จบศิลปศาสตร์ ทํางานต่างประเทศ

เป็นหนึ่งในความฝันของใครหลายคน ส่วนใหญ่แล้วอาจด้วยเรื่องของแรงจูงใจด้านการเงิน บ้างก็เรื่องของสวัสดิการ ความเป็นอยู่ในชีวิตที่ดีมากขึ้นกว่าการทำงานในประเทศไทย

ไม่ว่าจะมีเหตุผลส่วนตัวอย่างไรก็ตาม ก่อนที่ตัดสินใจไปทำงานต่างประเทศ ลองมาฟังข้อมูลจากบทความชิ้นนี้หันก่อนดีกว่าว่า อาชีพที่ชาว Pantip ให้ความนิยมมีอะไรบ้าง!?

เผื่อจะเป็นแนวทางและข้อมูลที่น่าสนใจอยากไปทำงานในต่างประเทศได้นำมาประกอบการตัดสินใจกัน!

5 อาชีพที่ชาว Pantip นิยมสมัครไปทำงานในต่างประเทศมีอะไรกันบ้าง!?

จบศิลปศาสตร์ ทํางานต่างประเทศ

1.อาชีพน่าสนใจในต่างประเทศที่ชาว Pantip  แนะนำ: เจ้าหน้าที่ดูแลด้านสุขภาพ

จบศิลปศาสตร์ ทํางานต่างประเทศ

สมาชิก Pantip : ป้านี่เอง

ะทรวงแรงงานหรือเปล่า!?อยู่อเมริกาค่ะ เรียนจบธรรมศาสตร์ และ Sorbonne แล้วเรียนพยาบาลที่อเมริกา ทำงานบริษัทประกันสุขภาพ เป็นเจ้าหน้าที่สอบสวน Health care fraud & abuse

2.อาชีพน่าสนใจในต่างประเทศที่ชาว Pantip  แนะนำ: นางพยาบาล

จบศิลปศาสตร์ ทํางานต่างประเทศ

สมาชิก Pantip : 703994

อยู่เดนมาร์กค่ะ เคยทำงานพยาบาล ใช้คำว่าเคย เพราะตอนนี้ออกงานมาเลี้ยงลูกอย่างเดียว เรียนจบพยาบาลที่ไทย แล้วก็มาต่อเฉพาะทางที่นี่ จบก็ทำงานในโรงพยาบาลของมหาลัยเลย (ช่วงที่เรียนก็ทำงานทำความสะอาดไปด้วยช่วงเช้าและเย็น เงินดีมาก ๆ แต่ทำได้แค่ปีเดียวก็ต้องออก เพราะมีฝึกงานด้วย ไม่ไหวค่ะ  และปกติไม่ชอบพวกทำความสะอาดด้วย แต่ที่ทำเพราะเห็นแก่เงินล้วน ๆ ) ช่วงที่ทำงานพยาบาล รายได้ดีจากการขึ้นเวรค่ะ ที่นี่คิดรายได้จากจำนวนชั่วโมงที่ทำงาน รายได้ต่อชั่วโมงเยอะพอควร อยู่แบบสบาย ๆ เลยล่ะ งานก็ไม่หนักมาก แต่อึดอัด เพราะสังคมผู้หญิง ที่ไหน ๆ ก็เหมือน ๆ กัน อิจฉา ริษยา แบ่งพรรคพวก แต่เราก็ทำได้อยู่แค่ 3 ปีก็จำเป็นต้องออก เพราะท้อง และไม่อยากขึ้นเวร อดหลับอดนอนไม่เป็นเวลา ไม่ไหวจริง ๆ พอใจกับงานไหม ระดับหนึ่ง แต่ไม่ที่สุด

Smilla

อยู่เดนมาร์กค่ะ จบครูจากไทย จบด้าน IT จากสวีเดน และจบพยาบาลที่เดนมาร์ก ตอนนี้ทำงานเป็นพยาบาลที่วอร์ดคนไข้ในที่ รพ. แห่งหนึ่งในเดนมาร์ก สาเหตุที่เลือกทำงานพยาบาล เพราะตอนย้ายมาเดนมาร์ก หางานด้าน IT ไม่ได้ ก็เลยเปลี่ยนสายมันซะเลย

3.อาชีพน่าสนใจในต่างประเทศที่ชาว Pantip แนะนำ : งานด้านวิทยาศาสตร์

จบศิลปศาสตร์ ทํางานต่างประเทศ

สมาชิก Pantip : PinyZ

อยู่อเมริกา เรียนจบป.ตรี biotech มาจากธรรมศาสตร์ ทำงานตรงกับที่เรียนมามากกก เป็น staff scientist ใน lab ได้ทำงานแบบที่เรียนมาทุกอย่าง เงินเดือนได้เท่ากับ คนอเมริกันที่จบสาขานี้ ประสบการณ์ทำงานที่เท่ากัน สรุปจบมาจากไทยก็ใช่้ได้ในอเมริกา (มีเพื่อนคนไทยและคนอเมริกันหลายคนเข้าใจว่าวุฒิของไทยใช้ที่นี้ไม่ค่อยได้ แล้วแต่คนและสาขาที่จบมาด้วยมั้ง) พอใจกับงานในระดับหนึ่ง เพราะเราอยู่ไทยเคยเป็นแอร์มาก่อน ชอบเดินทางมากกว่าทำงานในแล็บ พอมาทำแล็บเลยมีเบื่อๆบ้าง แต่ก็ทำๆไป เพื่อเงิน และไม่เบื่อเหมือนนอนอยู่บ้านอย่างเดียว

4.อาชีพน่าสนใจในต่างประเทศที่ชาว Pantip แนะนำ : งานด้านบริการ

จบศิลปศาสตร์ ทํางานต่างประเทศ

สมาชิก Pantip : lilien

อยู่ประเทศเดียวกับคุณข้างบนน่ะค่ะ จบการตลาดมา  พอมาอยู่ที่นี่ เราหางานแรกเป็นงานบริการ ในร้านกาแฟแบบกึ่งบริการตัวเอง ราวๆ สตาร์บัค ความรู้สึก เราชอบค่ะ เพราะได้ติดต่อกับผู้คน มีสังคมเพื่อนร่วมงาน มีรายได้เป็นของตัวเอง ทำได้ 5 ปี เบื่อสถานที่ เพราะมันไม่ได้มีวี่แววว่าจะก้าวหน้า

สมาชิก Pantip : 3263256

ะทรวงแรงงานหรือเปล่า!?อยู่อเมริกาค่ะ จบ ศิลปศาสตร์  เอก ภาษาอังกฤษและการสื่อสาร ช่วงแรก… ทำงานเด็กเสริฟ และห้องสมุด ค่ะ …

5.อาชีพน่าสนใจในต่างประเทศที่ชาว Pantip แนะนำ : งานด้านวิศวกรรม

จบศิลปศาสตร์ ทํางานต่างประเทศ

สมาชิก Pantip : 3669119

ก่อนอยู่ประเทศอะไร ในยุโรป เรียนจบอะไร Electromechanics ทำงานอาชีพอะไร Project leader เน้นไปทางไฟฟ้า -สาเหตุที่เลือกทำงานนี้ ชอบเทคโนโลยีการทำงานของไฟฟ้า เครื่องกลอยู่แล้ว ตรงกับสาขาที่เรียน เงิน -เงินเดินเท่าไหร่(อันนี้ถ้าไม่อยากบอกก็ไม่ต่องบอกก็ได้ค่ะ) ไม่อยากบอก -ทำมาแล้วกี่ปี 5 ปี -พอใจกับงานแค่ไหน ให้ 7.5/10

บทสรุปส่งท้าย : ชาว Pantip แนะนำอยากไปทำงานต่างประเทศ ควรเลือกอาชีพไหนดี!?

จบศิลปศาสตร์ ทํางานต่างประเทศ

สำหรับการเลือกอาชีพในการไปทำงานในต่างประเทศ..

ชาว Pantip มีเทคนิคแนะนำที่น่าสนใจคล้ายกันคือ จำเป็นที่จะต้องเรียนภาษาทางการของประเทศดังกล่าวให้ได้ในระดับที่สามารถสนทนากับเจ้าของภาษาได้เสียก่อน

ต่อมาคือ ต้องเลือกสายงานอาชีพที่เหมาะสมกับตัวเองและมีความต้องการของตลาดแรงงานในช่วงเวลานั้นหรือเปล่า!?

เพียงเท่านี้ การไปทำงานในต่างประเทศก็จะเต็มไปด้วยความสุข สนุกกับการทำงานและใช้ชีวิตในต่างประเทศได้อย่างแน่นอน..

หลายคนอาจจะสงสัยว่าเรียนสาขามนุษยศาสตร์จบมาแล้วไปทำอะไรได้บ้าง จริงๆ แล้วข้อดีของการเรียนมนุษยศาสตร์คือไม่มีอาชีพที่ตายตัวแบบงานสาขาอื่นๆ เพราะฉะนั้นเลยขึ้นอยู่กับคนที่เรียนเลยว่าอยากทำงานสาขาอะไร แต่วันนี้จะยกงานที่หลากหลายมากขึ้น

(อย่างไรก็ตาม รายได้อาจจะมากน้อยตามประเภทบริษัท พื้นที่ประเทศหรือจังหวัดที่ทำ หรือประสบการณ์ เพราะฉะนั้นอย่าเพิ่งตกใจว่าทำไมถึงไม่มีอาชีพนี้ อาชีพนี้มาอยู่ได้ยังไง หรือทำไมอาชีพนี้ไม่เห็นเกี่ยวกับสาขามนุษยศาสตร์เลย)

 

1. Content Marketing/Content Strategist

ในยุคนี้สมัยนี้งานสายคอนเทนต์กำลังมาแรงเพราะฉะนั้นการเป็นคนวางแผนคอนเทนต์ให้ผลิตภัณฑ์หรือตามเอเจนซี่จึงเป็นที่ต้องการในตลาด ใครๆ ก็อยากให้งานออกมาปัง น่าสนใจ การจะเป็นคนที่ผลิตคอนเทนต์ที่ออริจินัลและน่าสนใจได้อาจจะไม่ได้ใช้แค่กลไกตลาด แต่ใช้ความน่าสนใจ ความสร้างสรรค์ด้วย คนเรียนสาขามนุษยศาสตร์ที่เรียนเกี่ยวกับเรื่องนี้อาจจะมาช่วยเติมเต็มในด้านนี้ได้

 

จบศิลปศาสตร์ ทํางานต่างประเทศ

 

2. Creative

อาชีพนี้แม้ส่วนใหญ่จะจบสายนิเทศหรือศิลป์ แต่ก็มีสายมนุษย์ศาสตร์ที่ไปเป็นครีเอทีฟหลายคน ยกตัวอย่างพี่ป๋อมแป๋ม อดีตพิธีกรรายการเทยเที่ยวไทย ที่เริ่มต้นเป็นครีเอทีฟรายการต่างๆ อยู่เบื้องหลังก่อนจะเป็นพิธีกรอยู่เบื้องหน้าก็จบสายมนุษยศาสตร์มาเช่นกัน เพราะฉะนั้นไม่สำคัญว่าจะจบสายอะไร ถ้ามีความสามารถ ใจรักและความตั้งใจแล้วจะทำอะไรก็ได้

 

3. Technical Editor

เราอาจจะได้ยินการเป็น Editor หรือบรรณาธิการตามนิตยสารหรือสำนักพิมพ์เชิงไลฟ์สไตล์กันมาบ้าง แต่วันนี้จะมาแนะนำอาชีพ Technical Editor หรือบรรณาธิการสายเทคนิค อาชีพนี้จะเป็นแผนกคอยปรู๊ฟ แก้ไขคำศัพท์เชิงเทคนิคในอุตสาหกรรมต่างๆ ที่ไม่ค่อยเห็นในชีวิตประจำวันทั่วไป เช่น อุตสาหกรรมเครื่องยนต์ อุตสาหกรรมเทคนิคอื่นๆ อาจจะได้ใช้หลายภาษาก็ได้แล้วแต่ชนิดของอุตสาหกรรมและกลุ่มเป้าหมายที่เลือกไป

 

4. Tutor

งานสอนพิเศษหรือติวเตอร์ถือว่าเป็นงานที่มีรายได้ต่อชั่วโมงสูงทีเดียว คนที่เรียนสาขามนุษยศาสตร์จะได้รับความเชื่อถือจากผู้ปกครองและนักเรียนส่วนใหญ่ในการสอนวิชาประเภทสังคม ประวัติศาสตร์ ภาษาต่างๆ หรือการสอบที่จำเพาะเจาะจง เช่น SAT IELTS TOEIC TOEFL การเขียน การพูดต่างๆ และอื่นๆ อีกมากมาย เรียกว่าทางเลือกสายนี้เปิดโอกาสให้คนเรียนสายมนุษยศาสตร์ที่รักการสอนหรือการอธิบาย บางคนก็สอนเป็นรายได้เสริม บางคนก็สอนจนเป็นรายได้หลักได้เลย

 

จบศิลปศาสตร์ ทํางานต่างประเทศ

 

5. เจ้าหน้าที่กระทรวง

อาชีพนี้แม้จะมีการแข่งขันมาก ต้องสอบหลายวิชา แต่ความมั่นคง และสวัสดิการที่ได้รับก็น่าสนใจเพียงพอที่จะทำให้หลายๆ คนที่เรียนสาขามนุษยศาสตร์เข้าหา อาชีพนี้เป็นอาชีพที่ค่อนข้างเป็นทางการ เหมาะกับคนที่ชอบอะไรประเภทนี้ อาจจะมีกฎเกณฑ์หรือการแต่งตัวที่เข้มงวดมากกว่าการทำงานสายอาชีพอื่น แต่ถ้าใครชอบและคิดว่าเป็นสิ่งท้าทายแล้วก็น่าสนใจมากทีเดียว

 

จบศิลปศาสตร์ ทํางานต่างประเทศ

 

6. Secretary

เลขาธิการไม่ใช่อาชีพที่จำกัดให้สายอาชีพใดอาชีพหนึ่ง แต่ว่านักศึกษาที่จบสายมนุษยศาสตร์หลายๆ คนก็ให้ความสนใจกับอาชีพนี้ เพราะเป็นอาชีพที่รวมความสามารถหลายๆ แบบไว้ด้วยกัน ทั้งการจัดการ ภาษา มารยาท การพูดจา ความรู้ทั่วไป ความสร้างสรรค์ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และอื่นๆ อีกมากมาย เลขาธิการถือเป็นตัวแทนของตำแหน่งต่างๆ หรือตัวแทนของบริษัทก็ว่าได้ เรียกได้ว่าเป็นอีกหนึ่งอาชีพที่ท้าทายเลย

 

7. พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน

อาชีพพนักงานต้อนรับบนเครื่องแบนหรือเรียกอีกอย่างว่า แอร์โฮสเตส และสจ๊วต เป็นอาชีพที่มีหลายๆ คนใฝ่ฝันหา อาชีพนี้คนที่เรียนสาขามนุษยศาสตร์ประเภทสายภาษาบางคนอาจจะได้เปรียบเรื่องไปประกอบอาชีพในสายการบินที่ต้องการภาษานั้นพอดี แต่สายอื่นๆ ก็ไม่ได้เป็นรอง เพราะการจะทำอาชีพนี้ได้ต้องผ่านการคัดเลือกและการทดสอบที่เข้มข้น ไม่ใช่แค่คัดกันที่ส่วนสูงและหน้าตา เพราะฉะนั้นต้องทำการบ้านดีๆ เพราะงานนี้แม้จะได้ไปหลายประเทศแต่ก็หนักและเหนื่อยไม่แพ้อาชีพอื่นเลย

 

จบศิลปศาสตร์ ทํางานต่างประเทศ

 

8. ไกด์

อาชีพไกด์เป็น 1 ในอาชีพสำหรับคนชอบท่องเที่ยว (ไปอ่านบทความรวมอาชีพสำหรับคนชอบท่องเที่ยวได้ที่นี่) แต่ก่อนจะทำอาชีพนี้ได้ก็ต้องสอบให้ได้รับรองไกด์ก่อน ไม่ใช่ว่าทุกคนก็เป็นได้ เพราะฉะนั้นสำหรับใครที่อยากเป็นอาจจะเริ่มจากการเรียนสาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม แล้วไปสอบไกด์ หรือสำหรับใครที่อยากเป็นจริงๆ แต่เรียนสาขาอื่นก็อาจจะต้องหาความรู้ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมต่างๆ ให้แม่นเพื่อไปสอบและแข่งขันนั่นเอง

 

หามหาวิทยาลัยและคอร์สเดี๋ยวกับการท่องเที่ยวและการโรงแรมที่นี่

 

 

ทั้งนี้ทั้งนั้นอย่างที่บอกไปว่าทั้งหมดก็ขึ้นอยู่กับบริษัทที่ทำ ถ้าทำบริษัทเอกชนหรือบริษัทต่างชาติก็จะมีเรทเงินที่สูงกว่าบางที่ แต่สรุปแล้วค่าของงานหรือค่าความสำเร็จอาจไม่ได้มาจากแค่หน้าที่การงานหรือเงินเดือนอย่างเดียว เพราะฉะนั้นเลือกเรียน เลือกทำงานที่สนใจดีกว่าเครียดว่างานนั้นได้เงินเดือนมากกว่าอีกงาน หรือเรียนสาขานี้แล้วจะได้เงินเยอะกว่าอีกสาขา เพราะยังมีปัจจัยอื่นๆ เช่น เพื่อน ประสบการณ์ ความรู้ มาให้คิดอีกด้วย