื เพลงิ เชอ้ื เพลงิ ได้ ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
4.การเปรยี บเทยี บระบบฉดี น้ามนั 3.อธบิ ายโครงสรา้ งระบบฉดี น้ามนั ความสนใจใฝร่ ู้
เชอ้ื เพลงิ กบั คารบ์ เู รเตอร์ เชอ้ื เพลงิ ได้ ความรกั สามคั คี
4.เปรยี บเทยี บระบบฉดี น้ามนั เชอ้ื เพลงิ ความกตญั ญกู ตเวที
6 5.การถอดตรวจสอบหวั ฉดี สตารต์ เยน็ กบั คารบ์ เู รเตอรไ์ ด้
6.การตรวจสอบการทางานของหวั ฉดี 9 41-45 5.ถอดตรวจสอบหวั ฉดี สตารต์ เยน็ ได้
7.การถอดประกอบหวั ฉดี 6.ตรวจสอบการทางานของหวั ฉดี ได้
8.ระบบประจอุ ากาศ 7.ถอดประกอบหวั ฉดี ได้
8.ถอดประกอบหวั ฉดี ระบบประจอุ ากาศ
ได้
9.วเิ คราะห์ ตรวจสอบระบบฉดี น้ามนั
เชอ้ื เพลงิ แบบอเิ ลก็ ทรอนิกสไ์ ด้

- ทบทวน/สอบกลางภาคเรียน 10 46-50

7 ระบบไอดีและไอเสีย 11 51-55 1.อธบิ ายระบบไอดแี ละไอเสยี ได้
2.อธบิ ายส่วนประกอบของระบบไอดไี ด้
1.ระบบไอดแี ละไอเสยี 3.อธบิ ายการทางานของระบบไอดแี ละไอ
2.สว่ นประกอบของระบบไอดี เสยี ได้
3.การทางานของระบบไอดแี ละไอเสยี 4.อธบิ ายระบบไอเสยี เครอ่ื งยนตไ์ ด้
4.ระบบไอเสยี เครอ่ื งยนต์ 5.ถอดประกอบทอ่ ไอเสยี และทอ่ พกั ไอ
5.การถอดประกอบทอ่ ไอเสยี และทอ่ พกั เสยี ได้
ไอเสยี
7 6.การถอดและการตดิ ตงั้ ฝาครอบวาลว์ 12 56-60 6.ถอดและการตดิ ตงั้ ฝาครอบวาลว์ ได้

7.การปรบั ระยะห่างวาลว์ 7.ปรบั ระยะห่างวาลว์ ได้

8.การถอดและการตดิ ตงั้ กลไกขบั เพลา 8.ถอดและการตดิ ตงั้ กลไกขบั เพลาลกู

ลกู เบย้ี ว เบย้ี วได้

15

8 ระบบหลอ่ ลืน่ เครื่องยนต์ 13 61-65 1.อธบิ ายระบบน้ามนั หลอ่ ลน่ื เครอ่ื งยนต์
ได้
1.ระบบน้ามนั หล่อลน่ื เครอ่ื งยนต์ 2.อธบิ ายหน้าทแ่ี ละคณุ สมบตั ิ
2.หน้าทแ่ี ละคณุ สมบตั นิ ้ามนั หล่อลน่ื
น้ามนั หล่อลน่ื ได้
3.ระบบหลอ่ ลน่ื เครอ่ื งยนต์ 3.อธบิ ายระบบหลอ่ ลน่ื เครอ่ื งยนตไ์ ด้
4.ชนิดของระบบการหล่อลน่ื
4.อธบิ ายชนิดของระบบการหลอ่ ลน่ื ได้
5.อุปกรณ์ระบบน้ามนั หลอ่ ลน่ื เครอ่ื งยนต์ 5.อธบิ ายอุปกรณ์ระบบน้ามนั หลอ่ ลน่ื
6.การถอดและการตดิ ตงั้ อ่าง
น้ามนั หล่อลน่ื เครอ่ื งยนตไ์ ด้

7.การเปลย่ี นไสก้ รองและน้ามนั 6.ถอดและการตดิ ตงั้ อ่างน้ามนั หล่อลน่ื ได้

เครอ่ื งยนต์ 7.เปลย่ี นไสก้ รองและน้ามนั เครอ่ื งยนต์ได้

หน่วย ช่ือหน่วย/สาระสาคญั สปั ดาห์ ชวั่ โมงท่ี จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ คณุ ธรรม จริยธรรม
ท่ี ท่ี 66-70 คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะ
1.อธบิ ายระบบหล่อเยน็ เครอ่ื งยนต์ได้
9 ระบบหล่อเยน็ เครอื่ งยนต์ 14 71-75 2.อธบิ ายวธิ กี ารหล่อเยน็ ได้ อนั พึงประสงค์
76-80 3.อธบิ ายส่วนประกอบของระบบหล่อ
1.ระบบหลอ่ เยน็ เครอ่ื งยนต์ เยน็ ได้ ความมมี นุษยสมั พนั ธ์
4.อธบิ ายการตรวจสอบน้าหลอ่ เยน็ ได้ ความมวี นิ ยั
2.วธิ กี ารหลอ่ เยน็ 5.การถอด ตรวจสอบสายพานขบั ความรบั ผดิ ชอบ
และพลู เลยไ์ ด้ ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
3.ส่วนประกอบของระบบหลอ่ เยน็ 6.ถอดและตดิ ตงั้ ปมั๊ น้าได้ ความสนใจใฝร่ ู้
7.ถอดและตดิ ตงั้ เทอรม์ อสแตดได้ ความรกั สามคั คี
4.การตรวจสอบน้าหลอ่ เยน็ ความกตญั ญกู ตเวที
1.อธบิ ายระบบสตารต์ เครอ่ื งยนต์ได้
5.การบรกิ ารสายพานขบั และพลู เลย์ 2.อธบิ ายโครงสรา้ งมอเตอรส์ ตารต์ ได้
6.การถอดและการตดิ ตงั้ ปมั ๊ น้า 3.อธบิ ายชุดขบั เคลอ่ื นของมอเตอร์
สตารต์ ได้
7.การถอดและการตดิ ตงั้ เทอร์มอส 4.อธบิ ายควบคมุ มอเตอรส์ ตารต์ ได้
5.อธบิ ายวธิ กี ารสตารต์ เครอ่ื งยนต์ได้
แตด 6.วเิ คราะหป์ ญั หาขอ้ ขดั ขอ้ งระบบ
มอเตอรส์ ตารต์ ได้
10 ระบบสตารเ์ ครอ่ื งยนต์ 15 7.ถอดและตดิ ตงั้ มอเตอรส์ ตารต์ ได้

1.ระบบสตารต์ เครอ่ื งยนต์
2.โครงสรา้ งมอเตอรส์ ตารต์
3.ชดุ ขบั เคลอ่ื นของมอเตอรส์ ตารต์

10 4.การควบคุมมอเตอรส์ ตารต์ 16
5.วธิ กี ารสตารต์ เครอ่ื งยนต์
6.ปญั หาขอ้ ขดั ขอ้ งระบบมอเตอร์
สตารต์
7.การถอดและการตดิ ตงั้ มอเตอร์
สตารต์

16

11 การบารงุ รกั ษา การแก้ไข 17 81-85 1.อธบิ ายขอ้ ขดั ขอ้ งโดยทวั่ ไปของ

ข้อขดั ขอ้ งของเคร่ืองยนต์ และ เครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี ได้

การปลอดภยั การทางาน 2.อธบิ ายขอ้ ขดั ขอ้ งของระบบต่าง ๆ

1.ขอ้ ขดั ขอ้ งภายในเครอ่ื งยนต์ ของเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี ได้

2.ขอ้ ขดั ขอ้ งของระบบน้ามนั 3.อธบิ ายการแกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งระบบ

เชอ้ื เพลงิ ต่าง ๆ ของเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี ได้
3.ขอ้ ขดั ขอ้ งของระบบจุดระเบดิ 4.วเิ คราะหป์ ญั หาระบบต่าง ๆ ของ

4.ขอ้ ขดั ขอ้ งของระบบหลอ่ ลน่ื เครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี ได้

5.ขอ้ ขดั ขอ้ งของระบบหลอ่ เยน็ 5.แกไ้ ขระบบต่าง ๆ ๆ ของ

6.ขอ้ ขดั ขอ้ งของระบบควบคุม เครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี ได้

มลภาวะเป็นพษิ 6.ซ่อมและแกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งเครอ่ื งยนต์

7.ขอ้ ขดั ขอ้ งของเครอ่ื งยนตฉ์ ดี แก๊สโซลนี ได้

น้ามนั เชอ้ื เพลงิ ดว้ ยอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

- ทบทวน/สอบปลายภาคเรียน 18 86-90

หมายเหตุ กาหนดการสอนทบ่ี ูรณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคน์ ้ี จดั ทาขน้ึ เพ่อื เป็น

แนวทางใหก้ บั ครผู สู้ อนในการจดั การเรยี นการสอนเทา่ นนั้ สามารถเปลย่ี นแปลงไดข้ น้ึ อยู่กบั ผสู้ อน และสถานศกึ ษาทจ่ี ะนาไป
ประยกุ ต์ใชเ้ ป็นสาคญั

สารบญั 17

 จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวชิ า
 ลกั ษณะรายวชิ า
 ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร
 กาหนดการสอนทบ่ี ูรณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
 แผนการจดั การเรยี นรทู้ บ่ี ูรณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 6
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 7
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 8
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 9
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 10
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 11
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 12
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 13
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 14
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 15
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 16
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 17
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 18
รายการตรวจสอบและอนุญาตใหใ้ ช้

ภาคผนวก

ก ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ดว้ ยแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
ข ตวั อยา่ งแบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านรายบุคคล
ค ตวั อยา่ งแบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่
ง ตวั อยา่ งแบบประเมนิ การนาเสนอผลงานรายบุคคล
จ ตวั อยา่ งแบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ฉ ตวั อยา่ งแบบรวมคะแนนการประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม

และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ช ตวั อย่างแบบสรปุ ผลการประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ซ วธิ กี ารใชแ้ บบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการที่ 1 หน่วยท่ี 1
สอนคร้ังที่ 1 (1-5)
รหสั วิชา 20101-2001 งานเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลีน (1-6-3) จานวนช่วั โมง 5 ชม.
ช่ือหน่วย/เรือ่ ง วิวัฒนาการและประเภทของเครอ่ื งยนต์

สาระสาคญั

เครอ่ื งยนต์ เป็นเคร่ืองจักรตน้ กาลงั ท่ีเปลีย่ นพลังงานความรอ้ น ที่เกดิ จากการเผาไหมเ้ ชือ้ เพลงิ ใหเ้ ป็นพลงั งาน
กล การเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลิงมีทง้ั ภายนอกและการเผาไหมภ้ ายใน เครือ่ งยนตส์ ามารถจดั ส่งกาลังานให้กบั อุปกรณเ์ ครื่องทุ่น
แรงตา่ ง ๆ ทาให้เกิดการขบั เคลื่อนหรือทางานได้ เครื่องยนตม์ หี ลายชนดิ เชน่ เคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลนี เครอ่ื งยนต์ดเี ซล
และเครอ่ื งจักรไอนา้ ฯลฯ การแบง่ ชนดิ เคร่ืองยนตแ์ บ่งออกได้หลายประเภท เชน่ แบ่งตามลกั ษณะการเผาไหม้ การ
ระบายความร้อน จังหวะการทางาน การใช้เชอื้ เพลงิ และการจดั วางกระบอกสูบ เปน็ ต้น

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1.บอกจดุ ประสงค์รายวชิ า มาตรฐานรายวิชา และคาอธบิ ายรายวิชาตามหลักสตู รฯ และบอกแนวทางวัดผล

และการประเมินผลการเรยี นรไู้ ด้

2.อธิบายวิวฒั นาการของเครื่องยนตไ์ ด้

3.อธิบายหน้าทีข่ องเครอ่ื งยนต์ได้

4.อธบิ ายประเภทของเครอ่ื งยนตไ์ ด้

5.อธบิ ายการจัดวางวาลว์ ของเครอ่ื งยนต์ได้

6.อธบิ ายการทางานของห้องเผาไหม้ของเคร่อื งยนตไ์ ด้

6.อธิบายการเปรยี บเทยี บเครอื่ งยนต์แก๊สโซลีนกับเคร่ืองยนต์ดเี ซลได้

7.ถอดและตดิ ต้ังเคร่อื งยนต์แกส๊ โซลนี ได้
8.มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผสู้ าเร็จการศึกษา สานกั งาน
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ท่ีครูสามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่อื ง

8.1 ความมีมนษุ ยสมั พันธ์ 8.8 การละเวน้ สง่ิ เสพติดและการพนนั

8.2 ความมีวินัย 8.9 ความรักสามคั คี

8.3 ความรับผิดชอบ 8.10 ความกตัญญกู ตเวที

8.4 ความซื่อสัตย์สจุ ริต

8.5 ความเชือ่ มัน่ ในตนเอง

8.6 การประหยดั

8.7 ความสนใจใฝ่รู้

2

สมรรถนะหลัก 281.ปฏบิ ตั งิ านเครอื่ งยนต์แก๊สโซลนี
สมรรถนะย่อย 281.1 บรกิ ารและซอ่ มยานยนตแ์ กส๊ โซลนี
ตัวบ่งช้ี 281.101 อธบิ ายหลักการ ตรวจสอบ บารงุ รกั ษา ปรบั แต่งชิน้ สว่ นเครื่องยนต์แก๊สโซลนี
281.102 บารงุ รกั ษาช้ินสว่ นเครอื่ งยนตแ์ ก๊สโซลีน
281.103 ตรวจสภาพชน้ิ ส่วนของระบบต่างๆ
281.104 ถอดประกอบชน้ิ สว่ นของระบบต่างๆ

เน้อื หาสาระ

1.จุดประสงค์รายวชิ า มาตรฐานรายวชิ าและคาอธิบายรายวิชาและสมรรถนะรายวิชาพรอ้ มทั้งแนวทางวดั ผล
และการประเมินผล
2.วิวฒั นาการของเครือ่ งยนต์
3.หนา้ ที่ของเครื่องยนต์
4.ประเภทของเครื่องยนต์
5.การจดั วางวาลว์ ของเครือ่ งยนต์
6.ห้องเผาไหม้ของเครอ่ื งยนต์
7.การเปรียบเทยี บเครอื่ งยนต์แกส๊ โซลนี กบั เครื่องยนตด์ เี ซล
8.การถอดและตดิ ตงั้ เคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลนี

กิจกรรมการเรียนรู้
ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน

1. ผู้เรยี นรบั ฟงั จดุ ประสงค์กลุม่ วิชา คาอธบิ ายรายวิชา และกรอบมาตรฐานสมรรถนะหลกั สตู ร
ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แนวทางวัดผลและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
พรอ้ มทง้ั ซกั ถามและแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกับการเรียน

2.ในปจั จบุ นั เครอื่ งยนต์หรือเครอื่ งกลมีความสาคญั ต่อการดารงชีวิตของมนษุ ย์เป็นอย่างยิง่ เนือ่ งจากสามารถ
ขับเคลอื่ นหรอื ทางานได้ เครื่องยนต์จงึ เปน็ สิ่งทที่ าประโยชนใ์ หก้ บั มนษุ ยไ์ ด้อยา่ งมหาศาล โดยเฉพาะเครื่องยนตแ์ ก๊สโซ
ลีน

3. ผเู้ รยี นแสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับเครอื่ งยนตท์ ีน่ ยิ มใช้กันโดยท่วั ไป เช่น เครอ่ื งจักรไอน้า เครอื่ งยนต์แก๊ส
โซลีน เครอ่ื งยนตด์ เี ซล เคร่อื งยนต์โรตารี และเครือ่ งยนตก์ งั หันแก๊ส เป็นตน้

ข้ันสอน

4. ครูผสู้ อนอธบิ ายวิวัฒนาการของเครือ่ งยนต์ หน้าท่ขี องเคร่ืองยนต์ ประเภทของเคร่ืองยนต์ การจดั วาง
วาลว์ ของเครือ่ งยนต์ หอ้ งเผาไหมข้ องเคร่ืองยนต์ และการเปรยี บเทยี บเครื่องยนต์แกส๊ โซลีนกบั เครอื่ งยนตด์ เี ซล พร้อม
สื่อรูปภาพแสดงประกอบการเรียนการสอน

5. ครูอธิบายและสาธติ การถอดและตดิ ตั้งเครื่องยนต์แก๊สโซลีน พรอ้ มใหผ้ ้เู รียนฝึกทกั ษะประสบการณ์ โดย
ให้ปฏิบัตติ ามทุกข้ันตอน เม่อื ผเู้ รยี นคนใดสงสัยให้ซกั ถามทันที จะไดช้ ว่ ยแกป้ ัญหาได้

6. ผเู้ รยี นปฏิบตั ิกจิ กรรมดงั น้ี
กิจกรรมท่ี 1 ให้ผู้เรยี นถอดประกอบเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลนี ดังนี้
1.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในหอั งปฏิบัติการทีค่ รูจัดเตรยี มไวใ้ ห้ ได้แก่
-เคร่อื งมือที่ใช้ในการถอดประกอบ
-เครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลนี

3

-ขาตง้ั แท่นเครอื่ ง
1.2 ตรวจดสู ภาพเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี ทีจ่ ะทาการถอด
1.3 จดั เตรียมเครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการถอดประกอบ
1.4 ทาความสะอาดบรเิ วณที่จะทาการถอด
1.5 กาเครือ่ งหมายท่ีจาเป็นต่อการประกอบ
1.6 ถอดชิ้นสว่ นของเคร่ืองยนตต์ ามขน้ั ตอน
1.7 ตรวจสอบชนิ้ ส่วนต่าง ๆ ท่ีกาหนดให้อยใู่ นสภาพพรอ้ มใช้งาน
1.8 ครผู ู้สอนประเมนิ ผลและใหค้ ะแนน โดยมเี กณฑ์ประเมนิ ดังนี้

-การปอ้ งกนั ความปลอดภัย
-การเตรยี มความพรอ้ มเครื่องมือ
-ข้นั ตอนการใช้เครื่องมอื
-เทคนคิ การปฏิบตั งิ าน
-พฤติกรรมขณะปฏบิ ัติงาน
-ความเรยี บร้อยของชิ้นงาน
-การเก็บดแู ลรกั ษาเครอื่ งมอื
กิจกรรมที่ 2 ให้ผู้เรยี นหาบทความหรอื ขา่ วสารเก่ียวกบั งานเคร่อื งยนต์แกส๊ โซลีน ที่ใช้กนั อยา่ ง
แพร่หลายในปจั จุบนั นี้ จากสือ่ สิ่งพิมพ์ตา่ ง ๆ เช่น นติ ยสาร หนังสอื พมิ พ์ เวบ็ ไซต์ เปน็ ตน้ แลว้ นามาสรุปสาระสาคญั
และแสดงความคดิ เห็นโดยเขยี นใส่กระดาษ A-4 พร้อมแนบบทความหรอื ข่าวสารน้นั ๆ ประกอบติดมาด้วย
7. ครูผสู้ อนเน้นให้ผเู้ รยี นไดใ้ หค้ วามสาคญั กบั การถอดและการตดิ ตงั้ เครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลีน
อยา่ งมีเหตผุ ล คอื ใหต้ ดั สนิ ใจด้วยความรอบคอบ และมเี หตผุ ลในการถอดชนิ้ สว่ นนนั้ ๆ และขณะเดียวกนั ตอ้ งนาความรู้
ทไ่ี ดศ้ ึกษามาขา้ งตน้ มาใชใ้ นการวางแผนจัดทางานน้ใี ห้สาเร็จ และตอ้ งมคี วามเอ้ืออาทรต่อเพอ่ื น มกี ารชว่ ยเหลอื ซ่งึ กนั
และกัน มคี วามซ่อื สตั ยส์ ุจริตในการทาหน้าท่ีของตนเอง ซ่ึงเปน็ แนวทางการนาหลกั เศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ตใ์ ชใ้ น
การดาเนินชวี ิตได้อยา่ งเหมาะสม เพอื่ ดารงอยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
8. ครูผู้สอนและผู้เรียน ร่วมกันแสดงความคิดเห็นในการทาบัญชีครัวเรือน ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของ
กระบวนการเรียนรู้ การศึกษา การฝึกตน เพ่ือให้เกิดการปฏิบัติพัฒนาความรู้ ความคิด และการปฏิบัติที่ถูกต้อง
กอ่ ใหเ้ กดิ ความเจรญิ ในการนาไปประกอบอาชีพหรอื เศรษฐกจิ สงั คม และวัฒนธรรม ซ่งึ การทาบัญชีครัวเรือนเป็นเร่ือง
การบันทกึ รายรับรายจา่ ยประจาวนั /เดอื น/ปี ว่ามีรายรับรายจ่ายจากอะไรบ้าง จานวนเท่าใด รายการใดจ่ายน้อยจ่าย
มาก จาเป็นนอ้ ยจาเป็นมาก ก็อาจลดลงหรือเพิม่ ขน้ึ ตามความจาเปน็ ถา้ ทุกคนคดิ ได้กแ็ สดงว่าเป็นคนรจู้ ักพัฒนาตนเอง
มีเหตุมีผล รู้จักพอประมาณ รักตนเอง รักครอบครัว รักชุมชน และรักประเทศชาติมากข้ึน จึงเห็นได้ว่าการทาบัญชี
ครวั เรือน คือวถิ ีแหง่ การเรยี นรู้เพื่อพัฒนาชีวติ ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แบบบนั ทกึ รายการเครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ 4
หมายเหตุ
ลาดับที่ รายการ จานวนหน่วย ราคา/หน่วย
บาท สต.

ตัวอย่างแบบบนั ทึกบัญชรี ายรบั -รายจ่าย

ว.ด.ป. รายรบั จานวนเงนิ ว.ด.ป. รายรับ จานวนเงิน
บาท สต. บาท สต.

9. ผู้เรียนบันทึกรายรับ-รายจ่ายในครัวเรือนของตนเองในภาคเรียนนตี้ ามแบบฟอร์มท่ีกาหนดให้

สมดุ บนั ทึก รายรบั -รายจา่ ย ในครวั เรอื น

ของนาย/นาง/นางสาว.......................................................

ประจาภาคเรยี นท่.ี ../........ระหว่างเดอื น..................ถงึ เดือน................พ.ศ ...........

วนั เดือน รายการ รายรับ รายจา่ ย คงเหลอื
ปี

หมายเหตุ : ถา้ ไม่พอใหใ้ ช้กระดาษ A-4 ตีแบบฟอรม์ เพ่มิ เติมได้

ขนั้ สรปุ และการประยุกต์

10. ผเู้ รยี นสรุปการถอดประกอบเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน ครูเป็นผู้ถามและให้ผู้เรียนตอบ โดยใช้เครื่องยนต์ท่ี
ปฏบิ ัติการเปน็ สอื่ การเรยี นรู้

11. ผู้เรยี นวางแผนนาหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันท่ีจาเป็นโดยท่ัวไป ซ่ึงทุกคนจะ
พบเหน็ เสมอจากการดาเนนิ ชวี ิต

12.ผ้เู รยี นทาแบบประเมินผลการเรียนรู้

ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้

1. หนังสือเรยี น วชิ างานเครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลนี ของสานักพิมพเ์ อมพนั ธ์
2. สอ่ื แผ่นใส
3. กจิ กรรมการเรียนการสอน
4. รปู ภาพประกอบ
5. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการถอดประกอบ

5

6. เครื่องยนต์แก๊สโซลนี
7. ขาตั้งแทน่ เคร่ือง

หลักฐาน

1. บนั ทึกการสอน
2. ผลงาน
3. แผนจัดการเรียนรู้
4. ใบเช็คช่ือเขา้ หอ้ งเรียน

การวดั ผลและการประเมินผล

วธิ วี ดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ตรวจใบงาน
3. ตรวแบบประเมินผลการเรยี นรู้
4 ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
5 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
6 การสังเกตและประเมินพฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

เคร่อื งมือวดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกล่มุ (โดยคร)ู
3. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ (โดยนกั เรยี น)
4. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้
6. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผเู้ รียนร่วมกนั
ประเมิน

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ีช่องปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขึน้ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผา่ น คอื 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้มีเกณฑ์ผ่าน 50%
6 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยกู่ บั การ

ประเมินตามสภาพจรงิ

กจิ กรรมเสนอแนะ

1. ทากิจกรรมใบงานและแบบประเมินผลการเรยี นรู้
2. บันทึกการรับ-จ่าย

6

คาชี้แจง : ให้บันทึกบัญชีรายรบั -รายจา่ ย ตามความเป็นจริง

1. จากการลงบนั ทกึ นักเรยี นมีเงินเหลือเกบ็ หรือไม…่ …………เพราะเหตใุ ด………………..…………
2. จะเกิดอะไรขึน้ ถ้านักเรยี นมรี ายจ่ายมากกวา่ รายรบั …………………………….………………….…

7

ใบงาน

เร่อื ง ววิ ัฒนาการและประเภทของเครื่องยนต์

ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง
1.บอกจดุ ประสงคร์ ายวิชา มาตรฐานรายวชิ า และคาอธิบายรายวิชาตามหลักสตู รฯ และบอกแนวทางวัดผล
และการประเมินผลการเรยี นรไู้ ด้
2.อธบิ ายววิ ัฒนาการของเครือ่ งยนต์ได้
3.อธบิ ายหนา้ ทีข่ องเคร่อื งยนตไ์ ด้
4.อธบิ ายประเภทของเคร่ืองยนตไ์ ด้
5.อธิบายการจัดวางวาล์วของเครอ่ื งยนต์ได้
6.อธบิ ายการทางานของห้องเผาไหมข้ องเคร่ืองยนตไ์ ด้
6.อธบิ ายการเปรยี บเทียบเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี กบั เครือ่ งยนตด์ เี ซลได้
7.ถอดและตดิ ตงั้ เคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลีนได้

คาชแี้ จง.- ใหผ้ ู้เรยี นหาบทความหรอื ข่าวสารเกยี่ วกับงานเครื่องยนต์แกส๊ โซลีน ทใ่ี ช้กนั อย่างแพร่หลายในปจั จบุ ันน้ี
จากสือ่ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ เวบ็ ไซต์ เปน็ ตน้ แลว้ นามาสรปุ สาระสาคญั และแสดงความคดิ เหน็
โดยเขยี นใส่กระดาษ A-4 พรอ้ มแนบบทความหรอื ข่าวสารน้ัน ๆ ประกอบตดิ มาด้วย

...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

8

บันทึกหลังการสอน
ขอ้ สรปุ หลังการสอน

...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
ปัญหาทพี่ บ
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ัญหา
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

9

แผนการจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการที่ 2 หน่วยที่ 2

รหสั วชิ า 20101-2001 งานเครือ่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี (1-6-3) สอนครง้ั ท่ี 2 (6-10)
จานวนชัว่ โมง 5 ชม.
ชือ่ หน่วย/เร่อื ง หลกั การทางานของเครอ่ื งยนต์แก๊สโซลนี

สาระสาคัญ

การทางานของเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลีนโดยท่ัวไปแบ่งออกไดเ้ ปน็ เครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลีน 4 จงั หวะและเครอื่ งยนต์
แก๊สโซลีน 2 จังหวะ ในเครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน 4 จงั หวะ จะมจี งั หวะการทางาน คอื ลูกสบู เคล่ือนขน้ึ ลง 4 ครง้ั คอื ข้ึน 2
ครงั้ ลง 2 คร้ัง เพลาขอ้ เหว่ยี งหมนุ 2 รอบจะให้กาลงั งาน 1 คั้ง ส่วนเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี 2 จังหวะ ลกู สบู เครือ่ งขน้ึ ลง
2 ครั้ง เพลาข้อเหวี่ยงหมนุ 1 รอบไดก้ าลงั งาน 1 ครัง้ เครอื่ งยนตจ์ ะมลี ักษณะการทางานทีค่ ล้ายคลงึ กันจะแตกต่างกัน
อยู่บ้าง ข้ึนอยู่กับการออกแบบของผู้ผลติ

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1.อธิบายการทางานของเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีนได้
2.อธบิ ายเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี 4 จงั หวะได้
3.อธิบายเครือ่ งยนต์แกส๊ โซลีน 2 จงั หวะได้
4.อธบิ ายการเปรยี บเทียบเคร่อื งยนต์ 2 จังหวะและ 4 จงั หวะได้
5.อธิบายสมรรถนะของเครอื่ งยนตไ์ ด้
6.วัดสมรรถนะของเครื่องยนต์ได้
7.ถอดประกอบสายพานไทมิง่ ได้
8.ปรบั ความตึงสายพานไทม่งิ เครือ่ งยนตแ์ ก๊สโซลีนได้
9.ถอดประกอบเพลาขอ้ เหว่ยี งได้
10.มีการพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผสู้ าเร็จการศึกษาสานกั งาน
คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รูสามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเรอื่ ง

10.1 ความมมี นษุ ยสัมพนั ธ์
10.2 ความมีวนิ ัย
10.3 ความรบั ผิดชอบ
10.4 ความซือ่ สตั ย์สจุ ริต
10.5 ความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง
10.6 การประหยดั
10.7 ความสนใจใฝ่รู้
10.8 การละเวน้ สิ่งเสพตดิ และการพนนั
10.9 ความรกั สามคั คี
10.10 ความกตัญญกู ตเวที

สมรรถนะหลกั 281.ปฏบิ ัติงานเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลีน

สมรรถนะยอ่ ย 281.1 บรกิ ารและซอ่ มยานยนต์แก๊สโซลนี

ตัวบ่งชี้ 281.101 อธบิ ายหลักการ ตรวจสอบ บารงุ รกั ษา ปรับแตง่ ชนิ้ สว่ นเครือ่ งยนต์

10

แกส๊ โซลีน
281.102 บารุงรกั ษาช้ินส่วนเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลีน
281.103 ตรวจสภาพชิ้นส่วนของระบบตา่ ง ๆ

เนือ้ หาสาระ

1.การทางานของเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี
2.เครือ่ งยนต์แก๊สโซลนี 4 จังหวะ
3.เคร่อื งยนต์แก๊สโซลีน 2 จังหวะ
4.การเปรยี บเทยี บเครอื่ งยนต์ 2 จงั หวะและ 4 จงั หวะ
5.สมรรถนะของเคร่อื งยนต์
6.การวดั สมรรถนะของเครื่องยนต์
7.การถอดประกอบสายพานไทมิง่
8.การปรับความตงึ สายพานไทมง่ิ เครือ่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี
9.การถอดประกอบเพลาข้อเหวย่ี ง

กิจกรรมการเรยี นรู้

ขนั้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น

1.ครูผสู้ อนกล่าวถงึ เครอ่ื งยนต์ทุกประเภทว่า ผสู้ ร้างมีความตอ้ งการทจี่ ะใหเ้ ปน็ ไปในแนวทางเดยี วกนั จะ
แตกตา่ งกันบา้ งก็ตรงลกั ษณะของการใชง้ าน วิธีการจุดระเบิดนา้ มนั เชอ้ื เพลงิ ภายในกระบอกสบู การระบายความรอ้ น
และจงั หวะการทางานของเคร่ืองยนต์ สว่ นประกอบของเครอื่ งยนต์สว่ นมากจะคล้ายคลงึ กนั การทางานของเครอื่ งยนต์
มักจะเร่ิมจากการดดู ส่วนผสมของน้ามนั กบั อากาศเพยี งอย่างเดยี ว แล้วอัดส่วนผสมของอากาศนัน้ จุดระเบดิ ทาใหแ้ กส๊
ขยายตวั ขบั ไลไ่ อเสียหรือคายไอเสยี หลกั การทาใหเ้ ครอื่ งยนตด์ ีเซลแตกตา่ งจากเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีนคอื ระบบการจา่ ย
นา้ มนั เช้อื เพลงิ เขา้ กระบอกสูบ เครือ่ งยนต์แก๊สโซลีนจะมคี ารบ์ ูเรเตอร์ทาหนา้ ทีเ่ ปน็ ตัวจ่ายสว่ นผสมของอากาศกบั
น้ามันเชื้อเพลงิ (ไอดี) ในสัดส่วนทถี่ กู ต้องและปรมิ าณทพี่ อดที ุกสภาวะการทางานของเคร่อื งยนต์

2.ผู้เรยี นเลา่ ประสบการณใ์ นการซอ่ มเครอ่ื งยนต์ท่ีตนเคยทามา หรอื ยกตวั อย่างการซ่อมเครอ่ื งยนต์ทเ่ี คย
ศึกษามาบ้างแล้ว เพื่อใหเ้ กิดการเรียนรูแ้ ละเชอ่ื มโยงเขา้ สเู่ น้ือหาการเรยี นการสอนตอ่ ไป

ข้ันสอน

3.ครูอธบิ ายการทางานของเครือ่ งยนต์แก๊สโซลีน.แบบเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลีน 4 จังหวะ และ
เคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี 2 จงั หวะ พร้อมท้งั นารปู ภาพของเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลนี 4 จังหวะและ 2 จังหวะ มาประกอบการ
สาธติ ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจและปฏบิ ตั ิตามไดง้ า่ ยขน้ึ ซ่ึงเคร่อื งยนต์ทัง้ 2 ชนดิ นีจ้ ะมลี กั ษณะการทางานแตกต่างกนั

4.ครูและผเู้ รียนเปรียบเทยี บเคร่ืองยนต์ 2 จังหวะและ 4 จงั หวะ และวิธวี ัดสมรรถนะของเครื่องยนต์
โดยแสดงการถอดหวั เทยี นและการวัดกาลังอดั ซึง่ วัดโดยยดึ เกจวดั กาลังเข้ากบั ชอ่ งหัวเทียน แล้วถอดสายไฟออกจาก
จานจ่าย จากนนั้ กว็ ดั อัดในขณะท่เี ครือ่ งยนต์หมนุ จนเข็มเคร่ืองวัดหยดุ อยู่กับที่ แล้วบนั ทกึ ค่าของสูบนนั้

5.ครสู าธติ การถอดประกอบสายพานไทมิ่งตามขัน้ ตอนวธิ กี ารถอดทถี่ ูกตอ้ ง โดยใหผ้ ้เู รยี นปฏบิ ตั ิ
ตามอย่างระมัดระวงั โดยหา้ มหมนุ เพลาลูกเบ้ียวหรอื เพลาข้อเหวยี่ งในขณะทถี่ อดสายพานไทมิง่ เพราะจะทาใหว้ าลว์
กระแทกกับหวั ลกู สบู หรือถ้าเปน็ สายพานไทมงิ่ ที่ใชแ้ ลว้ ใหท้ าเครอื่ งหมายลูกศรทส่ี ายพาน ในทิศทางการหมนุ ของ
เครื่องยนต์ และทาเคร่อื งหมายบนเฟอื งและสายพาน โดยครไู ดน้ ารปู ภาพมาประกอบแตล่ ะขนั้ ตอนเพอ่ื สื่อความหมาย

11

ใหผ้ ู้เรยี นเข้าใจงา่ ยขน้ึ นอกจากนน้ั ครูยังเน้นวธิ ีการปรับความตงึ สายพานไทมงิ่ เครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลนี ตามชิน้ สว่ น
ประกอบแตล่ ะชิน้

6.ครสู าธิตการถอดประกอบเพลาข้อเหวี่ยง ตามขั้นตอนการถอดเพลา โดยแสดงรูปภาพการถอดประกอบ
และให้ผเู้ รียนปฏบิ ตั ติ าม ฝึกทกั ษะเพอื่ ให้เกดิ การเรียนรู้ สามารถนาไปใช้ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

7.ผู้เรยี นปฏิบตั ิกจิ กรรมดงั นี้
กจิ กรรมที่ 1 ใหผ้ เู้ รียนตดิ ตั้งแหวนลูกสบู โดยครเู ตรยี มเคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการถอดประกอบ และเตรยี ม
เครือ่ งยนตท์ ่ใี ช้ในการฝึกไวใ้ นหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ให้ผูเ้ รยี นปฏิบตั ิดังน้ี

1.1 ตรวจดสู ภาพลกู สูบและแหวนที่จะตดิ ต้งั
1.2 จัดเตรียมเครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการถอดประกอบแหวนลกู สบู
1.3 ใชเ้ ครือ่ งมอื ถอดแวฃหวนลูกสบู
1.4 กาเคร่ืองหมายทจี่ าเป็นต่อการประกอบ
1.5 ถอดแหวนลกู สบู ตามข้นั ตอน
1.6 ตรวจสอบแหวนลกู สบู ใสแ่ หวนลูกสูบตามขัน้ ตอนให้อยใู่ นสภาพพร้อมใชง้ าน
1.7 ตราจสอบความเรยี บร้อยนาเสนอผลงาน
1.8 ครูพิจารณาการปฏิบตั ิงาน และให้คะแนนตามเกณฑ์ ดังนี้

-การปอ้ งกันความปลอดภัย
-การเตรยี มความพรอ้ มเครอ่ื งมือ
-ขนั้ ตอนการใชเ้ คร่ืองมือ
-ข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน
-เทคนิคการปฏบิ ตั งิ าน
-พฤตกิ รรมขณะปฏบิ ัตงิ าน
-ความเรยี บรอ้ ยของชิ้นงาน
-การเก็บดูแลรักษาเครอื่ งมอื
กจิ กรรมท่ี 2 ให้ผู้เรียนถอดและตดิ ตั้งเพลาข้อเหว่ยี ง ดงั นี้
2.1 ครูผ้สู อนเตรยี มเครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการถอดประกอบ และเคร่ืองยนต์ทจ่ี ดั เตรียมในการ
ฝกึ ปฏิบัตไิ ว้ในห้องปฏิบตั กิ าร
2.2 ผเู้ รยี นตรวจดสู ภาพเคร่ืองยนต์ท่ีจะทาการถอด
2.3 จัดเตรียมเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการถอดประกอบ
2.4 กาเคร่ืองหมายทีจ่ าเปน็ ตอ่ การประกอบ
2.5 ถอดฝาครอบวาลว์ ของเคร่อื งยนต์ตามขน้ั ตอน
2.6 ตรวจสอบและปรับตาแหน่งของชน้ิ สว่ นใหอ้ ยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ าน
2.7 ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยและนาเสนอผลงาน
2.8 ครูผูส้ อนพิจารณาให้คะแนนตามเกณฑ์
8.ครูเนน้ การเรยี นตามสภาพจริงและใหผ้ ูเ้ รียนสามารถปฏบิ ตั ิไดจ้ รงิ เพอ่ื เป็นการเพ่ิมศกั ยภาพผู้เรยี นหรอื เพอ่ื
สรา้ งมลู ค่าทางเศรษฐกจิ และสังคมในชุมชน เมื่อผูเ้ รยี นจบไปประกอบอาชพี จะได้นาความรแู้ ละทักษะเพอ่ื พฒั นา
ความชานาญเฉพาะทางในวิชาชพี ตา่ งๆ ให้สามารถกลบั ไปสรา้ งงาน สร้างรายไดใ้ นชมุ ชนท้องถิ่น และนาความเจรญิ
ทางเศรษฐกจิ และสงั คมให้แก่ถ่ินกาเนิดต่อไป ตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง

สรปุ และการประยุกต์

12

9.ครูสรุปและให้ขอ้ คดิ เหน็ ว่างานซอ่ มเครอื่ งยนตแ์ ละบรกิ ารนเ้ี ป็นงานหนักที่ทา้ ทายกบั เทคโนโลยีท่ีกา้ วหน้า
ไปอยา่ งรวดเร็ว มักมลี กู คา้ ประจา ต้องการความสามารถในการวเิ คราะหป์ ญั หามีความละเอียดรอบคอบ เวลาทางาน
รา่ งกายตอ้ งเปอื้ น สกปรกและร้อน บางครง้ั ตอ้ งทางานใต้ท้องรถยนต์ ใช้มอื ทางานมากค่าแรงตามระดับฝมี อื คดิ ตาม
ชนิ้ งานหรือระยะเวลาเสร็จ ดังนนั้ จงึ ตอ้ งมีความอดทน ละเอยี ดรอบคอบช่างสงั เกต จดจา รูจ้ กั วเิ คราะห์ และแกไ้ ข
ปญั หา มีความรับผิดชอบ และตระหนักถงึ ความปลอดภัยและการป้องกันอุบตั ิภัยโดยอาศยั เงอ่ื นไขความรู้ และ
เงือ่ นไขคุณธรรมของหลักเศรษฐกจิ พอเพยี งประกอบในการศึกษาเพอื่ ฝกึ ตนเองใหม้ าก จนเกดิ ความเคยชินในท่ีสดุ

สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้

1.หนงั สอื เรยี น วชิ างานเคร่อื งยนต์แกส๊ โซลนี ของสานักพมิ พเ์ อมพนั ธ์
2.รูปภาพ
3.กิจกรรมการเรยี นการสอน
4.แผน่ ใส
5. เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการถอดประกอบ
6. เครื่องยนต์แก๊สโซลีน
7. ขาตงั้ แทน่ เครอ่ื ง

หลักฐาน

1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายช่ือนักเรยี น
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงานนกั เรยี น

การวัดผลและการประเมินผล

วธิ ีวัดผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ
3 ตรวจกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้
4. ตรวจกจิ กรรมใบงาน
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้
6. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

เครอื่ งมือวดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
3. แบบประเมนิ กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้
6. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครูและผ้เู รียนรว่ มกนั

ประเมิน

13

เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไมม่ ีชอ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
4. ตอบคาถามในกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้จงึ จะถอื ว่าผ่าน

เกณฑ์การประเมนิ มเี กณฑ์ 4 ระดับ คอื 4= ดีมาก, 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1= ควรปรบั ปรงุ
5. กิจกรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คือ 50%
6. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้มีเกณฑผ์ ่าน 50%
7 แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กบั การ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กจิ กรรมเสนอแนะ

1.ผูเ้ รยี นทากจิ กรรมใบงาน
2.บนั ทกึ บัญชีรายรับ-รายจา่ ย
3.ผู้เรยี นเขียนโครงสรา้ งของเครอื่ งยนต์ และเขียนบอกลักษณะของเคร่ืองตามโครงสร้างทงั้ หมด

คาชแ้ี จง : ใหบ้ ันทกึ บญั ชีรายรบั -รายจ่าย ตามความเปน็ จรงิ

14

1. จากการลงบันทึก มเี งนิ เหลอื เกบ็ หรอื ไม…่ …เพราะเหตุใด………………..………
2. จะเกดิ อะไรขึ้นถา้ มีรายจา่ ยมากกว่ารายรับ…………………..………………….…

ใบงาน

เรื่อง หลกั การทางานของเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน
ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั

1.อธบิ ายการทางานของเคร่อื งยนต์แก๊สโซลนี ได้

15

2.อธบิ ายเคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลนี 4 จังหวะได้
3.อธิบายเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลีน 2 จังหวะได้
4.อธิบายการเปรยี บเทยี บเคร่อื งยนต์ 2 จังหวะและ 4 จงั หวะได้
5.อธบิ ายสมรรถนะของเครื่องยนต์ได้
6.วดั สมรรถนะของเครอ่ื งยนต์ได้
7.ถอดประกอบสายพานไทมง่ิ ได้
8.ปรับความตึงสายพานไทมงิ่ เครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีนได้
9.ถอดประกอบเพลาข้อเหวย่ี งได้

คาชี้แจง.- ใหผ้ ูเ้ รียนเขียนโครงสร้างระบบการทางานของเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี และเครือ่ งยนต์แกส๊ โซลนี 4 จงั หวะ
และเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี 2 จงั หวะ

...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

บนั ทกึ หลังการสอน
ขอ้ สรุปหลังการสอน

..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

16

..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 3 หนว่ ยที่ 3
สอนคร้ังท่ี 3 (11-15)
รหัสวชิ า 20101-2001 งานเครื่องยนต์แก๊สโซลนี (1-6-3) จานวนชวั่ โมง 5 ชม.

ชอื่ หน่วย/เรอื่ ง โครงสร้างของเครอื่ งยนตแ์ ก๊สโซลนี

สาระสาคญั

เคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน ประกอบด้วยอุปกรณ์และช้ินส่วนต่าง ๆ ท่ีอยู่กับท่ีและคล่ือนท่ี ชิ้นส่วนท่ีอยู่กับที่ จะ
เป็นทีต่ ิดต้ังของชนิ้ สว่ นเคลอ่ื นท่ี ชนิ้ สว่ นแต่ละชิ้นจะมีหน้าที่และลักษณะการทางานแตกต่างกันออกไป ช้ินส่วนต่าง ๆ
ของเคร่ืองยนต์น้ีจะทางานสัมพันธ์กันเพ่ือให้เคร่ืองยนต์เกิดการขับเคล่ือนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โครงสร้างของ
เครื่องยนตส์ ามารถกาหนดได้ด้วย จานวนกระบอกสูบ การจัดวางกระบอกสูบ จานวนเพลาลูกเบ้ียวและตาแหน่งของ
เพลาลกู เบ้ียว

จุดประสงค์การเรียนรู้

1.อธิบายโครงสรา้ งของเคร่อื งยนตไ์ ด้
2.อธบิ ายหนา้ ทีก่ ารทางานของชิ้นสว่ นต่าง ๆ ได้

17

3.อธบิ ายการทางานของอุปกรณ์เก็บอาการสั่นได้

4.ถอดฝาสูบและการตดิ ตั้งฝาสูบได้

5.มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผู้สาเรจ็ การศกึ ษาสานกั งาน

คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่คี รูสามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเรือ่ ง

5.1 ความมีมนุษยสมั พันธ์ 5.6 การประหยดั

5.2 ความมีวนิ ัย 5.7 ความสนใจใฝร่ ู

5.3 ความรับผิดชอบ 5.8 การละเวน้ สิ่งเสพตดิ และการพนนั

5.4 ความซอื่ สัตยส์ ุจรติ 5.9 ความรกั สามคั คี

5.5 ความเชอ่ื มั่นในตนเอง 5.10 ความกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะหลกั 281.ปฏิบัติงานเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีน

สมรรถนะยอ่ ย 281.1 บริการและซอ่ มยานยนต์แกส๊ โซลนี

ตวั บง่ ชี้ 281.101 อธิบายหลักการ ตรวจสอบ บารงุ รกั ษา ปรับแต่งชิ้นส่วนเครอื่ งยนต์

แกส๊ โซลนี

281.102 บารงุ รกั ษาชิน้ สว่ นเคร่อื งยนต์แก๊สโซลีน

281.103 ตรวจสภาพชนิ้ ส่วนของระบบตา่ ง ๆ

281.104 ถอดประกอบช้นิ ส่วนของระบบต่าง ๆ
281.105 ปรับแต่งเครื่องยนต์

เนือ้ หาสาระ

1.โครงสรา้ งของเครือ่ งยนต์
2.หนา้ ที่การทางานของชน้ิ สว่ นตา่ ง ๆ
3.อุปกรณเ์ ก็บอาการส่ัน
4.การถอดฝาสบู และการตดิ ตงั้ ฝาสบู

กจิ กรรมการเรยี นรู้

ข้ันนาเข้าสู่บทเรยี น

1.ผเู้ รียนและผสู้ อนกลา่ วถึงโครงสร้างเครื่องยนตโ์ ดยทัว่ ไป ท่มี ีกระบอกสูบ เพลา เพลาลูกเบยี้ ว ซง่ึ
เครอื่ งยนตต์ า่ ง ๆ จะทางานได้นน้ั ต้องมชี ้นิ ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ทอี่ ยู่ในสภาพพรอ้ มใชง้ านได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดย
ชนิ้ ส่วนแตล่ ะช้นิ จะมีรปู ร่าง คณุ สมบัติและขนาดแตกตา่ งกันออกไปตามหน้าท่ี

2.ผเู้ รยี นยกตวั อย่างช้นิ สว่ นต่าง ๆ ประกอบ เชน่ จานจา่ ย วาลว์ ลูกสบู กระเดอ่ื งวาลว์ เพลาลูกเบย้ี ว
สายพานไทม่ิง ปม๊ั นา้ หล่อเย็น ก้านสบู และเพลาข้อเหวย่ี ง เป็นตน้

ขน้ั สอน

3.ครผู สู้ อนอธบิ ายโครงสรา้ งของเครอ่ื งยนต์ ตามรปู ภาพท่ีนามาแสดงประกอบการเรยี นรู้ และอธิบายหน้าที่
การทางานของช้ินสว่ นตา่ ง ๆ อปุ กรณเ์ ก็บอาการส่ัน

18

4.ครสู าธิตการถอดฝาสูบและการติดต้งั ฝาสบู ในห้องปฏบิ ตั ิการ โดยครเู ตรียมอปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ นการถอด และ
เครอื่ งยนต์ท่ีนามาฝกึ ปฏบิ ตั ิ ซงึ่ เครือ่ งยนตบ์ างเครอื่ งอาจตอ้ งถอดเพลาลูกเบย้ี วหรอื กลไกกระเดอื่ งวาล์วกอ่ นคลายสลกั
เกลียวฝาสบู การถอดฝาสูบควรปฏิบัติตามข้นั ตอนคู่มือเปน็ สาคญั

5.ผู้เรียนปฏิบัตกิ จิ กรรมดงั นี้
กิจกรรมท่ี 1 การถอดประกอบฝาสบู เครอ่ื งยนต์แบบ OHV

1.1 ครูเตรยี มเครื่องมือและอปุ กรณด์ งั น้ี
-ชุดเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการถอดประกอบ
-เคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลีน
-ขาตง้ั แทน่ เครอ่ื ง

1.2 ใหผ้ เู้ รยี นตรวจดสู ภาพฝาสบู เคร่อื งยนต์แกส๊ โซลนี แบบ OHV ทจี่ ะทาการถอด
1.3 จัดเตรยี มเครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการถอดประกอบ
1.4 ทาความสะอาดบรเิ วณท่ีจะทาการถอด
1.5 กาเคร่อื งหมายท่จี าเปน็ ต่อการประกอบ
1.6 ถอดชิ้นสว่ นของเครื่องยนตต์ ามขั้นตอน
1.7 ตรวจสอบช้ินสว่ นตา่ ง ๆ ที่กาหนดให้อยู่ในสภาพพร้อมใชง้ าน
1.8 ตรวจสอบความเรยี บร้อย และนาเสนอผลงาน
1.9 ครูประเมินผลงาน และพจิ ารณาใหค้ ะแนนตามเกณฑ์
6.ครูเนน้ ผเู้ รยี นใหม้ ีความละเอยี ดรอบคอบ มีความอดทน มคี วาเข้มแขง็ มีความเพยี รพยายามให้มี
ความสามารถฝึกปฏบิ ัตไิ ดจ้ รงิ นอกจากน้นั ยังให้ระมัดระวงั ความปลอดภยั ในการฝกึ ปฏิบตั งิ านทอี่ าจเกดิ ข้ึนไดโ้ ดยไมไ่ ด้
ตง้ั ใจ เพราะในการประกอบอาชพี จรงิ ๆ ผเู้ รียนต้องรับผดิ ชอบในงานทีล่ ูกคา้ นามาให้ทา ดังน้นั ผูเ้ รยี นต้องฝกึ ทกั ษะ
ความชานาญเหล่านใี้ หม้ ปี ระสิทธภิ าพ เพอ่ื สร้างรายได้ท่ีดใี นอนาคตต่อไป และพรอ้ มรับผลกระทบและความ
เปลยี่ นแปลงทจ่ี ะเกดิ ขึ้นในอนาคต คือ ทาให้เข้มแขง็ ก็จะทาให้ครอบครัวมีเงนิ ออมอันเกิดจากการทางานของเราได้
ถือเปน็ เงื่อนไขสาคญั คือเร่อื งคณุ ธรรม ลกั ษณะดังกลา่ วนีก้ จ็ ะเปน็ การสร้างภมู ิคมุ้ กันท่ดี ใี นตัวเอง รวมทงั้ มีความ

อดทน มคี วามเพียรพยายามในการทามาหาเลย้ี งชพี ในชวี ติ ประจาวนั ได้ในอนาคตตอ่ ไปเปน็ อยา่ งดี

สรปุ และการประยุกต์

7.ผเู้ รยี นสรุปโครงสรา้ งของเครื่องยนต์ หน้าที่การทางานของชน้ิ สว่ นต่าง ๆ อปุ กรณเ์ ก็บอาการส่ัน

และการถอดฝาสูบและการตดิ ต้งั ฝาสูบ

8.ประเมนิ ธรรมชาติของผู้เรยี น และวเิ คราะหผ์ ู้เรียนเปน็ รายกลุ่มตามวิธกี ารเรยี นรู้

ชือ่ ผเู้ รียน ธรรมชาติของผเู้ รียน วิธกี ารเรียนรู้
ความสนใจ สติปญั ญา วฒุ ิภาวะ

1.

2.

3.

แบบวิเคราะห์ผู้เรยี นเปน็ รายกลมุ่ ตามวธิ ีการเรียนรู้

ชือ่ กลุ่ม……………..

1.

2.

3.

สือ่ และแหล่งการเรียนรู้

19

1.หนังสือเรียน วชิ างานเครือ่ งยนต์แก๊สโซลีน ของสานักพิมพเ์ อมพนั ธ์
2.รปู ภาพ
3.กิจกรรมการเรยี นการสอน
4.แผ่นใส
5. เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการถอดประกอบ
6. เครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี
7. ขาตง้ั แทน่ เครอื่ ง

หลกั ฐาน

1.บันทึกการสอน
2.ใบเชค็ รายช่อื นกั เรียน
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมินผลงานนกั เรยี น

การวัดผลและการประเมนิ ผล

วิธวี ดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุม่
3 ตรวจกจิ กรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้
4. ตรวจกจิ กรรมใบงาน
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้
6. การสงั เกตและประเมินพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

เครอื่ งมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่
3. แบบประเมินกิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้
6. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผูเ้ รยี นรว่ มกนั

ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มีชอ่ งปรับปรุง
2. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขึน้ ไป)
4. ตอบคาถามในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้จึงจะถอื วา่ ผ่าน

เกณฑก์ ารประเมิน มเี กณฑ์ 4 ระดับ คือ 4= ดีมาก, 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง
5. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50%
6. แบบประเมินผลการเรยี นร้มู เี กณฑผ์ ่าน 50%

20
7 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้นึ อย่กู บั การ
ประเมินตามสภาพจริง

กิจกรรมเสนอแนะ

1.บันทึกรายรบั รายจ่าย : บูรณาการกับปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.ทาใบงานและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
3.เขียนโครงสรา้ งของเครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน

คาชแี้ จง : ใหบ้ นั ทกึ บญั ชรี ายรบั -รายจ่าย ตามความเป็นจรงิ

1. จากการลงบนั ทึก นกั เรยี นมีเงนิ เหลือเก็บหรอื ไม…่ …………เพราะเหตใุ ด……………….………
2. จะเกิดอะไรขน้ึ ถา้ นกั เรียนมีรายจา่ ยมากกว่ารายรับ………………………….………………….…

21

ใบงาน

เรื่อง โครงสรา้ งของเครื่องยนต์แกส๊ โซลนี
ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั

1.อธบิ ายโครงสร้างของเคร่ืองยนตไ์ ด้
2.อธิบายหน้าทก่ี ารทางานของชิน้ ส่วนตา่ ง ๆ ได้
3.อธบิ ายการทางานของอปุ กรณเ์ ก็บอาการสน่ั ได้
4.ถอดฝาสูบและการตดิ ต้ังฝาสูบได้
คาช้ีแจง.- ใหผ้ ูเ้ รียนเขยี นโครงสรา้ งของเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลีนแล้วบอกชน้ิ สว่ นประกอบ
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

22

บนั ทึกหลังการสอน
ข้อสรปุ หลังการสอน

..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาทพี่ บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบูรณาการที่ 4 หนว่ ยที่ 3

23

รหสั วิชา 20101-2001 งานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน (1-6-3) สอนครง้ั ที่ 4 (16-20)
ชอื่ หน่วย/เรื่อง โครงสรา้ งของเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลีน จานวนช่ัวโมง 5 ชม.

สาระสาคญั

เคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี ประกอบด้วยอุปกรณ์และชน้ิ สว่ นตา่ ง ๆ ท่อี ยูก่ ับทีแ่ ละคลื่อนที่ ช้ินส่วนทอี่ ยกู่ บั ท่ี จะ
เป็นท่ตี ดิ ต้ังของชิ้นสว่ นเคลื่อนที่ ช้ินส่วนแต่ละชิน้ จะมหี นา้ ทแ่ี ละลักษณะการทางานแตกตา่ งกนั ออกไป ช้ินส่วนตา่ ง ๆ
ของเคร่อื งยนตน์ จ้ี ะทางานสมั พันธ์กนั เพ่อื ใหเ้ คร่อื งยนต์เกดิ การขบั เคล่อื นได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โครงสรา้ งของ
เคร่ืองยนตส์ ามารถกาหนดไดด้ ้วย จานวนกระบอกสบู การจัดวางกระบอกสบู จานวนเพลาลกู เบี้ยวและตาแหน่งของ
เพลาลูกเบ้ียว

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
5.ถอดลกู สบู กา้ นสบู และการตดิ ตง้ั ได้
6.ทาความสะอาดลกู สูบได้

7.เลือกแหวนลูกสูบใหมแ่ ละตดิ ต้ังได้

8.มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา สานักงาน

คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่ีครสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง

8.1 ความมมี นษุ ยสมั พันธ์ 8.6 การประหยดั

8.2 ความมีวินัย 8.7 ความสนใจใฝร่ ู้

8.3 ความรบั ผดิ ชอบ 8.8 การละเว้นส่งิ เสพตดิ และการพนัน

8.4 ความซื่อสตั ยส์ ุจรติ 8.9 ความรักสามคั คี

8.5 ความเช่อื มัน่ ในตนเอง 8.10 ความกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะหลกั 281.ปฏิบตั ิงานเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลีน

สมรรถนะยอ่ ย 281.1 บริการและซอ่ มยานยนต์แก๊สโซลีน

ตวั บง่ ช้ี 281.102 บารุงรักษาชน้ิ ส่วนเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน
281.103 ตรวจสภาพชน้ิ สว่ นของระบบต่าง ๆ
281.104 ถอดประกอบช้ินสว่ นของระบบตา่ ง ๆ
281.105 ปรบั แตง่ เครอ่ื งยนต์

เนอื้ หาสาระ

5.การถอดลูกสบู ก้านสูบและการติดตง้ั
6.การทาความสะอาดลูกสูบ
7.การเลือกแหวนลูกสูบใหม่และการตดิ ตั้ง

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขั้นนาเข้าสู่บทเรยี น

1.ครผู สู้ อนกลา่ วถึงการตดิ ต้ังฝาสบู เม่ือสบั ดาห์ท่ีแล้วว่า ไมค่ วรหมุนเพลาข้อเหวยี่ งหรอื เพลาลกู เบ้ียว ถา้ ยัง
ไม่ได้ใสส่ ายพรานหรือใช้ไทม่งิ

24

2.ครเู น้นให้นกั เรยี นเหน็ ความสาคญั ของการจดั ตาแหน่งปะเกน็ ใหร้ สู ตดั หรอื รูสลักเกลยี วและรูนาใหอ้ ยู่
ตรงกนั ถา้ เสอื้ สบู มสี ตดั หรือสลกั นา ให้ใสป่ ะเกน็ เขา้ บนเสอ้ื สูบและเล่ือนลงไปตามสตัดหรอื สลกั นา ถ้าเสอื้ สูบมรี สู ลัก
เกลยี วใหจ้ ัดวางปะเก็นบนเสือ้ สบู และใสส่ ตดั นา อยา่ งนอ้ ยสองอันเขา้ บนเสื้อสบู นอกจากนน้ั ก็เนน้ ยา้ ใหผ้ เู้ รยี น
ระมดั ระวงั การใสฝ่ าสบู ใหร้ อบคอบ

ขัน้ สอน

3.ครูผสู้ อนสาธติ และใหผ้ ู้เรียนฝึกปฏบิ ตั ิตามในเรื่องของการถอดลกู สูบ ก้านสูบและการติดตงั้ การทาความ
สะอาดลกู สูบ การเลือกแหวนลูกสบู ใหม่และการตดิ ตั้ง โดยใช้ห้องปฏบิ ตั ิการฝึกปฏบิ ตั ิ และเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถฝึก
และนาไปปฏบิ ตั ิไดจ้ รงิ ในชวี ติ ประจาวนั รวมทง้ั การออกไปประกอบอาชีพเพ่อื สรา้ งรายไดใ้ หแ้ กต่ นเองและครอบครวั

4.ผู้เรียนปฏิบัติกจิ กรรมดังนี้
กจิ กรรมท่ี 1 การถอดประกอบฝาสูบเครอ่ื งยนต์แบบ OHC ดงั น้ี

1.1 ครเู ตรียมชดุ เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการถอดประกอบ เครือ่ งยนต์แกส๊ โซลนี และขาตงั้ แท่น
เครื่อง ไวใ้ นห้องปฏิบัติการ
1.2 ตรวจดูสภาพฝาสูบเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีนแบบ OHC ที่จะทาการถอด
1.3 จดั เตรียมเครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการถอดประกอบ
1.4 ทาความสะอาดบรเิ วณทจ่ี ะทาการถอด
1.5 กาเครือ่ งหมายท่จี าเป็นตอ่ การประกอบ
1.6 ถอดช้ินสว่ นของเครอื่ งยนต์ตามขัน้ ตอน
1.7 ตรวจสอบช้ินสว่ นต่าง ๆ ที่กาหนดใหอ้ ยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
1.8 ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยและนาเสนอผลงาน
1.9 ครูประเมินผลและพจิ ารณาการให้คะแนนตามเกณฑ์
กิจกรรมที่ 2 การถอดลกู สูบ ก้านสบู และการตดิ ตงั้ โดยครเู ตรียมเครื่องมอื ท่ีใช้ในการถอดประกอบ
และเครื่องยนต์ทใ่ี ช้ในการฝกึ ปฏิบตั ิ ไว้ในห้องปฏิบตั กิ าร
2.1 ตรวจดูสภาพเคร่อื งยนตท์ ี่จะทาการถอด
2.2 จดั เตรียมเครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการถอดประกอบ
2.3 ทาความสะอาดบริเวณที่จะทาการถอด
2.4 กาเครื่องหมายท่จี าเป็นตอ่ การประกอบลกู สบู และกา้ นสบู
2.5 ถอดลูกสบู ก้านสบู ของเคร่อื งยนตต์ ามขน้ั ตอน
2.6 ตรวจสอบบลกู สูบ กา้ นสูบใหอ้ ยู่ในสภาพพร้อมใชง้ าน
2.7 ตรวจสอบความเรียบรอ้ ย และนาเสนอผลงาน
2.8 ครปู ระเมนิ ผล และพจิ ารณาการใหค้ ะแนนตามเกณฑ์
กจิ กรรมที่ 3 ผู้เรยี นค้นหาเทคโนโลยีที่ประหยดั พลังงาน และสามารถหาได้งา่ ยในการใชเ้ ป็นเครื่องมือ
เกย่ี วกับงานเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลนี ในลกั ษณะต่าง ๆ โดยเขียนระบวุ ธิ กี ารใช้ เน้นการใช้และการทางานท่ีเน้นประหยัดพลังงาน
รวมทั้งเศรษฐกิจพอเพียง
5.ครเู นน้ การทางานแบบประหยดั พลังงาน และเนน้ ความรอบคอบ ความอดทน ความเพียรพยายามใน
การทางาน และสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กับตนเองในทกุ สภาวะ และสร้างภูมิค้มุ กนั ให้กบั ตนเอง ยกตวั อย่างเช่นทกุ ส่วน
ของห้องเผาไหม้ของดีเซลออกแบบใหใ้ ช้วสั ดทุ นความรอ้ นตา่ กวา่ เคร่ืองแกสโซลนี อยู่แล้ว ลกู สบู ของดเี ซลเปน็ อลูมิน่มั
อลั ลอยด์ แต่ของแกสโซลนี เป็นแมก็ นเี ซ่ียมอลั ลอยด์ บา่ วาวลแ์ ละปีกวาวล์ก็ผสมทงั สเตน็ เพอ่ื ทนความรอ้ นในอตั ราทที่ ี่

25

ต่างกนั สบู จะละลายยว้ ยไปทั้งลูกถา้ เอาสูบดเี ซลไปดดั แปลงใช้กับเคร่อื งแกสโซลนี หรอื แกส ถา้ เอาเทอร์โบดเี ซลไปใช้
กับเครอ่ื งเบน็ ซนิ แล้วแชร่ อบสงู โขง่ ไอเสียจะร้อนจนแดงอ่อนยบุ ตัวจนเสียรปู ไปในเวลาไมน่ าน

ขน้ั สรปุ และการประยุกต์

6.สรปุ การถอดลกู สูบ กา้ นสบู และการติดต้งั การทาความสะอาดลกู สูบ การเลือกแหวนลกู สบู ใหม่และการ

ติดต้งั โดยการถามตอบเปน็ กลุ่มหรือรายบุคคลให้เป็นไปตามสภาพท่เี หมาะสม และเป็นไปไดข้ องผ้เู รยี น

7.ประเมนิ ผู้เรยี นตามแบบฟอรม์ ตอ่ ไปน้ี

ช่อื ผูเ้ รยี น ธรรมชาติของผเู้ รียน วธิ กี ารเรยี นรู้
ความสนใจ สตปิ ัญญา วฒุ ิภาวะ

1.

2.

3.

4.

5.

ชอื่ ผเู้ รียน ประสบการณ์พืน้ ฐานการเรยี นรู้ วธิ กี ารเรียนรู้
ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน
1.
2.
3.
4.
5.

ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้
1.หนงั สือเรยี น วิชางานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลนี ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์
2.รปู ภาพ
3.กิจกรรมการเรยี นการสอน
4.แผน่ ใส
5.แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้

6. เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการถอดประกอบ

7. เครื่องยนต์แกส๊ โซลนี

8. ขาต้งั แทน่ เคร่ือง

หลกั ฐาน

1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายช่ือนักเรยี น
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมินผลงานนกั เรยี น

การวดั ผลและการประเมินผล

26

วิธีวัดผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3 ตรวจกิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้
4. ตรวจกจิ กรรมใบงาน
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้
6. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

เครื่องมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ
3. แบบประเมินกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครแู ละผูเ้ รียนรว่ มกนั

ประเมนิ

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มชี อ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขนึ้ ไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป)
4. ตอบคาถามในกจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรู้จึงจะถอื ว่าผ่าน

เกณฑ์การประเมิน มีเกณฑ์ 4 ระดบั คอื 4= ดมี าก, 3 = ดี, 2 = พอใช้ , 1= ควรปรบั ปรงุ
5. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คือ 50%
6. แบบประเมินผลการเรียนรมู้ เี กณฑ์ผ่าน 50%
7 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยกู่ บั การ

ประเมินตามสภาพจริง

กจิ กรรมเสนอแนะ

1.บันทกึ รายรับ-รายจา่ ย โดยบรู ณาการกับเศรษฐกิจพอเพียง
2.ทาใบงานและแบบประเมนิ ผลกาเรียนรู้

27
คาชแ้ี จง : ใหบ้ นั ทกึ บญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย ตามความเปน็ จริง

28

1. จากการลงบันทกึ นักเรยี นมเี งนิ เหลอื เกบ็ หรอื ไม…่ …………เพราะเหตใุ ด…………….………
2. จะเกิดอะไรขึ้นถ้านักเรียนมรี ายจ่ายมากกวา่ รายรบั …….…..…………….………………….…

ใบงาน

เร่อื ง โครงสร้างของเครือ่ งยนต์แก๊สโซลนี
ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวัง

5.ถอดลกู สูบ ก้านสบู และการตดิ ตงั้ ได้
6.ทาความสะอาดลูกสูบได้

29
7.เลือกแหวนลูกสบู ใหม่และติดต้งั ได้
คาช้ีแจง.- ผ้เู รยี นบอกขนั้ ตอนการถอดลกู สบู ก้านสบู และการตดิ ต้งั โดยสรปุ จากการศึกษาในเนือ้ หาข้างต้น
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

บันทกึ หลังการสอน
ข้อสรปุ หลังการสอน

..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

30

..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปญั หาทพี่ บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการที่ 5 หนว่ ยที่ 4
สอนครั้งท่ี 5 (21-25)
รหัสวชิ า 20101-2001 งานเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลีน (1-6-3) จานวนชั่วโมง 5 ชม.
ช่ือหน่วย/เรื่อง ระบบจุดระเบดิ

สาระสาคญั

ระบบจุดระเบดิ เปน็ ระบบทท่ี าใหเ้ กดิ ประกายไฟสาหรับจดุ ระเบดิ เรม่ิ การเผาไหมใ้ นกระบอกสูบของ
เครื่องยนตแ์ กส๊ โซลีน ในจงั หวะท่ลี ูกสบู เคล่อื นท่ีขนึ้ ไปจนเกือบจะถงึ ศูนย์ตายบน ประกายไฟท่หี ัวเทียนต้องรอ้ น
เพียงพอตอ่ การเรมิ่ เผาไหม้ส่วนผสม (ไอดี) ประกายไฟทห่ี วั เทยี นจะต้องมคี วามเขม้ ข้นและตรงตามเวลาท่เี หมาะสม
การเผาไหม้ของเคร่ืองยนต์ดเี ซลนน้ั จะอาศยั ความร้อนของอากาศอัดในกระบอกสูบ ระบบจดุ ระเบิดโดยทว่ั ไปมี 2 แบบ
คอื แบบใชแ้ บตเตอรี่และแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ มหี นา้ ท่เี หมอื นกัน คอื การผลติ ไฟฟา้ แรงสูง จ่ายไปตามหวั เทยี นต่าง ๆ
ด้วยไทมิ่งที่เหมาะสม

31

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1.อธบิ ายระบบจดุ ระเบิดได้
2.อธิบายหนา้ ท่ขี องระบบจดุ ระเบดิ ได้
3.อธบิ ายส่วนประกอบของระบบจดุ ระเบดิ ได้
4.อธบิ ายการทางานของระบบจดุ ระเบดิ แบบแบตเตอรไี่ ด้
5.อธบิ ายการจุดระเบดิ ล่วงหนา้ ได้
6.อธบิ ายระบบจดุ ระเบดิ แบบอิเลก็ ทรอนกิ สไ์ ด้
7.อธิบายสว่ นประกอบของระบบจดุ ระเบดิ แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ด้
8.วิเคราะห์การทางานของระบบจดุ ระเบดิ แบบอิเล็กทรอนกิ สไ์ ด้
9.ปรบั แตง่ ระบบจดุ ระเบดิ ได้
10.มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผสู้ าเร็จการศกึ ษา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ที่ครูสามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเรือ่ ง

10.1 ความมีมนุษยสมั พันธ์
10.2 ความมวี ินยั
10.3 ความรบั ผิดชอบ
10.4 ความซือ่ สตั ยส์ จุ ริต
10.5 ความเชือ่ มั่นในตนเอง
10.6 การประหยัด
10.7 ความสนใจใฝ่รู้
10.8 การละเว้นสิง่ เสพตดิ และการพนัน
10.9 ความรกั สามคั คี
10.10 ความกตัญญูกตเวที

สมรรถนะหลกั 281.ปฏิบตั งิ านเครอื่ งยนต์แกส๊ โซลนี

สมรรถนะย่อย 281.1 บริการและซอ่ มยานยนตแ์ ก๊สโซลีน

ตวั บง่ ชี้ 281.101 อธบิ ายหลักการ ตรวจสอบ บารุงรกั ษา ปรบั แตง่ ช้นิ สว่ นเครือ่ งยนต์แกส๊
โซลีน

281.103 ตรวจสภาพชนิ้ สว่ นของระบบตา่ ง ๆ
281.104 ถอดประกอบชิน้ ส่วนของระบบตา่ ง ๆ
281.105 ปรับแตง่ เคร่ืองยนต์

เนอ้ื หาสาระ

1.ระบบจุดระเบดิ
2.หนา้ ท่ีของระบบจุดระเบิด
3.สว่ นประกอบของระบบจดุ ระเบดิ
4.การทางานของระบบจุดระเบดิ แบบแบตเตอร่ี
5.การจดุ ระเบิดลว่ งหน้า
6.ระบบจุดระเบดิ แบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์
7.สว่ นประกอบของระบบจดุ ระเบดิ แบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์

32

8.การทางานของระบบจดุ ระเบดิ แบบอิเลก็ ทรอนิกส์
9.การปรับแต่งระบบจดุ ระเบดิ

กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรยี น

1.ครผู สู้ อนกล่าวถึงระบบจดุ ระเบดิ เป็นระบบท่ที าใหเ้ กดิ ประกายไฟสาหรบั จดุ ระเบิด โดยเริ่มเผาไหม้
ในกระบอกสบู ของเคร่ืองยนตแ์ บบลกู สบู

2.ผเู้ รียนยกตวั อยา่ งลูกสบู แตล่ ะประเภทและเลา่ ประสบการณ์จากการเห็นหรอื การซอ่ ม/การให้บริการ
มาแลว้ ให้เพ่ือน ๆ ในชั้นเรียนฟงั โดยอาศยั รปู ภาพลกั ษณะเครอ่ื งยนต์จุดระเบดิ ด้วยประกายไฟเปน็ สื่อกลางใน
การทาความเขา้ ใจ

ขนั้ สอน

3. ครูสอนโดยใชร้ ปู แบบการเรยี นแบบ TAI (Team Assisted Individualization) เพ่อื เนน้ การเรยี นของ
แต่ละบคุ คล ใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจและนาทักษะการเรยี นรไู้ ปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ในเร่ือง

(1).ระบบจดุ ระเบดิ
(2).หนา้ ทีข่ องระบบจุดระเบิด
(3).สว่ นประกอบของระบบจดุ ระเบิด
(4).การทางานของระบบจุดระเบิดแบบแบตเตอร่ี
(5).การจุดระเบิดลว่ งหน้า
(6).ระบบจุดระเบดิ แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์
(7).สว่ นประกอบของระบบจดุ ระเบดิ แบบอิเลก็ ทรอนิกส์
(8).การทางานของระบบจดุ ระเบดิ แบบอิเลก็ ทรอนิกส์
(9).การปรับแต่งระบบจดุ ระเบดิ
4.ครูสาธติ และอธบิ ายการถอด การตรวจสอบ การติดต้ังช้ินสว่ นของระบบจุดเบิด รวมท้งั การถอดตดิ ตงั้ หวั
นกกระจอก ฝาครอบงานจ่ายและสายไฟ พรอ้ มใหผ้ ู้เรยี นปฏบิ ตั ิตามเพ่ือฝกึ ทกั ษะความชานาญ และสามารถนาไป
ปฏบิ ต้ ิไดจ้ ริง ในการประกอบอาชพี เพื่อสรา้ งรายได้ใหก้ บั ตนเองและครอบครัวในการดารงชวี ิตต่อไปอยา่ งมคี วามสขุ
5.ให้ปฏบิ ตั ิกิจกรรมดงั น้ี
กิจกรรมที่ 1 ให้ผู้เรยี นถอดประกอบจานจ่าย โดยครผู ู้สอนจดั เตรียมเครื่องมอื ที่ใชใ้ นการถอดประกอบ
จานจา่ ย และเครอื่ งยนตท์ ีใ่ ช้ในการปฏิบตั ิ

1.1 ตรวจดูสภาพการทางานของจานจ่ายเครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลนี
1.2 จดั เตรยี มเครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการถอดประกอบตรวจสอบจานจา่ ย
1.3 กาเครื่องหมายทีจ่ าเป็นต่อการประกอบ
1.4 ถอดฝาจานจา่ ยปรับแตง่ จดุ ระเบดิ ตามข้นั ตอน
1.5 ตรวจสอบการทางานตามข้นั ตอนใหอ้ ยู่ในสภาพพรอ้ มใช้งาน
1.6 ตรวจสอบความเรียบร้อยและนาเสนอผลงาน
1.7 ครปู ระเมนิ ผลและพจิ ารณาการใหค้ ะแนนตามเกณฑ์
กจิ กรรมที่ 2 ผู้เรยี นค้นหาขา่ วสารการนาเครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลนี ไปใชอ้ ย่างไรบา้ ง
6.ครูเน้นใหผ้ เู้ รยี นนอ้ มนาหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการฝึกปฏบิ ัติในเรอ่ื งของความรับผดิ ชอบ
ความอดทน ความเพยี รพยายาม ความมีสติ ความมปี ญั ญาในการนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั เพ่อื ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ

33

นอกจากนีย้ งั สามารถนาความรทู้ ไี่ ด้รบั กลับไปประกอบอาชีพได้อยา่ งพอเพยี งอกี ดว้ ย เช่น การเปิดอู่ซอ่ มรถยนต์หรือ
เครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี เปน็ รา้ นขนาดเลก็ ๆ ในชุมชนท้องถิ่นอย่างพอเพียง

ขัน้ สรุปและการประยกุ ต์

7.สรุประบบจุดระเบิดของเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลีน โดยใหผ้ เู้ รียนบอกขนั้ ตอนการถอด และประกอบให้ถกู ตอ้ ง