Instrumental motivation คือ

แรงจูงใจมีสองประเภทใหญ่ๆ คือ

Extrinsic motivation คือ แรงจูงใจที่มาจากภายนอก เช่น ตั้งใจเรียนเพื่อให้ได้รับคำชม  สอบให้ได้คะแนนดีเพื่อให้ได้เรียนต่อ เป็นต้น

Intrinsic motivation คือ แรงจูงใจที่มาจากภายใน เช่น เรียนภาษาอังกฤษเพราะอยากเรียน  ตั้งใจเรียนวิทยาศาสตร์เพราะสนใจอยากรู้ เป็นต้น

ในการศึกษาแล้ว เราอยากจะให้ผู้เรียนเรียนด้วยintrinsic motivationเป็นหลัก เพราะผู้เรียนจะเรียนด้วยความกระตือรือล้น เรียนด้วยความตั้งใจ ซึ่งจะนำไปสู่ความสำเร็จในการเรียนได้ในที่สุด

หน้าที่ของครูก็คือ ใช้วิธีอย่างไรก็ได้เพื่อทำให้extrinsic motivationในการเรียนกลายเป็นintrinsic motivationในนักเรียนให้ได้  เมื่อทำได้แล้ว นักเรียนจะเรียนประสบความสำเร็จ

เมื่อก่อนม่อนก็เป็นคนที่ไม่ชอบเรียนภาษาและเรียนไม่เก่งด้วย แต่มีextrinsic motivationให้ตั้งใจเรียนเพราะเราต้องสอบให้ได้คะแนนดีๆ แต่ถึงจะเรียนๆไปก็ยังไม่เก่งอยู่ดี เพราะไม่ได้เรียนด้วยความอยากเรียนอยากรู้จริงๆ แต่เมื่อได้เรียนกับอาจารย์ที่เก่งคนหนึ่ง เขาก็ทำให้ม่อนเข้าใจหลักของภาษา ทำให้เราเปลี่ยนจากการเรียนเพราะรู้สึกว่าต้องเรียน กลายเป็นว่าอยากเรียนเพราะอยากรู้แทน  ถึงแม้ว่าจะได้เรียนกับอาจารย์ท่านนั้นแค่ปีการศึกษาเดียว ซึ่งก็ไม่ได้ทำให้ม่อนเก่งภาษาอังกฤษในทันทีทันใด แต่เมื่ออาจารย์ได้ทำให้ม่อนเปลี่ยนไปเรียนภาษาจากintrinsic motivationแทนแล้ว ถึงแม้ว่าจะไม่ได้เรียนกับอาจารย์ท่านนั้นอีก แต่ม่อนก็เรียนด้วยความตั้งใจจนเก่งได้ในที่สุด

เมื่อคิดถึงเรื่องนี้แล้ว ก็ทำให้เห็นความสำคัญของครูอาจารย์ต่อชีวิตของเรามากๆเลย แต่ถ้าเรายังไม่เจออาจารย์ดีๆอย่างนั้นล่ะ เราจะทำอย่างไร

เราเองก็สามารถทำให้ตัวเราเปลี่ยนจากการเรียนด้วยextrinsic motivation มาเป็นintrinsic motivation ได้เหมือนกัน แต่ละคนก็อาจจะมีวิธีที่แตกต่างกันไป สำหรับม่อนเอง จะใช้วิธีเรียนให้สนุกโดยไม่หวังผลอย่างรวดเร็วมากนัก เพราะเมื่อไหร่ที่หวังผลเร็วๆ จะทำให้ม่อนเรียนด้วยความเครียดแทนที่จะเรียนด้วยความอยากเรียนอยากรู้  เมื่อไหร่ที่รู้สึกท้อแท้ก็จะคิดว่า เราเรียนแบบสนุก เพราะอยากเรียนมากกว่าที่จะหวังผลเอาวันรุ่งพรุ่งนี้ ก็จะทำให้เรียนอย่างมีความสุขได้ แล้วในที่สุดผลลัพธ์ก็จะมาเองค่ะ

แต่สำหรับคนอื่นอาจจะใช้วิธีที่แตกต่างกันไปว่ามีวิธีอะไรที่น่าสนใจก็แบ่งปันกันได้นะคะ   ท่านผู้อ่านคิดว่ามีวิธีอะไรที่น่าสนใจก็แบ่งปันกันได้นะคะ

Instrumental motivation คือ

  • ข้อความ
  • เว็บเพจ

Instrumental motivation คือ

เข้าใจถึงความสามารถ ความสนใจ ความต้

เข้าใจถึงความสามารถ ความสนใจ ความต้องการของตนเอง จากความต้องการดังกล่าว ความต้องการขั้นต่ำสุดจะต้องได้รับการตอบสนองเสียก่อนก่อนที่จะเกิดความต้องการในขั้นที่สูงขึ้น
ดังนั้น ในด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศนั้นควรจะต้องเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจในสภาวะที่ตนเองเป็นอยู่ตระหนักถึงความสามารถที่ตนมีอยู่ในเวลานั้น ส่วนผู้สอนผู้สอนควรที่จะแสดงให้ความสำคัญในการเรียนภาษาอังกฤษด้วยอย่างไรก็ตาม การเรียนภาษาอังกฤษของผู้เรียนนั้นก็ขึ้นอยู่กับความต้องการหรือแรงจูงใจของแต่ละบุคคลด้วย
Gardner (cited in Zoltán Dörnyei, 2002) กล่าวถึงแรงจูงใจในการเรียนภาษาแบ่งเป็น
ประเภทได้ 2 ประเภท
1. แรงจูงใจเชิงบูรณาการ (Integrative Motivation) หมายถึงแรงจูงใจที่เกิดจากการ ที่ผู้เรียนต้องการเรียนภาษาต่างประเทศให้มากขึ้น โดยการเรียนรู้วัฒนธรรมของชุมชนนั้นๆ เพื่อที่จะ เป็นสมาชิกที่มีคุณค่าและคุณภาพของชุมชน และเป็นที่ยอมรับของบุคคลในวัฒนธรรมของประเทศนั้นๆ
2. แรงจูงใจเชิงเครื่องมือ (Instrumental Motivation) หมายถึง แรงจูงใจที่เกิดจากการ ที่ผู้เรียนต้องเรียนภาษาต่างประเทศ เพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่น เพื่อให้ได้คะแนนสูง เพื่อให้ได้เงินเดือนสูงขึ้นหรือเพื่อให้ได้อาชีพที่ดี หรือเป็นเครื่องมือในการประกอบอาชีพ เป็นต้น
Higard (n.d., อ้างใน ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์, 2543) ได้แบ่งแรงจูงใจของคนเราออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. แรงจูงใจที่จะมีชีวิตอยู่ (Survival Motive) เกิดจากความต้องการทางด้านร่างกาย
เช่น อาหาร การพักผ่อน การปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บ
2. แรงจูงใจทางสังคม (Social Motive) คือความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องระหว่างบุคคลอื่น เช่น ความต้องการทางเพศ ที่เป็นสิ่งสำคัญที่จะสืบทอดเชื้อสายของมนุษย์ แต่ไม่ใช่สิ่งจำเป็นสำหรับความ- อยู่รอดของมนุษย์
3. แรงจูงใจที่มีความสัมพันธ์ส่วนตัว (Ego-integrative Motive) เป็นแรงจูงใจที่ทำให้
บุคคลประสบความสำเร็จในการกระทำสิ่งต่างๆ เกี่ยวกับความเชื่อมั่นในตนเอง การตัดสินใจไปสู่เป้าหมาย ในชีวิต
Moore (1992) ได้แบ่งแรงจูงใจเป็น 2 ประเภทคือ แรงจูงใจตามลักษณะของการแสดงออก ตามพฤติกรรมและแรงจูงใจตามที่มาของแรงจูงใจ ดังนี้คือ
1. แรงจูงใจแบ่งตามลักษณะของการแสดงออกตามพฤติกรรม แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1.1 แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) เป็นสภาวะที่บุคคลต้องการที่จะกระทำหรือเรียนรู้บางสิ่งบางอย่างด้วยตนเอง ไม่ด้องอาศัยการชักจูงจากสิ่งเร้าภายนอก เช่น ความต้องการเรียนเพื่อต้องการความรู้ ทำงานเพราะต้องการความสนุกสนานและชำนาญซึ่งความ ต้องการหรือความสนใจพิเศษ ตลอดจนความรู้สึกนึกคิดหรือทัศนคติของแต่ละบุคคล จะผลักดัน ให้บุคคลสร้างพฤติกรรมขึ้น ซึ่งได้แก่ ความอยากรู้ อยากเห็น ความสนใจ ความรัก ความศรัทธา เป็นต้น
1.2 แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) เป็นสภาวะที่บุคคลได้รับแรงกระตุ้นจาก สิ่งเร้าภายนอก เช่น สิ่งของหรือเกียรติยศ เงินเดือน ปริญญาบัตร ความก้าวหน้า รางวัล คำชมเชยการแข่งขัน การติเตียน ทำให้บุคคลมองเห็นเป้าหมายจึงเร้าให้บุคคลเกิดความต้องการ และแสดงพฤติกรรมมุ่งสู่ เป้าหมายนั้น
2. แรงจูงใจสามารถแบ่งตามที่มาของแรงจูงใจ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ 2.1 แรงจูงใจทางสรีระวิทยา (Physiological Motivation) แรงจูงใจเกิดขึ้นเพื่อสนองความ

0/5000

Understand their interests. Their requirements from such requirements. The minimum requirement is to meet the first requirement before it happened in stages. Therefore, In the field of teaching English as a foreign language, it should enable learners to learn and understand in the manual are aware of their capabilities are available in time. Best instructor, the instructor should show the importance of learning English, however. English learning of the students, depending on the needs or the motivation of the individual. Gardner (Zoltán Dörnyei, cited in 2002), discusses the motivation for language learning as.Category 2 category. 1. motivation integrated (Integrative Motivation) refers to the motivation of the learners want to learn a foreign language. By learning the culture of the community to become members and the quality of the community and is accepted by the person in the culture of the country. 2. แรงจูงใจเชิงเครื่องมือ (Instrumental Motivation) หมายถึง แรงจูงใจที่เกิดจากการ ที่ผู้เรียนต้องเรียนภาษาต่างประเทศ เพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่น เพื่อให้ได้คะแนนสูง เพื่อให้ได้เงินเดือนสูงขึ้นหรือเพื่อให้ได้อาชีพที่ดี หรือเป็นเครื่องมือในการประกอบอาชีพ เป็นต้น Higard (n.d., อ้างใน ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์, 2543) ได้แบ่งแรงจูงใจของคนเราออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. แรงจูงใจที่จะมีชีวิตอยู่ (Survival Motive) เกิดจากความต้องการทางด้านร่างกาย เช่น อาหาร การพักผ่อน การปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บ 2. แรงจูงใจทางสังคม (Social Motive) คือความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องระหว่างบุคคลอื่น เช่น ความต้องการทางเพศ ที่เป็นสิ่งสำคัญที่จะสืบทอดเชื้อสายของมนุษย์ แต่ไม่ใช่สิ่งจำเป็นสำหรับความ- อยู่รอดของมนุษย์ 3. แรงจูงใจที่มีความสัมพันธ์ส่วนตัว (Ego-integrative Motive) เป็นแรงจูงใจที่ทำให้บุคคลประสบความสำเร็จในการกระทำสิ่งต่างๆ เกี่ยวกับความเชื่อมั่นในตนเอง การตัดสินใจไปสู่เป้าหมาย ในชีวิต Moore (1992) ได้แบ่งแรงจูงใจเป็น 2 ประเภทคือ แรงจูงใจตามลักษณะของการแสดงออก ตามพฤติกรรมและแรงจูงใจตามที่มาของแรงจูงใจ ดังนี้คือ 1. แรงจูงใจแบ่งตามลักษณะของการแสดงออกตามพฤติกรรม แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1.1 แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) เป็นสภาวะที่บุคคลต้องการที่จะกระทำหรือเรียนรู้บางสิ่งบางอย่างด้วยตนเอง ไม่ด้องอาศัยการชักจูงจากสิ่งเร้าภายนอก เช่น ความต้องการเรียนเพื่อต้องการความรู้ ทำงานเพราะต้องการความสนุกสนานและชำนาญซึ่งความ ต้องการหรือความสนใจพิเศษ ตลอดจนความรู้สึกนึกคิดหรือทัศนคติของแต่ละบุคคล จะผลักดัน ให้บุคคลสร้างพฤติกรรมขึ้น ซึ่งได้แก่ ความอยากรู้ อยากเห็น ความสนใจ ความรัก ความศรัทธา เป็นต้น 1.2 แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation) เป็นสภาวะที่บุคคลได้รับแรงกระตุ้นจาก สิ่งเร้าภายนอก เช่น สิ่งของหรือเกียรติยศ เงินเดือน ปริญญาบัตร ความก้าวหน้า รางวัล คำชมเชยการแข่งขัน การติเตียน ทำให้บุคคลมองเห็นเป้าหมายจึงเร้าให้บุคคลเกิดความต้องการ และแสดงพฤติกรรมมุ่งสู่ เป้าหมายนั้น 2. แรงจูงใจสามารถแบ่งตามที่มาของแรงจูงใจ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ 2.1 แรงจูงใจทางสรีระวิทยา (Physiological Motivation) แรงจูงใจเกิดขึ้นเพื่อสนองความ

การแปล กรุณารอสักครู่..

Instrumental motivation คือ

The ability to understand their needs and interests. From such requirements The minimum requirements will have to be broken before responding to the need to step up
so. In the field of teaching English as a foreign language should have the opportunity. The students learn and understand the conditions they are aware of the capabilities of their existing at that time. The Instructor should show the importance of learning English, however. English language learners, it depends on the needs or motivations of the individual with
Gardner (cited in Zoltán Dörnyei, 2002) discusses the motivation to learn English as
a second type of
incentive 1. interdisciplinary. Integration (Integrative Motivation) refers to incentives caused. Students who want to learn foreign languages ​​more. By learning the culture of that community to be a valuable member of the community and quality. And recognized the person in the culture of that country
second. Incentive tool (Instrumental Motivation) refers to incentives caused. The students need to learn foreign languages. For other purposes, such as to get high scores. To get a higher salary or to get a great career. Or a tool of the occupation. Etc.
Higard (nd, cited in Providence Priya Anutarasoti fluorescence Wong, 2543) has divided the motives of the people into three categories:
1. motivation to live (Survival Motive) is due to the body
as food. stay safe from the disease
2. Social incentives (Social Motive) is the relationship between someone like lust. Which is essential to human descent. It is not necessary for - human survival
3. The motivation is personal relationships. (Ego-integrative Motive) is the motivation that makes
people succeed in doing things. About self-confidence. The decision to target in
Moore (1992) has divided into two types of motivation are motivated by the appearance of expression. The behavior and motivation as a source of motivation as follows:
1. motivated by the appearance of expression under section 2 of the 1.1 behavior intrinsic motivation (Intrinsic Motivation) is a condition in which a person needs to do or learn something. What some self Preserve the influence of external stimuli such as housing requirements, for want of knowledge. I want fun and functional expertise which. Or need special attention As well as feeling or attitude of the individual to push up individual behavior, including the curious attention, love, faith, etc.
1.2 external motivation (Extrinsic Motivation) is a condition in which individuals have incentives. External stimuli such goods or honors degrees salary advances Awards competition commended the vision, goals, hence blame the individual to individual demand. And behavioral approaches The goal is
two. Motivation can be categorized as a source of motivation can be divided into three categories: 2.1 physiological motivation. (Physiological Motivation) occur in response to the incentive.

การแปล กรุณารอสักครู่..

Instrumental motivation คือ

To understand the ability, interest, their needs from such requirements. The minimum requirements must be meet the first before the need for a higher level!Therefore, in the teaching and learning of English as a foreign language should have the chance. For students to learn and understand their condition is aware of their abilities is that time.

การแปล กรุณารอสักครู่..

Instrumental motivation คือ

ภาษาอื่น ๆ

  • English
  • Français
  • Deutsch
  • 中文(简体)
  • 中文(繁体)
  • 日本語
  • 한국어
  • Español
  • Português
  • Русский
  • Italiano
  • Nederlands
  • Ελληνικά
  • العربية
  • Polski
  • Català
  • ภาษาไทย
  • Svenska
  • Dansk
  • Suomi
  • Indonesia
  • Tiếng Việt
  • Melayu
  • Norsk
  • Čeština
  • فارسی

การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

  • Luckily, the bear was safe, but what hap
  • While attempting to land, power was lost
  • หลง
  • Gains in student satisfaction with learn
  • ค่าอาหาร
  • อ่านข้อความแต่ไม่ตอบมันทำให้เสียความรู้ส
  • ดูเหมือนว่าเขาจะมีความสุข
  • ฉันก็ชอบคุณนะ แต่ให้เชื่อทุกอย่างที่คุณบ
  • Have a good
  • I stay in bkk
  • มาเที่ยวในช่วงที่มีหิมะ
  • When CDC is practiced, the information c
  • When everyone ignores the violent events
  • Hillary Rodham Clinton declared her camp
  • the thickness of cocoon shell (in mm) wa
  • ในวันอาทิตย์เราก็จะเดินทางกลับบ้าน และถ้
  • i have to be able to turn a girl on
  • The holidays are again one day that ever
  • The best way to solve this. Do you worry
  • 2.3.2. Vitamin C contentVitamin C conten
  • รัฐวิสาหกิจ
  • บรรจุถุงใส 1/1
  • นิดๆ
  • เลือกหลายคณะมากเกินไป