การ สื่อสาร การตลาดแบบ บูร ณา การ pdf

1 รายงานการศกึ ษาจานวนและรายได้ของนักท่องเทีย่ ว ขององคก์ ารการท่องเทีย่ วโลกแห่งสหประชาชาติ พ.ศ. 2562 (UNWTO) 6

แผนพัฒนาการทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

การจัดทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) ได้คานึงถึงบริบทของ
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย โดยการศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์และทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยว
เพ่ือนาไปสู่การจัดทาแผน จะมีกรอบการดาเนินงาน 6 ข้ันตอนหลัก ได้แก่ 1) การประเมินผลการดาเนินงาน
ตามแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560 – 2564) ระยะครึ่งแผนแรก 2) การศึกษา
สถานการณ์ปัจจุบันด้านการท่องเท่ียวของประเทศไทยและของโลก 3) การศึกษาแนวโน้มการท่องเที่ยวของ
ประเทศไทยและของโลก 4) การศึกษาทิศทางการพัฒนาการท่องเท่ียวของประเทศต้นแบบรายสาคัญ
5) การทบทวนและวิเคราะห์ความสอดคล้องของนโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ระดับชาติท่ีเกี่ยวข้อง
กับการท่องเที่ยว และ 6) การรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรม
การท่องเที่ยว ผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึก การประชุมกลุ่มย่อย การประชุมเชิงปฏิบัติการ และการประชุม
เพอื่ สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจต่อแผนพฒั นาการท่องเท่ียวแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

แผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) จึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญแก่
กำรพลิกฟ้ืนกำรท่องเที่ยวไทยเพ่ืออนำคตท่ีดีกว่ำสำหรับทุกคน (Building Forward a Better Tourism
For All) โดยคานึงถึงประโยชนข์ อง 3 กลุม่ หลัก ดังต่อไปน้ี

1) ประชำชน (People): การท่องเที่ยวไทยจะมุ่งเน้นไปท่ีผลกระทบเชิงบวกต่อสังคม (Social
Impact) ท่ีประชาชนไทยและนักท่องเท่ียวจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน คือเร่ืองความสะอาด ปลอดภัย
และการได้รับมาตรฐานการท่องเท่ียว การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมให้มีความเชื่อมโยงและยกระดับ
สาธารณูปโภคให้มีคุณภาพตลอดเส้นทาง การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย
รวมไปถึง การใช้ข้อมูลด้านการท่องเท่ียวจากศูนย์ข้อมูลด้านการท่องเที่ยว (One – Stop Tourism Database)
เพื่อนาไปพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วต่อไป

2) รำยได้ (Profits): การท่องเท่ยี วไทยยังคงมุ่งเน้นไปที่ผลกระทบทางเศรษฐกิจ (Economic Impact)
มุ่งเน้นไปท่ีการดึงดูดนักท่องเที่ยวคุณภาพสูงจากหลากหลายประเทศอย่างสมดุล โดยพัฒนาการตลาด
การท่องเท่ียวไทยให้มีความล้าสมัย ส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวที่หลากหลายและมีศักยภาพ และสร้าง
ประสบการณ์การท่องเที่ยวของนักท่องเท่ียวให้น่าประทับใจ มีคุณค่า อีกท้ัง มุ่งเน้นไปท่ีการลดการรั่วไหลของ
รายได้จากการท่องเทยี่ ว และการกระจายความเจริญจากการท่องเท่ียวไปยังทุกพ้ืนท่ีทั่วประเทศไทย รวมไปถึง
การให้ความสาคัญแก่การฟื้นฟูและส่งเสริมภาคการผลิตในอุตสาหกรรม การท่องเท่ียวให้กลับมา
มีขีดความสามารถในการแข่งขันระดบั โลก

3) ควำมยั่งยืน (Planet): การท่องเท่ียวไทยจะมีส่วนช่วยในการรักษาความอุดมสมบูรณ์ของ
ส่ิงแวดล้อมและการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม (Environmental & Cultural Impact)
โดยการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการบริหารจัดการจานวนนักท่องเท่ียวอย่างมีประสิทธิภาพและ
ตอ่ ยอดทรพั ยส์ นิ ทางวัฒนธรรมไทยและเอกลักษณ์ไทยใหเ้ ข้ากบั ยุคสมัยอยา่ งยัง่ ยืน

7 แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

กำรประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยใี นกำรบรหิ ำร ัดกำร กำรท่องเทีย่ วไทยมีควำมปลอดภยั สะอำด
นกั ทอ่ งเที่ยวอย่ำงมีประสิท ภิ ำพ และได้รบั มำตร ำน

(กล 4.3) (กล 2.1)

กำรตอ่ ยอดสนิ ค้ำอัตลัก ณ์และ ประเทศไทยมีศูนยข์ อ้ มลู
ภมู ปิ ญญำไทยใหเ้ ขำ้ กับยคุ สมยั อยำ่ งย่ังยืน กำรทอ่ งเท่ียว

(กล 4.2) (กล 2.2)

กำรลดผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อมและ Building Forward โครงสร้ำงพนื ำนดำ้ นกำรเดินทำง
แหลง่ ท่องเท่ยี ว รรมชำติ a Better Tourism มีควำมเชื่อมโยงและสำ ำรณปู โภค
ทม่ี คี ุณภำพตลอดเสน้ ทำง
(กล 4.1) For All
(กล 2.3)
กำรท่องเทีย่ วไทยมคี วำมสมดลุ
ทงั ดำ้ นอปุ สงค์และอุปทำน บุคลำกรในภำคกำรทอ่ งเท่ยี ว
มศี ักยภำพ
(กล 1.3)
(กล 2.4)
รำยได้ ำกกำรท่องเท่ียวหมนุ เวียน
ภำยในประเทศและกระ ำยตัวอย่ำงท่วั ถง นกั ทอ่ งเทย่ี วได้รับประสบกำรณ์
ท่ีน่ำประทบั ใ มคี ุณค่ำ
(กล 1.2)
(กล 3.1)
ภำคกำรผลติ พรอ้ มรับกำรเปลี่ยนแปลง
และประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี กำรสง่ เสรมิ รูปแบบกำรทอ่ งเทีย่ ว
ศักยภำพสูงทีห่ ลำกหลำยและสรำ้ งสรรค์
(กล 1.1)
(กล 3.2)

กำรตลำดกำรท่องเทีย่ วไทย
มคี วำมลำสมัย ตรงใ นักทอ่ งเทีย่ ว

(กล 3.3)

รูปที่ 0-1: กรอบการฟนื้ ฟอู ตุ สาหกรรมการท่องเท่ียวไทยเพ่ืออนาคตทดี่ ีกวา่ (Build Back Better Future tourism)

ทั้งนี้ แผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) มีวิสัยทัศน์ในการพัฒนา
และขับเคลื่อนการท่องเที่ยวอย่างครอบคลุมและท่ัวถึง ภายในระยะเวลา 5 ปี คือ “กำรท่องเที่ยวของประเทศไทย
เป็นอุตสำหกรรมที่เน้นคุณค่ำ มีควำมสำมำรถในกำรปรับตัว เติบโตอย่ำงยั่งยืนและมีส่วนร่วม
(Rebuilding High Value Tourism Industry with Resilience, Sustainability and Inclusive
Growth)” โดยการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยในอนาคตนับจากนี้ จะมุ่งเน้นไปท่ีการดาเนินการ
เพื่อพัฒนาและยกระดับอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวให้มีความเข้มแข็ง ต่อยอดการพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส
ในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอุตสาหกรรมให้สอดรับกับภาวะความปกติถัดไป (Next Normal) เพื่อการเติบโต
อย่างครอบคลุม (Inclusive Growth) ด้วยการพัฒนาแบบองค์รวม (Holistic Approach) โดยจะเป็นการพลิกโฉม
การท่องเทยี่ วของไทยไปอยา่ งสนิ้ เชิง ซง่ึ มีรายละเอียด ดงั น้ี

เป้ำหมำยของแผนพัฒนำกำรทอ่ งเท่ียวแห่งชำติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)
เปำ้ หมำยหลกั
1) การท่องเทยี่ วไทยมคี วามเข้มแข็งและสมดลุ (Resilience & Re-balancing Tourism)
2) การยกระดบั ความเชื่อมโยงและโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการทอ่ งเท่ยี ว (Connectivity)
3) การสร้างความเชื่อมั่นและมอบประสบการณ์ทอ่ งเที่ยวคุณค่าสงู (Entrusted Experience)
4) การบริหารจดั การการท่องเท่ียวอย่างยง่ั ยนื (Sustainable Development)
เปำ้ หมำยรอง
1) การพฒั นาปัจจยั สนบั สนุนดา้ นการท่องเท่ียวให้มคี ุณภาพสูงสาหรับทุกคน (Supporting Elements)

2) เทคโนโลยดี จิ ิทัลและโครงสรา้ งพ้ืนฐานดา้ นข้อมูลพร้อมสง่ เสริมการท่องเทย่ี ว (ICT Readiness)

3) ความพร้อมในการรับมือและจดั การกับความเสีย่ งทุกรปู แบบอยูเ่ สมอ (Risk Readiness)

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 8

พัน กิ
1) เสริมสร้างความเข้มแขง็ ของภาคการผลติ (Supply-side) ในอตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ ว ปรับสมดุล
และกระจายความเจริญอย่างครอบคลุม ลดการร่ัวไหลตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) เพ่ือให้
พร้อมรับมือกบั ความเปล่ียนแปลงทุกรปู แบบ
2) พัฒนาปัจจัยพ้ืนฐานของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ในด้านมาตรฐานสถานประกอบการ
แหลง่ ท่องเท่ยี ว และบุคลากร และความพรอ้ มของโครงสรา้ งพนื้ ฐานคมนาคมขนส่ง สาธารณูปโภค
ส่งิ อานวยความสะดวก และบุคลากรให้มีคณุ ภาพในระดบั สากล
3) พัฒนาและยกระดับประสบการณ์การท่องเที่ยวตลอดเส้นทางอย่างครบวงจร ด้วยรูปแบบ
การท่องเท่ียวใหม่ท่ีหลากหลายและการส่ือสารการตลาดท่ีตรงใจ โดยมุ่งเน้นนักท่องเที่ยว
เป็นศูนย์กลาง
4) ส่งเสริมความยั่งยืนของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว บนพ้ืนฐานของความสมบูรณ์ขอ ง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อัตลักษณ์ของสังคมและชุมชน ศิลปวัฒนธรรม และ
การบรหิ ารจัดการนกั ท่องเที่ยวอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ตัวชวี ดั หลัก ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570)
1) สัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศด้านการท่องเที่ยวต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
ไม่ต่ากวา่ รอ้ ยละ 25
2) จานวนธรุ กิจบรกิ ารทอ่ งเท่ียวและแหล่งท่องเท่ียวได้รับรองมาตรฐานการท่องเที่ยวไทย (Thailand
Tourism Standard) และอาเซียน (Asean Standard) เพิม่ ข้นึ ปีละไมต่ ่ากว่า 3,000 ราย
3) จานวนวนั พกั และคา่ ใชจ้ า่ ยโดยเฉลย่ี ของนกั ทอ่ งเทยี่ วชาวไทยและต่างชาติ
 ระยะเวลาพานกั เฉล่ยี ของนกั ทอ่ งเท่ยี วชาวตา่ งชาติไมต่ ่ากว่า 10 วนั
 คา่ ใชจ้ า่ ยโดยเฉลย่ี ของนักท่องเทย่ี วต่างชาติเพิม่ ขนึ้ ร้อยละ 5 ตอ่ ปี
 ระยะเวลาพานักเฉลยี่ ของนักทอ่ งเทยี่ วชาวไทยไมต่ ่ากวา่ 3 วนั
 ค่าใชจ้ ่ายเฉล่ียของนกั ทอ่ งเทย่ี วชาวไทยเพ่มิ ขนึ้ ร้อยละ 7 ตอ่ ปี
4) สดั ส่วนจานวนนกั ท่องเทย่ี วกลุ่มเดินทางคร้งั แรก (First Visit) และกลุม่ เดินทางซา้ (Revisit) เป็น 40:60
5) อนั ดับผลการดาเนนิ งานภาพรวมตามเป้าหมายการพัฒนาอยา่ งย่ังยนื (SDGs) อยู่ภายใน 35 อันดับแรก
6) อันดับขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านการท่องเท่ียวของประเทศไทย ด้านความย่ังยืนของ
สง่ิ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติ โดย TTCI อยู่ 1 ใน 80

ยุท ศำสตร์กำรพฒั นำ
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และพันธกิจ ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี 3

(พ.ศ. 2566 – 2570) จึงไดก้ าหนดยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาออกเปน็ 4 ยทุ ธศาสตร์ ดังนี้
ยุท ศำสตร์ท่ี 1 เสริมสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกันของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย

(Resilient Tourism) ประกอบดว้ ย 3 กลยทุ ธ์ ได้แก่
 กลยุท ์ที่ 1.1: สร้างความเข้มแข็งให้กับภาคการผลิตและผลักดันนวัตกรรมเพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกัน
พรอ้ มรับมอื กับความเปลยี่ นแปลงทุกรปู แบบ (Resilient Supply – Side)
 กลยุท ์ท่ี 1.2: กระจายรายได้และความเจริญจากการท่องเท่ียวอย่างทั่วถึงทุกพื้นที่ และ
ลดการร่ัวไหลในภาคการท่องเท่ยี วอยา่ งเปน็ ธรรม (Equitable Tourism)
 กลยุท ์ท่ี 1.3: ส่งเสริมการท่องเที่ยวคุณภาพท่ีมุ่งเน้นการสร้างสมดุลให้แก่อุตสาหกรรม
การทอ่ งเที่ยวทงั้ ด้านอปุ สงค์และอุปทาน (Quality – Based Tourism)

9 แผนพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

ยุท ศำสตร์ท่ี 2 พัฒนาปัจจัยพ้ืนฐานของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพสูง (Quality
Tourism) ประกอบดว้ ย 4 กลยุทธ์ ได้แก่

 กลยุท ์ท่ี 2.1: พัฒนาความปลอดภัย สุขอนามัย และมาตรฐานการท่องเที่ยวตลอดเส้นทาง
ท่องเท่ยี ว เพื่อสร้างความมนั่ ใจแกน่ กั ทอ่ งเท่ียว (Global Standardization)

 กลยุท ์ที่ 2.2: ยกระดับโครงสร้างพ้ืนฐานด้านดิจิทัลและข้อมูลสารสนเทศ (Digital & Data
Infrastructure)

 กลยุท ์ที่ 2.3: พัฒนาและเชื่อมโยงโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการเดินทาง และสาธารณูปโภค
เพ่ือรองรบั นักท่องเที่ยวทกุ กล่มุ อยา่ งทว่ั ถึง (Connectivity & Universal Design)

 กลยุท ์ท่ี 2.4: พัฒนาศักยภาพของบุคลากรและผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวให้มี
คณุ ภาพและมีขีดความสามารถในการแข่งขนั (Thai-Class Potential)

ยุท ศำสตร์ท่ี 3 ยกระดับประสบการณ์ด้านการท่องเท่ียว (Tourism Experience) ประกอบด้วย
3 กลยุทธ์ ได้แก่

 กลยุท ์ท่ี 3.1: สร้างประสบการณ์การท่องเท่ียวอันน่าประทับใจท่ีมีคุณค่าเพื่อตอบสนอง
ความต้องการของนกั ท่องเท่ยี วเฉพาะกลุ่ม (Value - Based Tourism)

 กลยุท ์ที่ 3.2: ส่งเสริมรูปแบบการท่องเที่ยวศักยภาพสูงที่หลากหลายและสร้างสรรค์ของไทย
(High-Potential and Creative Tourism)

 กลยุท ์ท่ี 3.3: ส่งเสริมการตลาดเชิงรุกมุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายเชิงคุณภาพด้วยเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมท่ที นั สมยั และมปี ระสทิ ธภิ าพ (Quality - Based Marketing)

ยทุ ศำสตร์ที่ 4 ส่งเสริมการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน (Sustainable Tourism) ประกอบด้วย
3 กลยุทธ์ ไดแ้ ก่

 กลยุท ์ที่ 4.1: เสริมสร้างความสมบูรณ์แก่สิ่งแวดล้อมและแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ (Enriched
Environment)

 กลยุท ์ท่ี 4.2: ส่งเสริมการอนุรักษ์และต่อยอดทรัพย์สินทางวัฒนธรรมและเอกลักษณ์
ความเป็นไทย ด้วยการประยุกต์ใหเ้ ขา้ กบั ยคุ สมัย (Thai Cultures and Identities)

 กลยุท ์ท่ี 4.3: ส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการนักท่องเท่ียว
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (Effective Tourists Management)

กำรขับเคลือ่ นแผนพัฒนำกำรท่องเที่ยวแห่งชำติสู่กำรปฏบิ ตั ิและกำรติดตำมประเมนิ ผล
การขับเคล่ือนแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) ไปสู่การปฏิบัติ

อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จาเป็นต้องมีการบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยสามารถแบ่งหน่วยงานและ
บทบาทท่ีเก่ียวข้องในการประสานแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติฉบับน้ีสู่การปฏิบัติ ออกเป็น
3 ระดบั ได้แก่ 1) ระดับนโยบาย 2) ระดับพนื้ ท่ี และ 3) ระดบั ชุมชน ดงั นี้

 หนว่ ยงำนระดับนโยบำย ประกอบด้วย คณะกรรมกำรนโยบำยกำรท่องเท่ียวแห่งชำติ (ท.ท.ช.)
เ ป็ น ห น่ ว ย ง า น ห ลั ก ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า แ ล ะ ก า ห น ด น โ ย บ า ย แ ล ะ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ พั ฒ น า
การทอ่ งเที่ยว รวมทั้งใหค้ วามเหน็ และกากบั ดูแลนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทย
เพ่ือเสนอต่อคณะรั มนตรีเพื่อพิจารณา โดยกระทรวงกำรท่องเท่ียวและกีฬำในฐานะเลขานุการ
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ ทาหน้าท่ีในการประสานนโยบายและข้อสั่งการในระดับนโยบาย
ไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนและนาเสนอข้อคิดเห็นและปัญหา
อุปสรรคของหน่วยงานต่าง ๆ ต่อคณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ นอกจากน้ัน การขับเคลื่อน

แผนพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 10

แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับน้ียังจาเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ
ในการขับเคลื่อนการดาเนินงานตามแนวทางการพัฒนาในแต่ละยุทธศาสตร์อีกด้วย ทั้งน้ี หน่วยงำนหลัก
ในแต่ละยุท ศำสตร์จะทาหน้าท่ีประสานความร่วมมือกับหน่วยงานสนับสนุนต่าง ๆ ในระดับปฏิบัติการและ
เป็นผู้สนับสนุนการพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี โดยมีการกาหนดบทบาทในการพัฒนาและแนวทางขับเคลื่อน
แผนงาน/โครงการตามในแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติฉบับนี้ และเผยแพร่ผลการดาเนินงานให้
สาธารณชนทราบเปน็ ระยะ ๆ อย่างสม่าเสมอ

 หน่วยงำนระดับพืนที่ ประกอบด้วย คณะกรรมกำรพัฒนำกำรท่องเท่ียวประ ำ
เขตพัฒนำกำรท่องเท่ียวแต่ละเขต คณะกรรมกำรบริหำรงำน ังหวัดแบบบูรณำกำร และคณะกรรมกำร
บริหำรงำนกลุ่ม ังหวัดแบบบูรณำกำร รวมทังหน่วยงำนท่ีเก่ียวข้องทังภำครั และภำคเอกชนท่ีมีภารกิจ
เกี่ยวกบั การพฒั นาการทอ่ งเที่ยว เช่น หน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจในแต่ละจังหวัด สภาอุตสาหกรรมท่องเท่ียว
จังหวดั สมาคมธุรกจิ การทอ่ งเท่ยี ว สถาบนั การศึกษา องค์กรระหว่างประเทศด้านการท่องเท่ียว รวมท้ังองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นทุกระดับ จะมีหน้าท่ีเป็นผู้ขับเคลื่อนนโยบาย ำกคณะกรรมกำรนโยบำยกำรท่องเท่ียว
แห่งชำติและคณะรั มนตรี หรือเป็นผู้ขับเคลื่อนนโยบำย ำกคณะกรรมกำรนโยบำยท่ีเกี่ยวข้อง เช่น
คณะกรรมกำรพัฒนำกำรท่องเที่ยวประ ำเขตพัฒนำกำรท่องเที่ยวแต่ละเขต เป็นต้น ไปสู่กำรปฏิบัติ
ใน 3 ระดับ/ส่วน ได้แก่ 1) สว่ นภูมิภาค 2) สว่ นท้องถ่นิ และ 3) ส่วนการดาเนินงานของภาคเอกชน

 หน่วยงำนระดบั ชมุ ชน หมายถงึ กลมุ่ /องค์กร หรอื เครือขา่ ยองค์กร เช่น กลมุ่ สหกรณ์หรือวิสาหกิจชุมชน
เป็นต้น ซ่งึ ไดร้ ับการสนับสนนุ ให้เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาการท่องเที่ยวของประเทศในบริบททีเ่ หมาะสม

11 แผนพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

แผนพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 12

ส่วนที่ 1 บทนำ

อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวไทยมีบทบาทความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก
เน่ืองจากอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อเศรษฐกิจ สังคม
สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างย่ิงเป็นหน่ึงในแหล่งรายได้ท่ีสาคัญที่นามาซ่ึงเงินตราต่างประเทศ
กระแสเงนิ ตราไหลเวียนในประเทศ การสร้างงาน และการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ
อีกทั้งยังมีส่วนสาคัญท่ีทาให้เกิดการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานของการคมนาคมและขนส่ง รวมถึงการค้า
และการลงทุนที่ช่วยเพ่ิมการขยายตัวและเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
อ้างอิงจากบัญชีประชาชาติด้านการท่องเท่ียว (Tourism Satellite Account: TSA) ในปี พ.ศ. 2562
อตุ สาหกรรมการท่องเทีย่ วมผี ลิตภัณฑม์ วลรวมภายในประเทศด้านการท่องเที่ยว (Tourism Gross Domestic
Product: TGDP) มากถึง 3,005,552 ล้านบาท หรือเท่ากับสัดส่วนร้อยละ 17.79 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ดังนั้น เพื่อให้อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวมีการพัฒนาและ
กระจายผลประโยชน์ไปยังภาคส่วนต่าง ๆ ของประเทศได้อย่างต่อเน่ืองและกว้างขวาง จึงจาเป็นต้องพัฒนา
และจัดทาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) ให้มีความสมบูรณ์ ต่อเนื่อง
และทันต่อเหตุการณ์

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าการดาเนินงานด้านการท่องเท่ียวในระยะท่ีผ่านมาประเทศไทยในภาพรวม
จะประสบผลสาเรจ็ ในด้านการเพ่ิมปริมาณนักท่องเท่ียวและรายได้จากการท่องเที่ยว แต่จากการศึกษาค้นคว้า
และวิจัยทีผ่ า่ นมา พบวา่ ปัจจบุ ันอุตสาหกรรมการทอ่ งเท่ยี วไทยยังคงประสบปัญหา อุปสรรค และความท้าทาย
สาคัญหลายประการ และเม่ือเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2562
จึงทาให้ปัญหาในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวไทยเด่นชัดยิ่งข้ึน อาทิ การพ่ึงพานักท่องเที่ยวต่างชาติมากเกินไป
จานวนนักท่องเทยี่ วและรายได้ยังคงกระจุกตัวอยู่ในเมืองท่องเที่ยวหลัก ภาพลักษณ์การท่องเที่ยวในแง่ลบของ
ประเทศไทย เช่น การเป็นจุดหมายปลายทางราคาถูก ปัญหาด้านอาชญากรรม เป็นต้น ทาให้ไม่สามารถ
สรา้ งความเชอื่ มนั่ ให้กับนักท่องเท่ียวได้อย่างยั่งยืน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม สังคม
และสิ่งแวดล้อม การขาดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่ การทาการตลาดด้านการท่องเท่ียวที่ไม่คานึงถึง
ความยั่งยืนและความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานและ
สาธารณูปโภคท่ีสนับสนุนการท่องเท่ียว เช่น ระบบการเดินทางและขนส่งมวลชนที่เข้าถึงแหล่งท่องเท่ียวและ
เช่ือมโยงระหว่างแหล่งท่องเท่ียวอย่างไม่ครอบคลุม เป็นต้น ขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเท่ียวของ
สถานท่ีต่าง ๆ ข้อจากัดในการพัฒนาและยกระดับบุคลากรด้านการท่องเที่ยว ความล้าสมัยและความขัดแย้ง
ของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว การขาดข้อมูลเชิงลึกเพ่ือการวิเคราะห์และวางแผนพัฒนา
การท่องเทีย่ ว ตลอดจนขาดการบรู ณาการการทางานร่วมกันของกลไกการบรหิ ารจดั การการท่องเทย่ี วทงั้ ระบบ

อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมที่มีความหลากหลายซับซ้อน โดยจะต้องคานึงถึง
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากหลายภาคส่วนในอุตสาหกรรมและข้ามอุตสาหกรรม ท้ังหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
ภาควิชาการ สมาคมท่ีเก่ียวกับการท่องเที่ยวต่าง ๆ และภาคประชาชน ยกตัวอย่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสาคัญ
ในภาคการทอ่ งเท่ียวของประเทศไทย คือ หน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่ส่งเสริมและกากับดูแลด้านการท่องเที่ยว
และกีฬา หน่วยงานในกลุ่มคมนาคมและขนส่ง หน่วยงานในกลุ่มโรงแรมและท่ีพัก หน่วยงานในกลุ่มการจัด
ประชุมและนิทรรศการ หน่วยงานในกลุ่มศิลปะและวัฒนธรรม หน่วยงานในกลุ่มทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม หน่วยงานในกลุ่มการปกครองและผังเมือง หน่วยงานในกลุ่มเทคโนโลยีและนวัตกรรม หน่วยงาน
ในกลุ่มการค้า อุตสาหกรรม และการเงิน หน่วยงานในกลุ่มการแพทย์และสุขภาพ หน่วยงานในกลุ่ม

13 แผนพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

สาธารณูปโภค หน่วยงานในกลุ่มการศึกษาและวิชาการ สมาคมการท่องเท่ียวทั้งในระดับประเทศและ
ระดับสากล เปน็ ตน้

หากพจิ ารณาถึงผทู้ ่มี สี ว่ นได้ส่วนเสียในอตุ สาหกรรมการท่องเที่ยวสามารถแบ่งได้เป็น 1) ผู้ท่ีมีส่วนได้
ส่วยเสยี ทำงตรง (Direct) โดยเริ่มตน้ ตั้งแต่หนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้องก่อนการเดินทางของนักท่องเที่ยว เช่น ธุรกิจ
นาเที่ยว สายการบิน ศนู ย์ข้อมลู เป็นต้น จากน้ันคือหน่วยงานการคมนาคมและขนส่ง การบริการท่ีพัก อาหาร
และเคร่ืองดื่ม ของที่ระลึกและงานหัตถกรรม ทรัพยากรการท่องเท่ียว ความบันเทิงต่าง ๆ ตลอดจนบริการ
สนับสนุน ซึ่งล้วนเป็นผู้ท่ีเกี่ยวข้องทางตรงตลอดเส้นทางการท่องเท่ียวของนักท่องเที่ยว 2) ผู้ท่ีมีส่วนได้
ส่วนเสียทำงอ้อม (Indirect) ประกอบไปด้วยผู้ที่เกี่ยวข้องค่อนข้างหลากหลายทั้งองค์กรสนับสนุน เช่น
กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น หน่วยงานเอกชน เช่น หอการค้า
ธนาคาร เปน็ ต้น หน่วยงานทดี่ แู ลสาธารณปู โภคต่าง ๆ ตลอดจนการสนับสนนุ โครงสรา้ งพนื้ ฐาน เช่น กระทรวง
คมนาคม การท่าเรือแห่งประเทศไทย ระบบสื่อสาร บริษัทนาเข้าสินค้าต่าง ๆ เป็นต้น ซึ่งผลกระทบของ
การดาเนินงานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวท้ังทางตรงและทางอ้อมส่งผลให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้
กาไร และค่าบริการต่าง ๆ ตลอดจนขยายผลทางเศรษฐกิจเกิดกระแสเงินหมุนเวียนไปยังภาคส่วนอ่ืน ๆ
เช่น โครงสร้างพื้นฐานคมนาคมและขนส่ง เกษตรกรรม เทคโนโลยีและนวัตกรรม สินทรัพย์ต่าง ๆ การศึกษา
การเงิน และการแพทย์และสขุ ภาพ เป็นตน้

รปู ท่ี 1-1: ผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียในอตุ สาหกรรมการท่องเที่ยวท้ังทางตรงและทางอ้อม

นอกจากน้ันสภาพแวดล้อมและบริบทต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ท้ังท่ีเป็นปัจจัยภายใน เช่น สถานการณ์การเมืองของประเทศ นโยบายของ
ภาครัฐ การปรับตัวของภาคเอกชน ความร่วมมือของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เป็นต้น และปัจจัยภายนอก เช่น
สภาวะการแข่งขันของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ความต้องการ และ
ความคาดหวงั ของนกั ท่องเท่ียว การเปลยี่ นแปลงโครงสร้างประชากรโลกท่ีปัจจุบันมีความหลากหลายของกลุ่ม
ประชากรมากขึ้น และประชากรมีแนวโน้มเข้าสู่สังคมสูงวัย แนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ที่ส่งผลต่ออุตสาหกรรมการท่องเท่ียว ความร่วมมือและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งในระดับภูมิภาคและ
ระดบั โลก รวมถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ที่ยังเร่งรัดให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม
ทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทางสังคมที่เรียกว่า “ความปกติใหม่” หรือ New

แผนพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 14

Normal ท่ีส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและความต้องการของนักท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวคานึงถึง
มาตรฐานความปลอดภัยและสขุ อนามยั มากขึ้น

ด้วยเหตุน้ี กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียว
แห่งชาติและหน่วยงานหลักในการส่งเสรมิ และสนับสนุนอตุ สาหกรรมการทอ่ งเท่ียวของไทยได้จัดทาแผนพัฒนา
การท่องเท่ียวแห่งชาติ เพื่อกาหนดกรอบทิศทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวของไทยให้ เกิดการพัฒนา
อย่างเป็นองค์รวม และเกิดการบูรณาการการทางานของทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องในการผลักดันให้มีการบริหาร
จัดการการท่องเท่ียว ในการน้ี เพื่อให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทยมีกรอบทิศทางการพัฒนา
อยา่ งต่อเน่อื ง สอดคล้องกับความท้าทายและสถานการณก์ ารทอ่ งเท่ยี วท่เี ปลี่ยนไป กระทรวงการท่องเที่ยวและ
กีฬาจึงได้จัดทาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) ขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ
สาคัญในการบริหารและพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศ ตามอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการนโยบาย
การท่องเที่ยวแห่งชาติ ท่ีกาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ พ.ศ. 2551 และท่ีแก้ไข
เพ่ิมเตมิ

15 แผนพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

แผนพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 16

สว่ นที่ 2 สถำนกำรณ์ แนวโนม้ และทิศทำงกำรพัฒนำกำรทอ่ งเท่ียว

การจัดทาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) ฉบับนี้ ได้มีการศึกษา
และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันของการท่องเที่ยว แนวโน้ม และทิศทางการพัฒนา
การท่องเที่ยว เพ่ือใชป้ ระกอบการทาแผนฯ มรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้

1. สภาพแวดลอ้ มและบรบิ ทการทอ่ งเที่ยวของไทยและของโลก
2. นโยบายและแผนยทุ ธศาสตรท์ ี่สาคญั ด้านการท่องเทีย่ ว
3. ผลการดาเนินงานตามแผนพฒั นาการท่องเทีย่ วแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. ๒๕60 – ๒๕64)
4. ภมู ิทศั น์การพฒั นาอตุ สาหกรรมการท่องเที่ยวไทย

1. สภำพแวดล้อมและบริบทกำรทอ่ งเท่ียวของไทยและของโลก

1.1 สถำนกำรณ์กำรทอ่ งเท่ียวของโลก
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีบทบาทสาคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจโลก และเป็นหน่ึงใน

อุตสาหกรรมหลักของโลก จากรายงาน UNWTO Tourism Highlights ขององค์การการท่องเที่ยวโลก
ประจาปี พ.ศ. 2563 พบว่าการท่องเท่ียวระหว่างประเทศ (International Tourism) มีมูลค่าการส่งออก
มากท่ีสุดเป็นอันดับที่ 3 ของโลก คิดเป็นมูลค่า 1.7 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือร้อยละ 7 ของมูลค่า
การส่งออกท้ังหมด2 นอกจากนี้ จานวนนักท่องเท่ียวและรายได้จากการใช้จ่ายของนักท่องเท่ียวท่ัวโลกยังมี
อัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่องทุกปี ทั้งนี้ ในช่วงปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของโลก
และประเทศไทย พบเจอกับการชะลอตัว อันเป็นผลกระทบมาจากสภาพแวดล้อมและบริบทของโลก สภาวะ
เศรษฐกิจโลก การเปล่ียนแปลงของพฤติกรรมผบู้ รโิ ภค และความเปลี่ยนแปลงทางดา้ นเทคโนโลยดี จิ ิทลั

นอกจากนี้ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวท่ัวโลกยังเป็นหน่ึงในอุตสาหกรรมท่ีได้รับผลกระทบ
อย่างรุนแรงมากท่ีสุดจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ส่งผลให้การเดินทางทั้งภายในประเทศ
และระหว่างประเทศเกิดการชะงักตัวต่อเน่ืองเป็นเวลานาน องค์การการท่องเที่ยวโลกคาดการณ์ว่าการ
ทอ่ งเที่ยวระหวา่ งประเทศจะลดลงกวา่ ร้อยละ 75 ในปี พ.ศ. 2563 ซึง่ กลบั ไปอยู่ในระดับเดียวกับเมื่อ 3๐ ปี
เทียบได้เป็นจานวนนักท่องเท่ียวระหว่างประเทศท่ีลดลงกว่า 1 พันล้านคน และคาดว่าจะก่อให้เกิดความ
เสยี หายประมาณ 1.1 ลา้ นล้านดอลลาร์สหรัฐ3

กำรเติบโตของรำยได้ ำกกำรท่องเที่ยวทั่วโลก
ผลการวิเคราะห์ผลกระทบของการท่องเที่ยว (WTTC Global Economic Impact Trends)

โดยสภาการเดินทางและการท่องเที่ยวโลก (World Travel and Tourism Council) ประจาปี พ.ศ. 2563
ระบุวา่ ผลิตภัณฑม์ วลรวมดา้ นการท่องเท่ียวทัว่ โลก อยู่ที่ 8.9 ล้านลา้ นดอลลารส์ หรัฐ โดยคดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.3
ของผลิตภัณฑม์ วลรวมทัว่ โลก มีอตั ราการเตบิ โตอยู่ที่ร้อยละ 3.5 ซึ่งสูงกว่าอัตราการเติบโตผลิตภัณฑ์มวลรวม
ของทุกอุตสาหกรรมทัว่ โลกทีม่ ีอัตราการเติบโตอยทู่ ร่ี ้อยละ 2.54 อย่างไรก็ดี ผลิตภัณฑ์มวลรวมด้านการท่องเท่ียว
ท่ัวโลก มีอัตราการเติบโตที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง เม่ือเทียบกับการเติบโตในปี พ.ศ. 2558 ท่ีมีการขยายตัวสูงสุด
มากกว่ารอ้ ยละ 5

2 รายงาน UNWTO International Tourism Highlights (ปี พ.ศ. 2563) แผนพัฒนาการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)
3 UNWTO World Tourism Barometer (ปี พ.ศ. 2564)
4 รายงาน WTTC Global Economic Impact Trends (ปี พ.ศ. 2563)

17

กกำารรเเปปรรียียบบเทเทยี ียบบรระะหหวว่ำงา่ องอตั ตัรำรกาำกราเรตเบิตโิบตโขตอขงอรงำผยลไดิต้ปภรณั ะชฑำ์มชวำลตริ วำมกดก้าำนรกทาอ่ รงทเท่อย่ี งวเทโลี่ยกวแทลัว่ ะโอลตักรำ
และอตั รากกาำรรเเตตบิบิ โโตตขขอองงผรำลยติ ไภดัณป้ รฑะ์มชวำลชรำวตมทิ ท่ัวโั่วลโลกกตงัตแ้ังตแ่ตป่ ีปพี พศ.ศ2. 5255454– 2- 5265262

หนว่ ย:อัตราการเตบิ โต (%) การเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมด้านการท่องเทีย่ วทัว่ โลก การเตบิ โตของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมทว่ั โลก
6.0%
5.0%
4.0%
3.0%
2.0%
1.0%
0.0%

รูปท่ี 2-1: การเติบโตของผลิตภัณฑม์ วลรวมดา้ นการทอ่ งเท่ียวทวั่ โลก

ปี พ.ศ. 2562 การเติบโตของจานวนนักท่องเท่ียวที่เดินทางระหว่างประเทศ (International
Tourist) และรายได้จากการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว (Tourism Receipts) มีอัตราการเติบโตอย่างต่อเน่ือง
เปน็ ปีที่ 10 โดยการท่องเทีย่ วท่วั โลกมอี ัตราการเตบิ โตระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2562 อยทู่ ี่ร้อยละ 545

ปี พ.ศ. 2562 จานวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศท่ัวโลกอยู่ท่ี 1,460 ล้านคน โดยคิดเป็นอัตรา
การเติบโตเพ่ิมข้ึนท่ีร้อยละ 4 ซึ่งเป็นการเติบโตท่ีชะลอตัวจากปี พ.ศ. 2560 ในขณะที่รายได้จากการใช้จ่าย
ของนักท่องเท่ยี วทั่วโลกพ่งุ สงู ถึง 1.45 ล้านลา้ นดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นอัตราการเติบโตเท่ากับร้อยละ 3 จากปี
ก่อนหนา้ และถอื เป็นการเติบโตที่ชะลอตวั ลง จากปี พ.ศ. 2560 – 2561 ท่ีมีการขยายตัวอยู่ที่รอ้ ยละ 56

เมื่อวิเคราะห์ภาพรวมของการท่องเที่ยวในแต่ละภูมิภาค ท้ังจานวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศและ
รายได้จากการใช้จ่ายของนักท่องเท่ียวภายในภูมิภาคนั้น ๆ พบว่า ภูมิภาคตะวันออกกลางมีการขยายตัวของ
อตุ สาหกรรมการท่องเทย่ี วสูงทสี่ ดุ และภูมภิ าคยุโรปมีจานวนนักทอ่ งเทยี่ วและรายไดจ้ ากการท่องเท่ียวสูงทส่ี ุด

สถำนกำรณก์ ำรทอ่ งเที่ยวของโลกในปี 2563

ำนวนนักท่องเทย่ี ว (ลำ้ นคน และรำยได้ ำกกำรท่องเท่ยี ว ภมู ิภำคอเมรกิ ำ ภูมิภำคยโุ รป ภมู ภิ ำคเอเชียแป ฟิ ก
พนั ล้ำนดอลลำร์สหรั มีกำรเติบโตขนอยำ่ งตอ่ เน่ืองทุกปี นกั ทอ่ งเทย่ี ว 219 ลา้ นคน (+2%) นกั ท่องเท่ียว 744 ลา้ นคน (+4%) นักทอ่ งเท่ยี ว 362 ลา้ นคน (+4%)
ทีม่ า: World Tourism Organization (UNTWO)
รำยได้ 342 พันล้านดอลลาร์ รำยได้ 576 พันลา้ นดอลลาร์ (+4%) รำยได้ 443 พนั ลา้ นดอลลาร์ (+1%)
(+0%)

1600 1,481 พนั ลำ้ นดอลลำร์

1400

1200 1,460
ล้ำนคน
1000

800

600

400 จานวนนักทอ่ งเทยี่ ว (ลา้ นคน ภมู ภิ ำคแอฟรกิ ำ ภูมิภำคตะวันออกกลำง
200 รายได้ พนั ลา้ นดอลลารส์ หรัฐ นักท่องเที่ยว 70 ลา้ นคน (+2%) นักทอ่ งเทีย่ ว 65 ล้านคน (+8%)

0 รำยได้ 38 พนั ล้านดอลลาร์ (+1%) รำยได้ 81 พนั ล้านดอลลาร์ (+8%)

รปู ท่ี 2-2: ภาพรวมสถานการณก์ ารท่องเที่ยวของโลกในปี พ.ศ. 2562

5 รายงาน UNWTO Tourism Highlights ขององค์การการทอ่ งเท่ียวโลก (The United Nations World Tourism Organization: UNWTO) ประจาปี พ.ศ. 2563
6 รายงาน UNWTO International Tourism Highlights (ปี พ.ศ. 2563)

แผนพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 18

10 อันดับประเทศทีเ่ ป็น ดุ หมำยปลำยทำงของกำรท่องเท่ียว
ประเทศท่ีมีจานวนนักท่องเท่ียวต่างชาติ (International Arrivals) เดินทางเข้าไปท่องเที่ยว

ภายในประเทศมากท่ีสุด 10 อันดับแรก สามารถดึงดูดนักท่องเท่ียวมากถึงร้อยละ 40 ของจานวน
นักท่องเที่ยวต่างชาติทั่วโลก ในปี พ.ศ. 2562 ประเทศฝรั่งเศสสำมำรถดงดูดนักท่องเท่ียวต่ำงชำติได้
มำกที่สุด อยู่ท่ี 89 ล้านคน และมีอัตราการเติบโตสูงข้ึนอยู่ที่ร้อยละ 1 รองลงมาคือประเทศสเปน และ
สหรัฐอเมริกาอยู่ที่อันดับ 3 ทังนี ประเทศไทยถูก ัดอยู่ที่อันดับ 7 สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติ
ได้ทงั้ หมด 40 ล้านคน มีอตั ราการเตบิ โตสงู ข้ึนเท่ากบั ร้อยละ 4 7

10 อนั ดบั ประเทศทไี่ ดร้ ับรำยได้ ำกกำรท่องเที่ยวสูงท่ีสุด
ประเทศท่ีสร้างรายได้จากการใช้จ่ายของนักท่องเท่ียว (International Tourism Receipts) และ

สร้างรายได้จากบริการด้านการท่องเท่ียวมากท่ีสุด 10 อันดับแรก สามารถสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวได้
มากถึงร้อยละ 50 ของรายได้จากการท่องเท่ียวทั่วโลก ในปี พ.ศ. 2562 สหรั อเมริกำได้รับรำยได้ ำก
กำรท่องเที่ยวมำกที่สุด อยู่ที่ 214 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ รองลงมาคือประเทศสเปน และประเทศฝร่ังเศส
ทังนี ประเทศไทยถูก ัดอยู่ที่อันดับ 4 ซึ่งสามารถสร้างรายได้จากการท่องเท่ียวได้ทั้งหมด 61 พันล้าน
ดอลลารส์ หรัฐและมีอัตราการเตบิ โตสูงขึ้นเท่ากับร้อยละ 38

TOP 10 ดุ หมำยปลำยทำงกำรทอ่ งเทย่ี ว ำก ำนวนนกั ท่องเที่ยว TOP 10 ประเทศท่ไี ดร้ ับรำยได้ ำกกำรทอ่ งเทีย่ วสงู สดุ

10 ประเทศทดี่ ึงดูดนกั ท่องเทีย่ วตา่ งชาตมิ ากทีส่ ดุ มจี านวนนักทอ่ งเท่ียวรวมเป็น 10 ประเทศสรา้ งรายได้จากการท่องเที่ยวมากท่สี ุด มรี ายไดร้ วมคดิ เปน็ 50%
40% ของจานวนนกั ท่องเทยี่ วตา่ งชาติ (International Arrivals) ท่วั โลก ของรายได้จากการท่องเท่ียว International Tourism Receipts) ท่ัวโลก

หนว่ ย: ล้านคน หน่วย: พันลา้ นดอลลาร์

89 +1% 214 -0%
+3%
84 +1% 80 +2%
64 +3%
79 -1% +10%
61 4 +6%
66 +4% +8%
53 +9%
65 +5% 50 +2%
46 -3%
51 +12% 46
42
45 +9% 40

40 7 +4%

40 +2%

39 +2%

รูปที่ 2-3: อันดับประเทศท่ีเปน็ จดุ หมายปลายทางของการท่องเทยี่ วและสรา้ งรายได้สงู สุด

สัดส่วนกำรท่องเทย่ี วภำยในประเทศและต่ำงประเทศ
ในแต่ละภูมิภาคทั่วโลกจะมีสัดส่วนระหว่างการเดินทางการท่องเท่ียวภายในประเทศ (Domestic

Tourism) และการเดินทางทอ่ งเท่ียวออกนอกประเทศ (Outbound Tourism) ทแี่ ตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมหลายประการ เช่น สภาวะเศรษฐกิจของประชาชนในประเทศ สังคมผู้สูงอายุ
ความปลอดภัยของการเดินทาง เป็นต้น โดยเมื่อวิเคราะห์สัดส่วนการเดินทางออกนอกประเทศ (Outbound
Tourism) ในปี พ.ศ. 2562 จาแนกตามภูมิภาค พบว่า นักท่องเท่ียว ำกภูมิภำคยุโรป คิดเป็นร้อยละ 48
ของกำรท่องเท่ียวออกนอกประเทศท่ัวโลก รองลงมาคือนักท่องเท่ียวจากภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ภูมิภาค
อเมรกิ า ภมู ิภาคตะวนั ออกกลาง และภมู ภิ าคแอฟริกา ตามลาดับ9

7 รายงาน UNWTO International Tourism Highlights “Top 10 destinations by international tourist arrivals” ปี พ.ศ. 2563)
8 รายงาน UNWTO International Tourism Highlights “Top 10 destinations by international tourist Receipts” ปี พ.ศ. 2563)
9 รายงาน UNWTO International Tourism Highlights “International arrivals by generating region” (ปี พ.ศ. 2563)

19 แผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

กำรเดินทำงทอ่ งเทย่ี วออกนอกประเทศ (Outbound Tourism)

ไมร่ ะบุ 3% แอฟริกา 3%  Top 10 ประเทศท่มี ีกำรใช้ ำ่ ยดำ้ นกำรทอ่ งเท่ยี วนอกประเทศสูงทส่ี ดุ
ตะวนั ออกกลาง 3% (International Tourism Spending, 2019

หน่วย: พันลา้ นดอลลาร์

อเมรกิ า 17% 152 255 -4%
+5%
สดั ส่วนกำรเดนิ ทำง เอเชียแปซิฟกิ 93 +3%
ออกนอกประเทศ 26% 72 +6%
แบ่งตำมภมู ิภำค 52 +11%
36 +5%
ยโุ รป 48% 36 +5%
35 +5%
ใน ของนักท่องเทย่ี วทีเ่ ดินทางออกนอกประเทศ เลือกเทย่ี วภำยในภูมภิ ำคของตนเอง 32 -8%
30 +6%

รปู ท่ี 2-4: ภาพรวมสถานการณ์การทอ่ งเที่ยวของโลกในปี พ.ศ. 2562

ทั้งน้ี ผลสารวจจากรายงานขององค์การการท่องเท่ียวโลก พบว่า 4 ใน 5 ของนักท่องเที่ยวท่ีเดินทาง
ออกนอกประเทศ หรอื คิดเป็นประมาณร้อยละ 80 เป็นนักท่องเที่ยวท่ีเดินทางท่องเที่ยวภายในภูมิภาคของตน
ด้วยปัจจัยทางด้านราคา ระยะเวลาในการเดินทาง และความคล้ายคลึงทางด้านภาษาและวัฒนธรรมระหว่าง
ประเทศต้นทางและประเทศปลายทาง และเม่ือพิจารณาจากการใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวต่างประเทศ
(International Tourism Spending) พบว่า ในปี พ.ศ. 2562 ประเทศ ีนเป็นประเทศที่มีกำรใช้ ่ำย
ด้ำนกำรท่องเท่ียวในต่ำงประเทศสูงท่ีสุด อยู่ที่ 255 พันล้ำนดอลลำร์สหรั ซึ่งมีอัตราลดลงร้อยละ 4
รองลงมาคือสหรฐั อเมรกิ า และประเทศเยอรมัน10

เม่ือพิจารณาสัดส่วนการพ่ึงพารายได้จากการใช้จ่ายของนักท่องเท่ียวภายในประเทศ (Domestic
Spending) และรายได้จากการใช้จ่ายของนักท่องเท่ียวต่างประเทศ (International Spending) ของประเทศ
ในกลุ่มประเทศมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลกอย่างกลุ่ม G20 จากรายงาน WTTC Global Economic

Impact Trends ประจาปี พ.ศ. 2563 พบว่าประเทศบราซิลมีสัดส่วนการพึ่งพารายได้จากนักท่องเที่ยว
ภายในประเทศมากท่ีสุด สูงกว่าร้อยละ 93 รองลงมาคือประเทศจีน ที่มีสัดส่วนการพึ่งพารายได้จาก
นักท่องเทีย่ วภายในประเทศประมาณรอ้ ยละ 87 โดยมเี พียง 3 ประเทศเทา่ นั้นที่มีสัดส่วนการพ่ึงพารายได้จาก
นักท่องเท่ียวต่างประเทศมากกว่านักท่องเที่ยวภายในประเทศ คือประเทศสเปน ประเทศตุรกี และประเทศ
ซาอดุ อี าระเบยี 11

ภ พ มสถ น ณ์ น ค์ (UNWTO)

ื นม คมถึ น น ๒๕๖๔ ค ผ ค ค - 19 ม ส น

น นน ๗๖ ใน ๙ ื น ี ๒๕๖๔ มื

นใน ี ๒๕๖๒ ็ ม มู ม ม ฟื้น ค ็นค แ

ค มค ม สู ค ค - 19 ส พนธ์ุ Omicron ส ผ ให

ใหมใน น ี ๒๕๖๕ ใน ื นธน คมพ ็ ในภูมภ ค ม หนื

แ ุ น้น ใน ส้น ส ผ ค มส ม ถใน ฟ้ืน ภ ค ใน

ถ ผู ่ นุ แ ม พม ้นึ มน ส คญ ฟนื้ นื

10 รายงาน UNWTO International Tourism Highlights “Top 10 countries by international tourism spending” ปี พ.ศ. 2563)
11 รายงาน WTTC Global Economic Impact Trends (ปี พ.ศ. 2563)

แผนพฒั นาการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 20

น้น มู ฉ คซน ค ค - 19 พม ้ึน นื สผ

มฟื้น ม ิ ใหม น ห ศ พมม ึน้ ใน น ค ค - 19
็น ๒๑
ส พนธ์ุ Omicron ซึ พ ม พ ส นน น้น ม ิ พ มแ น น ค
ศส ผ ให
แ ใน ห พ ฐห ศ น หน ใน น ส ธ ณสุ

น สน น หื น พื ุ ื น ค

็ ม สื นื ัญห น ฟ้ สู แ สถ น ณ์ค ม แ ห ู ค นแ

ส ซ ค ม ุนแ ม ึ้น ส ผ ศ ษฐ ุ ให ฟื้น ศ ษฐ ม ุ ส ค

ม ้ึน ภ ค ฟื้น ค ณ์ นื น ุน

ฉพ น ส ซ ซึ สถ น นน นม ศพ

ใน ื น ุมภ พนธ์ ๒๕๖๕ มีน ส ซ น น ฉ น ๖๒๙ คน แ ใน ห น ๑-๑๙
ส ซ น น ฉ น ๓๕๖ คน12
มน คม ๒๕๖๕ มน

1.2 สถำนกำรณ์กำรทอ่ งเท่ยี วไทย
พ.ศ. 2562 เศรษฐกิจของประเทศไทยมีสัดส่วนการพ่ึงพาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวสูงถึง ร้อยละ

17.79 โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศด้านการท่องเท่ียว (Tourism Gross Domestic Product:
TGDP) จาแนกออกเป็น 1) ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศด้านการท่องเที่ยวทางตรง (Tourism Direct
Gross Domestic Product: TDGDP) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 7.25 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
(Gross Domestic Product: GDP) และ 2) ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศด้านการท่องเท่ียวทางอ้อม
(Tourism Indirect Gross Domestic Product: TIGDP) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.54 ของผลิตภัณฑ์มวล
รวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP)13

โดยเม่ือวิเคราะหข์ อ้ มลู สถติ จิ ากบญั ชปี ระชาชาตดิ ้านการท่องเที่ยว (Tourism Satellite Accounts – TSA)14
พบว่าการเติบโตของมูลค่าการใช้จ่ายของผู้เยี่ยมเยือนท้ังชาวไทยและต่างประเทศเร่ิมเข้าใกล้จุดอ่ิมตัว โดยมี
อัตราการขยายตัวท่ีลดลงอย่างต่อเน่ือง อีกท้ังยังมีสัดส่วนการพ่ึงพารายได้จากนักท่องเท่ียวต่างชาติท่ีสูงกว่า
นักท่องเท่ียวไทยประมาณ 2 เท่า โดยในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติประมาณ 40 ล้านคน
ซ่งึ เพ่มิ ขน้ึ ร้อยละ 4.55 จากปี พ.ศ. 2561 แต่ในปี พ.ศ. 2563 จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติลดลงถึงร้อยละ
83.21 ด้วยจานวนนักท่องเท่ียวต่างชาติเพียงประมาณ 7 ล้านคน และระหว่างเดือนมกราคมถึงมีนาคม
ปี พ.ศ. 2564 ท่ีมีนกั ท่องเที่ยวตา่ งชาติเพียง 20,174 คน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19
ในขณะทจี่ านวนนกั ท่องเท่ียวไทยในปี พ.ศ. 2563 ลดลงถึงร้อยละ 46.37 จากประมาณ 230 ล้านคน/คร้ัง
ในปี พ.ศ. 2562 สง่ ผลให้มนี กั ท่องเทีย่ วชาวไทยประมาณ 123 ลา้ นคน/ครั้ง และในปี พ.ศ. 2564 มีจานวน
นักท่องเท่ียวไทยเพียง 26 ล้านคน/คร้ัง เป็นจานวนที่น้อยท่ีสุดในรอบ 4 ปี โดยเป็นผลมาจากสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคโควดิ – 19 และมาตรการการรักษาความปลอดภัยและสุขอนามัยของคนไทย ซึ่งส่งผล

ให้ประชาชนกังวลเรื่องการติดเชอื้ และหลกี เลยี่ งการเดนิ ทางออกไปท่องเทย่ี ว

12 สถานการณน์ ักท่องเที่ยวรสั เซียเบื้องต้น ในระหว่างวันท่ี 1 ม.ค. – 19 มีนาคม 2565 โดยกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา
13 สถติ ิจานวนและรายได้นักท่องเทย่ี วเบอ้ื งต้น โดยกระทรวงการท่องเทีย่ วและกฬี า (ปี พ.ศ. 2561 – 2563)
14 บัญชีประชาชาตดิ ้านการทอ่ งเทย่ี ว (Tourism Satellite Account: TSA)

21 แผนพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

ในปี พ ศ 2562 เศร กิ ของประเทศไทยพ่งพำ รำยได้ ำกนกั ทอ่ งเที่ยวชำวตำ่ งชำติสูงกวำ่ นกั ทอ่ งเทย่ี วชำวไทยประมำณ 2 เทำ่
อตุ สำหกรรมกำรท่องเท่ยี วสูงถง 17.79%

-46.37% 1.9%

0.87%

GDP 7.25% 4.55% 0.97%
ทงั หมดของ 10.54%
ประเทศ -83.21%

Tourism GDP Tourism GDP

รปู ท่ี 2-5: สดั ส่วนรายได้ดา้ นการทอ่ งเที่ยวของไทย

จานวนนักท่องเท่ียวที่ลดลงส่งผลกระทบโดยตรงให้รายได้จากการท่องเที่ยวลดลงไปด้วย โดยพบว่า
ในปี พ.ศ. 2562 ประเทศไทยมีรายได้จากนักท่องเท่ียวชาวไทยประมาณ 1.08 ล้านล้านบาท เพ่ิมข้ึนร้อยละ
0.97 จากปี พ.ศ. 2561 แตจ่ ากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ – 19 ในปี พ.ศ. 2563 รายได้จาก
นกั ท่องเท่ียวไทยเหลือเพียงประมาณ 0.48 ล้านล้านบาท ลดลงจากปีก่อนถึงร้อยละ 55.4 ในส่วนของรายได้
นักทอ่ งเทยี่ วต่างชาติ แม้ว่าในปี พ.ศ. 2562 จะมีสูงถึง 1.91 ล้านล้านบาท คิดเป็นการเติบโตร้อยละ 1.9 จากปี
พ.ศ. 2561 แตเ่ มื่อเกดิ มาตรการการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด – 19 โดยการปิดประเทศ ในปี พ.ศ. 2563
ก็สง่ ผลให้รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติในปีน้ันเหลือเพียง 0.33 ล้านล้านบาท ลดลงจากปีก่อนหน้าถึงร้อย
ละ 82.63 ส่งผลใหร้ ายไดร้ วมจากการทอ่ งเทย่ี วของไทยลดลงไปถึงร้อยละ 73

นอกจากนี้ เมื่อศึกษาสถิติการกระจายตัวของนักท่องเท่ียวจะพบว่าประเทศไทยมีการกระจุกตัวของ
จานวนนักท่องเท่ียว และรายได้จากการทอ่ งเที่ยวในเพียงบางจังหวัดของประเทศไทย15 โดยในปี พ.ศ. 2562
ร้อยละ 53.22 ของนักท่องเที่ยวท้ังหมดในประเทศไทย เดินทางท่องเที่ยวอยู่ภายใน 10 จังหวัด
การท่องเท่ียวหลักของไทยเท่าน้ัน โดยอันดับหน่ึงอยู่ในพ้ืนท่ีจังหวัดกรุงเทพมหานครประมาณ 66 ล้านคน
รองลงมาคือจังหวัดชลบุรีประมาณ 18 ล้านคน และจังหวัดภูเก็ตประมาณ 14 ล้านคน ตามลาดับ และเมื่อ
พจิ ารณาการกระจายตัวของนกั ท่องเทย่ี วต่างชาติ จะพบว่าร้อยละ 86.27 ของนักท่องเท่ียวต่างชาติกระจุกตัว
อยเู่ พยี ง 10 จังหวัด โดยเฉพาะจังหวัดกรุงเทพมหานคร ท่ีมีนักท่องเที่ยวต่างชาติสูงถึง 24 ล้านคน รองลงมา
คือจงั หวดั ภเู ก็ตประมาณ 10 ล้านคน และจงั หวัดชลบรุ ีประมาณ 9 ล้านคนตามลาดบั

ในขณะท่ี นักท่องเท่ียวชาวไทยมีอัตราการกระจุกตัวท่ีน้อยกว่านักท่องเท่ียวชาวต่างชาติเล็กน้อย
โดยร้อยละ 48.16 ของนักท่องเท่ียวไทยกระจุกตัวอยู่ใน 10 จังหวัดหลักเช่นกัน นักท่องเที่ยวชาวไทยกว่า
44 ล้านคน ท่องเที่ยวภายในจังหวัดกรุงเทพมหานคร รองลงมาคือจังหวัดนครราชสีมาที่กว่า 9 ล้านคน และ
จงั หวัดกาญจนบุรที ก่ี ว่า 9 ลา้ นคน

15 บญั ชีประชาชาตดิ ้านการท่องเท่ยี ว (Tourism Satellite Account: TSA) 22

แผนพฒั นาการทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

สถิตกิ ำรกระ ำยตัวของ สถิติกำรกระ ำยตัวของ สถิติกำรกระ ำยตัวของ
นกั ทอ่ งเทย่ี วทงั หมด นักทอ่ งเท่ียวตำ่ งชำติ
นกั ท่องเทยี่ วชำวไทย

สดั ส่วน จานวน คน สดั สว่ น จานวน คน สดั สว่ น จานวน คน
กรุงเทพฯ 32.16% 24,892,715
กรงุ เทพฯ 21.80% 66,956,652 กรุงเทพฯ 32.16% 44,073,847

ชลบุรี 6.06% 18,602,920 ภเู กต็ 13.69% 10,598,921 นครราชสมี า 13.69% 9,700,608
ชลบุรี 12.88% 9,966,574 กาญจนบุรี 12.88% 9,121,884
ภูเกต็ 4.75% 14,576,466 กระบ่ี 5.57% 4,312,608
สุราษฎรธ์ านี 4.64% 3,591,556 ชลบุรี 5.57% 8,636,436
เชียงใหม่ 3.64% 11,165,860 เชียงใหม่ 4.49% 3,474,407 เพชรบุรี 4.64% 8,410,769
พังงา 4.48% 3,470,414 เชียงใหม่ 4.49% 7,691,455
นครราชสมี า 3.22% 9,898,428 ระยอง 4.48%
7,310,599
กาญจนบรุ ี 3.13% 9,618,052

เพชรบรุ ี 2.92% 8,958,499

อยธุ ยา 2.70% 8,292,809 สงขลา 3.98% 3,082,903 อยธุ ยา 3.98% 6,183,177
อยุธยา 2.73% 2,109,632 ประจวบครี ีขนั ธ์ 2.73% 6,023,393
ระยอง 2.56% 7,877,379 สมุทรปราการ 1.64% 1,270,631 5,502,774
ขอนแก่น 1.64%
สงขลา 2.44% 7,503461

 ในปี 2562 53.22% ของนกั ท่องเท่ยี วทังหมด  86.27% ของนักท่องเทย่ี วตำ่ งชำตกิ ระ ุกตัวอยู่เพียง  48.16% ของนกั ทอ่ งเท่ยี วไทยกระ กุ ตวั อยูใ่ น
ทอ่ งเท่ยี วใน 10 งั หวัดกำรทอ่ งเทีย่ วหลกั ของไทย 10 งั หวัด โดยเฉพำะกรุงเทพ 10 งั หวัดหลกั เช่นกัน

รปู ท่ี 2-6: สถิตกิ ารกระจายตวั ของนักทอ่ งเทย่ี วภายในประเทศ

ำกกำรวิเครำะห์ข้อมูล ำนวนและรำยได้ ำกนักท่องเท่ียวต่ำงชำติเบืองต้นของกระทรวง
กำรท่องเท่ียวและกีฬำในปี พ.ศ. 256216 พบว่า 10 ประเทศที่มีจานวนนักท่องเท่ียวเดินทางมาเที่ยว
ประเทศไทยมากทส่ี ุดจากจานวนนักทอ่ งเทยี่ วท้ังหมดประมาณ 40 ลา้ นคน ได้แก่ 1) สาธารณรัฐประชาชนจีน
2) ประเทศมาเลเซีย 3) ประเทศอินเดีย 4) สาธารณรัฐเกาหลี 5) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
6) ประเทศญ่ีปุน 7) สหพันธรัฐรัสเซีย 8) ประเทศสิงคโปร์ 9) สหรัฐอเมริกา และ 10) เขตบริหารพิเศษฮ่องกง
ตามลาดับ โดยนักท่องเที่ยวจนี มกี ารเดินทางมาเทีย่ วประเทศไทยมากท่ีสุด มีรายละเอยี ด ดังนี้

10 ประเทศที่มี ำนวนนักทอ่ งเที่ยวสงู สุด 10 ประเทศทีส่ ร้ำงรำยได้ให้ไทยสูงทีส่ ดุ 5 ประเทศคำ่ ใช้ ่ำยตอ่ คนตอ่ วันสงู ทส่ี ุด

12.00 28% 0.60 28 1 สหราชอาณาจกั ร 8,249 บาท/คน/วนั
10.00 0.50 %
8.00 0.40
นคน อันดับ 1 ีน ำนวน
นน 0.30 0.53 ลำ้ นลำ้ นบำท
อันดับ 1 นี ำนวน 11 ล้ำนคน (28%) ำกทังหมด 1.9 2 ออสเตรเลีย 7,752 บาท/คน/วนั
(28%) ำกทงั หมด 40 ล้ำนคน ลำ้ นล้ำนบำท

6.00 0.20 3 รัสเซยี 7,499 บาท/คน/วัน
4.00 11% 0.10 6% 5% 5% 4% 4% 4% 4% 3% 3%
2.00 5% 5% 5% 4% 4% 3% 3% 3% 4 สหรัฐอเมรกิ า 7,301 บาท/คน/วัน
- 5 ญีป่ นุ 5,665 บาท/คน/วัน
-

ปี พ.ศ. 2562 จานวนนักทอ่ งเทีย่ วตา่ งชาติท่ีมาเท่ียวไทยมากที่สดุ ปี พ.ศ. 2562 ประเทศไทยได้รับรายได้การท่องเที่ยวสูงสดุ 10  ประเทศรสั เซีย สหรัฐอเมริกา และญปี่ ุน
10 ประเทศ โดยประเทศจนี เป็นประเทศท่มี าเท่ียวไทยมากท่ีสดุ อนั ดบั จากประเทศข้างต้น โดยได้รายได้จากชาวจนี มากทีส่ ดุ ประมาณ เป็นประเทศท่ตี ิด 1 ใน 10 อันดบั ประเทศ
เป็นจานวนประมาณ 11 ล้ำนคน ซึ่งเปน็ ร้อยละ 28 จากจานวน 0.53 ล้ำนลำ้ นบำท ซึง่ เป็นร้อยละ 28 ของรายได้ ทีน่ กั ทอ่ งเท่ียวมาเทีย่ วไทยมากท่สี ดุ และใช้
นักทอ่ งเทย่ี วท้ังหมดประมาณ 40 ลำ้ นคน จากนักท่องเท่ียวตา่ งชาตทิ ง้ั หมดซึง่ อยู่ประมาณ 1.9 ล้ำนลำ้ นบำท จ่ายในการท่องเทย่ี วทีไ่ ทยมากทีส่ ดุ

 และเปน็ ประเทศที่มีค่ำใช้ ่ำยต่อคนตอ่ วัน
สูงตดิ อนั ดบั Top 5

รูปท่ี 2-7: จานวนและรายไดน้ กั ท่องเทยี่ วต่างชาติสงู สุด

16 สถติ ิจานวนและรายได้จากนักทอ่ งเท่ยี วต่างชาตเิ บอ้ื งต้นโดยกระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า (ปี พ.ศ. 2562)

23 แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

10 ประเทศท่ีมี ำนวนนกั ท่องเที่ยวเดนิ ทำงมำประเทศไทยมำกทสี่ ดุ ในปี พ.ศ. 2562

ตารางที่ 2-1: ประเทศทมี่ ีจานวนนกั ทอ่ งเทีย่ วเดนิ ทางมาประเทศไทยมากทีส่ ดุ ในปี พ.ศ. 2562

10 ประเทศท่มี ี ำนวนนกั ท่องเที่ยวสูงสดุ ำนวนนกั ท่องเที่ยว สัดส่วน ำกนักทอ่ งเท่ียว
(คน) ทังหมดในปี พ.ศ. 2562
1. สาธารณรฐั ประชาชนจนี
2. ประเทศมาเลเซยี 11,138,658 รอ้ ยละ 28
3. ประเทศอินเดีย 4,274,458 รอ้ ยละ 11
4. สาธารณรฐั เกาหลี 1,961,069 ร้อยละ 5
5. สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 1,880,465 ร้อยละ 5
6. ประเทศญ่ปี นุ 1,856,762 รอ้ ยละ 5
7. สหพันธรฐั รสั เซีย 1,787,185 รอ้ ยละ 4
8. ประเทศสงิ คโปร์ 1,481,837 รอ้ ยละ 4
9. สหรฐั อเมรกิ า 1,150,024 รอ้ ยละ 3
10. เขตบรหิ ารพิเศษฮ่องกง 1,136,210 รอ้ ยละ 3
1,090,121 ร้อยละ 3

ในส่วนของรายไดจ้ ากนักทอ่ งเทย่ี วต่างชาติ พบว่า ในปี พ.ศ. 2562 นักท่องเที่ยวจากประเทศที่สร้าง
รายได้ให้กับประเทศไทยมากที่สุด 10 ประเทศ ได้แก่ 1) สาธารณรัฐประชาชนจีน 2) ประเทศมาเลเซีย
3) สหพันธรัฐรัสเซีย 4) ประเทศญ่ีปุน 5) ประเทศอินเดีย 6) สหรัฐอเมริกา 7) สาธารณรัฐเกาหลี
8) สหราชอาณาจักร 9) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 10) ประเทศออสเตรเลีย ตามลาดับ
โดยนักท่องเท่ียวจากประเทศจนี สรา้ งรายได้ให้กบั ประเทศไทยมากท่สี ดุ มีรายละเอียดดงั นี้

10 ประเทศที่สร้ำงรำยไดใ้ ห้กบั ประเทศไทยสูงท่ีสดุ ในปี พ.ศ. 2562

ตารางที่ 2-2: ประเทศที่สรา้ งรายได้ใหป้ ระเทศไทยสูงสดุ ในปี พ.ศ. 2562

10 ประเทศที่สรำ้ งรำยไดใ้ ห้ประเทศไทย รำยได้ (ล้ำนบำท) สดั ส่วนรำยได้ ำกต่ำงชำติ
สูงสุด ทงั หมดในปี พ.ศ. 2562 (%)
531,576.65
1. สาธารณรัฐประชาชนจีน 107,457.97 ร้อยละ 28
2. ประเทศมาเลเซีย 102,895.03 ร้อยละ 6
3. สหพนั ธรฐั รัสเซีย 93,758.84 ร้อยละ 5
4. ประเทศญีป่ ุน 80,039.88 ร้อยละ 5
5. ประเทศอนิ เดีย 76,819.24 ร้อยละ 4
6. สหรัฐอเมรกิ า 75,435.78 ร้อยละ 4
7. สาธารณรัฐเกาหลี 72,318.73 ร้อยละ 4
8. สหราชอาณาจักร 58,035.54 รอ้ ยละ 4
9. สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 55,402.66 รอ้ ยละ 3
10. ประเทศออสเตรเลีย ร้อยละ 3

แผนพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 24

ถึงแม้ว่าชาวจีนจะเป็นนักท่องเท่ียวท่ีเดินทางมาประเทศไทยมากท่ีสุด และสร้างรายได้โดยรวมให้กับ
ประเทศไทยมากท่สี ุด แต่เมอื่ พจิ ารณาคา่ ใชจ้ า่ ยตอ่ คนต่อวนั ของนกั ท่องเท่ียวต่างชาติแต่ละประเทศแล้ว พบว่า
นักท่องเที่ยวชาวจีนมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อวันไม่ติดอันดับ 1 ใน 5 ของประเทศที่มีค่าใช้จ่ายต่อคนต่อวัน
สูงที่สุด คือ 1) สหราชอาณาจักร (8,249 บาทต่อคนต่อวัน) 2) ประเทศออสเตรเลีย (7,752 บาทต่อคนต่อวัน)
3) สหพันธรัฐรัสเซีย (7,499 บาทต่อคนต่อวัน) 4) สหรัฐอเมริกา (7,301 บาทต่อคนต่อวัน) และ
5) ประเทศญีป่ ุน (5,665 บาทต่อคนต่อวัน) และเม่ือพิจารณาค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อคนต่อวันของท้ังนักท่องเท่ียว
ชาวไทยและตา่ งชาติ พบว่านกั ท่องเที่ยวตา่ งชาติใชจ้ ่ายมากกวา่ นักท่องเทย่ี วชาวไทยถงึ 2 เท่า

สาหรับในปี 2564 ประเทศไทยมีจานวนนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติสะสมตั้งแต่เดือนมกราคม -
ธันวาคม 2564 จานวน 427,869 คน ลดลงร้อยละ 93.62 เปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีท่ีผ่านมา
ซง่ึ การระบาดของโรคโควดิ - 19 และมาตรการควบคุมการเดินทางยังคงเป็นอุปสรรคต่อการเดินทางท่องเท่ียว
ระหว่างประเทศ ทั้งน้ี จากการรวบรวมข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบจานวนผู้ติดโรคโควิด - 19
สะสมท่วั โลก 285.65 ลา้ นคน เพ่มิ ขึน้ จากเดือนพฤศจกิ ายน 2564 ที่มีจานวนผู้ติดเช้ือสะสม 261.64 ล้านคน
แสดงให้เห็นว่าการระบาดยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเน่ือง แต่ข้อมูลจานวนผู้เสียชีวิตน้อยกว่าการระบาดในอดีต
แสดงให้เห็นว่าความรุนแรงของโรคน้อยกว่าสายพันธุ์ก่อนหน้านี้ อย่างไรก็ตาม สถานการณ์การฉีดวัคซีน
ทเี่ พมิ่ ขึน้ อย่างต่อเนอ่ื งมีผลตอ่ การเปิดกิจกรรมทางเศรษฐกจิ และการเปดิ ประเทศของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก

ในขณะที่สถานการณ์การท่องเที่ยวภายในประเทศ ตั้งแต่เดือนมกราคม – ธันวาคม 2564 มีจานวน
นักท่องเท่ยี วไทยเท่ยี วไทยสะสม 53.03 ลา้ นคน-คร้งั ลดลงร้อยละ 41.44 มีรายได้สะสม 2.16 แสนล้านบาท
ลดลงรอ้ ยละ 55.15 เมื่อเปรยี บเทียบกบั ช่วงเวลาเดยี วกันของปที ผ่ี า่ นมา โดยภาพรวมการท่องเที่ยวไทยเที่ยวไทย
ปรับตัวดีข้ึนตามสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด - 19 ประกอบกับภาครัฐได้ดาเนินการผ่อนคลาย
มาตรการควบคมุ การเดินทางภายในประเทศ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมให้สอดคล้องกับสถานการณ์
และบริบทในปจั จบุ นั

ห่วงโ ่คณุ คำ่ และภำคกำรผลิตของอตุ สำหกรรมกำรท่องเทยี่ ว (Supply-Side)
อุตสาหกรรมการทอ่ งเทย่ี วสามารถสร้างงานสร้างรายได้เป็น 1 ใน 10 ของงานทั่วโลก หรือประมาณ

330 ล้านงาน และในปี พ.ศ. 2562 มีผลิตภณั ฑ์มวลรวมด้านการท่องเท่ียวทั่วโลก คิดเป็นร้อยละ 10.3 ของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจากทั่วโลก อีกท้ังในปีเดียวกันผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศด้านการท่องเท่ียว
(Tourism Gross Domestic Product: TGDP) ยังมากถึงร้อยละ 17.79 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ซึ่งเป็นผลลัพธ์จากการดาเนินงานของหลากหลาย
ภาคส่วนร่วมกัน หากพิจารณาถึงห่วงโซ่คุณค่าของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวของประเทศไทย โดยอ้างอิงจาก
กรอบการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่าอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวขององค์การการท่องเที่ยวโลก (UNWTO)17
จะประกอบไปด้วยผู้ท่ีเกี่ยวข้องหลายภาคส่วนตั้งแต่องค์กรการท่องเท่ียวต่าง ๆ ไปจนถึงการบริการสนับสนุน
การทอ่ งเท่ยี วและโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ซ่งึ มรี ายละเอียดดังนี้

17 หว่ งโซ่คุณคา่ ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว องคก์ รการทอ่ งเทย่ี วโลก (UNWTO)

25 แผนพฒั นาการทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

หว่ งโ ่คุณคำ่ ทำงตรงของอุตสำหกรรมกำรท่องเท่ยี ว

อุตสาหกรรมการท่องเทยี่ วสร้างงานสร้างรายไดเ้ ป็น 1 ใน 10 ของงานท่วั โลก หรือประมาณ 330 ล้านงาน และในปี พ.ศ. 2562 มรี ายไดป้ ระชาชาติของการท่องเทย่ี วโลกเปน็ รอ้ ยละ 10.3 ของรายได้

ประชาชาตโิ ลก อีกทงั้ ในปี พ.ศ. 2562 รำยได้ประชำชำตกิ ำรท่องเทยี่ วไทยยังเป็นรอ้ ยละ 18.39 ของรำยได้ประชำชำติทงั ประเทศไทย โดยเปน็ สดั สว่ นทางออ้ มรอ้ ยละ 10.54 และทางตรงรอ้ ยละ

7.85 การคมนาคม อาหารและ
องคก์ รการทอ่ งเที่ยว และขนส่ง การบรกิ าร เครอื่ งดื่ม ของทีร่ ะลกึ สนิ ทรพั ยก์ าร บริการ
และการจองทริป ที่พัก และหตั ถกรรม ทอ่ งเที่ยว ความบนั เทิง สนับสนุน

ประเทศ ท่ีเปล่ยี น บริการเชา่ รถ โรงแรม ร้านอาหารและบาร์ รา้ นขายของ สนิ ทรัพยท์ างวฒั นธรรม: การแสดง ศนู ยข์ ้อมูล
ต้นทาง ผ่าน อะพาร์ตเมนต์ ไนท์คลบั หัตถกรรม โบราณคดี, ชุมชน, องคก์ รมคั คุเทศก์
ศนู ยบ์ รกิ ารขอ้ มลู บา้ นรบั รองแขก ชา่ งฝีมือ พิพธิ ภัณฑ์, สถานท่ี มคั คเุ ทศกอ์ ิสระ ร้านคา้ ต่าง ๆ
อนิ เทอร์ ธรุ กจิ รถเมล์ อาหารจานดว่ น ท่องเทยี่ ว, สนิ ทรพั ย์ที่
เนต็ นาเทยี่ ว กิจกรรมหัตถกรรม จาตอ้ งไม่ได้ รา้ นซกั รีด
ศูนย์ สายการ บรษิ ัทรถแทก็ ซ่ี ความปลอดภยั และ
ข้อมูล
บิน บรษิ ทั เรอื สาราญ โฮสเทล ร้านอาหารสาเรจ็ รปู สินทรัพย์ทาง ผ้นู าทางหรอื พ่เี ล้ยี ง ธนาคาร
ธรรมชาติ: ทะเลสาบ, แพ็กเกจทอ่ งเทย่ี ว อนิ เทอรเ์ นต็ คาเฟ
บรษิ ัททวั รน์ าเทยี่ ว ศนู ยบ์ รกิ ารขอ้ มลู การ อาหารที่ระลกึ แม่นา้ , ภูเขา, ปาไม,้ สขุ ภาพและสปา
เดนิ ทาง ดอกไม้และพันธุ์พชื
ตน้ ทาง ปลายทาง ตบู้ ริการอาหาร
ปลายทาง อัตโนมัติ ตา่ ง ๆ
นา้
ของเสยี วัตถกุ อ่ สร้าง พลังงาน การศึกษา การสือ่ สาร ความปลอดภัยและสุขภาพสาธารณะ

การสนบั สนนุ โครงสรา้ งพืน้ ฐาน

รปู ที่ 2-8: ห่วงโซค่ ุณคา่ ของอตุ สาหกรรมการท่องเที่ยว

 องค์กรกำรท่องเที่ยวและหน่วยงำนท่ีเกี่ยวข้องกับกำร องท่องเท่ียว ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 1) องค์กร
ท่ีเก่ียวข้องจากประเทศต้นทาง ได้แก่ หน่วยงานด้านอินเทอร์เน็ต หน่วยงานให้บริการศูนย์ข้อมูล
บริษัททัวร์นาเที่ยว เป็นต้น 2) องค์กรท่ีเก่ียวข้องในประเทศเปล่ียนผ่าน ได้แก่ องค์กรธุรกิจนาเท่ียว
สายการบินต่าง ๆ บรษิ ทั นาเทย่ี ว เป็นต้น

 หน่วยงำนทำงกำรคมนำคมและขนส่ง เช่น บริษัทให้บริการเช่ารถ หน่วยงานให้บริการศูนย์ข้อมูล
รถเดินทางสาธารณะ บริษัทบริการรถแท็กซี่ บริษัทบริการเรือสาราญหน่วยงานให้บริการศูนย์ข้อมูล
การเดินทาง เปน็ ตน้

 หน่วยงำนใหบ้ ริกำรท่พี ัก เชน่ โรงแรม รสี อร์ท อะพาร์ตเมนต์ บา้ นรบั รองแขก โฮสเทล เป็นตน้
 รำ้ นบรกิ ำรอำหำรและเคร่อื งด่มื เชน่ ร้านอาหารและบาร์ ไนท์คลับ ร้านอาหารจานด่วน ของที่ระลึก

ประเภทอาหาร ต้บู ริการอาหารอัตโนมตั ิ เป็นตน้
 ของทีร่ ะลกและงำนหตั ถกรรม เชน่ รา้ นขายของหัตถกรรม ช่างฝมี อื กจิ กรรมหตั ถกรรม เป็นต้น
 สนิ ทรพั ย์ทำงกำรทอ่ งเที่ยว แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) สินทรพั ยท์ างวัฒนธรรม เช่น โบราณคดี

ชุมชนท้องถ่ิน พิพิธภัณฑ์ สถานที่ท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์ และสินทรัพย์ที่จั บต้องไม่ได้
2) สินทรพั ย์ทางธรรมชาติ เช่น ทะเลสาบ แมน่ า้ ภเู ขา ปาไม้ ดอกไมแ้ ละพันธ์ุพืชต่าง ๆ
 ด้ำนควำมบันเทิง เช่น การแสดง บริษัทบริการมัคคุเทศก์ มัคคุเทศก์อิสระ ผู้นาทางหรือพี่เลี้ยง
โปรแกรมทอ่ งเที่ยว บริการสขุ ภาพและสปา เป็นต้น
 กำรบริกำรสนับสนุน เช่น ศูนย์บริการข้อมูลต่าง ๆ ร้านค้าต่าง ๆ ร้านซักรีด หน่วยงานดูแล
ความปลอดภัยและธนาคาร ร้านอนิ เทอร์เน็ตและร้านกาแฟ
 กำรสนับสนุนโครงสร้ำงพืน ำน เช่น หน่วยงานจัดการของเสีย วัตถุก่อสร้าง บริษัทพลังงานและน้า
หน่วยงานด้านการศึกษา หน่วยงานด้านการส่ือสาร และหน่วยงานดแู ลความปลอดภัยและสุขอนามยั

เม่ือวิเคราะห์สถิติจากบัญชีประชาชาติด้านการท่องเท่ียว (Tourism Satellite Accounts – TSA)18
ในด้านสาขาการผลติ ของอุตสาหกรรมการทอ่ งเทีย่ วท้ัง 12 สาขา จะพบวา่ ในปี พ.ศ. 2562 ภาคการผลิตที่มี
มูลค่าเพิ่มสูงท่ีสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ 1) การบริการอาหารและเครื่องดื่ม อยู่ท่ี 532,981 ล้านบาท

18 บัญชปี ระชาชาตดิ ้านการทอ่ งเที่ยว (Tourism Satellite Account: TSA) 26

แผนพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

2) การบริการโรงแรมและที่พัก อยู่ท่ี 417,933 ล้านบาท และ 3) การขายสินค้าเพื่อการท่องเท่ียว
อยู่ท่ี 220,427 ล้านบาท ในขณะที่สัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวต่อมูลค่าผลผลิตในภาคการท่องเท่ียว
ของไทย ที่มีสัดส่วนสูงที่สุดคือกิจกรรมด้านศิลปะและวัฒนธรรม19 อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรม
การท่องเท่ียวไทยกลับมีการลงทุนในด้านการขนส่งทางบกมากที่สุด แม้จะเป็นภาคการผลิตท่ีสามารถสร้าง
มูลค่าสูงสุดเพียงอันดับท่ี 5 เท่านั้น ในขณะท่ี กิจกรรมด้านศิลปะและวัฒนธรรมซึ่งเป็นสาขาการผลิต
ท่ีมีสัดส่วนมูลค่าการใช้จ่ายท่องเที่ยวต่อมูลค่าผลผลิตท่องเที่ยวสูงที่สุด กลับเป็นสาขาการผลิตท่ีมีมูลค่า
การลงทนุ นอ้ ยที่สดุ 20

ตำรำง 5 ล้านล้านบาท 0.6 0.53 มู ค พม สสน (%4)
มูลคำ่ เพม่ิ และสดั ส่วน 3.5 0.42
มูลค่ำเพิ่มของอตุ สำหกรรม 0.4 2.7 3
กำรทอ่ งเที่ยว ต่อมลู ค่ำเพ่มิ
ทังหมด ณ รำคำพืน ำน 0.2 0.22 0.15 0.1 0.09 0.06 0.06 0.03 0.02 0.008 0.003 2
0 1.4 1 0.6 0.6 0.4 0.4 0.2 0.2 0.1 0 1
0

ตำรำง 6 ้รอยละ (%)100 85.86 84.91 78.82
สดั ส่วนมูลคำ่ กำรใช้ 75 68.56 64.74 63.85
่ำยทอ่ งเทย่ี วตอ่ มลู ค่ำ 50 53.07 43.79 15.1
ผลผลติ ทอ่ งเทย่ี ว 25 27.24 26.57 19.91
Tourism Ratio) 0

รปู ท่ี 2-9: มลู คา่ เพ่ิมของอตุ สาหกรรมการทอ่ งเที่ยว และสดั ส่วนการใช้จ่ายต่อมูลค่าผลผลติ ท่องเทย่ี ว

มลู คำ่ กำรลงทนุ และสดั สว่ นมูลค่ำกำรสะสมทนุ ถำวรเพื่อกำรท่องเท่ียว
ต่อมูลคำ่ กำรสะสมทนุ ทังหมด

ล้านล้านบาท (%)  อตุ สำหกรรมกำรทอ่ งเที่ยวของ
25,000 23,260 ประเทศไทย มีกำรลงทุนในด้ำน
28 มู ค พม สสน 30 กำรขนส่งทำงบกมำกที่สดุ แมจ้ ะ
เปน็ ภาคการผลติ ท่สี รา้ งมลู ค่าสงู สุด
20,000 19,000 25 เป็นอนั ดบั ที่ 5
22.9
20  รองลงมาคอื การลงทนุ ในด้านโรงแรม
15,000 ท่พี ัก และอาหารเคร่ืองด่ืม

10,583 15  ในขณะท่ี กิ กรรมด้ำนศลิ ปะและ
10 วฒั น รรม มีมูลคำ่ กำรลงทนุ ตำ่ ทสี่ ดุ
10,000 8,152 7,458 แม้จะเปน็ ภาคการผลติ ทม่ี ีสดั ส่วน
12.7 มลู คา่ การใช้จ่ายท่องเทีย่ วต่อมูลค่า
ผลผลติ ทอ่ งเทีย่ วสงู ท่ีสุด
5,000 9.8 9 3,798 3,460 1,440 5
0 2,067 0
1,395 1,243 1,155
4.6 4.2 2.5 1.7 1.7 1.5 1.4

รูปที่ 2-10: มลู ค่าเพมิ่ ของอุตสาหกรรมการทอ่ งเทีย่ ว และสัดสว่ นการใชจ้ ่ายต่อมูลค่าผลผลิตท่องเทีย่ ว

กำรประเมินสว่ นร่วั ไหลทำงกำรท่องเทย่ี วเพ่อื สรำ้ งควำมสมดลุ ดำ้ นกำรกระ ำยรำยได้
รายได้จากการท่องเที่ยวส่วนหนึ่งจาเป็นต้องสูญเสียไปกับการนาเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศ เช่น

เนอ้ื สตั ว์ สรุ า เบยี ร์ เคร่อื งใช้ไฟฟ้า รวมถึงค่าธรรมเนียมสถาบันการเงิน เป็นต้น เพื่อนาไปประกอบการดาเนิน

19 ตารางที่ 5 และตารางท่ี 6 บัญชีประชาชาติดา้ นการท่องเที่ยว (Tourism Satellite Account: TSA)
20 ตารางที่ 8 บัญชปี ระชาชาติดา้ นการท่องเทย่ี ว (Tourism Satellite Account: TSA)

27 แผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแหง่ ชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

ธรุ กจิ ทเี่ กีย่ วข้องกับการท่องเที่ยว เช่น โรงแรม ร้านอาหาร เป็นต้น ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์เรียกส่วนที่สูญเสีย
จากการนาเข้าวัตถุดิบเหล่าน้ีว่า “ส่วนรั่วไหลทางการท่องเท่ียว Tourism Leakage ” โดยวัดได้เป็นร้อยละ
ของการนาเข้าวัตถดุ บิ จากตา่ งประเทศต่อการใช้วัตถุดบิ ท้งั หมด

กำรประเมนิ ส่วนรวั่ ไหลทำงกำรท่องเที่ยวเพือ่ สร้ำงควำมสมดลุ ด้ำนกำรกระ ำยรำยได้

สว่ นรัว่ ไหลทำงกำรท่องเท่ยี ว (Tourism Leakage) วัดไดเ้ ปน็ รอ้ ย 800,000 28.37% สว่ นร่ัวไหลและรำยได้ร่ัวไหลทำงกำรทอ่ งเทีย่ วของไทย
ละของการนาเขา้ วัตถุดิบจากตา่ งประเทศตอ่ การใชว้ ัตถุดบิ ทัง้ หมด 700,000 714,672.20
600,000 พบว่าธรุ กจิ ที่เก่ยี วขอ้ งกบั การทอ่ งเที่ยวมสี ่วนรัว่ ไหลทางการท่องเท่ียว
แหลง่ ขอ้ มูล 500,000 ร้อยละ 28.37 กลา่ วคอื เมอื่ เกดิ รายได้จากการทอ่ งเท่ียว 100 บาท
ตารางปจั จยั การผลิตและผลผลิตและการสอบถามสัดสว่ นการใช้ 400,000 จะสูญเสียรายได้จากการนาเขา้ วตั ถุดิบตา่ งประเทศ 28.37 บาท
วัตถดุ ิบท่นี าเข้าจากตา่ งประเทศของผ้ปู ระกอบการในธุรกจิ ที่ 300,000
เกี่ยวข้องกบั การทอ่ งเทย่ี ว จานวน 1,284 รายใน 8 เขต น 200,000
พัฒนาการทอ่ งเที่ยว (37 จังหวัด) 100,000
35.88%
อิท พิ ลตอ่ ควำมแตกตำ่ งกันของส่วนร่วั ไหลทำงกำรทอ่ งเที่ยว 0 184,803.30 20.34% 27.57%
134,377.20
 ประเภทของธรุ กจิ  สัดส่วนการนาเขา้ ผลผลติ 1 65,569.40
2
 ลกั ษณะของแหล่ง  โครงสรา้ งการผลติ 3

ท่องเทย่ี วในแตล่ ะเขต  กลมุ่ นักทอ่ งเทีย่ วหลกั

สรำ้ งกำรทอ่ งเท่ยี วให้เขม้ แขงมำกขนผำ่ นกำร ดั กำรหว่ งโ ่ ภำพรวมรำยไดร้ ่ัวไหล 1 อำหำรและเครื่องด่มื 2 บรกิ ำรทพ่ี ัก 3 สนิ คำ้ และบรกิ ำร
อุปทำน (Supply chain) ใหม้ กี ระแสของกำรใช้วตั ถดุ บิ ำกใน
ประเทศเปน็ สำคัญ เชน่ เนอื้ สตั ว์ การบรกิ าร สถาบนั เน้ือสตั ว์ การค้าสง่ การบริการสถาบันการเงนิ บรกิ าร ยารักษาโรค สถาบนั การเงนิ
การเงนิ การค้าสง่ บริการอ่นื ๆ เบียร์ ผลไม้ และ ธุรกจิ บรกิ ารอืน่ ๆ ผลติ ภัณฑ์ การคา้ ปลกี การค้าส่ง
 การสนับสนุนใหม้ ีกจิ กรรมท่องเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรม และการคา้ ปลกี การค้าปลกี ทาความสะอาดและเบียร์ และบริการด้านธรุ กจิ
 การใช้อาหารไทยเปน็ หลักในการชกั จูงนกั ทอ่ งเทีย่ ว
 การสร้างอตั ลกั ษณข์ องสนิ คา้ และบรกิ ารในแต่ละทีท่ ่องเท่ียว

รูปที่ 2-11: การประเมนิ สว่ นรว่ั ไหลทางการทอ่ งเท่ียว

ผลการประเมินการรั่วไหลทางการท่องเท่ียวของประเทศไทยในภาพรวม พบว่าธุรกิจที่เก่ียวข้องกับ
การท่องเท่ียวมีส่วนรั่วไหลทางการท่องเท่ียวร้อยละ 28.37 กล่าวคือ เม่ือเกิดรายได้จากการท่องเที่ยว
100 บาท จะสูญเสียรายได้จากการนาเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศ 28.37 บาท โดยภาพรวมรายได้ที่ร่ัวไหล
มาจากการนาเข้าเน้ือสัตว์ การใช้บริการสถาบันการเงิน การใช้บริการการค้าส่ง การใช้บริการอื่น ๆ และ
การใช้บริการการค้าปลีกเป็นหลัก ซ่ึงคิดเป็นรายได้รั่วไหลทางการท่องเที่ยวของปี พ.ศ. 2559 จะเท่ากับ
714,672.2 ลา้ นบาท21 โดยธรุ กจิ ที่เกีย่ วขอ้ งกับการทอ่ งเท่ียวมี 3 ประเภทธรุ กจิ หลัก ไดแ้ ก่ 1) ธรุ กิจท่ีพัก มี
รายไดร้ ่วั ไหลประมาณ 134,377.2 ลา้ นบาท (ร้อยละ 20.34) 2) ธุรกจิ อาหารและเครอ่ื งด่ืม มีรายได้ร่ัวไหล
ประมาณ 184,803.3 ล้านบาท (ร้อยละ 35.88) และ 3) ธุรกิจจาหน่ายสินค้าและให้บริการ
มรี ายไดร้ ั่วไหลประมาณ 65,569.4 ล้านบาท (ร้อยละ 27.57)

อย่างไรก็ตาม สัดส่วนปริมาณรายได้รั่วไหลของแต่ละธุรกิจจะมีความแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับ
ประเภทของธุรกิจ ลักษณะของแหล่งท่องเท่ียว สัดส่วนการนาเข้าผลผลิต โครงสร้างการผลิต และ
กลุ่มนักท่องเที่ยวหลัก ดังน้ัน จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงที่ต้องกาหนดแนวทางต่าง ๆ เพื่อลดสัดส่วนรั่วไหล
ทางการท่องเท่ียวให้ลดลง โดยผ่านการจัดห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) ให้มีกระแสของการใช้วัตถุดิบ
ในประเทศเป็นสาคญั หรอื เป็นสัดส่วนท่เี หมาะสมกับวตั ถุดิบจากตา่ งประเทศ เชน่ การสรา้ งอัตลักษณ์ของสินค้า
และบริการในแต่ละแหล่งท่องเท่ียวไทย การสนับสนุนให้ใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบในประเทศไทยก็จะส่งผลให้
ส่วนร่วั ไหลของรายได้ลดลง และยังช่วยให้เกดิ การกระจายรายไดม้ าสู่คนไทยมากยิง่ ขน้ึ

ำนวนกำร ้ำงงำนในอตุ สำหกรรมกำรท่องเท่ียว
อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวมีบทบาทสาคัญในการสร้างการสร้างอาชีพและเพ่ิมโอกาสในการจ้างงาน

เชน่ กัน อ้างอิงจากบญั ชปี ระชาชาติด้านการท่องเที่ยว (Tourism Satellite Account: TSA) อัตราการจ้างงาน

21 งานวจิ ัย “การประเมนิ ส่วนรว่ั ไหลทางการทอ่ งเทีย่ วเพื่อสร้างความสมดลุ ด้านการกระจายรายได้” โดย รศ.ดร.บณั ฑิต ชัยวิชญชาติ และคณะ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
สานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ วิทยาศาสตร์วิจัยและนวตั กรรม (สกสว.)

แผนพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 28

ในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวมีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเน่ืองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 ในขณะท่ี ระหว่างปี
พ.ศ. 2553 – 2562 การจ้างงานทั้งหมดในประเทศไทยมีอัตราการเติบโตท่ีลดลงที่ร้อยละ 1.1
ของการจ้างงานทงั้ หมดในประเทศไทย โดยในปี พ.ศ. 2562 มีการจ้างงานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวท้ังสิ้น
4,372,304 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 11.6 ของการจ้างงานทั้งหมดในประเทศไทย22 อย่างไรก็ตาม
ประเทศไทยมีเพียง 54 สถาบันเท่าน้ันที่มีหลักสูตรการเรียนการสอนหรือสาขาที่เก่ียวข้องกับการท่องเท่ียว
คิดเป็นเพียงร้อยละ 34.8 จากมหาวิทยาลัยทั้งหมดของประเทศไทย และไม่มีสถาบันใดท่ีติด 50 อันดับ
มหาวทิ ยาลยั ทมี่ ศี กั ยภาพดา้ นหลักสตู รการท่องเท่ียวและการโรงแรมของโลกโดยการจัดอันดับของ QS World
University Ranking23 ดว้ ยเหตนุ ี้ การพัฒนาสถาบันการศึกษาที่เน้นเฉพาะเจาะจงด้านการท่องเท่ียวทั้งระบบ
อยา่ งครบวงจรจึงมคี วามสาคญั เปน็ อยา่ งมาก

หนว่ ย: คน กำร ำ้ งงำนในอุตสำหกรรมกำรท่องเที่ยว และสดั สว่ นต่อกำร ำ้ งงำนทงั หมดในประเทศ  ในขณะเดยี วกนั ประเทศไทยไม่มสี ถาบนั ทีม่ งุ่ เนน้
ดา้ นการทอ่ งเทีย่ วอย่างครบวงจร มีเพยี ง 54
50,000,000 หน่วย: สัดส่วนจ้างงานทอ่ งเท่ียวต่อท้งั ประเทศ (%) สถาบัน ที่มีการสอนหลักสตู รท่ีเก่ียวข้องกบั
การท่องเทยี่ ว คดิ เป็นเพยี ง 34.8% จากมหาลัย
40,000,000 12.0% ทัง้ หมดในประเทศไทย โดย เปน็ มหาวทิ ยาลยั
ราชภฏั ถึง 18.5%
30,000,000 11.3% 11.… 11.6% 11.6% 11.6%11.5%
11.0%  ผลกั ดนั การจดั ต้ังสถาบันพฒั นาบคุ ลากร
20,000,000 11.0% 10.5% การทอ่ งเที่ยว เพื่อรองรบั การดาเนนิ งาน
10.0% ตามวตั ถุประสงคข์ ้อตกลงการยอมรับมาตรฐาน
10,000,000 10.7% 10.6% 10.7% วชิ าชีพอาเซียน (Mutual Recognition
Arrangement - MRA)
10.3%
10.2%

9.5%

- 9.0%
ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี 0 ปี 1 ปี ปี

น น นใน ุ ส ห ม น ้ หม นใน ุ ส ห ม

 ในปี พ ศ มีการจา้ งงานในอตุ สาหกรรมการทอ่ งเที่ยว 372,304 คน คิดเปน็ 6 ของการจ้างงานทงั้ หมด

 ระหว่างปี พ ศ 2553 – 2563 การจา้ งงานในอุตสาหกรรมการทอ่ งเทยี่ วไทย มกี ำรเตบิ โตอยำ่ งตอ่ เนอ่ื งท่ี 1.31%
ในขณะทีก่ ารจา้ งงานทง้ั หมดในประเทศลดลง

รปู ท่ี 2-12: การจา้ งงานในอตุ สาหกรรมการทอ่ งเทีย่ วประเทศไทย

ำนวนที่พกั หนำแน่นในพืนทีท่ ่องเทย่ี วสำคญั
การแข่งขันของธุรกิจโรงแรมท่ีทวีความรุนแรงขึ้น ส่งผลให้เกิดการกดดันราคาห้องพักในบางพ้ืนที่

ในระหว่างปี พ.ศ. 2557 – 2561 ธุรกิจโรงแรมและที่พักระดับกลางและราคาประหยัด (Midscale Hotels
และ Budget Hotels) มีสัดสว่ นของตลาดรวมกันมากกว่ารอ้ ยละ 64 โดยมีอัตราการเติบโตสูงกว่าร้อยละ 10
ในขณะที่โรงแรมระดับหรู (Luxury Hotels) มีอัตราการเติบโตเพียงร้อยละ 6 และมีสัดส่วนของตลาดลดลง
จากรอ้ ยละ 40 ในปี พ.ศ. 2557 เปน็ ร้อยละ 35 ในปี พ.ศ. 256124 อันเป็นผลมาจาก 2 ปัจจัยหลัก ได้แก่
1) การเพ่ิมขึ้นของนักท่องเท่ียวจากภูมิภาคเอเชีย ซ่ึงมีงบประมาณในการเดินทางท่องเที่ยวน้อยกว่า
นกั ท่องเท่ยี วจากภูมิภาคอน่ื โดยเฉพาะนักทอ่ งเท่ียวจนี ท่ีเน้นท่องเที่ยวแบบประหยัด 2) การเปิดรับเทคโนโลยี
และแพลตฟอร์มดิจิทัลด้านการท่องเที่ยว ซ่ึงช่วยให้นักท่องเที่ยวสามารถเข้าถึงโรงแรมและที่พัก
ในแต่ละระดับราคาได้สะดวกมากย่ิงขึ้น โดยเฉพาะกับกลุ่มนักท่องเที่ยวรุ่นใหม่ที่มีงบประมาณการท่องเที่ยว
จากัด นอกจากน้ี ประเทศไทยยังมีท่ีพักราคาประหยัดท่ีไม่ได้จดทะเบียนอย่างถูกต้องจานวนมาก นาไปสู่

22 ตารางที่ 7 บัญชีประชาชาติดา้ นการท่องเทยี่ ว (Tourism Satellite Account: TSA)
23 การจัดอันดบั ของ QS World University Ranking ท่ีได้รับการยืนยนั จาก International Ranking Expert Group (IREG) ว่าเปน็ การจัดอันดับท่มี ีมาตรฐานและความ
แมน่ ยาสามอันดบั ต้นของโลก และเปน็ องค์กรจัดอนั ดบั ทถ่ี ูกใช้ในการอ้างอิงมากทีส่ ดุ ท่ัวโลก
24 สถติ ิจาก Euromonitor และ KKP Research (ปี พ.ศ. 2562)

29 แผนพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วแหง่ ชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

จ า น ว น ห้ อ ง พั ก ที่ สู ง ข้ึ น จ น เ กิ ด ภ า ว ะ อุ ป ท า น ห้ อ ง พั ก ม า ก ก ว่ า ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ร อ ง รั บ ข อ ง พื้ น ที่
(Oversupply)25 เนอ่ื งจากเกิดอุปทานห้องพักที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว แตม่ ีอปุ สงคข์ องนักท่องเทีย่ วทีช่ ะลอตัวลง

อัตรำกำรเข้ำพักขยำยตัวชะลอลงในช่วงปี พ ศ. – กำรแขง่ ขนั ด้ำนรำคำสงู ขน ส่งผลให้รำคำหอ้ งพกั ถกู ปรบั ลดลง

10.5% หนว่ ย: อัตราการขยายตวั (%) แม คห พ ฉ
25%

20%

4.9% 4.7% 15%

10%

2.3% 5%

น นห พ แ ม พแม 0% 1
0

 กำรขยำยตวั ของอัตรำกำรเขำ้ พักเขำ้ ใกล้ ุดอิ่มตัว  ในชว่ งปี พ ศ 2559 -  ระดับรำคำห้องพกั เฉลีย่ ของห้องที่มคี นเขา้ พัก Average Daily Room Rate: ADR)
2563 จานวนหอ้ งพกั แรมขยายตัวเฉลย่ี ตอ่ ปี แต่อตั ราการเขา้ พกั แรม ขยายตัวลดลงต่อเนื่องจากปี 560 ท่ีขยายตวั เหลอื เพยี ง 1 ในปี 563
Occupancy Rate) ขยายตวั เพียง ต่อปี
 รำยรับของโรงแรม Revenue Per Available Room: RevPAR) มอี ตั ราการขยายตัว
 เทยี บกับชว่ งปี พ ศ 2554 - 2558 ทอี่ ัตราการเข้าพกั แรมของนักทอ่ งเทย่ี วขยำยตวั ลดลงจาก เหลอื เพียง 1 ในชว่ งเวลาเดียวกัน
มำกกว่ำ ำนวนหอ้ งพักแรม

รูปที่ 2-13: ภาวะอุปทานห้องพกั ล้นเกิน 1

อีกทั้งยังมีการกระจุกตัวของนักท่องเท่ียวต่างชาติในเมืองสาคัญด้านการท่องเท่ียว โดยเฉพาะในพื้นท่ี
กรงุ เทพมหานคร จังหวัดภูเก็ต จังหวัดชลบุรี (พัทยา) จังหวัดกระบ่ี จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดสุราษฎร์ธานี
(เกาะสมุย) ซ่ึงในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนห้องพักรวมกันเป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 51 ของจานวน
ห้องพักแรมทง้ั หมดในประเทศ26 โดยในพ้นื ที่ 6 จังหวัดดงั กล่าว สามารถสรา้ งรายได้จากนักท่องเท่ียวต่างชาติ
คิดเปน็ สดั ส่วนสูงถึงร้อยละ 91 ของรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติท้ังหมด และสามารถสร้างรายได้รวมจาก
การทอ่ งเทย่ี วทง้ั หมด สงู ถงึ ร้อยละ 77 ของรายได้รวมจากการท่องเทยี่ วทงั้ หมดของประเทศ

กำรกระ กุ ตัวของรำยได้ ำกนักท่องเที่ยวต่ำงชำติ

6 จังหวดั ทอ่ งเทยี่ วสาคญั ไดแ้ ก่ กรงุ เทพฯ ภูเก็ต ชลบรุ ี กระบี่ เชียงใหม่ และสรุ าษฎรธ์ านี เกาะสมุย
มี ำนวนห้องพกั แรมรวมกนั กวำ่ ของ ำนวนห้องพกั ทังประเทศ ในปี พ ศ 2563

39%

รายไดร้ วมทง้ั หมด ทั้งจากนกั ทอ่ งเทย่ี วไทยและตา่ งชาติ เฉพาะใน จงั หวัดยอดนิยม คดิ เปน็ รำยรับรวมถง
ของรำยได้ ำกกำรทอ่ งเทยี่ วรวมทังประเทศ

พ ศ 2563 ไทย ตำ่ งชำติ รวม การกระจกุ ตัวของนกั ทอ่ งเท่ียวต่างชาติโดยเฉพำะในภำคใต้ ส่งผลให้

กรงุ เทพฯ 36% 42% 39% มีการเร่งลงทนุ ดา้ นโรงแรมและท่ีพกั อยา่ งมาก

0% ภูเก็ต 5% 24% 16% นเกิดปญหำ Oversupply ในพืนที่

ชลบรุ ี 5% 13% 10%

กระบี่ 4% 4% 4%

เชียงใหม่ 6% 3% 4% ปญหำหอ้ งพกั ล้นเกนิ ส่งผลให้ ในปี พ ศ 2563 ราคาห้องพกั และ
สรุ าษฎร์ธานี เกาะสมุย 2% 5% 3% รายรับของธุรกิจโรงแรมในภาคใต้หดตัวลงคร้ังแรกในรอบหลายปี
สดั สว่ นของรายได้รวม %) 57% 91% 77%

รูปที่ 2-14: ภาวะอปุ ทานห้องพักล้นเกิน 2

25 สถิตจิ ากธนาคารแห่งประเทศไทย TAT และ KKP Research 30
26 KKP Research “พลิกทอ่ งเที่ยวไทย ใหฟ้ ื้นได้อย่างทรงพลงั (ตอนท่ี 1)”

แผนพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

ตน้ ทุนดำ้ นสิง่ แวดล้อมและทรพั ยำกร รรมชำติในภำคกำรทอ่ งเท่ียว
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศไทยมีต้นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอยู่ที่

ประมาณ 226,833 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18.89 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
ด้านการท่องเท่ยี ว (Tourism Gross Domestic Product: TGDP)27 โดยมรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้

 การใช้ทรัพยากรทางน้าในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อยู่ท่ี 745 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็น
รอ้ ยละ 4.59 ของภาครวมการใช้น้าภายในประเทศ หรอื คิดเป็นมลู ค่า 6,693.82 ล้านบาท

 การใช้พลังงานในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว อยู่ที่ 520 ล้านเมกะจูล คิดเป็นร้อยละ 14.67
ของการใชพ้ ลงั งานในภาคอตุ สาหกรรมในประเทศ หรอื คิดเปน็ มูลคา่ 211,127.15 ลา้ นบาท

 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อยู่ที่ 30.6 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์
เทียบเท่า คิดเป็นร้อยละ 11.76 ของภาครวมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในประเทศ หรือคิดเป็น
มูลคา่ 635.55 ลา้ นบาท

 การสร้างขยะหรือของเสียในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว อยู่ท่ี 807,313 ตัน คิดเป็นร้อยละ 2.77
ของภาครวมการสรา้ งขยะในประเทศ หรอื คิดเปน็ มลู คา่ 1,325.68 ล้านบาท โดยสาขาการผลิตท่ี
มีสัดส่วนการสร้างขยะมากที่สุด 5 อันดับในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว ได้แก่
1) ภัตตาคารและร้านอาหาร 2) โรงแรม รีสอร์ท เกสต์เฮาส์ ท่ีพัก 3) การขนส่งผู้โดยสารทาง
รถยนต์ 4) การขนสง่ ผู้โดยสารทางอากาศ 5) การขายสนิ คา้ เพ่อื การทอ่ งเทยี่ ว

ภำคกำรท่องเท่ยี วไทย กำรใช้นำในภำคท่องเทยี่ ว กำรใชพ้ ลังงำนในภำคทอ่ งเทย่ี ว ปญหำทีเ่ กิด ำกกำรทอ่ งเทย่ี ว
มีต้นทนุ ทำง
745 ล้ำนล้ำนลบ ม 520 ลำ้ นเมกะ ูล ทะเลสีดำ โรงแรมทพี่ กั ร้านอาหาร ลักลอบปล่อยนา้ เสีย ท่ีไมผ่ ่านระบบบาบัด
ทรัพยำกร รรมชำติ คิดเปน็ 4.59% คดิ เปน็ 14.67% ส่งผลต่อพื้นทีแ่ หล่งท่องเทย่ี ว และนักท่องเที่ยวอยา่ งหนัก
และสงิ่ แวดล้อมอยู่ที่ ของภาครวม หรอื ของภาครวม หรือ
211,127.15 ลำ้ นบำท(p) สุสำนขยะ ปรมิ าณขยะเพมิ่ ข้ึนอยา่ งรวดเรว็ ตามจานวนนกั ท่องเท่ยี วและการ
6,693.82 ล้ำนบำท(p) เพม่ิ ขึน้ ของทพ่ี ัก กอ่ ให้เกิดมลพษิ อตั รายตอ่ นักท่องเทีย่ วและสัตว์ในพ้ืนท่ี

กำรปลอ่ ยกำ เรือนกระ กในภำคทอ่ งเทย่ี ว กำรรบกวนหรอื ทำลำย รรมชำติ
ของนักท่องเที่ยว
30.6 ลำ้ นตนั CO2 คดิ เป็น 11.67% ของภาครวม
หรือ 635.55 ล้ำนบำท(p) ภำพรวมอันดับดัชนคี วำมยงั่ ยืน
Sustainable Travel  ประเทศไทยอยู่อนั ดบั ท่ี 76 ำก 99 ประเทศ
226,833 กำรสรำ้ งขยะในภำคท่องเท่ยี ว
Index (2020)  อันดับท่ี 4 ในกลุ่มประเทศอาเซยี น
ล้ำนบำท(p) 807,313 ตนั คิดเป็น 2.77% ของภาครวม หรือ
 ประเทศไทยอยู่อันดบั ท่ี ำก ประเทศ
คดิ เป็นสัดสว่ น 1,325.68 ล้ำนบำท(p)  เป้ำหมำยทเี่ กีย่ วกบั กำรท่องเที่ยวอย่ใู นระดับ Significant Challenges
18.89% ของ
Tourism GDP สดั สว่ นการสรา้ งขยะในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวรายสาขา Travel & Tourism  มติ ดิ ้ำนทรพั ยำกร รรมชำติ อยทู่ ี่อันดบั 10 จาก 140 ประเทศ
 อนั ดับท่ี 1 ภตั ตำคำร ร้ำนอำหำร คดิ เป็น 27.59% competitiveness  มติ ิดา้ นความยัง่ ยนื ของสิ่งแวดล้อม อยู่ทอี่ นั ดับ 1 0
 อนั ดบั ท่ี 2 โรงแรม รีสอรท์ เกสต์เ ำส์ ทีพ่ กั คิดเปน็ 24.09% Index (2019)  ประเทศไทยมคี วามอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรแตไ่ ม่มคี วำมยั่งยืน
 อนั ดบั ที่ 3 กำรขนสง่ ผู้โดยสำรทำงรถยนต์ คิดเป็น 9.98%
 อนั ดับที่ 4 กำรขนสง่ ผูโ้ ดยสำรทำงอำกำศ คิดเปน็ 9.08%
 อันดับที่ 5 กำรขำยสินคำ้ เพอ่ื กำรท่องเทย่ี ว คดิ เป็น 7.52%

หมายเหตุ: p หมายถึง ขอ้ มูลเบือ้ งตน้ จากบัญชปี ระชาชาติด้านการท่องเท่ียวที่รวมต้นทุน
ด้านสิง่ แวดลอ้ ม (TSA-SEEA) ของประเทศไทย ปี 2561(p)

รูปท่ี 2-15: บญั ชีประชาชาติดา้ นการท่องเทย่ี วทรี่ วมตน้ ทนุ ดา้ นสง่ิ แวดล้อม

ท้ังน้ี แม้ว่าอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทยจะมีต้นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ทค่ี อ่ นขา้ งสงู แตก่ ารทอ่ งเทยี่ วของประเทศไทยยังคงประสบความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อมอยู่อย่างต่อเน่ือง เช่น
ปญั หาทะเลสดี า ปญั หาสสุ านขยะ รวมไปถึงปัญหาการรบกวนหรอื ทาลายทรัพยากรธรรมชาติของนักท่องเที่ยว
โดยจะเห็นได้จากผลการจัดอันดับความย่ังยืนในระดับประเทศ ซ่ึงแสดงว่าประเทศไทยยังมีความท้าทายด้าน
การบริหารจดั การความยงั่ ยนื ของทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม

27 บญั ชปี ระชาชาตดิ ้านการท่องเทย่ี วทีร่ วมตน้ ทนุ ด้านสิ่งแวดล้อม (TSA-SEEA) แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

31

 การจัดอันดับ Sustainable Travel Index (2020) โดย Euromonitor International ระบุว่า
ประเทศไทยอยูอ่ ันดับที่ 76 จาก 99 ประเทศ และอยู่ท่อี นั ดับที่ 4 ในกล่มุ ประเทศอาเซียน28

 การจัดอันดับผลการดาเนินงานตามเป้าหมาย Sustainable Development Goals ที่เกี่ยวข้องกับ
การท่องเที่ยว พบว่าประเทศไทยอยู่อันดับที่ 41 จาก 166 ประเทศ โดยเป้าหมายที่เก่ียวกับ
การท่องเทย่ี วอยใู่ นระดับมีความท้าทาย (Significant Challenges) ท้ังส้นิ 29

 การจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการเดินทางและการท่องเที่ยว (Travel & Tourism
competitiveness Index) ในปี พ.ศ.2562 มิติด้านทรัพยากรธรรมชาติ อยู่ท่ีอันดับ 10 จาก 140
ประเทศ ในขณะที่มิติด้านความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม อยู่ท่ีอันดับ 13030 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า
ประเทศไทยมีความอดุ มสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ต่ไม่มกี ารบริหารจดั การอย่างยงั่ ยืน

ผลกำร ัดอนั ดบั ขดี ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันด้ำนกำรเดนิ ทำงและกำรท่องเท่ียวของประเทศไทย
สภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum: WEF) ได้จัดทารายงานการประเมินอันดับ

ความสามารถในการแข่งขันด้านการเดินทางและการท่องเท่ียวสาหรับหลายประเทศทั่วโลก (Travel &
Tourism Competitiveness Report: TTCR) ซึ่งจากการวิเคราะห์ผลการประเมินอันดับขีดความสามารถ
ในการแข่งขันด้านการเดินทางและการท่องเท่ียวของประเทศไทย ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2558 – 256231 พบว่า
ประเทศไทยมีอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการเดินทางและการท่องเที่ยวสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยในปี
พ.ศ. 2558 ประเทศไทยได้คะแนนเฉล่ีย 4.3 คะแนน จากคะแนนเต็ม 7 คะแนน โดยมีอันดับอยู่ที่ 35
จาก 141 ประเทศท่ัวโลก ในปี พ.ศ. 2560 ประเทศไทยได้คะแนนเฉล่ีย 4.4 คะแนน โดยมีอันดับสูงข้ึน
1 อันดับ อยู่ที่อันดับ 34 จาก 136 ประเทศทั่วโลก และในปี พ.ศ. 2562 ประเทศไทยได้คะแนนเฉลี่ย 4.5
คะแนน และมีอันดับอยู่ท่ี 31 จาก 140 ประเทศทั่วโลก (สูงข้ึนถึง 3 อันดับ) ทั้งนี้คะแนนของประเทศไทย
ทีไ่ ด้ในปี พ.ศ. 2562 พิจารณาจากท้งั หมด 14 ดัชนีที่เก่ียวข้องกับการท่องเที่ยว ซ่ึงการจัดอันดับในปีน้ีพบว่า
ประเทศไทยมีดัชนีท่ีมอี นั ดบั เพม่ิ ขน้ึ จากเดิมจานวน 9 รายการ มดี ัชนีท่ีมีอันดับลดลงจานวน 4 รายการ และมี
ดัชนีท่ีมอี นั ดับคงท่ีเท่าเดิมจานวน 1 รายการ มรี ายละเอยี ด ดังนี้

อันดับควำมสำมำรถในกำรแข่งขันด้ำนกำร มิติโครงสร้ำงพนื ำนกำรให้บรกิ ำรนักทอ่ งเทย่ี ว มติ ิกำรใหค้ วำมสำคญั กับกำรเดินทำง
เดินทำงและกำรทอ่ งเทย่ี วของประเทศไทย (Tourist service infrastructure) และกำรท่องเท่ยี ว (Prioritization of
Travel & Tourism)
(Thailand Travel & Tourism คะแนน 5.9
Competitiveness Index 2015 – 2019) ลาดับ 14 คะแนน 5.2
ลาดบั 27
Rank ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศไทยในด้าน
โครงสรา้ งพน้ื ฐานการใหบ้ ริการนักทอ่ งเท่ยี ว เชน่ โรงแรม ครอบคลุมถงึ งบประมาณของอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วจาก
4.55 31/14 บรษิ ัทให้เชา่ รถ เป็นตน้ ลำดับสูงขน ำกปีก่อน 2 ลำดับ ภาครัฐ คุณภาพของการตลาด กลยทุ ธก์ ารพัฒนา
4.5 Rank 0 ภาพลักษณข์ องประเทศ ง่ ไทยไดล้ ำดบั สงู ขน 7 ลำดบั
4.45 34/13
ค แนน ( ็ม 7) 4.4 Rank 6

4.35 35/14 4.5 มิตทิ รพั ยำกรมนุ ยแ์ ละตลำดแรงงำน มติ ิควำมยง่ั ยนื ของสภำพแวดล้อม
4.3 1 4.4 (Human resource and labor market) (Environmental sustainability)

4.25 4.3 คะแนน 5.1 คะแนน 3.6
ลาดบั 27 ลาดับ 130
4.2
ครอบคลมุ ในเรื่องคณุ สมบตั ขิ องทรพั ยากรมนษุ ย์ การศกึ ษา ครอบคลมุ ประเดน็ การกากบั ดแู ลสง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาติ
 ตัง้ แตป่ ี 2015 – 2019 ประเทศไทยมอี ันดบั ความสามารถ เบื้องต้น การอบรมบคุ ลากร ตลาดแรงงาน และประสิทธผิ ล ความย่ังยืนของการพัฒนาอตุ สาหกรรมการเดินทางและ
ในการแขง่ ขนั ดา้ นการเดนิ ทางและการท่องเท่ียวสูงขนอย่ำง จากแรงงำน ไทยสงู ขน ำกปกี อ่ น 13 อนั ดับ การท่องเทยี่ ว ง่ ไทยอนั ดับลดลงไป 8 อนั ดับ
ตอ่ เน่อื ง โดยในปี 2019 ขึน้ มา 3 อนั ดับจากปี 2017

รูปที่ 2-16: อันดับขดี ความสามารถในการแข่งขันด้านการเดนิ ทางและการทอ่ งเท่ยี ว (TTCI) ของประเทศไทย

28 รายงาน Top Countries for Sustainable Tourism โดย Euromonitor International
29 รายงาน Sustainable Development Report 2021
30 รายงานประเมินอนั ดบั ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ดา้ นการเดนิ ทางและการท่องเท่ยี ว (TTCI) ของประเทศไทย โดยสภาเศรษฐกิจโลก (ปี พ.ศ. 2558 – 2562)
31 รายงานประเมินอันดับขดี ความสามารถในการแข่งขันด้านการเดนิ ทางและการทอ่ งเทยี่ ว (TTCI) ของประเทศไทย โดยสภาเศรษฐกิจโลก (ปี พ.ศ. 2558 – 2562)

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 32

จากการพิจารณาท้ัง 14 ดัชนีรายการ พบ 2 ดัชนีรายการหลักท่ีได้รับคะแนนและอันดับ
การประเมินขีดความสามารถในการแข่งขันดีที่สุดจาก 14 ดัชนีรายการ ได้แก่ แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
ซ่ึงได้อันดับที่ 10 จาก 140 ประเทศ และโครงสร้างพ้ืนฐานบริการด้านการท่องเที่ยวซ่ึงได้อันดับท่ี 14
จาก 140 ประเทศ ส่วนดัชนีรายการท่ีประเทศไทยควรพัฒนาอย่างเร่งด่วน 4 ดัชนีรายได้ ได้แก่ ความย่ังยืน
ของสภาพแวดล้อมอันดับท่ี 130 ความม่ันคงและความปลอดภัยอันดับที่ 111 สุขภาพและความสะอาด
อันดับท่ี 88 และโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งทางบกและทางน้าอันดับที่ 72 ตามลาดับ นอกจากนั้น
จากการพิจารณาข้างต้นยังแสดงให้เห็นถึงประเด็นที่ไม่สมเหตุสมผลคือ ประเทศไทยได้รับอันดับของแหล่ง
ทรัพยากรธรรมชาติดีมาก แต่ความย่ังยืนของสภาพแวดล้อมกลับอยู่อันดับที่ค่อนข้างต่ามาก แสดงให้เห็นว่า
ประเทศไทยมีแหล่งธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีดี สวยงาม และเป็นที่น่าดึงดูดใจของนักท่องเท่ียว แต่กลับไม่มี
การพัฒนาและฟื้นฟูท่ีเพียงพอส่งผลให้เกิดความเส่ือมโทรมลดถอยลงไปตามกาลเวลา รวมถึงแหล่งท่องเที่ยว
ทางวัฒนธรรมและสังคมอนื่ ๆ ควรไดร้ ับการพัฒนา ฟนื้ ฟู และรกั ษาให้เกิดความยงั่ ยนื

เมื่อวิเคราะห์ผลการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่ งขันด้านการเดินทางและการท่องเที่ยว
(Travel and Tourism Competitiveness Index) ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2562 เปรียบเทียบกับ
ผลการจัดอันดับของต่างประเทศแล้ว พบว่าประเทศไทยเป็นอันดับท่ี 9 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก รองจาก
ประเทศสิงคโปร์ ประเทศนิวซีแลนด์ และประเทศมาเลเซีย ที่อยู่ในอันดับ 6 อันดับ 7 และอันดับ 8
ตามลาดบั โดยมีอนั ดับดขี น้ึ 3 อนั ดบั จากการจัดอันดับในปี พ.ศ. 2560 และมีอันดับคงท่ีเป็นอันดับท่ี 3 ของ
ภูมิภาคอาเซียน32 (รองจากประเทศสิงคโปร์และประเทศมาเลเซีย) ทั้งนี้ สามารถกล่าวได้ว่าประเทศไทยมีผล
การจัดอันดับอยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีศักยภาพสูงในด้านสถานท่ีท่องเที่ยว นโยบายสนับสนุนการท่องเท่ียว และ
สิ่งอานวยความสะดวกต่อนักท่องเที่ยว แต่มีคะแนนด้านความปลอดภัยของนักท่องเท่ียว ความเป็นมิตรต่อ
สง่ิ แวดล้อม และการเดนิ ทางตอ่ เนอื่ งทางบกท่ีตา่

 ประเทศไทยมีอันดับในมิติความปลอดภัยต่าที่สุดเป็นอันดับ 2 ในอาเซียน (รองจากประเทศ
ฟิลิปปินส์) และอยู่ที่อันดับ 111 ของโลก โดยมีผลการจัดอันดับในปัจจัยย่อยที่น่ากังวล เช่น
ด้านการพึ่งพาบริการจากเจ้าหน้าท่ีตารวจอยู่ที่อันดับ 107 ซ่ึงต่าลงจากปีก่อนถึง 47 อันดับ
ด้านผลกระทบทางธรุ กจิ จากการเกิดอาชญากรรมอย่ทู ่ีอันดบั 87 เปน็ ต้น

 ประเทศไทยมีอันดับในมิติสุขภาพและอนามัยต่าที่สุดเป็นอันดับ 4 ในอาเซียน ร่วมกับประเทศ
เวียดนาม และอยู่ท่ีอันดับ 88 ของโลก โดยมีอันดับด้านความหนาแน่นของบริการทางการแพทย์
(Physician density) คอ่ นขา้ งต่า อยทู่ ่ีอนั ดับ 97 ของโลก

 ประเทศไทยมีอันดับในมิติด้านความยั่งยืนของส่ิงแวดล้อมต่าที่สุดเป็นอันดับท่ี 3 ในอาเซียน
(รองจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและประเทศเวียดนาม) และอยู่ท่ีอันดับ 130
ของโลก ซ่ึงเป็นมิติท่ีมีอันดับน่ากังวลมากท่ีสุด มีอันดับด้านความเข้มงวดของกฎระเบียบ
ด้านสิ่งแวดล้อมอยทู่ ี่ 104 ของโลก ต่าลงจากปีก่อนหน้า 4 อันดับ มีอันดับความหนาแน่นของฝุน
ละออง PM 2.5 อยู่ที่ 131 ของโลก ต่าลงจากปีก่อนหน้า 5 อันดับ และมีอันดับสิ่งมีชีวิตท่ีมี
ความเสย่ี งต่อการสูญพนั ธอ์ุ ย่ทู ี่ 111 ของโลก ตา่ ลงจากปกี อ่ นหน้า 7 อนั ดับ

32 อันดับขีดความสามารถในการแข่งขนั ด้านการเดินทางและการทอ่ งเทีย่ ว (TTCI) ของประเทศไทย (ปี พ.ศ. 2562)

33 แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

อย่างไรก็ดี เม่ือเปรียบเทียบกับประเทศที่มีศักยภาพสูงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและอาเซียนแล้ว
พบว่าประเทศไทยมีข้อได้เปรียบในมิติการแข่งขันด้านราคา มีคะแนน 5.8 อยู่ท่ีอันดับ 25 ของโลก ในขณะท่ี
ประเทศญี่ปุนซ่ึงมีผลการจัดอันดับรวมเป็นที่ 1 ในเอเชีย มีคะแนนอยู่ท่ี 4.8 อยู่ท่ีอันดับ 113 ของโลก33
นอกจากนี้ยังโดดเด่นในมิติทรัพยากรธรรมชาติ มีคะแนน 4.8 อยู่ที่อันดับ 10 ของโลก และเป็นอันดับท่ี 1
ในอาเซียน ในขณะท่ีประเทศสิงคโปร์ซ่ึงมีผลการจัดอันดับรวมเป็นท่ี 1 ในอาเซียน มีคะแนนอยู่ท่ี 2.2
อยู่ทอ่ี นั ดบั 120 ของโลก34

1.3 กำรคำดกำรณก์ ำรฟื้นฟูกำรทอ่ งเทย่ี วไทยหลังสถำนกำรณก์ ำรแพร่ระบำดของโรคโควิด – 19
กำรวิเครำะห์กำรฟื้นตัวของกำรท่องเท่ียวไทย หลังจากเกิดสภาวะหยุดนิ่งจากสถานการณ์

การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 พิ ำรณำใน 3 ป ัยหลัก ได้แก่ 1) ป ัยภำยนอกท่ีส่งผลต่อ
กำรท่องเที่ยวไทย 2) ป ัยกำรฟ้ืนตัว ำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคโควิด – 19 ประกอบ
ไปด้วย แผนกำรฉีดวัค ีนป้องกันโรคโควิดของประเทศไทย อัตรำกำรฉีดวัค ีนของชำวไทยและ
ชำวต่ำงชำติ และ 3) บริบทกำรพัฒนำกำรท่องเที่ยวของประเทศไทยที่สอดคล้องกับแผนพัฒนำ
กำรทอ่ งเท่ียวแหง่ ชำติ ฉบับท่ี 3

ทงั้ น้ี ป ยั ภำยนอกจะพิจารณาจากความสามารถในการฟ้ืนฟูการท่องเที่ยวของโลก โดยองค์กรและ
สถาบันวิจยั จานวนมากคาดการณ์วา่ การท่องเทีย่ วโลกจะกลับมาเปน็ ปกติ (เทยี บเท่ากับปี พ.ศ. 2562) ภายใน
ระยะเวลา 2 – 4 ปี โดย บริษัท Bloomberg35 คาดการณ์ว่าการท่องเที่ยวโลกจะกลับมาฟ้ืนฟูอย่างเต็มท่ี
ในปี พ.ศ. 2566 โดยการท่องเท่ียวภายในประเทศ (Domestic Tourism) จะสามารถฟ้ืนตัวได้รวดเร็วกว่า
การท่องเท่ียวระหว่างประเทศ (International Tourism) McKinsey & Company36 และ ศูนย์วิจัย
กสิกรไทย37 คาดการณ์ว่า สภาวะการท่องเท่ียวโลกจะสามารถฟ้ืนตัวได้ปี พ.ศ. 2567 ในขณะท่ี
องค์การการท่องเท่ียวโลกแห่งสหประชาชาติ (UNWTO)38 คาดการณ์ว่าการท่องเที่ยวโลกจะกลับสู่ภาวะปกติ
ได้ระหว่าง ต้นปี พ.ศ. 2566 ไป นถงกลำงปี พ.ศ. 2568 ซึ่งขึ้นอยู่กับมาตรการกาหนดการจากัด
การเดินทาง ความล่าช้าในการจัดการกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ความม่ันใจของ
นักท่องเที่ยว ความร่วมมือระหว่างประเทศ และความเส่ือมโทรมทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ี UNWTO
ยังคาดการณ์ว่าการท่องเที่ยวในแถบเอเชียแปซิฟิกจะฟื้นตัวภายในระยะเวลาเดียวกัน เช่นเดียวกับ
บริษัทเงินทุนระหว่างประเทศ (International Finance Corporation: IFC) สถาบันการเงินในเครือ
ธนาคารโลก (World Bank)39 คาดการณ์ว่าถึงแม้ว่าจะมีการฉีดวัคซีนอย่างทั่วถึงและการท่องเที่ยวสามารถ
กลับมาดาเนินกิจการได้ดังเดิม แต่กำรท่องเท่ียวโลก ะฟ้ืนตัวกลับมำได้ภำยในปี พ.ศ. 2568 เน่ืองจาก
ภาคการผลิตในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวจะต้องเผชิญกับต้นทุนท่ีสูงขึ้นตามมาตรฐานด้านความสะอาดและ
สุขอนามัย

33 อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันดา้ นการเดนิ ทางและการท่องเท่ยี ว (TTCI) ของประเทศญ่ปี นุ (ปี พ.ศ. 2562)
34 อันดบั ขีดความสามารถในการแข่งขนั ดา้ นการเดินทางและการท่องเทยี่ ว (TTCI) ของประเทศสิงคโปร์ (ปี พ.ศ. 2562)
35 รายงานการคาดการณ์การท่องเทยี่ ว โดย Bloomberg Intelligence (ปี พ.ศ. 2564)
36 บทความ “COVID-19 tourism spend recovery in numbers” โดย บริษัท McKinsey & Company (ปี พ .ศ.2563)
37 บทความ “Global tourism may not recover until 2024” โดยศูนย์วจิ ัยกสกิ รไทย (ปี พ.ศ. 2563)
38 สถิติการคาดการณ์การฟื้นตวั การท่องเทยี่ วโลก จดั ทาโดย องค์กรการทอ่ งเทย่ี วโลกแหง่ สหประชาชาติ (UNWTO)
39 บทความ “How the Tourism Sector in Emerging Markets is Recovering from COVID-19” โดย Nisachol Mekharat และ Nouhoum Traore บริษัทเงินทนุ
ระหว่างประเทศ )International Finance Corporation: IFC) สถาบันการเงนิ ในเครือธนาคารโลก (World Bank) (ปี พ .ศ.2563)

แผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 34

เม่ือวิเคราะห์ป ยั กำรฟ้ืนตัว ำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคโควิด – 19 ประกอบไปด้วย
แผนการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิดของประเทศไทย อัตราการฉีดวัคซีนของชาวไทยและชาวต่างชาติ พบว่า
ประเทศไทยมแี ผนการฉดี วคั ซีนโควดิ – 19 ใหค้ รบทุกกลมุ่ เปา้ หมาย จานวน 100 ล้านโดส ครอบคลุมร้อยละ
70 ของประชากรในประเทศไทย ภายในปี 2564 (พ.ค. - ธ.ค. 2564)40 โดยในปัจจุบัน ประเทศไทย
มีการจัดหาวัคซีนแล้ว 63 ล้านโดสและอยู่ระหว่างการจัดซื้อวัคซีนเพ่ิมเติม ทั้งน้ี ประชากรไทยได้รับการฉีด
วัคซีนอย่างน้อย 1 โดสแล้วทั้งส้ิน 25,944,411 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 37 ของจานวนประชากรไทย
(ข้อมูล ณ วันที่ 20 สิงหาคม 2564)41 ในขณะเดียวกัน ยอดรวมการฉีควัคซีนท่ัวโลกอย่างน้อย 1 โดส
อยทู่ ีร่ อ้ ยละ 33 ของประชากรทวั่ โลก

จากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า องค์กรส่วนมากคาดการณ์การฟ้ืนตัวของการท่องเที่ยวโลก
อยู่ในช่วงระยะเวลา 2-4 ปี และในแต่ละประเทศ รวมถึงประเทศไทยมีแผนการฉีดวัคซีนให้กับประชาชน
ภายในประเทศเพื่อเร่งการฟ้ืนฟูเศรษฐกิจให้สามารถกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม
หากวิเคราะห์สถานการณ์การฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวไทย ภายหลังกรณีสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคโควิด – 19 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566 ถึง พ.ศ. 2570 พบว่าสถานการณ์การฟ้ืนตัวของประเทศไทยสามารถ
แบง่ ออกเป็น 3 กรณี ดังตอ่ ไปนี้

สถำนกำรณก์ ำรฟ้นื ตวั ของกำรท่องเท่ียวไทยและทั่วโลก

 การวเิ คราะหแ์ ละคาดการณว์ า่ การท่องเท่ียวไทย ขนึ้ อยกู่ บั สถานการณก์ ารฟืน้ ตวั ท่ัวโลก
ซึง่ คาดการณ์ว่าจะสามารถฟื้นตัวกลบั มาไดใ้ นปี 2565 – 2567

ทงั นีสถำนกำรณก์ ำรฟ้นื ตวั ของไทยสำมำรถแบง่ ออกเปน็ 3 กรณี
ด้วยขอ้ สมมุติ ำนกำรฟ้นื ตัวของประเทศไทยและโลก

รูปที่ 2-17: แนวโน้มการฟน้ื ตวั สถานการณก์ ารท่องเทย่ี วไทยจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ – 19
(หมายเหต:ุ คาดการณ์ ณ วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2564 ภายใตบ้ รบิ ทสถานการณ์ปัจจบุ นั )

40 แผนการฉีควคั ซีนโควดิ – 19 ในระยะถดั ไปของประเทศไทย กรมควบคมุ โรค (วันท่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2564)
41 สถิติการได้รบั วคั ซีน โดย กรมควบคุมโรค

35 แผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

กรณีทด่ี ที ส่ี ุด (Best Case)

ตารางที่ 2-3: การคาดการณ์แนวโน้มการทอ่ งเท่ยี วไทย กรณที ดี่ ที ่ีสดุ (Best Case)

Best Case

2566 2567 2568 2569 2570

นักทอ่ งเท่ียวต่ำงชำติ

คาดการณจ์ านวนนักท่องเท่ยี วก่อนสถานการณ์ 43.78 46.08 48.62 51.29 54.11

โควดิ – 19

อัตราการฟืน้ ตัวจากสถานการณ์โควดิ – 19 50% 60% 68% 72% 75%

จานวนนักทอ่ งเท่ียวภายหลังสถานการณ์โควดิ - 19 21.89 27.65 33.06 36.93 40.58
(ลา้ นคน)

รายได้รวมจากนักท่องเที่ยวตา่ งชาติ (ลา้ นล้านบาท) 1.38 1.75 2.10 2.36 2.61

นกั ท่องเท่ียวไทย

คาดการณจ์ านวนนกั ท่องเที่ยวก่อนสถานการณ์ 186.75 193.75 201.50 209.56 217.95

โควดิ - 19

อัตราการฟน้ื ตวั จากสถานการณ์โควดิ - 19 80% 95% 100% 100% 100%

จานวนนักทอ่ งเท่ยี วหลงั สถานการณ์โควิด - 19 149.40 184.06 201.50 209.56 217.95

(ล้านคน/ครัง้ )

รายได้รวมจากนักท่องเที่ยวไทย (ลา้ นลา้ นบาท) 1.07 1.36 1.56 1.63 1.73

รายไดร้ วมทั้งหมด (ล้านลา้ นบาท) 2.45 3.11 3.65 3.99 4.34

หมายเหตุ: คาดการณ์ ณ วันที่ 26 สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ภายใตบ้ รบิ ทสถานการณ์ปัจจบุ ัน

ในส่วนของกรณีที่ดีท่ีสุด มีการต้ังสมมุติฐาน ดังน้ี 1) อัตราการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด – 19 ของ
ต่างประเทศครอบคลุมไมต่ ่ากว่าร้อยละ 20 ของประชากรใน 10 ประเทศหลักที่สร้างรายได้จากการท่องเที่ยว
สูงสุดแก่ประเทศไทย 2) ประเทศไทยสามารถจัดหาวัคซีนได้ตามแผนการฉีดวัคซีนและกระจายวัคซีนป้องกัน
โรคโควิด – 19 อย่างท่ัวถึงภายในปี พ.ศ. 2564 และไม่เกิดการระบาดเพิ่มเติม 3) อัตราการเติบโตของ
ค่าใช้จ่ายต่อคนสูงกว่าค่าเฉล่ียย้อนหลัง 5 ปี และค่อย ๆ สูงข้ึน เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจที่ดีข้ึนอย่างรวดเร็ว
และนักท่องเท่ียวท่ีเข้ามาเกือบทั้งหมดเป็นกลุ่มนักท่องเท่ียวคุณภาพสูง พร้อมทั้งดาเนินงานตามแผนพัฒนา
การท่องเที่ยวฉบับที่ 3 ทกุ ประการ

จากข้อสมมตฐิ านข้างต้น ส่งผลให้ ภายใต้กรณีที่ดีท่ีสุด (Best Case) สามารถคาดการณ์ได้ว่า จานวน
นักท่องเที่ยวต่างชาติภายหลังกรณีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ในปี พ.ศ. 2566 อยู่ท่ีประมาณ
21.89 ลา้ นคน ในขณะทีจ่ านวนนักทอ่ งเท่ียวไทยในปีเดียวกันจะมีจานวนการท่องเท่ียวสูงกว่าอยู่ที่ 149.40
คน/ครง้ั ส่งผลใหป้ ระเทศไทยจะไดร้ ายได้รวมท้ังส้ินประมาณ 2,449,850 ล้านบาท โดยในปีถัด ๆ มาคาดการณ์ว่า
อตั ราการฟื้นตวั จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ – 19 จะปรบั ตัวดขี น้ึ เรื่อย ๆ โดยอัตราการฟื้นตัว
ของประเทศไทยจะกลับมาฟื้นตัวอย่างเต็มท่ีในปี พ.ศ. 2568 ซ่ึงจะกลับสู่ภาวะปกติก่อนการฟ้ืนตัวของ
ตา่ งประเทศ ทงั้ นี้ ใน ปี พ.ศ. 2570 ประเทศไทยจะไดร้ ายไดจ้ ากการท่องเทยี่ วราว 4,333,478 ลา้ นบาท

แผนพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 36

กรณี ำน (Base Case)

ตารางที่ 2-4: การคาดการณแ์ นวโน้มการท่องเทย่ี วไทย กรณีฐาน (Base Case)

Base Case

2566 2567 2568 2569 2570

นกั ทอ่ งเท่ียวตำ่ งชำติ

คาดการณ์จานวนนักท่องเท่ียวก่อนสถานการณ์ 43.78 46.08 48.62 51.29 54.11
โควิด - 19

อตั ราการฟื้นตัวจากสถานการณ์โควิด - 19 30% 45% 55% 60% 65%

จานวนนกั ท่องเทย่ี วภายหลงั สถานการณโ์ ควดิ - 19 13.13 20.74 26.74 30.77 35.17
(ล้านคน)

รายได้รวมจากนักท่องเท่ียวตา่ งชาติ (ลา้ นล้านบาท) 0.82 1.31 1.69 1.96 2.25

นักท่องเที่ยวไทย

คาดการณจ์ านวนนักท่องเท่ียวกอ่ นสถานการณ์ 186.75 193.75 201.50 209.56 217.95
โควดิ - 19

อตั ราการฟนื้ ตวั จากสถานการณ์โควิด - 19 60% 80% 95% 100% 100%

จานวนนักท่องเท่ียวหลังสถานการณ์โควดิ - 19

(ล้านคน/คร้งั ) 112.05 155.00 191.43 209.56 217.95

รายได้รวมจากนักท่องเท่ียวไทย (ล้านล้านบาท) 0.76 1.06 1.34 1.49 1.58

รายได้รวมท้ังหมด (ลา้ นล้านบาท) 1.58 2.37 3.03 3.45 3.83

หมายเหตุ: คาดการณ์ ณ วนั ท่ี 26 สิงหาคม พ.ศ. 2564 ภายใตบ้ รบิ ทสถานการณป์ ัจจบุ ัน

ในส่วนของกรณีฐาน มีการตั้งสมมุติฐาน ดังน้ี 1) อัตราการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด – 19 ของ
ต่างประเทศครอบคลุมไม่ต่ากว่าร้อยละ 20 ของประชากรใน 5 ประเทศหลักที่สร้างรายได้จากการท่องเท่ียว
สูงสุดแก่ประเทศไทย 2) ประเทศไทยจัดหาวัคซีนป้องกันโควิดได้ล่าช้ากว่ากาหนดเพียงเล็กน้อยและสามารถ
กระจายวัคซนี ป้องกันโควดิ – 19 อย่างทั่วถึงภายในกลางปี พ.ศ. 2565 รวมถึงการไม่เกิดการระบาดเพิ่มเติม
3) อัตราการเตบิ โตของค่าใช้จ่ายต่อคนท้ังนักท่องเที่ยวไทยและนักท่องเท่ียวต่างชาติสูงกว่าค่าเฉล่ียย้อนหลัง 5 ปี
และคอ่ ย ๆ สูงขึน้ เน่อื งจากสภาวะเศรษฐกิจทด่ี ีขนึ้ อย่างค่อยเป็นค่อยไป

จากข้อสมมติฐานข้างต้น ส่งผลให้ ภายใต้กรณีฐาน (Base case) สามารถคาดการณ์ได้ว่า จานวน
นักทอ่ งเทีย่ วตา่ งชาติภายหลงั กรณสี ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด – 19 ในปี พ.ศ. 2566 จะมีเพียง

13.13 ลา้ นคน ในขณะที่จานวนนกั ทอ่ งเที่ยวไทยในปีเดียวกันจะมีจานวนการท่องเที่ยวสูงกว่าอยู่ท่ี 112.05
คน/คร้ัง ส่งผลให้ประเทศไทยจะได้รายได้รวมท้ังส้ินประมาณ 1,580,870 ล้านบาท โดยในปีถัด ๆ มา
คาดการณ์ว่าอัตราการฟ้ืนตัวจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 จะปรับตัวดีข้ึนเรื่อย ๆ

สอดคลอ้ งกบั รายไดจ้ ากการท่องเทยี่ วของไทยท่จี ะเพ่ิมขึ้นเร่ือย ๆ เช่นกัน โดยอัตราการฟ้ืนตัวของประเทศไทย
จะกลับมาฟื้นตัวอย่างเต็มท่ีในปี พ.ศ. 2569 ท้ังนี้ ใน ปี พ.ศ. 2570 ประเทศไทยจะได้รายได้จาก
การทอ่ งเท่ียวประมาณ 3,827,335 ลา้ นบาท

37 แผนพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

กรณเี ลวรำ้ ยท่สี ดุ (Worst Case)

ตารางท่ี 2-5: การคาดการณ์แนวโนม้ การท่องเทีย่ วไทย กรณเี ลวรา้ ยทสี่ ุด (Worst Case)

Worst Case

2566 2567 2568 2569 2570

นกั ทอ่ งเท่ียวตำ่ งชำติ

คาดการณ์จานวนนักท่องเทย่ี วกอ่ นสถานการณ์ 43.78 46.08 48.62 51.29 54.11
โควดิ - 19

อตั ราการฟื้นตวั จากสถานการณ์โควิด - 19 10% 30% 45% 50% 55%

จานวนนักท่องเทย่ี วภายหลงั สถานการณโ์ ควิด - 19 4.38 13.82 21.88 25.65 29.76
(ลา้ นคน)

รายได้รวมจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ (ลา้ นล้านบาท) 0.27 0.87 1.38 1.62 1.89

นกั ท่องเท่ียวไทย 186.75 193.75 201.50 209.56 217.95
คาดการณ์จานวนนักท่องเทย่ี วกอ่ นสถานการณ์ 40% 65% 85% 95% 95%
โควดิ - 19 74.70
อตั ราการฟ้นื ตวั จากสถานการณ์โควดิ - 19 0.45 125.94 171.28 199.08 207.05
0.79 1.08 1.28 1.36
จานวนนักท่องเที่ยวหลังสถานการณ์โควิด - 19
(ลา้ นคน/ครั้ง)
รายไดร้ วมจากนักท่องเท่ยี วไทย (ล้านลา้ นบาท)

รายได้รวมทง้ั หมด (ล้านลา้ นบาท) 0.73 1.65 2.46 2.90 3.25

หมายเหตุ: คาดการณ์ ณ วนั ที่ 26 สงิ หาคม พ.ศ. 2564 ภายใต้บริบทสถานการณ์ปจั จบุ ัน

ในส่วนของกรณีเลวร้ายที่สุด มีการตั้งสมมุติฐาน ดังน้ี 1) มีการกลายพันธ์ุของโรคระบาดโควิด – 19

รนุ แรงในหลายประเทศทาให้ประสทิ ธภิ าพของวคั ซีนด้อยสภาพลง จงึ ตอ้ งพัฒนาวคั ซีนและเริ่มฉีดวัคซีนใหม่อีก
ครง้ั โดยอตั ราการฉีดวคั ซีนป้องกนั โรคโควดิ – 19 ของตา่ งประเทศครอบคลุมต่ากวา่ ร้อยละ 20 ของประชากร
ใน 10 ประเทศหลักที่สรา้ งรายได้จากการท่องเที่ยวสูงสุดแก่ประเทศไทย 2) ประเทศไทยสามารถจัดหาวัคซีน
ป้องกันโรคโควิด – 19 ได้ล่าช้ากว่ากาหนดค่อนข้างมาก โดยสามารถกระจายวัคซีนป้องกันโควิด – 19 อย่าง

ทั่วถึงภายในกลางปี พ.ศ. 2565 แต่เกิดการระบาดเพิ่มเติม 3) อัตราการเติบโตของค่าใช้จ่ายต่อคน
ทัง้ นกั ท่องเท่ยี วไทยและนกั ท่องเทีย่ วตา่ งชาตติ า่ กวา่ ค่าเฉล่ยี ย้อนหลัง 5 ปีค่อนขา้ งมาก และค่อย ๆ สูงขึ้นเพียง
เล็กน้อย เป็นผลมาจากสภาวะเศรษฐกิจยังคงไม่ฟื้นตัว และนักท่องเท่ียวที่เข้ามาในประเทศไทยส่วนมากไม่ใช่
กลมุ่ นักท่องเที่ยวคณุ ภาพสงู เน่ืองจากไม่ได้ปฏบิ ัตติ ามตามแผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียว ฉบบั ท่ี 3 อย่างสิน้ เชงิ

จากข้อสมมติฐานข้างต้น ส่งผลให้ ภายใต้กรณีเลวร้ายท่ีสุด (Worst case) สามารถคาดการณ์ได้ว่า
จานวนนักท่องเท่ียวต่างชาติภายหลังกรณีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ในปี พ.ศ. 2566

จะมเี พยี ง 4.38 ลา้ นคนเท่าน้ัน ในขณะที่จานวนนกั ท่องเที่ยวไทยในปีเดยี วกนั จะมีจานวนการท่องเที่ยวสูงกว่า
อยู่ท่ี 74.70 คน/ครั้ง ส่งผลให้ประเทศไทยจะได้รายได้รวมท้ังสิ้นประมาณ 727,303 ล้านบาท โดยในปี
ถัด ๆ มาได้คาดการณ์ว่าอัตราการฟ้ืนตัวจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 จะปรับตัวดีข้ึน

เรื่อย ๆ ส่งผลให้เกิดการขยายตัวของรายได้จากการท่องเที่ยวของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม สถานการณ์

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 38

การทอ่ งเท่ียวไทยจะฟืน้ ตัวไดส้ งู สดุ รอ้ ยละ 95 เทา่ นน้ั ในปี พ.ศ. 2569 และ พ.ศ. 2570 ในขณะท่ีการฟื้นตัว
ของนักท่องเท่ียวต่างชาติเพ่ิมข้ึนร้อยละ 5 ในปีเดียวกัน ทาให้ประเทศไทยได้รายได้จากการท่องเท่ียว
2,903,983 ลา้ นบาทและ 3,252,854 ล้านบาท ตามลาดับ

ท้งั นี้ ขอ้ สนั นษิ ฐานขา้ งต้นจะมีความเปลี่ยนแปลงไปข้ึนอยู่กับสถานการณ์และป ัยอ่ืน ๆ ท่ีสำมำรถ
ส่งผลต่อกำรท่องเที่ยว ยกตัวอย่ำงเช่น 1) ประเทศไทยมีกำรยกระดับมำตร ำนควำมปลอดภัย
ควำมสะอำด และสขุ อนำมยั โดยประเทศไทยไดอ้ อกมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัยเพื่อนักท่องเที่ยว
(Amazing Thailand Safety and Health Administration: SHA) เพ่ือทาให้นักท่องเท่ียวเกิดความม่ันใจ
ด้านสุขอนามัยในการท่องเท่ียวในประเทศไทย และ 2) ประเทศไทยมีนโยบำยกระตุ้นกำรท่องเท่ียว
ภำยในประเทศที่มีประสิท ิภำพ ท้ังในส่วนของมาตรการการช่วยเหลือผู้ประกอบการและกระตุ้น
การท่องเท่ียวภายในประเทศ เช่น การขยายระยะเวลายื่นภาษีเงินได้นิติบุคคล มาตรการชดเชยรายได้ให้กับ
มัคคุเทศก์ มาตรการสินเชื่อดอกเบ้ียต่าสาหรับผู้ประกอบการท่องเที่ยว การแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายของ
ประชาชนผ่านโครงการ “คนละคร่ึง” การแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวผ่านโครงการ “เราเที่ยว
ด้วยกัน” เป็นตน้ และ 3) กำรวำงแผนและเตรยี มกำรเปดประเทศ เปน็ ตน้

ประเทศเป้ำหมำยทีส่ ำคัญหลงั กำรฟื้นตัว ำกสถำนกำรณ์กำรแพรร่ ะบำดของโรคโควิด – 19

กลุ่มประเทศท่ีประเทศไทยควรให้ความสาคัญในด้านการท่องเที่ยวเป็นอันดับแรกภายหลังจาก
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด – 19 ทพ่ี จิ ารณาจากค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเท่ียว การเดินทางมา

ซ้าของนักท่องเท่ียว (Revisit) และการคาดการณ์การฟื้นตัวจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคโควิด – 19 ของประเทศดังกล่าว โดยพบว่าประเทศประเทศมีค่าใช้จ่ายต่อการเดินทางสูง มีอัตรา

การเดินทางเข้ามาท่องเท่ียวในประเทศไทยซ้า ได้รับการฉีดวัคซีนครบตามเป้าหมาย และควรให้ความสาคัญ
เป็นอันดับต้น ๆ ได้แก่ สหรั อเมริกำ สหรำชอำณำ ักร สำ ำรณรั ประชำชน ีน ประเทศออสเตรเลีย
สหพัน รั รสั เ ยี และประเทศญปี่ ุ่น

ตารางท่ี 2-6: ประเทศท่สี รา้ งรายไดใ้ หป้ ระเทศไทยสงู สดุ ปี พ.ศ. 2562

ลำดบั ประเทศ คำ่ ใช้ ำ่ ยต่อหัว (บำท/วนั /คน)
1) สหราชอาณาจักร 8,249
2) ประเทศออสเตรเลีย 7,752
3) สหพนั ธรฐั รสั เซยี 7,499
4) สหรัฐอเมรกิ า 7,301
5) ประเทศญ่ีปุน 5,665
6) สาธารณรฐั ประชาชนจนี 5,154
7) ประเทศอินเดีย 4,408
8) สาธารณรฐั เกาหลี 4,332
9) สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 3,375
10) ประเทศมาเลเซีย 2,715

39 แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

ตารางที่ 2-7: ประเทศทนี่ กั ทอ่ งเทยี่ วเดนิ ทางมาประเทศไทยซา้ สงู สุด ปี พ.ศ. 2562

ลำดบั ประเทศ ำนวนนกั ทอ่ งเท่ียวเดินทำง ำ (ร้อยละ)
1) สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 96.16
2) ประเทศญป่ี นุ 77.19
3) ประเทศออสเตรเลีย 73.62
4) ประเทศมาเลเซยี 72.26
5) สหราชอาณาจกั ร 70.90
6) ประเทศเยอรมนี 68.12
7) สหพนั ธรฐั รัสเซีย 65.89
8) สหรัฐอเมรกิ า 63.98
9) ประเทศอินเดีย 59.70
10) สาธารณรัฐประชาชนจนี 49.10

ตารางที่ 2-8: ระยะเวลาการฉีดวคั ซีนป้องกันโรคโควดิ -19

ลำดับ ประเทศ ระยะเวลำกำรฉีดวคั ีนป้องกันโรคโควิด-19 (ปี)

1) ประเทศอนิ เดยี 5

2) สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 2

3) สหพนั ธรัฐรัสเซีย 1.5

4) ประเทศญป่ี นุ 1.5

5) ประเทศมาเลเซีย 1.5

6) ประเทศออสเตรเลยี 1

7) สาธารณรฐั เกาหลี 1

8) สาธารณรฐั ประชาชนจีน 1

9) สหราชอาณาจักร 0.5

10) สหรฐั อเมรกิ า 0.5

(หมายเหตุ: ขอ้ มูล ณ วันท่ี 19 พ.ค. 2564 ทีม่ า: The Economist Intelligence Unit)

1.4 โครงสร้ำงประชำกรโลกและพฤติกรรมทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป

จากข้อมูลประชากรโลกของสหประชาชาติ (United Nations)42 แสดงให้เห็นแนวโน้มของจานวน
ประชากรโลกที่มีจานวนมากขึ้นอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุต้ังแต่ 51 ปีข้ึนไปท่ีมี
อัตราการเติบโตเร็วท่ีสุดจนกลายเป็น “สังคมผู้สูงอายุ” ซึ่งเป็นกลุ่ม Baby Boomers ผู้เกิดภายหลัง
สงครามโลกคร้ังที่ 2 หรือระหว่างปี พ.ศ. 2489 – 2507 จากการสารวจของ TripAdvisor.com และ

42 สถิตปิ ระชากรโลกของสหประชาชาติ (ปี พ.ศ. 2523 – 2603) 40

แผนพัฒนาการทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

Virtuoso 43 ผู้สูงอายุกลุ่มน้ีชื่นชอบรูปแบบการท่องเท่ียวท่ีแตกต่างจากกลุ่ม Generation X และกลุ่ม
Millennials เป็นอยา่ งมาก โดยกลุ่มนกั ท่องเทย่ี วท่ีเป็นผู้สูงอายมุ กั มลี กั ษณะในการท่องเทยี่ วต่าง ๆ ดังนี้

 ผู้สูงอายุจะมีงบประมาณการใช้จ่ายในการท่องเที่ยวมากกว่ากลุ่ม Generation X และกลุ่ม
Millennials ถึง 1.5 เทา่

 มแี นวโน้มในการทอ่ งเท่ียวเพ่อื ความบันเทงิ และการพักผอ่ นหย่อนใจสูงท่สี ดุ
 มคี วามสนใจในการสรา้ งประสบการณ์การท่องเที่ยวด้านวฒั นธรรมท้องถิน่
 การตัดสนิ ใจท่องเที่ยวไมไ่ ด้รับอิทธพิ ลจากราคาเที่ยวบนิ หรอื ขอ้ เสนอราคาพเิ ศษมากนัก
 พ่งึ พาขอ้ มลู เกี่ยวกบั การท่องเทยี่ วผา่ นสือ่ ส่งิ พมิ พแ์ ละสือ่ ด้ังเดิมเป็นหลกั

ำนวนและกำรคำดกำรณ์ประชำกรโลก แบ่งตำมชว่ งอำยุ
ตังแตป่ ี พ ศ 2523 - 2603

1212

1010

88

66

44

22

00219523 2159933 2543 25153 2563 2573 2583 2593 2603

ต่ากวา่ 5 ปี 5 -114 ปี 15 - 24 ปี 25 - 64ปี 65 + ปี

รปู ท่ี 2-18: จานวนประชากรโลกแบง่ ตามชว่ งอายุ

ผลงานวิจัยจากการวิเคราะห์ข้อมูลของ TripAdvisor และ Virtuoso44 พบว่า ระหว่าง 3 กลุ่ม
นักท่องเที่ยว 1) Baby Boomers อายุ 51 ปีขึ้นไป 2) Generation X อายุ 36 ปีข้ึนไป และ 3) Millennials
อายุ 17 ปีขึ้นไป กลุ่มนักท่องเท่ียวสูงอายุเป็นกลุ่มท่ีแสดงถึงโอกาสทางธุรกิจที่หลากหลาย เน่ืองจากเป็น
กลุ่มนักท่องเท่ียวที่ให้ความสาคัญกับคุณภาพในการท่องเที่ยว เดินทางท่องเท่ียวในช่วงนอกฤดูกาล มีเวลา
พานักต่อการเดินทางท่ียาวนานประมาณ 15 วัน ถึง 1 เดือน มองหาความสะดวกสบายและความปลอดภัย
ระหว่างการเดินทาง ซ่ึงส่งผลให้ต้องมีค่าใช้จ่ายท่ีสูงข้ึนตามไปด้วย จากผลการสารวจแนวโน้มการท่องเที่ยว
ประจาปีของ AARP Research45 (พ.ศ. 2564) พบผลสารวจว่า ยังมีกลุ่มผู้สูงอายุท่ียังไม่ยกเลิกความต้ังใจ
ท่ีจะไปท่องเท่ียวและต้องการที่จะไปท่องเที่ยวในโลกกว้าง ร้อยละ 54 วางแผนที่จะท่องเท่ียวในปี
พ.ศ. 2564 และรอ้ ยละ 13 ของกลมุ่ ผูส้ งู อายวุ างแผนทอ่ งเทยี่ วทางทะเลด้วยเรือสาราญ

43 การวเิ คราะห์รปู แบบการท่องเท่ยี วของกลุ่มประชากรที่แตกต่างกนั ของ Tripadvisor และ Virtuoso (ปี พ.ศ. 2560)
44 รายงานการวิเคราะหข์ อ้ มลู จาก TripAdvisor และ Virtuoso โดย EIC
45 รายงานคาดการณแ์ นวโนม้ การทอ่ งเที่ยว 2021 ของ AARP Research (2021)

41 แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

ตารางท่ี 2-9: พฤติกรรมการทอ่ งเทีย่ วของประชากรในแตล่ ะชว่ งอายุ

Baby Boomers Generation X Millennials

(อำยุ 51 ปขี นไป) (อำยุ 36 ปีขนไป) (อำยุ 17 ปขี นไป)

การใช้จ่ายในการทอ่ งเท่ยี ว (USD) 8,736 5,700 2,915

รูปแบบกำรท่องเทีย่ ว

ใหค้ วามสาคัญกับการพกั ผ่อนหยอ่ นใจ 82% 79% 77%

การจองบริการผา่ นแพลตฟอร์มออนไลน์ 84% 82% 90%

การเปรียบเทยี บตัวเลือกทางออนไลน์ 72% 71% 80%

ป ยั ที่มอี ิท ิพลต่อกำรเลอื กสถำนทีท่ อ่ งเทย่ี ว

สงั คมและวฒั นธรรม 52% 46% 46%

คาแนะนาจากเพอ่ื น 22% 28% 36%

ราคาคา่ ต๋วั เครื่องบนิ ถกู 13% 21% 36%

ข้อเสนอแพ็คเกจท่พี ักราคาถูกพิเศษ 22% 23% 18%

ความเฉพาะเจาะจงของท่พี ัก 20% 18% 11%

สื่อท่ีมอี ิท ิพลตอ่ กำรตัดสนิ ใ

ภาพยนตร์ 5% 10% 18%

โทรทัศน์ 11% 19% 22%

สอ่ื ส่งิ พมิ พ์ 15% 17% 15%

แหล่งทีม่ ำ: EIC analysis based on data from TripAdvisor and Virtuoso

กลุ่มประชากรชาว Generation X (เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2508 – 2523) หรือประชาชนที่มีอายุ
ประมาณ 36 ปีขึ้นไป จากการศึกษารายงานเจาะเทรนด์โลก 2021 โดยศูนย์สร้างสรรค์ (TCDC)46 พบว่า
เป็นกลุ่มท่ีชอบหางานอดิเรก (Hobbies) ที่แปลกใหม่ให้ตนเองอยู่เสมอ โดยไม่ได้คานึงว่ากิจกรรมเหล่านั้นคือ
สิ่งที่ทาในยามว่าง แต่กลับมองว่าเป็นการให้เวลากับตัวเอง ร้อยละ 57 ท่ีให้ความสาคัญกับเร่ืองโภชนาการ
ทางอาหาร การออกกาลังกาย และปนั่ จักรยานทัวรน์ าเมนต์ ตัวอย่างของการท่องเท่ียวสาหรับกลุ่มประชากรนี้
ได้แก่ การทอ่ งเทีย่ วเชงิ ผจญภัย (Adventure tourism) การทอ่ งเที่ยวเชิงกฬี า (Sport tourism) เปน็ ต้น

สาหรับกลุ่มประชากรชาว Millennial หรือ Generation Y (เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2524 – 2539)
จากรายงานเจาะเทรนด์โลก 2021 ของศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) พบว่าร้อยละ 73 ใช้สื่อสังคม
ออนไลน์หลากหลาย เช่น อินสตาแกรม สแนปแชท ติ๊กตอก เป็นต้น จึงส่งผลให้มีโอกาสทางธุรกิจขึ้นเกิดเป็น
ธุรกิจประเภท Direct-to-Consumer และร้อยละ 77 มักจะซ้ือเคร่ืองดื่มและโพสต์ลงโซเชียลทุก ๆ สัปดาห์
ส่งผลต่อรายได้การเติบโตของร้านกาแฟ ร้านชานมไข่มุก และร้านอาหารท่ีเป็นที่กาลังเป็นท่ีนิยม ณ ขณะน้ัน
ซ่ึงเป็นโอกาสสาหรับธุรกิจบริการท่องเท่ียว เช่น การท่องเที่ยวเชิงอาหาร (Gastronomy) หรือการท่องเท่ียว
แบบเนบิ ชา้ (Slow Travel) ท่ไี มพ่ ่งึ พามัคคุเทศก์ เปน็ ต้น

46 รายงานเจาะเทรนดโ์ ลก 2021 โดยศูนย์สรา้ งสรรค์งานออกแบบ (Thailand Creative & Design Center) 42

แผนพฒั นาการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

สาหรบั ประชากรชาว Generation Z (เกิดระหว่างปี พ.ศ. 2540 – 2555) เป็นกลุ่มคนที่เกิดมากับ
โลกดิจิทัลอย่างแท้จริง เติบโตมาพร้อมกับความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลา รายงานเจาะ
แนวโน้มโลก 2021 ของศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) 47 กล่าวว่าร้อยละ 33 ใช้เวลามากกว่า
6 ชั่วโมงต่อวันในโลกออนไลน์ อย่างไรก็ตาม คนกลุ่มนี้ชอบท่องเท่ียวเพ่ือสร้างประสบการณ์ร่วมกับคน
ในชุมชน เช่น การทากิจกรรม Workshop การทางานฝีมือการทากิจกรรมร่วมกับชาวบ้าน เป็นต้น คนกลุ่มน้ี
ไม่สนใจสินค้าหรือโฆษณาจากผู้มีอิทธิพล (Influencers) แต่จะติดตามบุคคลที่มีลักษณะคล้ายหรือ
มคี วามสนใจเรือ่ งเดียวกัน

รูปแบบกำรตลำดเพื่อกำรทอ่ งเท่ียวท่ีเปลีย่ นแปลงไปในยุคดิ ทิ ลั

การทาการตลาดเพ่ือการท่องเท่ียวต้องปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เน่ืองจากในปัจจุบันนักท่องเที่ยว
มีการเปลี่ยนแปลงในด้านของโครงสร้างกลุ่มนักท่องเท่ียว ตลอดจนมีการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมและ
ความต้องการของนักท่องเท่ียวอย่างรวดเร็ว (Tourism marketing technique must adapt to a digital
era) จากการวิเคราะห์โครงสร้างประชากรข้างต้น รวมถึงการวิจัยของธนาคารกรุงศรี พ.ศ. 256448 แสดงให้
เห็นว่าปัจจุบันมีประชากรในประเทศไทยอาศัยอยู่ร่วมกันมาก และแต่ละกลุ่มประชากรมีลักษณะ พฤติกรรม
และความชอบในดา้ นการท่องเท่ยี วท่ีแตกต่างกนั สง่ ผลให้การสอื่ สารการตลาดต้องปรบั ตวั

กำรตลำดตอ้ งปรบั ตัวใหท้ ันสมัย (Marketing New Version)

ป ุบนั โครงสร้ำงประชำกรคอ่ นขำ้ งหลำกหลำย รวมถงแต่ละกลุ่มคนยงั มีควำมแตกต่ำงกนั วิ ีกำรทำกำรตลำดทเี่ ปล่ยี นแปลงไปใหเ้ หมำะสมกบั ยุคป บุ ัน
ทำงพฤตกิ รรมและควำมตอ้ งกำรทำงกำรทอ่ งเทีย่ ว
การทาการตลาดทุกชอ่ งทางอยา่ งไร้รอยต่อ เพ่ือใหส้ ามารถเขา้ ถงึ นักท่องเทีย่ วได้ทุก
กล่มุ ทกุ ที่ และทกุ เวลา (Omnichannel Marketing)

จากสถิตผิ ูใ้ ช้สื่อสังคมออนไลนใ์ นประเทศไทยปี พ.ศ. 2564 พบ 55 ล้านคน
(78.7%) จงึ ควรการทาการตลาดบนส่ือสังคมออนไลน์ (Social Media Marketing)

การส่ือสารการตลาดอย่างตรงใจนกั ท่องเท่ียวในทุก ๆ รายละเอียด (Personalized
Marketing) ดว้ ยการวเิ คราะห์ข้อมลู ขนาดใหญ่เชงิ ลึก (Big Data Analysis)

การตลาดผ่านการสร้างเนอื้ หาดว้ ยตวั ผูใ้ ชเ้ อง (User Generated Content: UGC)
ซงึ่ จะมีผลตอ่ นักทอ่ งเทีย่ วมากกวา่ การตลาดผ่านช่องทางอน่ื ๆ

การตลาดผ่านผู้มีอทิ ธิพล (Influencers) จะส่งผลต่อการตัดสินใจของนักท่องเท่ยี ว
มากกวา่ รปู แบบการตลาดแบบดัง้ เดมิ เน่อื งจากเปน็ บคุ คลที่นกั ทอ่ งเที่ยวชื่นชอบ

การตลาดผ่านช่องทางที่เหมาะสมกับกล่มุ เป้าหมาย เชน่ การตลาดสถานทที่ ่องเท่ยี ว
ผา่ นภาพยนตร์ เป็นต้น

รปู ท่ี 2-19: รูปแบบการตลาดท่เี ปลย่ี นแปลงไปตามโครงสร้างประชากรทห่ี ลากหลาย

 กำรตลำดหลำกหลำยช่องทำงอย่ำงไร้รอยต่อ (Omnichannel Marketing) ซ่ึงเป็นการติดต่อ
สอ่ื สารกับนกั ทอ่ งเท่ียวเป้าหมายในหลากหลายช่องทางที่เช่ือมโยงช่องทางต่าง ๆ รวมเป็นหนึ่งเดียว
โดยผสมผสานชอ่ งทางการสอ่ื สารทงั้ แบบออนไลน์ (Online) และออฟไลน์ (Offline) เขา้ ด้วยกัน

 กำรตลำดผ่ำนช่องทำงสื่อสังคมออนไลน์ และสร้ำงเนือหำให้เหมำะสมกับแต่ละแพลตฟอร์ม
(Social Media Marketing) จากการศึกษาสถิติผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2564
พบผู้ใชง้ านมากถึง 55 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 78.7% ของจานวนประชากรท้ังประเทศ ซึ่งถือว่า
เป็นจานวนที่ค่อนข้างมาก รวมถึงสื่อสังคมออนไลน์แต่ละท่ีจะมีการแสดงผลและการใช้งาน

47 รายงานเจาะเทรนดโ์ ลก 2021 โดยศนู ยส์ ร้างสรรค์งานออกแบบ (Thailand Creative & Design Center)
48 รายงานเร่ืองธุรกิจทอ่ งเทย่ี วและโรงแรมหลงั COVID – 19 ของ Research Intelligence, Krungsri Research (พ.ศ. 2564)

43 แผนพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

ท่ีแตกต่างกัน ดังน้ัน การสร้างสรรค์และนาเสนอเน้ือหาจึงจาเป็นต้องปรับให้เหมาะสมกับ
กลมุ่ เปา้ หมายและแตล่ ะแพลตฟอร์ม
 กำรสื่อสำรกำรตลำดอย่ำงตรงใ นักท่องเท่ียวด้วยกำรวิเครำะห์ข้อมูลขนำดใหญ่ (Personalized
Marketing by Big Data Analysis) เน่ืองจากการท่ีจะทราบได้ถึง ความต้องการท่ีแท้จริงของ
นักท่องเท่ียวแต่ละคนนั้น จาเป็นท่ีจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลจานวนมหาศาลของนักท่องเที่ยว
เข้าด้วยกัน พร้อมทั้งวิเคราะห์เพ่ือนาผลลัพธ์มาปรับปรุงประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวและสร้าง
ความสมั พนั ธท์ ่ีแข็งแกร่งผา่ นการตลาดที่ตรงใจ
 กำรตลำดผ่ำนกำรสร้ำงเนือหำด้วยตัวผู้ใช้เอง (User Generated Content: UGC) การสร้าง
ประสบการณ์การท่องเท่ียวท่ีดีให้กับนักท่องเท่ียว พร้อมทั้งกระตุ้นให้นักท่องเท่ียวนั้นสร้างเนื้อหา
และเผยแพร่ผ่านช่องทางของตนเอง จะเป็นการสื่อสารการตลาดท่ีเกิดจากประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจริง
ข อ ง นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ต ล อ ด จ น ท า ใ ห้ ส า ม า ร ถ ดึ ง ดู ด ค ว า ม ส น ใ จ ข อ ง ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ท่ี ใ ก ล้ ชิ ด กั บ
นกั ทอ่ งเท่ียวกลมุ่ นัน้ ๆ ไดม้ ากยงิ่ ข้ึน
 กำรสอ่ื สำรกำรตลำดผำ่ นผู้มีอิท ิพล (Influencers) เนื่องจากผู้มีอิทธิพลเป็นบุคคลท่ีมีผู้ติดตาม
ค่อนข้างมาก และได้รับความเช่ือถือจากผู้ติตตามเหล่าน้ัน ดังนั้นการตลาดผ่านผู้มีอิทธิพล
จงึ สามารถส่งผลต่อการตดั สินใจของนกั ทอ่ งเท่ยี วคนอื่นที่ติดตามผ้มู อี ทิ ธิพลนน้ั ๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
 กำรตลำดผ่ำนช่องทำงท่ีเป็นท่ีได้รับควำมสนใ ำกชีวิตประ ำวัน เน่ืองจากประชาชน
มีพฤติกรรมในการชมภาพยนตร์อยู่เป็นประจาเพื่อความบันเทิง หรือเพ่ือวัตถุประสงค์อื่น ๆ ของ
แต่ละคน อย่างไรก็ตามการสื่อสารการตลาดสถานท่ีท่องเที่ยวต่าง ๆ ผ่านละคร หรือภาพยนตร์
จงึ เปน็ อกี หนง่ึ ช่องทางสาหรับการตลาดในปจั จุบัน

1.5 รปู แบบและประเภทกำรท่องเที่ยวศักยภำพสงู ของไทย

พฤติกรรมการเดินทางของนักท่องเที่ยวไทยและนักท่องเท่ียวต่างชาติท่ีเปล่ียนไปจากสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 รวมท้ังแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงท่ีสาคัญของโลก (Mega Trend) ความพร้อม
ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย ท้ังในด้านของแหล่งท่องเที่ยว ชุมชนท่องเที่ยว ความย่ังยืนของทรัพยากร
และวัฒนธรรม และโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ พบว่ามีประเภทการท่องเที่ยวท่ีประเทศไทยมีศักยภาพ
7 ประเภท ได้แก่ 1) การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม (Creative Tourism) 2) การท่องเที่ยว
เชิงธุรกิจ (MICE) 3) การท่องเท่ียวเชิงกีฬา (Sport Tourism) 4) การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และ
แพทย์แผนไทย (Medical and Wellness Tourism) 5) การท่องเที่ยวสาราญทางน้า (Coastal Maritime
and River Tourism 6) การท่องเท่ียวเช่ือมโยงอนุภูมิภาค ชุมชน และนานาชาติ (Connectivity Tourism)
และ 7) การท่องเทย่ี วอยา่ งมีความรับผดิ ชอบ (Responsible Tourism) โดยมรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี

กำรท่องเท่ยี วเชิงสรำ้ งสรรคแ์ ละวัฒน รรม (Creative Tourism)
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมเป็นรูปแบบของกิจกรรมการท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นการใช้

องค์ความรแู้ ละนวัตกรรมในการสร้างสรรคค์ ณุ ค่าสนิ คา้ และบริการการท่องเท่ียว เพ่ือสร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ
แก่นักท่องเที่ยวจากแหล่งท่องเที่ยวท่ีมีความเก่ียวข้องกับวัตถุสิ่งของ ภูมิปัญญา จิตวิญญาณ และ
ประวัติศาสตร์ หรือผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมทั้งที่จับต้องได้ (Tangible Culture) และท่ีจับต้องไม่ได้
(Intangible Culture) ทั้งน้ี การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เป็นประเภทการท่องเท่ียวที่ประเทศไทยมีศักยภาพ
ควรไดร้ บั การสนบั สนนุ เปน็ อย่างมาก เนื่องด้วย 1) ประเทศไทยมีแหล่งท่องเท่ียวเชิงวัฒน รรมที่สร้ำงขนมำ
ในอดีต ำนวนมำก เช่น วัด โบราณสถาน เป็นต้น สอดคล้องกับควำมต้องกำรของนักท่องเที่ยวทังชำวไทย

แผนพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 44

และชำวตำ่ งชำตใิ นกำรท่องเท่ยี วเชงิ วัฒน รรมในประเทศไทย จากสถติ ิการศกึ ษาพฤติกรรมการเดินทางของ
นักท่องเที่ยวไทย จัดทาโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ในปี 256249 พบว่า นักท่องเท่ียวไทย
เลือกที่จะท่องเท่ียวเพื่อสักการะศาสนสถานและมีความต้องการท่องเท่ียวเพื่อศึกษาพื้นที่สาคัญทาง
ประวัติศาสตร์ ศึกษาวิถีชีวิตวัฒนธรรมตามชุมชนในระดับสูง โดยมากกว่าครึ่งของนักท่องเท่ียวไทยเลือกท่ีจะ
ท่องเที่ยวทางศาสนา รองลงมาคือท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมท่ีร้อยละ 38.6 ในทานองเดียวกัน จากการศึกษา
สถติ สิ ดั ส่วนของนกั ทอ่ งเทีย่ วต่างชาตใิ นปี พ.ศ. 2562 พบวา่ นกั ทอ่ งเทีย่ วต่างชาติประมาณร้อยละ 55.1650
เลือกท่จี ะช่ืนชมสถานที่ทางประวตั ิศาสตร์ โดยครอบคลุมไปถงึ กิจกรรมอน่ื ๆ เช่น การเข้าวัด พิพิธภัณฑ์ เป็นต้น
ตลอดจนการรับประทานอาหารไทย หรือเรียนทาอาหารไทยและท่องเที่ยวงานเทศกาล ซึ่งกิจกรรมทั้งหมดนี้
ถูกจัดอยู่ในประเภทการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมท้ังส้ิน 2) ประเทศไทยมีต้นทุนด้ำนสถำนท่ี
ท่องเที่ยวและควำมพร้อมของชุมชนในกำรนำเสนอกิ กรรมเชิงสร้ำงสรรค์และวัฒน รรมที่โดดเด่น
โดยประเทศไทยมีความโด่นเด่นของโขนไทย (Khon, masked dance drama in Thailand) ที่ถูกจัดเป็น
มรดกวัฒนธรรมอันจับต้องไม่ได้ (Intangible Heritage) โดยองค์กร UNESCO นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมี
สถานที่ท่องเที่ยวที่ได้จดทะเบียนเป็นมรดกโลกหลายท่ี กระจายตามจังหวัดของประเทศไทยซ่ึงส่วนมากเป็น
เมืองโบราณสถาน ยกตัวอย่างเช่น อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
อุทยานประวตั ิศาสตร์กาแพงเพชร อทุ ยานประวัตศิ าสตร์พนมรงุ้ อทุ ยานประวัติศาสตร์พมิ าย เปน็ ต้น

อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยยังมีการพึ่งพาแหล่งท่องเที่ยวท่ีเป็นโบราณสถานหรือแหล่งท่องเที่ยว
ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมหรือศิลปะโบราณอยู่มาก โดยแหล่งท่องเท่ียวหรือศิลปะและวัฒนธรรมท่ีถูกสร้าง
ข้นึ มาเปน็ เวลานานอาจทรุดโทรมลงได้ตามกาลเวลา ถึงแม้ว่าจะเป็นแหล่งท่องเท่ียวที่ตอบโจทย์ความต้องการ
ของนักท่องเที่ยวที่ฝักใฝประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมโบราณ แต่ในปัจจุบัน นักท่องเท่ียวจานวนมากมี
ความสนใจในศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่มากย่ิงขึ้น เช่น สตรีทอาร์ท (Street Art) โรงละคร ศิลปะร่วมสมัย
เป็นต้น ซ่ึงในประเทศไทยยังมีแหล่งท่องเท่ียวรูปแบบดังกล่าวจานวนน้อย และกระจุกตัวอยู่ในพื้นท่ี
กรงุ เทพมหานคร และเมืองท่องเทยี่ วสาคญั บางเมืองเท่านั้น การพัฒนาและสร้างแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
และศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ และการปรับเปล่ียนรูปแบบการเล่าเร่ืองเพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับวัฒนธรรมเดิม
จะช่วยเพม่ิ ความหลากหลายและดงึ ดูดนกั ท่องเทย่ี วให้กระจายออกไปต่างเมืองได้มากขน้ึ

กำรท่องเทีย่ วเชิง ุรกิ (MICE)
การท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ (MICE) หมายถึงการท่องเท่ียวขนาดใหญ่ 4 ธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจการจัด

การประชุมขององค์กร (Meeting) การท่องเที่ยวเพ่ือเป็นรางวัล (Incentive) การจัดการประชุมนานาชาติ
(Conventions) และการจัดการแสดงสินค้าและนิทรรศการ (Exhibitions) ซึ่งการท่องเท่ียวเชิงธุรกิจจัดเป็น
ประเภทการท่องเท่ียวท่ีประเทศไทยมีศักยภาพ สืบเนื่องมาจาก ความต้องการเดินทางของนักท่องเท่ียว
เชิงธุรกิจท่ีเดินทางมายังประเทศไทยมากข้ึนอย่างต่อเนื่อง จากการศึกษาข้อมูลสถิติการท่องเที่ยวจากบัญชี
ประชาชาติด้านการท่องเท่ียว ซึ่งได้ทาการสารวจวัตถุประสงค์ของการเดินทางมาเที่ยวในประเทศไทย ต้ังแต่
ปี พ.ศ. 2557 – 2562 (TSA) พบว่า ในปี พ.ศ. 2560 นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ
จานวน 1,457,211 คน โดยใน ปี พ.ศ. 2561 พบนักท่องเท่ียวเดินทางท่องเที่ยวเชิงธุรกิจเพิ่มขึ้นเป็น
1,826,258 คน และในปี พ.ศ. 256 จานวนนักท่องเที่ยวเชิงธุรกิจก็ยังคงมากถึง 1,795,681 คน

49 รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสารวจพฤตกิ รรมการเดนิ ทางท่องเท่ียวของชาวไทย (ปี พ.ศ. 2562)
50 รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการสารวจขอ้ มูลเพื่อการศกึ ษาวเิ คราะห์พฤติกรรมของนกั ทอ่ งเทย่ี วเชงิ ลึก (ปี พ.ศ. 2562)

45 แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570)

หากคานวณอตั ราการเตบิ โตของนกั ท่องเทยี่ ว จานวนนกั ท่องเทย่ี วชาวตา่ งชาติทีเ่ ดินทางเพือ่ ท่องเท่ียวเชิงธุรกิจ
ในประเทศไทย มอี ัตราการเติบโต (CAGR) เพม่ิ ข้ึนมากถงึ รอ้ ยละ 11 ต่อปี

คา่ ใชจ้ ่ายรวมรายปีของนักท่องเทยี่ วเชงิ ธรุ กจิ ทีเ่ ดินทางมายังประเทศไทย
ระหว่างปี พ ศ 2553 ถึง ปี พ ศ 2562

คำ่ ใช้ ่ำย (พนั ล้ำนดอลลำร์สหรั ) 4.1 3.58 3.72
4.5 3.49

4.0

3.5

3.0 2.7 2.5 2.46
2.11
2.5 2.36

2.0 1.74

1.5

1.0

0.5

0.0

รปู ที่ 2-20: ค่าใชจ้ า่ ยรวมรายปีของนกั ท่องเท่ียวเชิงธุรกิจ

ยิ่งไปกว่านั้น ประเทศไทยมจี ดุ แข็งในการรองรับนกั ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจและการส่งเสริมอุตสาหกรรมไมซ์
ในด้านความได้เปรียบจากการที่มีสาธารณูปโภคและสถานท่ีจัดกิจกรรมไมซ์ท่ีมีมาตรฐาน ความพร้อมและ
จุดเด่นที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาค อาทิ ภาคกลางมีความพร้อมในทุกกลุ่มงานและมีบุคลากรและสถานท่ี
จัดงานท่ีพร้อมรองรับงานไมซ์ในทุกรูปแบบ ภาคเหนือโดดเด่นและมีช่ือเสียงด้านวิถีชีวิตล้านนา รวมถึงธุรกิจ
ด้านสุขภาพ การเกษตร และหัตถกรรม ภาคอีสานจะโดดเด่นด้านเทคโนโลยีการเกษตร มีภูมิปัญญาผ้าไหม
หลากหลายชนิดที่สามารถนามาเล่าเร่ือง ภาคตะวันออกท่ีสามารถเน้นเรื่องการพัฒนาพ้ืนที่ EEC เป็นหลัก
เช่น ธุรกิจเพาะปลูกผลไม้ และธุรกิจพลอยท่ีน่าสนใจ และภาคใต้นอกจากความโดดเด่นเรื่องทะเล ยังคงมี
การเชื่อมโยงด้านวัฒนธรรมและเศรษฐกิจกับประเทศมาเลเซียเช่นกัน ประกอบกับประเทศไทยมีสถานที่
ที่เอ้ืออานวยต่อการจัดกิจกรรมไมซ์ เช่น แหล่งท่องเท่ียวทางด้านวัฒนธรรมและแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ
ที่มีจุดเด่นมากกว่าประเทศเพ่ือนบ้านในภูมิภาคอาเซียน นอกจากนี้ ประเทศไทยมีจุดแข็งในด้านความคุ้มค่า
(Value for Money) ความสามารถในการแขง่ ขันด้านราคา และภาพลักษณแ์ ละชอ่ื เสยี งด้านการบริการ

แผนพฒั นาการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 46

ร้อยละของกำรเปลี่ยนแปลง อัตราการเติบโตของการใชจ้ ่ายระหว่างการทอ่ งเท่ยี วของนกั ทอ่ งเท่ียวเชิง 2.6
8 7.4 ธุรกจิ ท่วั โลก ระหว่างปี พ ศ 2553 ถงึ ปี พ ศ 2562
7
6 3.7 3.6 3.9 3.9
5 4.6 2.9
4 2.3 2.4
3
2
1
0

รปู ท่ี 2-21: อัตราการเติบโตของการใชจ้ า่ ยระหว่างการท่องเท่ยี วเชิงธรุ กจิ ท่วั โลก

กำรท่องเที่ยวเชิงกีฬำ (Sport Tourism)
การท่องเที่ยวเชิงกีฬา ประกอบไปด้วย 3 ประเภท ได้แก่ 1) การท่องเท่ียวงานหรือมหกรรมกีฬา

(Sport Event Tourism) ซึ่งเป็นงานที่มีลักษณะเฉพาะ 2) การท่องเท่ียวเพ่ือเล่นกีฬา (Active Sport
Tourism) การเข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีการเล่นกีฬาหรือเพ่ือเข้าร่วมแข่งขันกีฬา 3) การท่องเท่ียวเชิงกีฬา
เพื่อความทรงจา (Nostalgia Sport Tourism) คือการเดินทางไปยังสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับกีฬาท่ีมีช่ือเสียง
และการเข้าค่ายกีฬากับนักกีฬาท่ีมีช่ือเสียง ท้ังนี้ การท่องเท่ียวเชิงกีฬาของประเทศไทย เป็นการท่องเท่ียว
ที่น่าสนใจและมีศักยภาพ เนื่องจากสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวจานวนมากและช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ
การท่องเที่ยว โดยบริษัทวิจัยการตลาด Technavio คาดว่าการท่องเที่ยวเชิงกีฬาของโลก จะมีมูลค่า 5.7
ลา้ นล้านดอลลารส์ หรฐั ในปี พ.ศ. 2564 เพม่ิ ขนึ้ เฉลีย่ ร้อยละ 32 ต่อปี ในขณะท่ีการบริโภคเพ่ือการท่องเที่ยว
เชิงกีฬาของไทย ในปี พ.ศ. 2560 มีมูลค่า 157,606 ล้านบาท และเพิ่มข้ึนในปี 2561 มีมูลค่าเป็น
177,550 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.65 อีกทั้ง ประเทศไทยมีกีฬามวยไทยที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติ และ
กีฬาอื่น ๆ ที่เป็นท่ีนิยมสาหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ เช่น กีฬากอล์ฟ และกีฬาดาน้า เป็นต้น จากการศึกษา
สถติ ิทีจ่ ัดทาโดยการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย (ททท.) พบว่า มวยไทยสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับ
ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2561 สูงถึง 100,000 ล้านบาท51 หรือคิดเป็นร้อยละ 5 จากรายได้การท่องเท่ียว
ทั้งหมด อีกทั้งสามารถสรา้ งกาไรจากการขายของที่ระลกึ ท่เี กย่ี วข้องแกน่ ักท่องเท่ียว

นอกจากนี้ ประเทศไทยยังคงมคี วามพรอ้ มดา้ นมีศูนย์การฝึกซ้อมกีฬาและสนามกีฬา โดยประเทศไทย

มีสนามกฬี าที่มีความจุมากกวา่ 5,000 ทน่ี ่งั มากถงึ 69 สนาม อกี ท้งั มตี ้นแบบเมอื งท่องเท่ียวเชิงกีฬา บุรีรัมย์

โดยคว้าแชมป์ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีกถึง 6 สมัย ยอดนักท่องเท่ียวเดินทางมาเพ่ิมข้ึนเฉล่ียร้อยละ 10 ต้ังแต่ปี

พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2558

51 รายงานฉบบั สมบูรณ์ โครงการสารวจข้อมูลเพื่อการศกึ ษาวเิ คราะห์พฤตกิ รรมของนักท่องเทย่ี วเชงิ ลกึ (ปี พ.ศ. 2562) ของการทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย