เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 20224-2005 ppt

หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ from ekkachai kaikaew

การศกึ ษาวิชาเครอื ข่ายคอมพิวเตอรเ์ บื้องตน้ เปน็ วิชาทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ เพือ่ ปลูกฝังให้พัฒนาตนเองเข้าสอู่ าชีพอย่าง

สม่าเสมอ และนาไปประยกุ ต์กับการใช้คอมพวิ เตอร์เพอ่ื วางแผนใช้ในการทางานสาหรับชวี ิตประจาวันตอ่ ไป และยงั เปน็ การใหผ้ ู้เรียน
ได้มโี อกาสฝกึ ทกั ษะความชานาญการเรยี นร้ดู า้ นความรู้ ความสามารถพื่อมสี ่วนร่วมในการเรยี นอย่างเตม็ ที่ในการฝึกทักษะการปฏิบตั ิ
จริง เพ่อื พัฒนาทักษะ ความรู้ และความสามารถรวมทง้ั สตปิ ัญญาเพ่อื แก้ปัญหาได้ ผเู้ รียนวิชานีน้ อกจากจะได้ความร้ทู ีถ่ กู ต้องแลว้ ยัง
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในงานเพือ่ เป็นเครื่องมือทสี่ าคญั ในการเพม่ิ ประสิทธภิ าพของงาน และสามารถแกป้ ัญหาในชีวติ ประจาวันอกี
ดว้ ย

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1.บอกจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวชิ าตามหลกั สตู รฯ ได้

2.บอกแนวทางวัดผลและการประเมินผลการเรียนรูไ้ ด้

3.มีการพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผสู้ าเร็จการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการ

การอาชีวศึกษา ท่ีครูสามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเรอื่ ง

3.1 ความมมี นุษยสมั พันธ์ 3.8 การละเว้นสง่ิ เสพติดและการพนัน

3.2 ความมวี นิ ยั 3.9 ความรกั สามคั คี

3.3 ความรบั ผดิ ชอบ 3.10 ความกตัญญกู ตเวที

3.4 ความซ่ือสตั ย์สจุ ริต

3.5 ความเชื่อม่นั ในตนเอง

3.6 การประหยัด

3.7 ความสนใจใฝร่ ู้

สมรรถนะรายวิชา

1.แสดงความรเู้ กีย่ วกบั หลกั การทางาน และกระบวนการของระบบเครอื ขา่ ย
2.ใช้อุปกรณ์และเชอื่ มตอ่ ระบบเครือข่ายเบอื้ งตน้ ในการปฏิบัติงาน
3.ประยกุ ต์ใชง้ านเครือขา่ ยในการปฏิบัติงานขององค์กร

เนอื้ หาสาระ

1.บอกจดุ ประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคาอธบิ ายรายวชิ าตามหลกั สูตรฯ ได้
2.บอกแนวทางวดั ผลและการประเมินผลการเรยี นร้ไู ด้

กิจกรรมการเรียนรู้

ข้ันนาเขา้ สบู่ ทเรยี น

1.ครผู ู้สอนแนะนาจดุ ประสงค์ท่ผี ูเ้ รยี นจะได้จากหลักสูตร โดยกาหนดใหผ้ ูเ้ รยี นทกุ คนต้องมีความรู้
ความเข้าใจเกีย่ วกบั หลักการทางานและองค์ประกอบของระบบเครอื ขา่ ย การเลอื กใช้อุปกรณ์และเชือ่ มตอ่ ระบบเครือข่ายเบื้องตน้
การประยุกตใ์ ช้งานเครอื ข่ายในองคก์ ร และมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทด่ี ใี นการใช้คอมพวิ เตอร์

2.ผ้เู รียนยกตัวอยา่ งการเชอื่ มตอ่ คอมพิวเตอรเ์ ขา้ ด้วยกนั จากคอมพิวเตอรส์ องเคร่ืองทม่ี ีการเชอื่ มตอ่ กนั

2

ก็มกี ารเชือ่ มตอ่ คอมพิวเตอรม์ ขี นาดท่ใี หญ่กวา่ เดมิ เรียกได้วา่ เป็นการเช่ือมโลกเขา้ ด้วยกนั ทาใหก้ ารสอ่ื สารเปน็ ไปได้ง่ายและสะดวก
มากข้นึ

ขน้ั สอน
3.ครใู ชเ้ ทคนคิ วิธีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) ซึ่งเปน็ วธิ สี อนที่ผู้สอนใหค้ วามร้ตู ามเนอื้ หา
สาระดว้ ยการเลา่ อธิบายแสดงสาธติ โดยทผ่ี ู้เรยี นเปน็ ผูฟ้ ัง และเปดิ โอกาสให้ซักถามปญั หาไดบ้ ้างในตอนทา้ ยของการบรรยายเก่ยี วกบั
การใชง้ านเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เพือ่ นาไปปฏบิ ัตใิ ช้ในยุคปจั จุบัน ซงึ่ ได้มีการนาโปรแกรมเหลา่ นไ้ี ปใช้อยา่ งแพรห่ ลาย
4.ผเู้ รียนรับฟงั คาชี้แจงสังเขปรายวชิ าและการวัดประเมินผล ซักถามขอ้ ปัญหารวมทัง้ แสดงความ
คดิ เห็นเกยี่ วกบั การเรียนวิชาน้ี

ข้ันสรปุ และการประยุกต์
5.ผเู้ รียนวางแผนการนาโปรแกรมกราฟกิ ไปใช้ในการเรยี น และการปฏบิ ัตงิ าน พ่อื นาไปประยกุ ตใ์ ช้กบั งานในชีวิตประจาวันท่ี

จาเป็นโดยท่วั ไป ซ่งึ ทกุ คนจะต้องวางแผนการทางานตา่ ง ๆ ในอนาคต

สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้

1.หนงั สอื เรียน วชิ าเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บอื้ งตน้ ของสานักพมิ พเ์ อมพันธ์
2.สื่อแผ่นใส, สื่อคอมพิวเตอร์ สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน

หลักฐาน

1.บนั ทึกการสอน
2.ใบเช็ครายชอ่ื
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวัดผลและการประเมนิ ผล
วธิ วี ัดผล

1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. สงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่
4. การสงั เกตและประเมินพฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอัน

พึงประสงค์
5. ประเมนิ คา่ นยิ ม 12 ประการ

เครือ่ งมือวดั ผล

1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
3. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
4. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครูและผเู้ รยี น

ร่วมกันประเมิน
5. แบบประเมนิ ค่านิยม 12 ประการ

3

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มีชอ่ งปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป)
4. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอย่กู ับการประเมนิ ตาม

สภาพจรงิ
5. แบบประเมนิ คา่ นิยม 12 ประการ ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งใช้ไม่ได้

กิจกรรมเสนอแนะ

แนะนาใหศ้ ึกษาข้อมูลเพ่ิมเตมิ เกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์เกยี่ วกับหลกั การพน้ื ฐานคอมพวิ เตอร์

บนั ทึกหลังการสอน

ข้อสรุปหลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปญั หาท่ีพบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

4

แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 1(ตอ่ ) หน่วยที่ 1

รหสั 20204-2005 เครือข่ายคอมพวิ เตอร์เบ้ืองต้น (2-2-3) สอนครงั้ ท่ี 1 (2-3)
ชื่อหน่วย/เรอื่ ง หลักการทางานและองค์ประกอบของระบบเครือขา่ ย จานวน 2 ชั่วโมง

สาระสาคญั

ปจั จุบันคอมพวิ เตอร์เข้ามามีบทบาทในชวี ิตประจาวัน และในการทางานของมนุษย์มากขนึ้ ซึ่งถือว่าเปน็ ปจั จัยที่มคี วามสาคญั

ตอ่ มนุษย์มาก และส่ิงทที่ าให้คอมพวิ เตอรม์ ปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ คือการเชอื่ มตอ่ คอมพวิ เตอรเ์ ข้าดว้ ยกนั จากคอมพวิ เตอรส์ องเคร่ือง
ทีม่ ีการเช่ือมตอ่ กนั ก็มีการเช่ือมตอ่ คอมพิวเตอรม์ ีขนาดทใ่ี หญ่กวา่ เดิม เรียกได้ว่าเป็นการเชอ่ื มโลกเขา้ ดว้ ยกนั ทาใหก้ ารส่ือสารเปน็ ไป

ได้งา่ ยและสะดวกมากขนึ้ โดยในปัจจุบันการเชอ่ื มต่อคอมพิวเตอรเ์ ข้าดว้ ยกนั นัน้ ถือวา่ เป็นยคุ ไร้พรมแดน ทุกคนท่วั ทุกมุมโลกสามารถ

ติดตอ่ สอ่ื สารดว้ ยกันได้ ทาให้เกิดความสะดวกสบายในการตดิ ต่อสอ่ื สาร และการแลกเปล่ยี นข้อมลู ระหว่างกนั ไดอ้ ย่างงา่ ยดาย

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1 อธบิ ายความหมายและความสาคัญของเครือขา่ ยคอมพิวเตอรไ์ ด้
2 บอกสว่ นประกอบของการสอ่ื สารข้อมลู ได้
3 อธบิ ายหลักการพิจารณาเลือกใชส้ อื่ กลางได้
4.มกี ารพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศึกษาสานกั งานคณะกรรมการการ
อาชีวศกึ ษา ทคี่ รสู ามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง

4.1 ความมีมนุษยสมั พนั ธ์
4.2 ความมวี นิ ัย
4.3 ความรบั ผดิ ชอบ
4.4 ความซือ่ สตั ยส์ จุ รติ
4.5 ความเชื่อมนั่ ในตนเอง
4.6 การประหยัด
4.7 ความสนใจใฝร่ ู้
4.8 การละเว้นส่งิ เสพติดและการพนัน
4.9 ความรักสามคั คี
4.10 ความกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะรายวิชา

1.แสดงความรเู้ กี่ยวกบั หลักการทางาน และกระบวนการของระบบเครือข่าย
2.ใช้อุปกรณ์และเช่ือมตอ่ ระบบเครอื ข่ายเบือ้ งต้นในการปฏบิ ตั ิงาน
3.ประยุกตใ์ ช้งานเครอื ขา่ ยในการปฏิบตั ิงานขององค์กร

เน้อื หาสาระ

1 ความหมายและความสาคญั ของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
2 สว่ นประกอบของการส่อื สารขอ้ มลู
3 หลักการพจิ ารณาเลอื กใช้สื่อกลาง

5

กิจกรรมการเรียนรู้

ขัน้ นาเข้าสูบ่ ทเรียน

1.ครูสนทนากบั ผ้เู รียนเพอ่ื ให้เหน็ ความสาคญั ของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ โดยการสรา้ งระบบเครอื ข่าย
คอมพวิ เตอร์ (Computer Network) ก็คอื การนาเคร่อื งคอมพิวเตอรต์ ้ังแตส่ องเครอ่ื งขนึ้ ไปมาเช่อื มตอ่ กนั ด้วยสาย
เคเบลิ โดยมีการด์ ตวั แปลงขอ้ มูล (Adapter Card) และโปรแกรม (Software) ช่วยในการทางานของระบบ
เครอื ขา่ ย

2.ครแู นะนาให้ผเู้ รยี นมกี ารวางแผนเรยี นวิชาเครือข่ายคอมพวิ เตอรเ์ บ้ืองตน้
3.ผู้เรยี นทาแบบประเมินผลการเรยี นร้กู อ่ นเรียน แลว้ สลบั กนั ตรวจเพ่ือเก็บคะแนนสะสมไว้

ข้นั สอน

4.ครูใช้เทคนิควธิ ีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) ด้วยการเลา่ อธบิ ายแสดงสาธติ ให้ผเู้ รยี นเป็นผูฟ้ งั
และเปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนซักถามปญั หาได้ในตอนทา้ ยของการบรรยายความหมายและความสาคัญของระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์

5.ครูใช้เทคนคิ วธิ สี อนแบบใชโ้ สตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เป็นวธิ สี อนทีน่ าอุปกรณโ์ สต
ทศั นว์ สั ดมุ าชว่ ยพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอน โสตทศั นว์ สั ดดุ ังกล่าว ได้แก่ CD, Power Point
เพ่ือแสดงให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรคู้ วามสาคญั ของระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์

6.ครูใช้การจัดการเรยี นรู้แบบบรรยาย (Lecture Method) คือ กระบวนการเรียนรทู้ ผ่ี ้สู อนเป็นผู้ถ่ายทอดความรใู้ ห้แก่ผเู้ รยี น
โดยอธิบายสว่ นประกอบของการสอ่ื สารข้อมลู ทผี่ ู้สอนไดเ้ ตรียมการศึกษาคน้ ควา้ มาเปน็ อยา่ งดผี ูเ้ รียนเปน็ ฝา่ ยรบั ฟงั อาจจะมกี ารจด
บันทึกสาระสาคญั ในขณะที่ฟังบรรยาย หรอื อาจมีโอกาสซักถามแสดงความคิดเห็น

ได้
4.ครูและผู้เรยี นใชเ้ ทคนคิ การจดั การเรยี นรูแ้ บบใช้คาถาม (Questioning Method) เปน็ กระบวนการเรียนรู้

ทม่ี ุ่งพัฒนากระบวนการทางความคดิ ของผเู้ รยี น โดยผูส้ อนจะปอ้ นคาถามในลักษณะตา่ ง ๆ ที่เป็นคาถามทด่ี ี สามารถพัฒนาความคิด
ผ้เู รยี น ถามเพ่ือใหผ้ เู้ รยี นใชค้ วามคิดเชิงเหตผุ ล วิเคราะห์ วิจารณ์ สงั เคราะห์ หรอื การประเมินค่าเพื่อจะตอบคาถามเหล่านนั้ ซงึ่ เปน็
คาถามเกยี่ วกับรูปแบบของการสง่ สญั ญาณข้อมลู แบง่ ไดด้ ังน้ี

6

4.1 การส่งสญั ญาณทางเดยี ว (One-Way Transmission หรือ Simplex)
4.2 การส่งสญั ญาณกงึ่ ทางคู่ (Half-Duplex หรือ Either-Way)
4.3 การส่งสญั ญาณทางคู่ (Full-Duplex หรอื Both way Transmission)
5.ครูใช้เทคนคิ วธิ ีสอนแบบสาธิต (Demonstration Method) เป็นวธิ สี อนทค่ี รแู สดงให้ผเู้ รยี นดูและใหค้ วามร้แู กผ่ เู้ รยี นโดย
ใช้สอื่ การเรยี นรู้ที่เปน็ รปู ธรรม และผู้เรยี นไดป้ ระสบการณต์ รง ซึ่งครเู ป็นผสู้ าธิต และใหผ้ เู้ รยี นฝึกทักษะปฏบิ ัตติ ามเพื่อเรยี นรู้ชนิด
ของสัญญาณในการสื่อสารข้อมลู ดงั น้ี
5.1 สัญญาณอนาลอ็ ก (Analog Signal) เป็นสญั ญาณท่ีมลี ักษณะเปน็ คล่นื ต่อเน่อื ง

5.2 สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) เป็นสัญญาณท่ีมคี ่าได้สองสถานะ

6.ครูอธบิ ายการส่อื สารขอ้ มลู ในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ จะมสี ่ือกลางสาหรับเช่อื มตอ่ เพอ่ื เช่ือมโยงไปยงั

สถานี หรือเคร่ืองคอมพิวเตอรต์ า่ งๆ เข้าด้วยกนั เปน็ ตัวกลางใหผ้ สู้ ง่ ข้อมลู ทาการส่งขอ้ มลู ไปยงั ผรู้ บั

สือ่ กลางของการส่ือสารขอ้ มลู แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังน้ี

1) การสื่อสารทางกายภาพ (Physical Media)

2) ส่อื กลางแบบไรส้ าย (Wireless Media)

7.ครูอธบิ ายหลักการพิจารณาเลือกใช้สอ่ื กลาง ซ่ึงควรพิจารณาดังน้ี

7.1 ต้นทนุ 7.2 ความเรว็

7.3 ระยะทาง 7.4 สภาพแวดลอ้ ม

7.5 ความปลอดภัยของขอ้ มูล หา

8.ผเู้ รียนพิจารณารปู ภาพทค่ี รูกาหนดให้ และบอกความสมั พนั ธร์ ะบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรอ์ ย่างไรบ้าง

9.ผู้เรยี นศึกษาวา่ ภายในสถานศกึ ษาของตนเอง มีการเชอ่ื มตอ่ เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ ข้าดว้ ยกันอย่างไรบ้าง และบอกถึง

ประโยชน์ท่จี ะไดร้ บั จากการใช้งานเครือข่ายของหน่วยงาน พร้อมวาดแผนภมู ิการเชอ่ื มตอ่

เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ประกอบ

10.ครูแนะนาเพม่ิ เติมให้ผเู้ รยี นรจู้ กั บนั ทกึ บัญชรี ายรบั -รายจ่ายในชวี ติ ประจาวนั ของตนเอง เพือ่ สร้างนสิ ยั ความประหยัด

ความพอเพยี งให้แกต่ นเองและครอบครวั

ข้ันสรุปและการประยุกต์
11.ครูและผู้เรียนรว่ มกนั สรปุ ความหมายและความสาคญั ของระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูล

และหลกั การพจิ ารณาเลือกใชส้ ่ือกลาง โดยการถามตอบ
12.ผู้เรียนทากิจกรรมใบงาน แบบประเมินผล และแบบฝกึ ปฏบิ ัติ

7

13.สรุปโดยการถาม-ตอบ เพอื่ ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวันและประเมินผเู้ รยี นตามแบบฟอรม์ ตอ่ ไปน้ี

ช่ือผเู้ รยี น ประสบการณ์พนื้ ฐานการเรียนรู้ วธิ กี ารเรียนรู้
ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

5.

สื่อและแหล่งการเรยี นรู้
1.หนงั สอื เรยี น วชิ าเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์เบอื้ งตน้ ของสานักพมิ พเ์ อมพนั ธ์
2.รูปภาพ
3.กิจกรรมการเรยี นการสอน
4.แผน่ ใส
5.สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส,์ PowerPoint
5.แบบประเมินผลการเรยี นรู้

หลักฐาน
1.บนั ทึกการสอนของผ้สู อน

2.ใบเชค็ รายชื่อ
3.แผนจัดการเรียนรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวัดผลและการประเมนิ ผล
วิธวี ดั ผล

1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ
3. สังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
4 ตรวจกจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรมนาความรู้ และแบบประเมินคา่ นิยม 12 ประการ
5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ
6. ตรวจกจิ กรรมใบงาน
7. การสงั เกตและประเมินพฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

เครอ่ื งมือวัดผล

1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยผเู้ รยี น)
4 แบบประเมินกจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ และแบบประเมินคา่ นยิ ม 12 ประการ
5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ
6. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน
7. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและผู้เรยี นร่วมกนั ประเมนิ

8

เกณฑก์ ารประเมินผล

1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมจกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ข้นึ ไป)
4 ตรวจกจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ และแบบประเมนิ คา่ นิยม 12 ประการ

ไม่มีช่องปรบั ปรงุ
5. แบบประเมินผลการเรยี นรมู้ เี กณฑ์ผ่าน และแบบฝึกปฏิบัติ 50%
6. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงานมีเกณฑผ์ า่ น 5%
7. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขนึ้ อยู่

กับการประเมนิ ตามสภาพจริง

กิจกรรมเสนอแนะ

1.ผเู้ รียนวางแผนศึกษาวชิ าเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บ้อื งตน้
2.ทากิจกรรมใบงาน แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิเพ่มิ เติมเพื่อฝึกทกั ษะการเรยี นรู้

บันทึกหลังการสอน

ขอ้ สรุปหลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปญั หาทพี่ บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

9

แผนการจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการท่ี 2 หน่วยท่ี 2
สอนคร้ังที่ 2 (4-6)
รหัส 20204-2005 เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บื้องต้น (2-2-3)
ชื่อหน่วย/เร่อื ง หลักการทางานและองค์ประกอบของระบบเครอื ขา่ ย จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคญั

ปัจจบุ นั คอมพวิ เตอร์เข้ามามบี ทบาทในชีวติ ประจาวนั และในการทางานของมนษุ ยม์ ากขน้ึ ซึ่งถือวา่ เป็นปัจจยั ท่มี คี วามสาคญั
ตอ่ มนุษย์มาก และสงิ่ ทที่ าให้คอมพิวเตอร์มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ คอื การเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เข้าดว้ ยกนั จากคอมพิวเตอรส์ องเคร่ือง

ทม่ี กี ารเชอื่ มตอ่ กนั กม็ กี ารเช่อื มตอ่ คอมพวิ เตอรม์ ขี นาดท่ีใหญ่กวา่ เดิม เรยี กได้ว่าเป็นการเชื่อมโลกเขา้ ด้วยกนั ทาใหก้ ารสื่อสารเปน็ ไป

ได้ง่ายและสะดวกมากขึ้น โดยในปัจจบุ ันการเช่อื มตอ่ คอมพวิ เตอรเ์ ข้าด้วยกนั นัน้ ถือว่าเปน็ ยคุ ไรพ้ รมแดน ทกุ คนท่ัวทกุ มมุ โลกสามารถ

ตดิ ตอ่ สอื่ สารด้วยกนั ได้ ทาให้เกิดความสะดวกสบายในการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร และการแลกเปล่ียนขอ้ มลู ระหว่างกันได้อย่างง่ายดาย

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1 อธบิ ายมาตรฐานของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรไ์ ด้

2 บอกองค์ประกอบของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรไ์ ด้

3.มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผสู้ าเรจ็ การศึกษาสานกั งานคณะกรรมการการ

อาชวี ศึกษา ทีค่ รูสามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง

3.1 ความมมี นุษยสัมพนั ธ์ 3.6 การประหยัด

3.2 ความมวี นิ ัย 3.7 ความสนใจใฝร่ ู

3.3 ความรบั ผิดชอบ 3.8 การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั

3.4 ความซือ่ สตั ย์สจุ ริต 3.9 ความรกั สามคั คี

3.5 ความเชื่อมน่ั ในตนเอง 3.10 ความกตัญญูกตเวที

สมรรถนะรายวิชา

1.แสดงความรเู้ กยี่ วกบั หลักการทางาน และกระบวนการของระบบเครือข่าย
2.ใช้อุปกรณแ์ ละเชือ่ มต่อระบบเครอื ข่ายเบือ้ งตน้ ในการปฏิบัติงาน
3.ประยุกต์ใชง้ านเครือขา่ ยในการปฏิบัติงานขององค์กร

เนอ้ื หาสาระ

1 มาตรฐานของระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์
2 องคป์ ระกอบของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์

กิจกรรมการเรียนรู้

ขน้ั นาเข้าส่บู ทเรียน

1.ครูแนะนาการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยใช้แบบโมเดลซปิ ปา (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความร้เู ดมิ จากสัปดาหท์ ี่
แลว้ เพือ่ ดงึ ความรเู้ ดมิ ของผเู้ รียนในเรื่องที่จะเรยี น เพอ่ื ช่วยให้ผู้เรยี นมคี วามพรอ้ มในการเชอื่ มโยงความรู้ใหมก่ บั ความรเู้ ดมิ ของตน
ซ่ึงผสู้ อนใช้การสนทนาซกั ถามใหผ้ เู้ รยี นเลา่ ประสบการณเ์ ดิม หรือให้ผเู้ รยี นแสดงโครงความรู้เดิม (Graphic Organizer) ของตน

2.ครูแสดงรูปภาพการเขา้ รหสั ข้อมูลในการสง่ ผา่ นเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ใหผ้ เู้ รียนดู แลว้ แสดงความคดิ เห็น เพื่อเชื่อมโยงเข้า
สู่เน้อื หาใหม่

3.ครูแนะนาใหผ้ เู้ รยี นศึกษาเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เพอ่ื ใหน้ าไปใชไ้ ด้ถูกต้อง

10
ขนั้ สอน

4.ครูใชเ้ ทคนิดวธิ กี ารจดั การเรียนรแู้ บบรว่ มมอื (Cooperative Learning) หมายถงึ กระบวนการเรียนรู้ที่จัดให้ผเู้ รยี นได้
รว่ มมือและช่วยเหลอื กนั ในการเรยี นร้โู ดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนทม่ี ีความสามารถต่างกนั ออกเป็นกล่มุ เลก็ ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะการรวมกลมุ่ อยา่ ง
มีโครงสร้างท่ชี ัดเจน มีการทางานร่วมกนั มีการแลกเปล่ียนความคิดเหน็ มกี ารชว่ ยเหลือพึ่งพาอาศยั ซึ่งกันและกนั มีความรบั ผิดชอบ
รว่ มกนั ทงั้ ในส่วนตนและสว่ นรวมเพือ่ ใหต้ นเองและสมาชกิ ทุกคนในกล่มุ ประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ดงั น้ี

4.1 แบง่ ผูเ้ รียนออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่
4,2 แต่ละกลุ่มศึกษามาตรฐานของระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ และองคป์ ระกอบของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
4.3 นาเสนอเนื้อหาทศ่ี ึกษาทงั้ สองกลุ่ม
4.4 เปดิ โอกาสใหแ้ ลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างสองกล่มุ
5.ครใู ชเ้ ทคนคิ การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชก้ ารอภิปรายกลมุ่ ย่อย (Small Group Discussion) คือ
กระบวนการเรยี นรู้ที่ผสู้ อนจดั กลมุ่ ผู้เรยี นออกเป็นกลมุ่ ย่อยประมาณ 4-5 คน ให้ผ้เู รยี นในกลุ่มมโี อกาสสนทนาแลกเปล่ียนขอ้ มลู
ความคดิ เหน็ ประสบการณ์ในเรอ่ื งมาตรฐานของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ถูกกาหนดโดยคณะกรรมการจาก IEEE หรือเรยี กเป็นทางการ
ว่า IEEE 802 Local and Metropolitan Area Network Standard Committee โดยจะเนน้ การกาหนดคุณสมบตั ิในระดับของ
อุปกรณ์การสือ่ สารขอ้ มลู และการสื่อสารข้อมลู ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาตรฐานจานวนมากถูกกาหนดออกมาจากกรรมการกลุม่ นี้
และไดน้ ามาใชก้ าหนด
รปู แบบโครงสร้างของระบบเครือขา่ ยในปจั จบุ นั และสรุปผลการอภิปรายออกมาเปน็ ขอ้ สรุปของกลมุ่
6.ครูและผเู้ รยี นช่วยกนั อธิบายมาตรฐานที่สาคญั เช่น IEEE 802.1 (Higher Layer LAN Protocols) เป็นมาตรฐานด้าน
โปรโตคอลบนเครือขา่ ยท้องถน่ิ (LAN) หรือ IEEE 802.2 (Logical Link Control) เปน็ มาตรฐานฟงั กช์ นั และโปรโตคอล LLC บน
เครือข่ายท้องถิ่น เปน็ ตน้
7.ครูอธิบาย และสาธิตองคป์ ระกอบของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ โดยการแสดงรูปภาพประกอบ
8.ครใู ช้เทคนนคิ วธิ สี อนแบบใช้โสตทัศนวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) ไดแ้ ก่ CD และ Power Point

9.ผู้เรียนบอกสญั ญาณอนาล็อก (Analog Signal) และสัญญาณดิจติ อล (Digital Signal) โดยครเู ปน็ ผกู้ าหนดชนิดของ
สญั ญาณในการสือ่ สารขอ้ มลู

10.ผ้เู รียนพิจารณารปู ภาพทค่ี รกู าหนดให้วา่ เป็นการสง่ สญั ญาณข้อมลู ในรปู แบบใด
11.ผเู้ รียนยกตวั อยา่ งเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ในชุมชน ทม่ี กี ารเชื่อมต่อกนั และประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์นั้น
12.ผู้เรียนศึกษาส่อื กลางท่ใี ช้ในเครอื ข่ายคอมพิวเตอรข์ องสถานศึกษาวา่ มีสอื่ กลางชนิดใดบา้ ง แตล่ ะชนิดทาหน้าทีอ่ ย่างไร
พรอ้ มทั้งมรี ปู ภาพประกอบ
13.ผ้เู รยี นศึกษาองคป์ ระกอบของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ภายในสถานศกึ ษาวา่ มอี งค์ประกอบใดบ้างทเี่ ก่ียวขอ้ ง
14.ครูสอนเพิ่มเตมิ เกยี่ วกับการทาหนา้ ทเี่ ปน็ พลเมอื งดขี องสงั คมไทย รู้จักเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผต่ อ่ ผอู้ นื่

สรปุ และการประยุกต

15.ครแู ละผเู้ รยี นช่วยกันสรุปมาตรฐานของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และองค์ประกอบของเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ โดยให้
ผเู้ รยี นตอบคาถาม และสาธติ ฝึกปฏิบัติใหด้ ู และครเู ปน็ ผ้กู าหนดโจทยค์ าสั่ง

16.ผเู้ รยี นทากิจกรรมใบงาน แบบฝกึ หัด แบบฝึกปฏิบตั ิ และแบบประเมินผลการเรียนรู้
17.ผูเ้ รียนวเิ คราะหเ์ น้อื หาการเรยี นการสอนและหาข้อสรุปเปน็ ความคิดรวบยอดเพือ่ นาไปประยกุ ต์ใชต้ ่อไป พรอ้ ม
ขอ้ เสนอแนะตนเอง

11

18.ประเมินธรรมชาติของผู้เรยี น และวเิ คราะหผ์ ู้เรียนเปน็ รายกลุ่มตามวิธีการเรียนรู้

ชือ่ ผู้เรียน ธรรมชาตขิ องผเู้ รยี น วธิ กี ารเรยี นรู้
ความสนใจ สติปัญญา วฒุ ภิ าวะ

1.

2.

3.

แบบวเิ คราะหผ์ ้เู รยี นเปน็ รายกล่มุ ตามวธิ กี ารเรียนรู้
ชอื่ กลมุ่ ……………..

1.
2.
3.

สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้

1.หนงั สือเรียน วิชาเครือข่ายคอมพิวเตอรเ์ บ้อื งตน้ ของสานกั พมิ พ์เอมพันธ์
2.รปู ภาพ
3.กิจกรรมการเรยี นการสอน
4.สื่ออิเลก็ ทรอนิกส,์ PowerPoint
5.แบบประเมินผลการเรยี นรู้
6.แบบประเมินกิจกรรมใบงาน

หลักฐาน

1.บันทึกการสอน
2.ใบเช็ครายช่อื
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวดั ผลและการประเมินผล

วธิ วี ัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่
3. สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
4. ตรวจใบงาน
5 ตรวจแบบประเมนิ ค่านยิ ม 12 ประการ
6. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝึกปฏบิ ตั ิ
7. การสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

12

เครื่องมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยคร)ู
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ (โดยผเู้ รียน)
4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมินค่านยิ ม 12 ประการ
6. แบบประเมินผลการเรียนรู้ แบบฝกึ ปฏิบตั ิ
7. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผู้เรียนร่วมกันประเมนิ
เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ีช่องปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขนึ้ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขึน้ ไป)
เกณฑก์ ารประเมนิ มีเกณฑ์ 4 ระดับ คอื 4= ดมี าก, 3 = ด,ี 2 = พอใช้ , 1= ควรปรบั ปรุง
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คือ 50%
5. แบบประเมนิ คา่ นิยม 12 ประการ ต้องไมม่ ชี อ่ งปรับปรงุ
6. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้มเี กณฑ์ แบบฝึกปฏิบตั ิผา่ น 50%
7 แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กับ

การประเมินตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ

1.แนะนาใหผ้ ู้เรยี นอ่านทบทวนเนอื้ หาเพิม่ เตมิ
2.ทากิจกรรมใบงาน และแบบฝกึ ปฏบิ ัติ

แบบประเมินผลการเรยี นร้หู นว่ ยที่ 1
จงเลอื กคาตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดยี ว
1 ข้อใดคือความหมายของเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรท์ ่ถี ูกตอ้ งที่สดุ

1. การเช่ือมต่อคอมพิวเตอรเ์ ขา้ กนั ด้วยสายเคเบลิ
2. การเชือ่ มต่อคอมพิวเตอรต์ ง้ั แต่ 2 เครอื่ งข้นึ ไปเข้าด้วยกัน
3. การเชอ่ื มต่อคอมพวิ เตอรต์ ้ังแต่ 2 เครอ่ื งขึน้ ไปเขา้ ดว้ ยกนั ดว้ ยสายไฟฟา้
4. การเชื่อมต่อคอมพิวเตอรต์ ัง้ แต่ 2 เครือ่ งขึ้นไปเขา้ ด้วยกนั ดว้ ยสายเคเบลิ
2 การเชอื่ มตอ่ ระหวา่ งเครอื่ งคอมพิวเตอรห์ ลายๆ เคร่อื งเข้ากบั เครอ่ื งคอมพิวเตอรข์ นาดใหญท่ เี่ ป็นศนู ยก์ ลาง เราเรยี กคอมพิวเตอร์ท่ี
เป็นศูนย์กลางนีว้ า่ อย่างไร
1.โฮสต์2. ไคลเอนต์ 3.ระบบเครือขา่ ย 4. ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
3 ข้อใดคือขอ้ เสียของคอมพวิ เตอรย์ ุคแรกๆ กอ่ นการสร้างระบบเครือข่ายทีถ่ ูกตอ้ งทส่ี ดุ
1. ผู้ใช้จะแลกเปลยี่ นข้อมูลกันโดยการพมิ พข์ อ้ มลู ออกมาเป็นเอกสาร
2. ผู้ใช้ไมส่ ามารถแลกเปลยี่ นข้อมลู กบั คนอน่ื ๆ หรอื คอมพิวเตอรเ์ ครอื่ งอนื่ ๆ
3. ผใู้ ชท้ ่ีตอ้ งการใชห้ รือแก้ไขข้อมลู อกี คนหนงึ่ ซึง่ ทาใหเ้ สียเวลาและเป็นวธิ ีทย่ี ุง่ ยาก
4. ผใู้ ชท้ ี่ตอ้ งการใชห้ รือแกไ้ ขข้อมูลอีกคนหนง่ึ ทาใหม้ ีความผดิ พลาดของข้อมลู อย่างมาก

13

4 การเชอ่ื มโยงคอมพิวเตอรเ์ ขา้ ดว้ ยกันทาให้เกิดประโยชน์ของคอมพวิ เตอรใ์ นด้านใด

1. สะดวกและประหยดั คา่ ใช้จา่ ย

2. เกดิ การทางานในลักษณะกลมุ่ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และอปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์

3. ลดความซา้ ซอ้ นและสามารถกาหนดมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยให้แกแ่ ฟม้ ขอ้ มลู

4. ตดิ ต่อสือ่ สารกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์อ่นื โดยอาศัยโปรแกรมส่อื สารทีม่ ีความสามารถใชเ้ ปน็ เคร่อื งคอมพวิ เตอรไ์ ด้

เชน่ เดยี วกนั

5 ถ้าผเู้ รียนทางานอยูใ่ นโรงพยาบาลแหง่ หนึง่ ของรัฐบาล ซ่ึงมหี ลายแผนกและมจี านวนผ้ปู ว่ ยจานวนมาก ผ้เู รียนคิดว่าขอ้ ใดเป็น

ความสาคญั ของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอรท์ จี่ าเป็นต้องนามาใช้ในโรงพยาบาล

1. ทาใหเ้ กดิ การทางานในลกั ษณะกล่มุ ของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ และอปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์

2. สามารถขยายอาณาเขตในการสื่อสารข้อมูลไดอ้ ยา่ งครอบคลุมกวา้ งขวางได้ไกลยงิ่ ขน้ึ

3. ลดความซา้ ซอ้ นและสามารถกาหนดมาตรฐานการรกั ษาความปลอดภัยใหแ้ กแ่ ฟม้ ขอ้ มูล

4. การใชท้ รัพยากรในระบบคอมพิวเตอร์ร่วมกนั โดยผู้ใช้คอมพวิ เตอร์ทุกเครอื่ งทีอ่ ยใู่ นระบบเครอื ข่าย สามารถใชท้ รัพยากร

ร่วมกันได้

6 คน อุปกรณท์ ่ใี ช้กาเนิดข่าวสาร หรอื แหล่งกาเนิด เปน็ ต้นทางของขอ้ มลู ข่าวสาร คือองค์ประกอบใด

ของระบบส่อื สารข้อมลู

1. ผ้รู บั สาร 2. ผสู้ ่งสาร 3. สือ่ กลาง 4. ขอ้ มลู ขา่ วสาร

7 ข่าวสารทีจ่ ะส่งผา่ นทางเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรจ์ ะต้องทาอยา่ งไรเพอ่ื ส่งไปยงั สอื่ กลางหรือตวั กลาง

1. แปลงสญั ญาณและเข้ารหสั 2. ส่งผา่ นทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์

3. สง่ ทางสายไฟ สายเคเบลิ สายไฟเบอรอ์ อพติก

4. แปลงสญั ญาณ (Decoding) ใหก้ ลับมาเปน็ ข้อมลู ขา่ วสาร

8 ข้อใดคือการส่งสญั ญาณทางเดยี ว

1. วทิ ยุส่ือสาร 2. วิทยสุ นาม 3. โทรศัพทม์ อื ถือ 4. วทิ ยกุ ระจายเสยี ง

9 การสง่ สญั ญาณแบบใดเป็นการส่งสญั ญาณแบบสมบรู ณแ์ บบ

1. การสง่ สัญญาณทางคู่ 2. การส่งสัญญาณกงึ่ ทางคู่

3. การส่งสัญญาณทางเดยี ว 4. การส่งสัญญาณที่มลี กั ษณะเปน็ คล่นื ต่อเนื่อง

10 จากภาพดา้ นล่างคอื รูปแบบการสง่ สญั ญาณแบบใด

1. สัญญาณดจิ ติ อล 2. สญั ญาณอนาลอ็ ก 3. สัญญาณดาวเทยี ม 4. สัญญาณโทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ี

11 สญั ญาณใดเปน็ สัญญาณที่มกั จะเกดิ ขึน้ ตามธรรมชาติ เปน็ สญั ญาณทม่ี คี วามต่อเน่อื งไมไ่ ดเ้ ปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็

1. สัญญาณดิจติ อล 2. สัญญาณอนาล็อก 3. สัญญาณทีวีดิจิตอล 4. สญั ญาณดาวเทยี ม

12 ข้อใดคือลกั ษณะการสื่อสารทางกายภาพ

1. ใช้คล่นื วิทยุ หรอื บลทู ธู 2. ส่งข้อมลู ดว้ ยคลื่นอินฟราเรด

3. ใช้อากาศเปน็ สื่อกลางลกั ษณะสอ่ื กลางท่ไี รส้ าย

4. อาศยั สายสญั ญาณทีท่ าหน้าที่เป็นสื่อกลางในระบบสือ่ สารข้อมลู

13 สายสญั ญาณประเภทใดทีน่ ยิ มใช้เ ปน็ สายโทรศพั ท เพอื ่ สง่ สญั ญาณโทรศพั ท์

1. สายค่บู ดิ เกลียว 2. สายโคแอกเชยี ล

3. สายใยแก้วนาแสง 4. สายสัญญาณแบบไร้สาย

14 สายสัญญาณใดสามารถส่งข้อมลู ได้จานวนมากเป็นระยะทางไกลด้วยความเร็วทส่ี งู แต่ขอ้ เสียคือมีความเสียหายไดง้ ่าย และมี

ราคาทีส่ งู

1. สายเคเบลิ 2. สายคู่บิดเกลียว 3. สายโคแอกเชยี ล 4. สายใยแก้วนาแสง

14

15 โทรศัพทม์ ือถือท่เี ราใช้กันอยูใ่ นปจั จุบนั ใชส้ ่อื กลางไร้สายแบบใดในการนาสัญญาณ

1. คล่นื วิทยุ 2. อินฟราเรด 3. ไมโครเวฟ 4. ดาวเทียม

16 การสอ่ื สารใดทม่ี คี วามเรว็ สงู สง่ สญั ญาณเปน็ ทอดๆ จากสถานหี น่ึงไปยงั สถานหี นึง่ ในแนว

เส้นตรง ไมส่ ามารถส่งเปน็ เส้นโค้ง หรอื หักเลยี้ วได้

1. คลืน่ วิทยุ 2. อนิ ฟราเรด 3. ไมโครเวฟ 4. ดาวเทียม

17 เพราะเหตุใดการส่ือสารข้อมลู ควรมีการเขา้ รหัสข้อมลู กอ่ นที่จะสง่ ไปยังสอื่ กลาง และผรู้ บั ต้องมกี ารถอดรหสั ทใ่ี ชม้ าตรฐาน

เดียวกนั จึงจะสามารถนาขอ้ มูลน้ันไปใชไ้ ด้

1. ลดตน้ ทุน 2. มีความรวดเร็ว 3. ความปลอดภยั ของข้อมูล 4. ใชร้ ะยะทางในการส่งขอ้ มูลนอ้ ยลง

18 IEEE คอื อะไร

1. สอ่ื กลางในการส่งข้อมลู

2. การส่อื สารขอ้ มูลในเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์

3. คณะกรรมการกาหนดมาตรฐานเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์

4. การกาหนดคุณสมบตั ิในระดบั ของอุปกรณก์ ารสอ่ื สารข้อมูล

19 ขอ้ ใดคือองคป์ ระกอบของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์

1. IEEE 2. สายสัญญาณ 3. ช่องทางการสอ่ื สาร 4. ผใู้ ชเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์

20 ขอ้ ใดคืออปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการสอ่ื สาร

1. Windows 7 2 . Windows 8 3. MAC OS 4 . Switching

เฉลยเแบบประเมินผลการเรียนรหู้ นว่ ยท่ี 1

1.4 6.2 11.2 16.3

2.1 7.2 12.4 17.3

3.2 8.4 13.1 18.3

4.4 9.1 14.4 19.3

5.4 10.1 15.2 20.4

บันทกึ หลังการสอน

ขอ้ สรุปหลังการสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

15

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการท่ี 3 หน่วยที่ 2
สอนคร้งั ท่ี 3 (7-9)
รหสั 20204-2005 เครือข่ายคอมพิวเตอรเ์ บื้องต้น (2-2-3)
ชอ่ื หน่วย/เรื่อง อปุ กรณร์ ะบบเครอื ข่าย จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคัญ

การสื่อสารในเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ สิ่งทส่ี าคญั ท่ีขาดไมไ่ ด้ คือ อปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการสอื่ สารในปัจจุบนั มีอุปกรณณท์ ่ชี ่วยในการ
สนับสนนุ การส่อื สารคอมพิวเตอรอ์ ีกมากมาย การเลือกใช้อุปกรณ์ถอื เปน็ ต้นทนุ ทส่ี าคญั ทจ่ี ะตอบสนองการเชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอรไ์ ด้
อปุ กรณ์แตล่ ะชนดิ มีความเรว็ และทาให้การเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอรม์ ีความผดิ พลาดนอ้ ย การเลอื กใช้อปุ กรณ์ในการเชื่อมตอ่ จึงมีส่วน
สาคญั อย่างมาก

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1 บอกอปุ กรณเ์ ก่ียวกบั เครือขา่ ยคอมพิวเตอรไ์ ด้

2 อธิบายการด์ ในการเช่ือมตอ่ เครอื ข่ายได้

3 อธบิ ายสายสญั ญาณ หรอื สายเคเบิลได้

4 อธบิ ายพอร์ต RJ-11 และ RJ-45 (Registered Jack) ได้

5 อธบิ ายโมเด็ม (Modem) ได้

6 อธิบายเราเตอร์ (Router) ได้

7.มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ

การอาชวี ศกึ ษา ท่ีครสู ามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่อื ง

7.1 ความมีมนษุ ยสัมพันธ์ 7.6 การประหยดั

7.2 ความมวี นิ ยั 7.7 ความสนใจใฝร่ ู้

7.3 ความรับผดิ ชอบ 7.8 การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน

7.4 ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ 7.9 ความรกั สามคั คี

7.5 ความเชอื่ มัน่ ในตนเอง 7.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา

1.แสดงความรเู้ กยี่ วกับหลักการทางาน และกระบวนการของระบบเครือขา่ ย

2.ใชอ้ ปุ กรณ์และเช่อื มตอ่ ระบบเครอื ข่ายเบอ้ื งตน้ ในการปฏิบัตงิ าน

3.ประยุกตใ์ ช้งานเครือขา่ ยในการปฏบิ ัตงิ านขององคก์ ร

เนอ้ื หาสาระ

1.อปุ กรณ์เก่ียวกับเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 2 การ์ดในการเชื่อมตอ่ เครอื ข่าย

3 สายสัญญาณ หรอื สายเคเบลิ 10 บริดจ์ (Bridge) 4 พอรต์ RJ-11 และ RJ-45

5 โมเด็ม (Modem) (Server) 6 เราเตอร์ (Router)

กิจกรรมการเรยี นรู้

ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรียน

1.ครูสนทนากบั ผเู้ รยี นเกยี่ วกับการเชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ 2 เครอ่ื งเขา้ ดว้ ยกันนั้น นอกจากจะมเี ครื่องคอมพวิ เตอร์

ต้ังแต่ 2 เครอื่ งแล้ว ยงั ตอ้ งมอี ปุ กรณ์ทเ่ี รียกว่าอปุ กรณเ์ นต็ เวิรก์ ที่ใชใ้ นการเช่ือมตอ่ ระหวา่ งกันอีกด้วยซึ่งผใู้ ชง้ านจะตอ้ งจัดหามาเพอ่ื

ทาการตดิ ตัง้

2.ครกู ลา่ วถงึ ความสาคัญของอปุ กรณพ์ ื้นฐานทจี่ าเปน็ ติดตั้งเชอ่ื มต่อเครือขา่ ย

3.ผู้เรียนยกตัวอยา่ งอุปกรณ์เชอ่ื มต่อในปจั จบุ ัน

16
ขน้ั สอน

4.ครูใช้เทคนิควธิ ีการจัดการเรยี นรแู้ บบอภปิ ราย (Discussion Method) คือกระบวนการทผ่ี ้สู อนมุง่ ให้
ผู้เรยี นมีโอกาสสนทนาแลกเปล่ยี นความคิดเห็นหรอื ระดมความคดิ ในเรอ่ื งความรเู้ กี่ยวกับอปุ กรณเ์ ก่ียวกับเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ซึ่ง
เปน็ เรื่องท่เี กยี่ วข้องกบั บทเรียนหรอื ที่กลมุ่ มีความสนใจรว่ มกนั โดยมีจุดมงุ่ หมายเพ่ือหาคาตอบ แนวทางหรอื แก้ปญั หาร่วมกัน การ
จดั การเรยี นรูแ้ บบนมี้ ุ่งเน้นให้ผเู้ รยี นมีสว่ นร่วมในการเรยี นรู้ คอื รว่ มคดิ ร่วมวางแผน ร่วมตดั สินใจ รว่ มปฏิบัติงานและชื่นชมผลงาน
ร่วมกัน

5.ครใู ชเ้ ทคนิควธิ ีสอนแบบใชโ้ สตทศั นวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เป็นวธิ ีสอนท่นี าอุปกรณโ์ สต
ทศั น์วสั ดุมาชว่ ยพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอน โสตทศั นว์ สั ดดุ งั กล่าว ได้แก่ CD และ Power Point เกย่ี วกบั ความรเู้ ก่ยี วกับการ
เชอื่ มตอ่ คอมพิวเตอร์

6.ครูและผเู้ รยี นใชเ้ ทคนคิ การจดั การเรยี นรูแ้ บบสาธิต (Demonstration Method) คอื กระบวนการท่ผี ู้สอน หรือบุคคลใด
บุคคลหนึ่งใชใ้ นการชว่ ยใหผ้ เู้ รียนได้เกดิ การเรยี นร้ตู ามวตั ถปุ ระสงค์ โดยการแสดงหรือกระทาใหด้ เู ป็นตัวอย่างพร้อม ๆ กับการบอก
อธิบาย ให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรู้ ผูเ้ รยี นจะเกดิ การเรยี นร้จู ากการสงั เกต กระบวนการข้ันตอนการสาธิตนั้น ๆ แลว้ ใหผ้ เู้ รยี นซกั ถาม
อภิปราย และสรปุ การเรียนรทู้ ไี่ ดจ้ ากการสาธติ การจดั การเรียนรูแ้ บบนี้จงึ เหมาะสมสาหรบั การสอนทต่ี ้องการใหผ้ ูเ้ รียนเห็นขน้ั ตอน
ของการปฏบิ ัติ

7.ครสู าธติ โดยแสดงการด์ ในการเชือ่ มต่อเครอื ข่าย (Network Interface Card) หมายถึง แผงวงจรสาหรบั
ใช้ในการเชอื่ มต่อสัญญาณของเครอื ข่ายท้งั แบบใชส้ ายและแบบไรส้ าย โดยมหี ลักการทางาน: มีหนา้ ทีแ่ ปลงสัญญาณจากคอมพวิ เตอร์
สง่ ผา่ นไปตามสายนาสญั ญาณทาให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปล่ียนขอ้ มลู ข่าวสารกนั ได้

8.ครใู ชเ้ ทคนคิ การอธิบายเก่ียวกบั สายสญั ญาณ หรอื สายเคเบลิ และแสดงรูปภาพ โดยแสดงสอ่ื Power Point ประกอบ
9.ครูอธบิ ายความหมาย และหน้าท่ขี องพอรต์ RJ-11 และ RJ-45 (Registered Jack) โดยใช้ส่อื Power Pont เปน็ ส่ือ
ประกอบการสอน
10.ครูและผเู้ รยี นช่วยกนั อธิบายเก่ียวกับลักษณะและการทางานของโมเดม็ (Modem) โดยใชส้ ือ่ Power Point ประกอบ
11.ครแู ละผเู้ รียนช่วยกนั อธิบายลกั ษณะ คณุ สมบตั ิ และข้อดี-ข้อเสยี ของเราเตอร์ (Router)
12.ครูใหค้ วามรูเ้ พิ่มเตมิ นอกเหนอื จากเนอ้ื หาการเรยี นการสอน เกยี่ วกบั เงื่อนไขตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในการตดั สนิ ใจ
และการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนัน้ ต้องอาศัยท้ังความรู้ และคณุ ธรรมเป็นพ้ืนฐาน กลา่ วคอื

(1) เงอื่ นไขความรู้ เป็นความรอบร้เู กี่ยวกบั วิชาการตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ความรอบคอบทจ่ี ะนาความรเู้ หลา่ น้นั มาพิจารณาให้
เช่ือมโยงกัน เพือ่ การวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏบิ ัติ

(2) เงอ่ื นไขคณุ ธรรม เป็นสง่ิ ทีต่ อ้ งเสรมิ สรา้ งให้มคี วามตระหนักในคณุ ธรรม มคี วามซื่อสตั ย์สุจริตและมคี วามอดทน มคี วาม
เพียร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ิต

17

ขัน้ สรุปและการประยุกต์
13.ครูและผเู้ รียนช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับอปุ กรณเ์ กยี่ วกบั เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ การด์ ในการเชื่อมต่อเครือขา่ ย

สายสญั ญาณ หรอื สายเคเบลิ 10 บริดจ์ (Bridge) พอร์ต RJ-11 และ RJ-45 โมเดม็ (Modem) (Server)
และเราเตอร์ (Router) โดยวธิ กี ารถามตอบเป็นกลมุ่ หรอื รายบคุ คล และการฝกึ ปฏิบตั ิงานทคี่ รมู อบหมายให้

14.ผู้เรยี นทาใบงาน แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ

15.ประเมินผเู้ รียนตามแบบฟอรม์ ตอ่ ไปนี้

แบบประเมนิ ประสบการณ์พ้นื ฐาน

ชื่อผู้เรียน ประสบการณพ์ ื้นฐานการเรียนรู้ วธิ กี ารเรยี นรู้
ความรู้ ทักษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

5.

สือ่ และแหล่งการเรียนรู้

1.หนงั สือเรยี น วิชาเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บ้อื งต้น ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์
2.รปู ภาพ
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.แผ่นใส
5.ส่อื อิเล็กทรอนิกส,์ PowerPoint
6.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
7.แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน

หลกั ฐาน

1.บันทกึ การสอน
2.ใบเช็ครายชื่อ
3.แผนจัดการเรยี นรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน

18

การวัดผลและการประเมินผล

วธิ วี ัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. ประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. สังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมินกิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ และแบบประเมนิ คา่ นยิ ม

12 ประการ

6. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏิบัติ
7. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

เครอื่ งมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รียน)
4. แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ กิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ และแบบประเมินค่านยิ ม 12 ประการ
6. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ
7. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครูและผูเ้ รยี นรว่ มกนั ประเมิน

เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50%
5. แบบประเมินกิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ และแบบประเมนิ ค่านยิ ม 12 ประการ

ต้องไม่มชี ่องปรับปรงุ
6. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิมเี กณฑผ์ า่ น 5%0
7 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กบั

การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กจิ กรรมเสนอแนะ

1.ทากิจกรรมใบงาน
2.อา่ นและทบทวนบทเรยี น

19

บนั ทึกหลังการสอน

ข้อสรุปหลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

20

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการที่ 4 หน่วยที่ 2

รหัส 20204-2005 เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์เบ้อื งตน้ (2-2-3) สอนครัง้ ที่ 4 (10-12)

ช่อื หน่วย/เรื่อง อุปกรณร์ ะบบเครอื ขา่ ย จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคญั

การสอื่ สารในเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ สิง่ ที่สาคญั ท่ีขาดไมไ่ ด้ คือ อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการส่อื สารในปจั จบุ ันมีอุปกรณณท์ ชี่ ว่ ยในการ
สนับสนุนการส่ือสารคอมพวิ เตอรอ์ ีกมากมาย การเลอื กใชอ้ ปุ กรณถ์ อื เปน็ ตน้ ทนุ ทสี่ าคญั ท่ีจะตอบสนองการเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอรไ์ ด้
อุปกรณแ์ ตล่ ะชนดิ มีความเร็วและทาให้การเชอื่ มต่อคอมพวิ เตอรม์ คี วามผิดพลาดนอ้ ย การเลอื กใชอ้ ปุ กรณใ์ นการเชือ่ มต่อจงึ มสี ่วน
สาคัญอย่างมาก

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

7 อธบิ ายฮบั (Hub) ได้
8 อธิบายอุปกรณ์สวติ ช์ (Switch) ได้
9 อธบิ ายเคร่ืองทวนสญั ญาณ (Repeater) ได้
10 อธบิ ายบรดิ จ์ (Bridge) ได้
11 อธิบายเกตเวย์ (Gateway) ได้
12 อธิบายเครอื่ งแม่ขา่ ยหรือเครอื่ งเซิรฟ์ เวอรไ์ ด้
13 อธบิ ายไคลเอนต์ (Client) หรอื เครอ่ื งลกู ขา่ ยได้
14.มีการพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผสู้ าเร็จการศึกษา

สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทค่ี รสู ามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่อื ง
14.1 ความมีมนุษยสัมพนั ธ์
14.2 ความมวี ินัย
14.3 ความรบั ผดิ ชอบ
14.4 ความซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ
14.5 ความเช่ือม่นั ในตนเอง
14.6 การประหยดั
14.7 ความสนใจใฝ่รู้
14.8 การละเวน้ สิง่ เสพติดและการพนัน
14.9 ความรักสามัคคี
14.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา

1.แสดงความรเู้ กย่ี วกับหลักการทางาน และกระบวนการของระบบเครือข่าย
2.ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเช่อื มตอ่ ระบบเครือข่ายเบอ้ื งต้นในการปฏิบตั ิงาน
3.ประยุกตใ์ ชง้ านเครือข่ายในการปฏบิ ตั ิงานขององคก์ ร

21

เน้ือหาสาระ

7 ฮับ (Hub)
8 อปุ กรณส์ วิตช์ (Switch)
9 เครอ่ื งทวนสญั ญาณ (Repeater)
11 เกตเวย์ (Gateway)
(Registered Jack)
12 เครอื่ งแม่ข่ายหรอื เครอื่ งเซริ ฟ์ เวอร์
13 ไคลเอนต์ (Client) หรอื เครอ่ื งลูกข่าย

กจิ กรรมการเรียนรู้

ข้ันนาเขา้ สูบ่ ทเรียน

1.ครูใชเ้ ทคนคิ การสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความร้เู ดมิ จากสปั ดาหท์ ีผ่ า่ นมา โดยดงึ ความรู้
เดิมของผู้เรียนในเรอ่ื งฮับ (Hub) ท่ีจะเรียน เพ่ือชว่ ยให้ผเู้ รยี นมคี วามพร้อมในการเชื่อมโยงความรูใ้ หมก่ ับความรเู้ ดมิ ของตน ผสู้ อนใช้
การสนทนาซักถามใหผ้ ้เู รียนเล่าประสบการณ์เดมิ หรอื ใหผ้ เู้ รียนแสดงโครงความรเู้ ดมิ (Graphic Organizer) ของตน

2.ครูสนทนากบั ผเู้ รยี นเก่ียวกับฮบั เป็นอุปกรณ์ชว่ ยกระจายสญั ญาณไปยังเครื่องต่างๆ ทีอ่ ยู่ในระบบ หากเป็นระบบเครือข่าย
ท่ีมี 2 เครอื่ ง กไ็ มจ่ าเปน็ ตอ้ งใชฮ้ บั สามารถใช้สายสญั ญาณเชอ่ื มตอ่ ถึงกนั ได้โดยตรง แต่หากเป็นระบบทม่ี มี ากกว่า 2 เคร่อื ง
จาเปน็ ต้องมฮี บั เพอ่ื ทาหน้าท่เี ปน็ ตวั กลาง ในการเลือกซือ้ ฮบั ควรเลอื กฮบั ทีม่ คี วามเรว็ เท่ากับความเรว็ ของการด์ เชน่ การด์ มีความเร็ว
100 Mbps ก็ควรเลอื กใชฮ้ ับท่มี คี วามเรว็ เปน็ 100 Mbps ดว้ ย ควรเป็นฮบั ทม่ี ีจานวนพอร์ตสาหรับต่อสายทเ่ี พียงพอกบั เครอื่ งใช้ใน
ระบบ หากจานวนพอรต์ ตอ่ สายไมเ่ พยี งพอกส็ ามารถต่อพว่ งได้ จึงควรเลือกซอื้ ฮับท่สี ามารถตอ่ พว่ งได้ เพ่อื รองรับการขยายตัวใน
อนาคต

3.ผูเ้ รยี นเล่าเร่อื งการใช้อปุ กรณ์ฮับ ท่เี คยศกึ ษามาบา้ งแล้ว

ข้ันสอน

4.ครใู ช้เทคนคิ การสอนแบบสาธิตการสรา้ งรปู ภาพโดยใช้อปุ กรณฮ์ ับ โดยใชส้ ื่อ Power Point
ประกอบ และใหผ้ ้เู รยี นฝกึ ปฏบิ ตั ติ าม โดยฮับ (Hub) คอื อปุ กรณท์ ่ีรวมสัญญาณทมี่ าจากอุปกรณร์ ับสง่ หลายๆ สถานีเข้าด้วยกัน ซึ่ง
ฮบั เปรยี บเสมอื นเปน็ บสั ทรี่ วมอยทู่ ีจ่ ดุ เดียวกัน ฮับที่ใช้งานอยูภ่ ายใตม้ าตรฐานการรับสง่ แบบอเี ทอรเ์ น็ตหรอื IEEE802.3 ขอ้ มลู ทรี่ บั
สง่ ผ่านฮบั จากเครือ่ งหนงึ่ จะกระจายไปยังทุกสถานที ่ตี ่ออยบู่ นฮบั นนั้ ดงั นนั้ ทกุ สถานีจะรับสัญญาณขอ้ มลู ทก่ี ระจายมาไดท้ ้งั หมด แต่
จะเลอื กคดั ลอกเฉพาะข้อมลู ทสี่ ง่ มาถึงตนเท่านัน้ การตรวจสอบข้อมลู จึงต้องดทู ่แี อดเดรส (Address) ที่กากบั มาในกลุ่มของข้อมลู
(แพก็ เกจ)

5.ครูใช้เทคนิคการอธิบาย และการสาธิตการเปดิ รูปภาพเพื่อนามาใช้ และใหผ้ ูเ้ รียนฝึกปฏิบตั ติ าม โดยการเปดิ รูปภาพ
อปุ กรณส์ วติ ช์ (Switch)

22

6.ครูใชเ้ ทคนิคการสาธติ การปดิ รปู ภาพเพอ่ื นามาใช้ และใหผ้ เู้ รยี นฝกึ ปฏิบตั ติ าม โดยการปดิ รูปภาพเพ่ือนารูปภาพไปใชง้ าน
สามารถทาไดโ้ ดยคลกิ ทเี่ มนู File สามารถเลือกรูปแบบการปดิ ตอ่ ไปน้ี

7.ครแู ละผ้เู รยี นอธบิ าย และแสดงรูปภาพเครือ่ งทวนสัญญาณ (Repeater) คือ อปุ กรณท์ ่ีทาหน้าทรี่ ับ
สัญญาณดิจิตอล แลว้ สง่ ตอ่ ออกไปยังอุปกรณ์ตอ่ อน่ื เหตุทีต่ อ้ งใช้อปุ กรณ์ทวนสญั ญาณ เน่อื งจากการส่งสญั ญาณไปในตัวกลางทีเ่ ปน็
สายสญั ญาณน้นั เม่อื ระยะทางมากขึน้ แรงดนั ของสัญญาณจะลดลงเร่ือยๆ ทาให้
ไม่สามารถสง่ สญั ญาณในระยะทางไกลๆ ได้ ดงั น้ันการใช้อุปกรณ์ทวนสญั ญาณจะทาให้สามารถสง่ สญั ญาณไปไดไ้ กลข้นึ โดยสญั ญาณ
ไม่สญู หาย

8.ครูและผูเ้ รยี นช่วยกันอธิบาย และแสดงรูปภาพของบรดิ จ์ (Bridge) คอื อุปกรณ์ใช้ในการเชื่อมตอ่ เครอื ขา่ ยหลายเครอื ข่าย
เขา้ ด้วยกัน โดยจะตอ้ งเปน็ เครือขา่ ยท่ใี ชโ้ ปรโตคอลเดยี วกนั ซึง่ มคี วามสามารถมากกวา่ ฮับและอปุ กรณ์ทวนสญั ญาณคือ สามารถ
กรองข้อมูลทส่ี ง่ ต่อได้ โดยการตรวจสอบวา่ ขอ้ มูลทสี่ ่งนน้ั ปลายทางอยู่ท่ีใด หากเคร่อื งปลายทางอยูภ่ ายในเครอื ข่ายเดยี วกันกบั
เคร่อื งส่ง ก็จะสง่ ข้อมลู นั้นไปในเครือข่ายเดยี วกนั เท่าน้นั ไมส่ ง่ ไปยงั เครอื ข่ายอ่ืน

9.ครูและผเู้ รยี นช่วยกันอธบิ าย และแสดงรูปภาพของเกตเวย์ (Gateway) คือ อุปกรณท์ ีท่ าหนา้ ทีเ่ ช่อื มต่อเครอื ขา่ ยตา่ งๆ เข้า
ด้วยกนั ไม่วา่ เครอื ข่ายนน้ั จะใช้โปรโตคอลตวั ใดกต็ าม เนอื่ งจากเกตเวยส์ ามารถแปลงรูปแบบแพ็กเกจของโปรโตคอลหนง่ึ ไปเป็น
รปู แบบของอกี โปรโตคอลหน่ึงได้ เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกับการใช้งานในเครือขา่ ย

10.ครูและผเู้ รียนชว่ ยกันอธบิ าย และสาธิตการใชง้ านของเคร่ืองแมข่ ่าย หรอื เครื่องเซริ ฟ์ เวอร์ (Server) หมายถึง
คอมพิวเตอรท์ ่ีทาหนา้ ทเ่ี ป็นผู้ใหบ้ รกิ ารทรัพยากร (Resources) ต่างๆ ไดแ้ ก่ หน่วยประมวลผล หนว่ ยความจา หนว่ ยความจาสารอง
ฐานขอ้ มูล และโปรแกรมตา่ งๆ เปน็ ตน้ ในระบบเครอื ขา่ ยท้องถน่ิ (LAN) มักเรียกวา่ คอมพิวเตอรแ์ ม่ขา่ ยในระบบเครอื ข่ายระยะไกลท่ี
ใชเ้ มนเฟรมคอมพวิ เตอร์ หรือมนิ คิ อมพิวเตอร์เป็นศูนยก์ ลางของเครอื ข่าย วา่ Host Computer และเรียกเครือ่ งทีร่ อรับบรกิ ารวา่ ลูก
ขา่ ยหรือสถานีงาน

11.ครูและผเู้ รยี นชว่ ยกนั อธบิ าย และสาธิตการใช้งานของไคลเอนต์ (Client) หรอื เครือ่ งลูกขา่ ย เป็นคอมพิวเตอรใ์ นเครอื ขา่ ย
ทรี่ ้องขอบรกิ ารและเขา้ ถึงไฟล์ขอ้ มลู ทีจ่ ัดเก็บในเซริ ์ฟเวอรห์ รือไคลเอนต์ เป็นคอมพวิ เตอรข์ องผ้ใู ช้แตล่ ะคนในระบบเครือข่าย

23

12.ผเู้ รยี นพิจารณารปู ภาพที่ครกู าหนดใหว้ า่ เปน็ อปุ กรณเ์ ครือข่ายประเภทใด

13.ผู้เรียนคน้ ควา้ หาข้อมูลอุปกรณท์ เี่ กยี่ วกบั ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรอ์ ยา่ งน้อยคนละ 5 ชนดิ พร้อมรปู ภาพประกอบ

14.ผเู้ รียนพจิ ารณารปู ภาพที่ครูกาหนดว่าเป็นอปุ กรณเ์ ครือขา่ ยประเภทใด และข้อดีและขอ้ เสยี

15.ผเู้ รยี นบอกลกั ษณะของสายคบู่ ิดเกลยี วชนดิ หมุ้ ฉนวน (Shielded Twisted Pair: STP) และบอกข้อดแี ละข้อเสยี ของสาย

STP พร้อมหารูปภาพประกอบ และข้อดีและขอ้ เสียของสาย STP

16.ผู้เรียนบอกลกั ษณะสายใยนาแสง (Fiber Optic) และบอกข้อดแี ละขอ้ เสียของสายสายใยนาแสง (Fiber Optic) พรอ้ มหา

รปู ภาพประกอบ และขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ของสายใยนาแสง (Fiber Optic)

17.ผเู้ รยี นวาดรูปภาพ หรอื หารปู ภาพการเชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอรด์ ว้ ยฮบั (Hub)

18.ผเู้ รยี นวาดรูปภาพ หรอื หารปู ภาพการใชอ้ ปุ กรณบ์ รดิ จ์ (Bridge) ในการเชอ่ื มต่อ

19.ผู้เรียนแสดงรปู ภาพการเช่อื มต่อเคร่อื งแมข่ ่าย (Server) กับเครอื่ งลกู ข่าย (Client) โดยใชอ้ ุปกรณเ์ ครือขา่ ยเชื่อมต่อ เชน่

HUB เปน็ ต้น

20.ครใู หค้ วามรเู้ พิม่ เตมิ ในการทาบญั ชรี ายรับ-รายจ่าย ซึ่งเปน็ การจดบนั ทึกเหตุการณต์ ่าง ๆ เปน็ วธิ ชี ว่ ยตรวจสอบการใช้

จา่ ยของครอบครัวว่ามรี ายจา่ ยสมดุลกบั รายรับ และใชจ้ ่ายอย่างมเี หตุผลตามความจาเปน็ พอเหมาะกบั สภาพครอบครัวหรือไม่ หาก

สามารถปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมการบรโิ ภค เพ่อื ลดรายจา่ ยทีไ่ ม่จาเปน็ เกินตนได้ จะช่วยใหม้ ีเงินเกบ็ ออมเพอ่ื เป็นรากฐานสร้าง

ภูมิคุ้มกนั ทดี ใี นชวี ติ ได้

ขน้ั สรุปและการประยกุ ต์

21.ครแู ละผเู้ รยี นสรุปอปุ กรณร์ ะบบเครอื ข่าย โดยการฝึกปฏิบตั ิ และการถาม-ตอบและนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้

22.ผเู้ รยี นทากจิ กรรมใบงาน แบบประเมินผล และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ และประเมนิ ผู้เรียนตามแบบฟอรม์ ดงั ต่อไปน้ี

ชื่อผเู้ รยี น ประสบการณ์พ้ืนฐานการเรยี นรู้ วธิ ีการเรียนรู้
ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

5.

สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้

1.หนังสือเรียน วชิ าเครอื ข่ายคอมพิวเตอรเ์ บ้อื งตน้ ของสานกั พิมพ์เอมพันธ์
2.รปู ภาพ
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.แผ่นใส
5.ส่อื อเิ ล็กทรอนิกส,์ PowerPoint
6.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

24

หลักฐาน

1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเช็ครายชอื่
3.แผนจัดการเรยี นรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน

การวัดผลและการประเมินผล

วิธวี ัดผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่
3. สังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่
4. ตรวจใบงาน
5 ตรวจแบบประเมนิ กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ และแบบประเมนิ ค่านยิ ม

12 ประการ
6. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบัติ
7. การสงั เกตและประเมินพฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
เครือ่ งมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยคร)ู
3. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รยี น)
4. แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ กิจกรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ และแบบประเมนิ คา่ นิยม 12 ประการ
6. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบตั ิ
7. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและผเู้ รียนร่วมกนั ประเมนิ

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ชี อ่ งปรับปรุง
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขึน้ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป)
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50%
5. แบบประเมนิ กจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ และแบบประเมนิ ค่านิยม 12 ประการ ต้องไม่มชี อ่ ง

ปรับปรุง
6. แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ตั ิมเี กณฑผ์ า่ น 50%
7 แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขนึ้ อยู่กับ

การประเมินตามสภาพจริง

กจิ กรรมเสนอแนะ

1.ครูแนะนาใหผ้ เู้ รียนอ่านทบทวนเนอื้ หา และทากจิ กรรมใบงาน
2.ผู้เรียนควรฝึกทกั ษะในเนื้อหานอกเวลาเรยี นใหเ้ กดิ ความชานาญ เพือ่ นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานต่างๆ ได้

25

แบบประเมนิ ผลการเรียนร้หู น่วยที่ 2

จงเลอื กคาตอบทถี่ กู ต้องเพียงข้อเดยี ว

1 อปุ กรณใ์ ดมหี นา้ ที่แปลงสญั ญาณจากคอมพวิ เตอรส์ ่งผา่ นไปตามสายนาสญั ญาณ ทาให้คอมพวิ เตอร์ในเครอื ขา่ ยแลกเปลย่ี นข้อมลู

ขา่ วสารกนั ได้

1. โมเดม็ 2. เราเตอร์

3. สายสัญญาณ หรอื สายเคเบลิ 4. การด์ ในการเชื่อมตอ่ เครอื ข่าย

2 สายสัญญาณแบบใดทส่ี ายประกอบด้วยลวดทองแดงทเ่ี ป็นแกนหลกั หน่งึ เส้นทห่ี มุ้ ดว้ ยฉนวนชัน้ หนึ่ง เพื่อป้องกันกระแสไฟร่ัว

จากน้นั จะหมุ้ ดว้ ยตวั นาซงึ่ ทาจากลวดทองแดงถกั เป็นเปีย

1. สายโคแอกเชยี ล 2. สายคบู่ ิดเกลียว

3. สายใยแกว้ นาแสง 4. สายคูบ่ ดิ เกลียวแบบหมุ้ ฉนวน

3 สายสัญญาณชนดิ ใดที่มรี าคาถกู มขี นาดเลก็ และง่ายต่อการใช้งาน

1. สายโคแอกเชียล 2. สายคูบ่ ิดเกลยี ว

3. สายคบู่ ิดเกลียวแบบหมุ้ ฉนวน 4. สายคูบ่ ดิ เกลียวแบบไมห่ มุ้ ฉนวน

4 สายสญั ญาณชนิดใดทม่ี กี ารสง่ ขอ้ มูลผ่านสอื่ กลางโดยใช้เลเซอร์วิ่งผา่ นช่องกลวงของเส้นใยแตล่ ะเส้น

1. สายคู่บิดเกลียว 2. สายโคแอกเชียล

3. สายใยแก้วนาแสง 4. สายไฟเบอรอ์ อพติก

5 สายสญั ญาณใดทีเ่ หมาะกับการเช่ือมโยงระหวา่ งอาคารกบั อาคาร หรอื ระหว่างเมืองกับเมือง

1. สายโคแอกเชยี ล 2. สายโทรศัพท์

3. สายคบู่ ิดเกลียว 4. สายใยแก้วนาแสง

6 อปุ กรณ์ใดทาหน้าท่เี ป็นสอ่ื กลางในการเชือ่ มตอ่ ระหว่างคอมพิวเตอรเ์ ขา้ ดว้ ยกัน

1. ฮับ 2. พอร์ต 3. การด์ แลน 4. สายสัญญาณ

7 พอร์ต RJ-11 และ RJ-45 มขี ้อแตกตา่ งกันอยา่ งไร

1. RJ-11 ขนาดเล็กมีขา 4 ขา 2. RJ-11 ขนาดเลก็ มีขา 8 ขา

3. RJ-45 จะมขี นาดใหญ่กวา่ มขี า 4 ขา 4. RJ-45 จะมีขนาดใหญ่กวา่ มีขา 6 ขา

8 พอรต์ ใดเอาไวเ้ พื่อเช่อื มตอ่ สาหรับสาย LAN

1. RJ-11 2. RJ-12 3. RJ-45 4. RJ-46

9 เราเรียกกระบวนการแปลงสญั ญาณอนาล็อก เปน็ สญั ญาณดจิ ติ อลของโมเดม็ ว่าอยา่ งไร

1. มอดเู ลชนั่ 2. ดมี อดูเลชนั่ 3. ควิ มอดเู ลชั่น 4. อาร์มอดูเลชั่น

10 ข้อใดคือหนา้ ทขี่ องเราเตอร์ที่ถูกตอ้ งท่ีสดุ

1. ทาหน้าท่เี ป็นโมเดม็ ปล่อย WiFi 2. ตรวจสอบขอ้ มูลทด่ี ูจากแอดเดรส

3. รวมสญั ญาณรับสง่ กนั หลายๆ สถานี 4. ปรับโปรโตคอลท่แี ตกต่างกันให้สื่อสารกันได้

11 ข้อใดกลา่ วถึงฮับ (Hub) ไดถ้ กู ตอ้ งทสี่ ุด

1. เปน็ อปุ กรณ์ที่รวมสัญญาณรับส่งหลายๆ สถานี เข้าด้วยกัน

2. เป็นอปุ กรณท์ ีร่ วมสัญญาณท่ีมาจากอุปกรณร์ บั ส่งแตล่ ะสถานีแยกกนั

3. เปน็ อุปกรณ์ทรี่ วมสัญญาณทมี่ าจากอปุ กรณร์ บั สง่ หลายๆ สถานี เข้าด้วยกนั

4. เปน็ อปุ กรณ์ท่รี วมสัญญาณท่ีมาจากอปุ กรณร์ บั สง่ หลายๆ สถานี เพือ่ มาแยกขอ้ มูลกนั

12 สวิตช์ช่วยลดปญั หาใดของขอ้ มลู

1. ลดปัญหาการสง่ ขอ้ มลู 2. ลดปญั หาการรวมกนั ของขอ้ มลู

3. ลดปญั หาการแยกกนั ของขอ้ มลู 4. ลดปัญหาการชนกันของขอ้ มลู

13 ขอ้ ใดคอื ขอ้ แตกต่างกันระหวา่ งสวติ ช์กับฮับ

1. สวิตช์จะรับกลมุ่ ข้อมลู แยกส่งกอ่ น ส่วนฮับกระจายไปทกุ สถานี

26

2. สวติ ช์จะรับกลุ่มขอ้ มลู มาตรวจสอบก่อน สว่ นฮับกระจายไปทกุ สถานี

3. ฮับจะรับกลุ่มข้อมลู มาตรวจสอบก่อน ส่วนสวติ ช์กระจายไปทกุ สถานี

4. สวติ ชจ์ ะปอ้ งกนั การดักจับข้อมลู ก่อนส่ง ส่วนฮบั ไมม่ กี ารดักจับขอ้ มลู

14 ขอ้ ใดกลา่ วถึงเกตเวยไ์ ด้ถกู ตอ้ งทีส่ ุด

1. อปุ กรณ์ท่ที าหนา้ ท่เี ชอ่ื มตอ่ เครอื ข่ายต่างๆ เขา้ ด้วยกัน

2. อปุ กรณ์ท่ีทาหนา้ ท่ีเชื่อมต่อเครอื ขา่ ยหลายเครอื ขา่ ยเขา้ ด้วยกนั

3. อปุ กรณป์ ระมวลผลหน่วยความจา หนว่ ยความจาสารอง ฐานขอ้ มูลและโปรแกรมต่างๆ

4. อุปกรณแ์ ปลงรปู แบบแพค็ เกจของโปรโตคอลหน่งึ ไปเป็นรูปแบบของอกี โปรโตคอลหน่ึง

15 ข้อใดคอื ความหมายของโปรโตคอลทีถ่ ูกตอ้ งท่ีสดุ

1. มาตรฐานการรับสง่ แบบอเี ทอรเ์ นต็

2. ตวั แปลงสัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณดจิ ติ อล

3. ป้องกนั การดกั จับข้อมลู ที่กระจายไปในเครือข่าย

4. มาตรฐานในการส่อื สารข้อมลู บนเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์

16 จากความหมายท่วี ่า “ใช้ในการเชอ่ื มตอ่ เครือขา่ ยหลายเครอื ข่ายเขา้ ดว้ ยกัน โดยจะต้องเป็นเครอื ขา่ ยท่ีใชโ้ ปรโตคอลเดยี วกัน”

เปน็ ลกั ษณะการทางานของอุปกรณใ์ ด

1. ฮับ 2. บรดิ จ์ 3. สวติ ช์ 4. เกตเวย์

17 อุปกรณใ์ ดทท่ี าใหส้ ญั ญาณสง่ ไปในระยะไกลได้

1. บริดจ์ 2. เกตเวย์ 3. อุปกรณส์ วติ ช์ 4. เครอ่ื งทวนสญั ญาณ

18 คอมพวิ เตอรแ์ มข่ ่ายในระบบเครอื ข่ายระยะไกลท่ใี ชเ้ มนเฟรมคอมพวิ เตอรห์ รอื มินคิ อมพิวเตอร์

เป็นศนู ย์กลางของเครือขา่ ยเรานยิ มเรยี กวา่ อะไร

1. Bridge 2 . Gateway

3. Host Computer 4. Server Computer

19 ข้อใดกล่าวถงึ เครื่องแม่ข่ายหรอื เครอ่ื งเซริ ฟ์ เวอรไ์ ด้ถกู ต้องทส่ี ุด

1. คอมพวิ เตอรท์ ท่ี าหนา้ ท่ีเปน็ ผู้ใหบ้ ริการทรพั ยากรตา่ งๆ

2. ทาหน้าที่รับสัญญาณดิจิตอล แล้วสง่ ตอ่ ออกไปยงั อุปกรณต์ อ่ อืน่

3. คอมพิวเตอร์ทท่ี าหนา้ ทเ่ี ชือ่ มตอ่ เครอื ข่ายหลายเครือข่ายเข้าด้วยกนั

4. คอมพิวเตอรท์ ที่ าหน้าที่รบั สัญญาณดิจิตอล แลว้ สง่ ต่อออกไปยังอปุ กรณต์ อ่ อื่น

20 ขอ้ ใดคือความหมายของเครอื่ งลูกขา่ ยหรือไคลเอนต์

1. คอมพวิ เตอรเ์ ครอื่ งลูกขา่ ยสาหรับจ่ายขอ้ มลู

2. คอมพวิ เตอรท์ ่ใี ช้สาหรบั เป็นศนู ย์กลางของเครือขา่ ย

3. คอมพิวเตอรข์ องผูใ้ ช้แต่ละคนในระบบเครอื ข่ายน่นั เอง

4. คอมพวิ เตอร์ที่ใชส้ าหรับสารองฐานข้อมลู และโปรแกรมต่างๆ

27

1. 4 เฉลยแบบประเมนิ ผลการเรยี นรหู้ นว่ ยท่ี 2
2. 2
3. 1 11. 3
4. 3 12. 4
5. 4 13. 2
64 14. 1
71 15. 4
83 16 2
91 17 4
10 4 18 3
19 1
20 3

บนั ทกึ หลังการสอน

ข้อสรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาท่พี บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 5 28

รหัส 20204-2005 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบ้ืองต้น (2-2-3) หน่วยที่ 3
ชอ่ื หน่วย/เร่อื ง ประเภทของเครอื ขา่ ย สอนคร้ังท่ี 5 (13-15)

จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคัญ

ในปัจจบุ นั เป็นโลกของข้อมลู ขา่ วสารทางคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ ตา่ งกม็ ีการเชื่อมโยงเขา้ ดว้ ยกนั อย่างมากมาย การ
เชื่อมโยงคอมพิวเตอรเ์ ขา้ ดว้ ยกัน ทาให้การทางานหรอื การดาเนนิ ชวี ิตประจาวันมคี วามสะดวกมากขนึ้ เชน่ การเชอ่ื มโยงของตู้ ATM
หรือการเชือ่ มโยงคอมพิวเตอรข์ องธนาคารทัว่ ประเทศ

รปู แบบการเช่ือมตอ่ คอมพิวเตอรจ์ ึงมีความสาคัญเปน็ อยา่ งยง่ิ เป็นพน้ื ฐานการเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์จากคอมพวิ เตอร์เพยี ง 2
เคร่ือง จนในปจั จุบนั เครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ุกเคร่ืองสามารถเช่อื มต่อเข้ากันได้กับเครอ่ื งคอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งอื่นๆ ท่วั โลก

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1 อธบิ ายประเภทของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรไ์ ด้

2.มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผสู้ าเร็จการศกึ ษาสานกั งานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา ทีค่ รูสามารถสังเกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่ือง

2.1 ความมมี นษุ ยสัมพนั ธ์ 2.7 ความสนใจใฝร่ ู้

2.2 ความมีวินยั 2.8 การละเว้นส่งิ เสพตดิ และการพนัน

2.3 ความรบั ผดิ ชอบ 2.9 ความรกั สามคั คี

2.4 ความซื่อสตั ย์สุจรติ 2.10 ความกตญั ญกู ตเวที

2.5 ความเชือ่ มนั่ ในตนเอง

2.6 การประหยัด

สมรรถนะรายวิชา

1.แสดงความรเู้ ก่ียวกับหลกั การทางาน และกระบวนการของระบบเครือข่าย
2.ใชอ้ ปุ กรณ์และเชือ่ มต่อระบบเครือขา่ ยเบ้ืองตน้ ในการปฏิบัตงิ าน
3.ประยกุ ต์ใช้งานเครือข่ายในการปฏิบตั ิงานขององค์กร

เนื้อหาสาระ

1 ประเภทของเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์

กิจกรรมการเรยี นรู้

ข้นั นาเขา้ สูบ่ ทเรยี น

1.ครูสนทนากบั ผเู้ รยี นเก่ยี วกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จาแนกออกได้หลายประเภทแลว้ แต่เกณฑท์ ่ีใช้ เชน่ ขนาด ลกั ษณะ
การแลกเปล่ยี นขอ้ มลู ของคอมพิวเตอร์ เป็นตน้ สามารถแบ่งออกได้ 5 ประเภท ดงั นี้

1) เครอื ข่ายทอ้ งถนิ่ (Local Area Network: LAN)
2) ระบบเครอื ขา่ ยระดับเมือง (Metropolitan Area Network: MAN)
3) ระบบเครือขา่ ยระยะไกล (Wide Area Network: WAN)
4) ระบบเครอื ข่ายอนิ ทราเน็ต (Intranet)
5) ระบบเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต (Internet)
2.ครูแสดงรปู ภาพตวั อยา่ งกระบบเครือข่ายประกอบ เพอ่ื เชอ่ื มโยงเข้าสเู่ นือ้ หาต่อไป

29

ข้ันสอน
3.ครูใช้เทคนิคการอธบิ ายเครือขา่ ยทอ้ งถ่นิ (Local Area Network: LAN) หรือระบบเครอื ข่ายเฉพาะบรเิ วณ โดยปกติแลว้
จะเปน็ ระบบเครือขา่ ยส่วนตัว (Private Network) ถ้าองคก์ รที่ต้องการใช้งานเครือขา่ ย ทาการสร้างเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรท์ ีเ่ ชอ่ื มตอ่
กันเป็นระบบเครือข่ายในระยะใกลๆ้ ซ่งึ จะชว่ ยให้เกดิ ประโยชน์แกอ่ งค์กรและธุรกิจตา่ งๆ มาก
4.ครูใช้เทคนคิ การจดั การเรยี นรแู้ บบอภปิ ราย (Discussion Method) คือกระบวนการท่ีผสู้ อนมุง่ ใหผ้ เู้ รียนมโี อกาสสนทนา
แลกเปลยี่ นความคดิ เห็นหรือระดมความคิดในเรอ่ื งชนดิ การเช่อื มตอ่ ของเครือข่ายท้องถนิ่ (LAN) สามารถจาแนกได้ 3 รูปแบบ โดย
การเชื่อมรูปแบบของการเชือ่ มโยงเครือขา่ ยแบบตา่ งๆ มีดงั นี้

4.1 เครอื ข่ายแบบเพียร์ทเู พียร์ (Peer-to-Peer) และข้อดแี ละขอ้ เสยี ของเครอื ขา่ ยแบบเพยี รท์ ูเพยี ร์

4.2 เครอื ขา่ ยแบบ Server-Based

4.3 เครือขา่ ยแบบ Client/Server และบอกข้อดีและขอ้ เสยี ของเครอื ข่ายแบบ Client/Server

5.ครูและผู้เรยี นสาธติ การทางานของระบบเครือขา่ ยแมน (Metropolitan Area Network: MAN) โดยใช้สื่อ Power Point
ประกอบ

30

6.ครูและผูเ้ รยี นสาธติ การทางานของระบบเครือข่ายแวน (Wide Area Network: WAN) โดยใช้ส่ือ Power Point ประกอบ

7.ครแู ละผเู้ รยี นช่วยกนั สาธติ การทางานของระบบเครอื ข่ายอนิ ทราเนต็ (Intranet) และบอกความแตกต่างของระบบ
อนิ เทอรเ์ น็ต กับระบบอนิ ทราเนต็ โดยใช้ส่ือ Power Point ประกอบ

8.ครแู ละผู้เรยี นอธบิ าย และสาธติ ารทางานของระบบเครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ (Internet) โดยใช้สื่อ Power Point ประกอบ

9.ครเู สนอแนะและเป็นที่ปรกึ ษาในการนาเอาแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซึ่งในกระบวนการทางานทกุ อาชีพ ซึ่ง
จะตอ้ งเน้นสัจจะซง่ึ เปน็ ตัวคณุ ธรรม จริยธรรม เน้นความซือ่ สตั ยส์ จุ รติ เนน้ ให้ชว่ ยกันคิด ชว่ ยกันทา เน้นใหร้ ูจ้ ักความพอดี
พอประมาณ มเี หตุผล ทงั้ หมดน้ีคอื หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชก้ ับการดาเนนิ ชีวติ ของทกุ คนได้

ขนั้ สรปุ และการประยุกต์

10.ครแู ละผเู้ รยี นสรุปโดยการถามตอบเกีย่ วกบั ประเภทของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และแสดงตัวอย่างประกอบ โดยเน้นให้
ผู้เรยี นปฏบิ ตั เิ พ่ือฝกึ ทกั ษะใหเ้ กดิ ความชานาญ

31

11.ผเู้ รียนทากจิ กรรมใบงาน แบบฝึกปฏิบัติ แบบประเมนิ ผลการเรยี น เพ่ือฝึกทักษะการเรยี นรู้ใหเ้ กดิ ความชานาญในการ

นาไปประยุกตใ์ ชต้ อ่ ไป

12.ผู้เรยี นรว่ มกนั ประเมนิ โดยพิจารณาจากขอ้ มูลความรู้ การใหเ้ หตผุ ล และความพร้อมในการอภปิ ราย

ช่อื ผู้เรยี น ประสบการณ์พืน้ ฐานการเรียนรู้ วิธีการเรยี นรู้
ความรู้ ทักษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้

1.หนงั สือเรียน วชิ าเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์เบ้อื งต้น ของสานกั พิมพเ์ อมพันธ์
2.รูปภาพ
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.แผ่นใส
5.สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส,์ PowerPoint
6.แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้

หลักฐาน

1.บันทึกการสอน
2.ใบเช็ครายช่อื
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวัดผลและการประเมินผล

วิธวี ดั ผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมนิ กจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรมนาความรู้ และแบบประเมนิ คา่ นยิ ม 12

ประการ
6. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ
7. การสังเกตและประเมนิ พฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครือ่ งมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยคร)ู
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยผเู้ รยี น)
4. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมินกิจกรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ และแบบประเมินค่านิยม 12 ประการ
6. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ
7. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผเู้ รียนรว่ มกนั ประเมนิ

32

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มีช่องปรับปรุง
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ขนึ้ ไป)
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผา่ น คอื 50%
5. แบบประเมินกจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ และแบบประเมนิ ค่านิยม 12 ประการ

ต้องไม่มชี ่องปรบั ปรุง
6. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ มเี กณฑ์ผา่ น 50%
7 แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขนึ้ อยู่กบั การประเมนิ ตาม
สภาพจรงิ

กจิ กรรมเสนอแนะ

1.ครูแนะนาให้ฝกึ ปฏิบตั ทิ ากจิ กรรมใบงาน และอ่านทบทวนเนอื้ หา
2.ทาแบบฝกึ ปฏบิ ตั ดิ ้วยตนเองใหเ้ ขา้ ใจ เพื่อใหส้ ามารถนาไปใชง้ านได้

บนั ทึกหลังการสอน

ข้อสรุปหลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปญั หาท่พี บ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ญั หา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

33

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 6 หนว่ ยท่ี 3

รหสั 20204-2005 เครือขา่ ยคอมพิวเตอรเ์ บอ้ื งตน้ (2-2-3) สอนครง้ั ท่ี 6 (16-18)

ชื่อหน่วย/เรอ่ื ง ประเภทของเครอื ขา่ ย จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคัญ

ในปจั จุบันเปน็ โลกของขอ้ มลู ข่าวสารทางคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ ตา่ งก็มกี ารเช่อื มโยงเข้าดว้ ยกันอย่างมากมาย การ
เชื่อมโยงคอมพวิ เตอร์เขา้ ด้วยกัน ทาใหก้ ารทางานหรือการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั มคี วามสะดวกมากขน้ึ เชน่ การเชื่อมโยงของตู้ ATM
หรอื การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ของธนาคารทั่วประเทศ

รปู แบบการเช่ือมต่อคอมพิวเตอรจ์ งึ มคี วามสาคญั เป็นอยา่ งย่ิง เปน็ พน้ื ฐานการเช่ือมตอ่ คอมพวิ เตอรจ์ ากคอมพวิ เตอร์เพยี ง 2
เครอื่ ง จนในปัจจุบนั เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ทุกเคร่อื งสามารถเชอ่ื มต่อเข้ากันได้กบั เครือ่ งคอมพวิ เตอรเ์ ครอื่ งอน่ื ๆ ทว่ั โลก

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
2 บอกรูปแบบการเชื่อมตอ่ เครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ ต่ละประเภทได้
3 อธบิ ายรูปแบบการเชือ่ มต่อเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรไ์ ด้
3.มกี ารพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผสู้ าเร็จการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการ
อาชวี ศกึ ษา ท่ีครูสามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอื่ ง
3.1 ความมมี นษุ ยสัมพันธ์
3.2 ความมีวนิ ยั
3.3 ความรับผดิ ชอบ
3.4 ความซือ่ สตั ย์สุจรติ
3.5 ความเชือ่ มนั่ ในตนเอง
3.6 การประหยัด
3.7 ความสนใจใฝร่ ู้
3.8 การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนนั
3.9 ความรักสามคั คี
3.10 ความกตัญญกู ตเวที

สมรรถนะรายวชิ า
1.แสดงความรเู้ ก่ียวกับหลักการทางาน และกระบวนการของระบบเครอื ขา่ ย
2.ใชอ้ ปุ กรณ์และเชื่อมต่อระบบเครอื ข่ายเบอื้ งต้นในการปฏิบตั ิงาน
3.ประยกุ ตใ์ ชง้ านเครือขา่ ยในการปฏิบัตงิ านขององคก์ ร

เน้ือหาสาระ

2 ลักษณะการเชือ่ มตอ่ ของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
3 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์

กจิ กรรมการเรยี นรู้

ขนั้ นาเข้าสู่บทเรียน
1.ครูใช้เทคนคิ การสอนแบบ Lecture Method การจดั การเรยี นรแู้ บบบรรยาย คอื กระบวนการเรยี นรู้ท่ีผู้สอนเป็นผู้
ถ่ายทอดความรใู้ ห้แกผ่ เู้ รยี นโดยการพูดบอกเล่า อธิบายลักษณะการเชอ่ื มต่อเครอื ข่าย หมายถึง การสร้างเสน้ ทางการเช่อื มต่อ
ระหว่างคอมพิวเตอร์ดว้ ยกนั หรือเรียกว่าลงิ ค์ (Link) เชื่อมโยงระหวา่ งอุปกรณ์ให้สามารถส่อื สารกนั ได้ ซึ่งเป็นเรื่องท่ผี ้สู อนได้

34

เตรยี มการศกึ ษาคน้ ควา้ มาเปน็ อยา่ งดี ผ้เู รยี นเปน็ ฝา่ ยรบั ฟงั และจดบันทกึ สาระสาคญั ในขณะทฟ่ี ังบรรยาย และเปดิ โอกาสให้
ซักถามแสดงความคดิ เห็นได้

2.ครแู สดงลกั ษณะการเชอ่ื มตอ่ ของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ และรปู แบบการเชอ่ื มต่อเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์
บางส่วนใหผ้ เู้ รยี นดู เพอื่ เชอ่ื มโยงเขา้ ส่บู ทเรียนตอ่ ไป

ขั้นสอน

3.ครใู ชเ้ ทคนิคการจัดการเรียนร้แู บบอภปิ ราย (Discussion Method) เพอื่ ม่งุ ให้ผเู้ รยี นมีโอกาสสนทนาแลกเปล่ยี นความ
คิดเห็นหรอื ระดมความคิดในเร่ืองลกั ษณะการเชอ่ื มตอ่ ของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ซ่งึ มีอยู่ 2 ลักษณะได้แก่ 1) การเชือ่ มตอ่ เครอื ขา่ ย
แบบจุดตอ่ จุด (Point to Point) ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ของการเชอ่ื มตอ่ เครอื ข่ายแบบจุดตอ่ จุด (Point to Point)

2) การเชื่อมต่อแบบหลายจุด (Multi-Point) ข้อดแี ละข้อเสียของการเชอื่ มต่อเครือข่ายแบบหลายจดุ (Multi-Point)

4.ครอู ธบิ ายรปู แบบการเช่ือมตอ่ เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ โดยรปู แบบการเชือ่ มตอ่ เครอื ข่าย โทโพโลยี
(Topologies) เปน็ การเชื่อมตอ่ เครอื ขา่ ยทางกายภาพ ประกอบด้วยการเชือ่ มต่อ 5 รูปแบบ ไดแ้ ก่

1) โทโพโลยแี บบบสั (Bus Topology)
2) โทโพโลยีแบบดาว (Star Topology)
3) โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
4) โทโพโลยแี บบเมช (Mesh Topology)
5) โทโพโลยแี บบทรี (Tree Topology)
5.ครูอธบิ ายรปู แบบการเชอ่ื มตอ่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยใชส้ อ่ื Power Poiint ประกอบ
6.ผเู้ รยี นศกึ ษาค้นคว้าและวเิ คราะห์ลักษณะการเช่อื มต่อกบั เครอื ข่าย Wi-Fi บน Windows Phone
7.ผู้เรียนคดิ วา่ ลกั ษณะการเช่อื มตอ่ เครือขา่ ยชนิดใดดที สี่ ดุ เหมาะสมทสี่ ุดในการนาไปใชง้ าน และคิดวา่
ลักษณะการเชอ่ื มตอ่ เครอื ขา่ ยชนดิ ใดทไี่ มค่ วรนามาใชใ้ นการทางาน
8.ผเู้ รียนปฏิบัติกจิ กรรม ดงั ต่อไปนี้
8.1 แบ่งผู้เรียนออกเปน็ กลุ่มละ 4-5 คน ตามสภาพการเรียนทแี่ ทจ้ ริง
8.2 แต่ละกลุม่ ช่วยกนั ระดมความคิดเหน็ วา่ ถา้ ในกรณที ่ีผเู้ รียนจดั ตั้งบรษิ ทั เปน็ ของตนเอง และมหี ลายๆ แผนกอยใู่ นบรษิ ัท
แล้วผเู้ รียนจะใชว้ ิธีการเช่ือมตอ่ เครือขา่ ยแบบใด อยา่ งไร และเพราะอะไร
8.3 วาดภาพ หรอื แสดงรูปภาพประกอบ

35

8.4 จัดทาเปน็ เลม่ รายงาน
8.5 นาเสนอผลงานหน้าช้ันเรยี น
8.6 สรุปและประเมนิ ผลงาน
9.ผ้เู รียนศึกษารูปแบบและจาลองโดยแสดงการสาธิตการเชอ่ื มต่อเครอื ข่ายโทโพโลยแี ตล่ ะประเภทและบอกข้อดีข้อเสียของ
แตล่ ะรปู แบบประกอบ (วาดภาพ หรอื แสดงรปู ภาพประกอบการสาธิต)
10.ผู้เรียนช่วยกันเสนอความคดิ เหน็ วา่ รปู แบบของเครอื ขา่ ยทอ้ งถน่ิ แบบใด เหมาะกบั การใชง้ านในองค์กรประเภทใด โดย
ช่วยกนั ยกตวั อย่างและแสดงความคิดเห็นวา่ เพราะอะไร อยา่ งนอ้ ย 2 ตัวอย่าง
11.ครูเน้นผเู้ รยี นให้มีความละเอียดรอบคอบ มีความอดทน มคี วาเขม้ แข็ง มคี วามเพยี รพยายามใน
การฝกึ ทักษะปฏบิ ัติงานได้จรงิ ดา้ นคอมพวิ เตอรไ์ ด้ นอกจากนั้นยังให้ระมดั ระวงั ความปลอดภยั ในการฝกึ ปฏิบตั งิ านทีอ่ าจผดิ พลาด
เกดิ ขน้ึ ไดโ้ ดยไมไ่ ดต้ ั้งใจ เพราะในการประกอบอาชีพจริง ๆ ดังนน้ั ผเู้ รยี นตอ้ งฝกึ ทกั ษะความชานาญเหลา่ นใี้ หม้ ีประสทิ ธิภาพ เพอ่ื
สร้างรายได้ทีด่ ีในอนาคตต่อไป และพรอ้ มรับผลกระทบและความเปลย่ี นแปลงทจ่ี ะเกิดข้นึ ในอนาคต คอื ทาให้เขม้ แขง็ ก็จะทาให้
ครอบครัวมเี งนิ ออมอันเกดิ จากการทางานของเราได้ ถอื เปน็ เง่อื นไขสาคญั คือเร่ืองคุณธรรม ลกั ษณะดงั กล่าวน้ีก็จะเปน็ การสร้าง
ภูมิคุม้ กนั ทด่ี ีในตัวเอง รวมท้ังมคี วามอดทน มีความเพยี รพยายามในการทามาหาเลี้ยงชพี ในชวี ติ ประจาวันได้ในอนาคตต่อไปเปน็
อย่างดี

ขน้ั สรปุ และการประยุกต์

12.สรุปเน้ือหาโดยใหผ้ เู้ รยี นฝึกทกั ษะการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมออกแบบสอบถาม ทส่ี ามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวันได้