Customer Departmentalization คือ

  การจัดองค์การ ( Organizing)

นักทฤษฎีองค์การทั้งหลายพยายามที่จะออกแบบองค์การ   เพื่อรวบรวมเอาพนักงานทั้งหลายขององค์การที่จะต้องทำงานร่วมกัน   และมีความจำเป็นที่จะต้องประสานงาน  เพื่อให้งานได้รับมอบหมายบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ ซึ่งการจัดองค์การถือว่าเป็นหัวใจสำคัญของกระบวนการบริหารการจัดการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานบางอย่างไม่สามารถทำเพียงคนเดียวได้  หลาย ๆ คนจำต้องรวมตัวกันเป็นกลุ่มที่เรียกว่า  “  องค์การ  ”   CHESTER  I  BARNARD  กล่าวว่า  องค์การเป็นระบบของการร่วมมือร่วมใจของมนุษย์

การจัดองค์การ  (Organizing)  คือ  กระบวนการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคนงานและกิจกรรมต่างๆขององค์การเพื่อที่จะก่อให้เกิด การใช้ทรัพยากรขององค์การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

การจัดองค์การ (Organizing) คือ  การจัดระเบียบกิจกรรมต่าง ๆ ในองค์การ และมอบหมายงานให้คนปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายการจัดองค์การที่ดี จะช่วยให้การบริหารการจัดการมีประสิทธิภาพได้เนื่องจาก

1. ทำให้ทราบขอบเขต  ความรับผิดชอบ  และอำนาจหน้าที่ต่าง ๆ

2. ช่วยป้องกันการทำงานที่ซ้ำซ้อน

3. ช่วยประสานงานในหน้าที่ต่าง ๆ ได้ดี

4. ช่วยลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างพนักงานในองค์การได้

5. สามารถแสดงให้เห็นตัวภาระหน้าที่ความรับผิดชอบได้ชัดเจน

6. ทำให้มีระบบการสื่อสารตามสายการบังคับบัญชาที่ดี

หลักของการจัดองค์การ

     หลักสำคัญของการจัดองค์การ  ควรมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบ , ความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชา สายบังคับบัญชา ช่วงการบังคับบัญชา การประสานงาน หลักของการทำงานเฉพาะอย่าง  และเอกภาพในการบังคับบัญชาองค์ประกอบของการจัดองค์การจะประกอบไปด้วย  การแบ่งงานกันทำ  (Division of  work)  การจัดแผนกงาน  (Departmentalization)  การกระจายอำนาจหน้าที่  (Distribution  of  Authority)  และการประสานงาน  (Co-ordination)การจัดองค์การจะปรากฏขึ้นในรูปแผนภูมิองค์การที่เกิดจากการลากเส้นต่าง ๆ เพื่อให้เห็นการแบ่งแยกกลุ่มงาน  ผู้รับผิดชอบ  ตามลำดับลดหลั่นกันไปรูปแผนภูมิองค์การนั้นก็คือ ความสัมพันธ์ที่เป็นทางการของสมาชิกในองค์การหรือที่เรียกว่า  องค์การที่เป็นทางการ (Formal  Organization)  แต่อย่างไรก็ตามองค์การมีการเปลี่ยนแปลงเสมอ  ดังนั้น  สายสัมพันธ์ในองค์การก็จะมีการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน ซึ่งเราเรียกความสัมพันธ์ดังกล่าวว่าองค์การที่ไม่เป็นทางการ (Informal  Organization)  องค์การที่ไม่เป็นทางการมีอยู่ทุกแห่ง  ซึ่งเป็นองค์การที่เกิดจากความสัมพันธ์ส่วนตัว มีทั้งข้อดีและข้อเสีย

      -  องค์การที่เป็นทางการ (Formal Organization)  คือ กลุ่มหรือองค์การที่ถูกกำหนดขึ้นโดยโครงสร้างขององค์การซึ่งมีกฎเกณฑ์  รวมทั้งระบบสายการบังคับบัญชาที่กำหนดขึ้น

      -  องค์การที่ไม่เป็นทางการ  (Informal  Organization)  คือกลุ่มหรือองค์การที่เกิดจากการ  รวมตัวของปัจเจกบุคคล  โดยอาศัยพื้นฐานทางด้านผลประโยชน์และสายสัมพันธ์ความเป็นเพื่อน  ลักษณะของความสัมพันธ์ภายในจึงไม่มีกฎเกณฑ์ข้อบังคับที่แน่นอน

องค์ประกอบของการจัดองค์การ

ขั้นตอนที่สำคัญ

องค์ประกอบของการ

จัดองค์การ

เหตุผล

1. กำหนดงานต่างๆชนิดที่จำเป็นจะต้องทำ

การแบ่งงาน

(Division  of  Work)

จัดแบ่งงานทุกชนิดขององค์การให้อยู่ในรูปของกลุ่มงานต่าง ๆ  โดยที่กลุ่มงานแต่ละกลุ่มนั้นจะใช้กำลังคนหนึ่งคนในการจัดทำ

2. จัดกลุ่มงานต่าง ๆ  ให้เข้าอยู่ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

การจัดแผนกงาน

(Departmentalization)

รวมกลุ่มงานต่าง ๆ เข้าด้วยกันเพื่อให้กิจกรรมต่าง ๆ สามารถดำเนินไปได้อย่างสอดคล้องและกลมกลืนกัน

3. กระจายและมอบหมายอำนาจหน้าที่ให้กับ บุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

การกระจายอำนาจหน้าที่

(Distribution of Authority)

กำหนดความรับผิดชอบสำหรับงานต่าง ๆ  พร้อมทั้งมอบหมายหน้าที่ที่ต้องใช้ในการทำงานดังกล่าวให้กับบุคคลที่รับผิดชอบ

4.เชื่อมหน่วยงานต่าง ๆเข้าด้วยกัน  เพื่อให้การดำเนินการขอองค์การเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพบรรลุยังวัตถุประสงค์ที่ต้องการ

การประสานงาน

(Co-ordination)

เชื่อมบุคลากรและกิจกรรมต่าง ๆให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมที่จะส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์การสามารถดำเนินงาน

บรรลุยังวัตถุประสงค์ที่ต้องการ

การจัดโครงสร้างขององค์การ

      หมายถึง  การกำหนดหน่วยงานในแต่ละระดับให้เชื่อมโยงงานเข้าด้วยกัน  โดยอาจจะเชื่อมโยงงานในลักษณะแนวดิ่ง  หรือแนวนอนก็ตาม  ให้มีการประสานกิจกรรมต่าง ๆ  ในแต่ละระดับเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ

การออกแบบโครงสร้างองค์การตามหน้าที่  (Functional  Organization)

      เป็นวิธีการจัดองค์การ  โดยแบ่งตามหน้าที่  หรือลักษณะงานที่ต้องทำโดยอาศัยความถนัดของแต่ละบุคคล  เพื่อประโยชน์สูงสุดขององค์การ

การออกแบบโครงสร้างองค์การโดยพิจารณาถึงพื้นที่(TerritorialorGeographic  departmentation) เป็นการจัดรูปแบบองค์การโดยอาศัยออกเป็นกลุ่ม ๆ   โดยคำนึงถึงสภาพทางภูมิศาสตร์หรือแบ่งตามพื้นที่  ซึ่งจะช่วยให้เกิดความสะดวกในการขยายธุรกิจ  หรือการกระจายสินค้าหรือบริหารได้ครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่

การออกแบบโครงสร้างองค์การตามแบบลูกค้า

      เป็นการจัดกลุ่มงานโดยแยกตามความแตกต่างของลูกค้า  เพื่อตอบสนองได้รวดเร็ว  และชัดเจนมากยิ่งขึ้น

การออกแบบโครงสร้างองค์การแบบตามผลิตภัณฑ์   (Departmentation  by  product) คือ  การจัดองค์การโดยยึดหลักตามผลิตภัณฑ์ขององค์การที่ผลิตได้  หรือแยกตามบริการขององค์การ

การออกแบบโครงสร้างองค์การแบบแมททริกซ์  (Matrix  organization)

     เป็นการจัดองค์การในลักษณะแผนก  แต่ขึ้นกับหน้าที่องค์การ  โดยมีสายการบังคับบัญชา 2 สายพร้อมกันคือ สายบังคับบัญชาที่เป็นงานประจำ และสายบังคับบัญชาที่เป็นงานโครงการ  ทั้งที่เป็นแนวดิ่งและแนวนอน ซึ่งมีอำนาจหน้าที่เท่ากัน

Customer Departmentalization คือ

โดยสรุปได้ว่า

       การจัดองค์การ หมายถึง การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างส่วนงานต่างๆ และบุคคลในองค์การ โดยกำหนดภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้ชัดแจ้ง เพื่อให้การดำเนินงานตามภารกิจขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

                                     

Customer Departmentalization คือ

Customer Departmentalization คือ
Customer Departmentalization คือ
Customer Departmentalization คือ
Customer Departmentalization คือ
Customer Departmentalization คือ
Customer Departmentalization คือ

Customer Departmentalization คือ
การจัดองค์การ ซึ่งลักษณะของการจัดองค์การที่ดีนั้น ควรมีลักษณะดังนี้

Customer Departmentalization คือ

หัวหน้างานทุกฝ่ายต้องมีความรับผิดชอบในขอบเขตหน้าที่ของตน

Customer Departmentalization คือ
แบ่งหน้าที่รับผิดชอบตามตำแหน่งที่ได้รับ ผู้มีตำแหน่งสูง มีอำนาจมากก็

ควรรับผิดชอบในงานมากขึ้น

Customer Departmentalization คือ
ไม่ควรเปลี่ยนแปลงขอบเขตความรับผิดชอบของตำแหน่งต่างๆ โดยไม่ได้

พิจารณาอย่างรอบคอบ เพราะจะกระทบกระเทือนต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง

Customer Departmentalization คือ
ต้องมีเอกภาพในการบังคับบัญชา เพื่อจะไม่สร้างความสับสนแก่บุคลากร

ในองค์การ

Customer Departmentalization คือ
การออกคำสั่งควรเป็นไปตามลำดับขั้นของสายการบังคับบัญชา ไม่ควร

ออกคำสั่งข้ามหน้าผู้บังคับบัญชาขั้นต้น เพราะจะเป็นการทำลายระบบดำเนินงาน

ตามสายงาน เป็นการทำลายขวัญและกำลังใจของผู้ปฏิบัติงาน

 

Customer Departmentalization คือ
 การตำหนิผู้กระทำผิดทุกระดับควรทำในที่ลับ เพราะจะช่วยให้ผู้ถูก

ตำหนิไม่เสียหน้า

  

Customer Departmentalization คือ
เมื่อเกิดความขัดแย้งระว่างผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับขอบเขตของอำนาจ

หน้าที่ ฝ่ายบริหารควรจะพิจารณาตัดสินทันที

  

Customer Departmentalization คือ
การเลื่อนตำแหน่ง หรือการดำเนินงานทางวินัย ควรได้รับอนุมัติจากผู้

บังคับบัญชาที่รับผิดชอบโดยตรง

  

Customer Departmentalization คือ
ไม่ควรสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาช่วยวิพากษ์วิจารณ์งานของคนอื่น   

  
Customer Departmentalization คือ
ควรให้ความสะดวกแก่ผู้บริหารในการตรวจสอบและการควบคุมการ

ทำงานอย่างอิสระ

Customer Departmentalization คือ

Customer Departmentalization คือ
Customer Departmentalization คือ
Customer Departmentalization คือ
Customer Departmentalization คือ
Customer Departmentalization คือ
Customer Departmentalization คือ

Customer Departmentalization คือ
ขอขอบคุณ 
Customer Departmentalization คือ

http://www.thaieditorial.com

สืบค้นเมื่อวันที่  15 พฤศจิกายน  2561