เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี

ระบบภูมิคุ้มกัน

รอบๆ ตัวเราเต็มไปด้วยเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อโรคเล็กๆ มากมายที่ตาของเรา
ไม่สามารถมองเห็นได้ มนุษย์ต้องสัมผัสกับเชื้อโรคตั้งแต่อยู่ในครรภ์ คุณเคยสงสัยหรือไม่ว่า รอบๆ 
ตัวเรามีเชื้อโรคมากมาย และในแต่ละวันเราสัมผัสกับเชื้อโรคอย่างนับไม่ถ้วน แต่ทำไมเราไม่เจ็บป่วย
เพราะเชื้อโรคเหล่านั้น หรือหากจะเจ็บป่วยบ้างแต่ก็ไม่บ่อยนัก

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
การที่เราไม่เจ็บป่วยง่ายๆ เพราะร่างกายมีระบบภูมิคุ้มกัน (หรือภูมิต้านทาน) คอยปกป้อง
อยู่ ระบบภูมิคุ้มกันเป็นกลไกการป้องกันตนเองอย่างหนึ่งของร่างกาย เมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่
ร่างกายและอาจเป็นโทษ สิ่งแปลกปลอมนอกจากจุลินทรีย์แล้ว ได้แก่ สารเคมีจากธรรมชาติ เช่น 
จากพืช จากอาหาร หรือสารเคมีที่มนุษย์สร้างขึ้น ตลอดจนฝุ่นละออง ขนสัตว์ ละอองเกสรดอกไม้ต่างๆ 
ระบบภูมิคุ้มกันก็จะออกมาต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมนั้น ร่างกายจึงอยู่ได้อย่างปกติสุข แต่หาก
ในกรณีที่การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันประสบความล้มเหลว ร่างกายก็จะถูกคุกคามด้วยโรคภัยไข้เจ็บ
โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็ง เป็นต้น

ระบบภูมิคุ้มกันและการตอบสนองต่อเชื้อโรค

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
แต่ละคนมีวิธีการป้องกันที่ธรรมชาติให้มานั้นใกล้เคียงกันแต่ความสมบูรณ์และ
ประสิทธิภาพในการทำงานของแต่ละคนนั้นแตกต่างกันออกไป ระบบที่ใช้เพื่อทำหน้าที่ป้องกันโรคของ
ร่างกายนี้เรียกว่า ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (immune system) ซึ่งจะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1. ภูมิคุ้มกันแบบไม่เฉพาะเจาะจงที่มีโดยธรรมชาติ (native immunity หรือ 
natural resistance) เป็นภูมิคุ้มกันที่มีมาแต่กำเนิด กลไกการป้องกันแบ่งออกเป็น
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1.1 ลักษณะป้องกันทางกายวิภาค (anatomical barrier) เช่น ผิวหนัง และเยื่อบุผิว
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1.2 สารเคมีในร่างกาย (chemical factor) เช่น น้ำตา น้ำลาย สารคัดหลั่งจากเซลล์
เยื่อบุจมูก น้ำย่อย
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1.3 การสะกดกลืนกิน (phagocytosis) เซลล์ที่ทำหน้าที่ ได้แก่ neutrophil, 
monocyte, macrophage เป็นต้น
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1.4 ระบบคอมพลีเมนต์ (complement system) คือกลุ่มของโปรตีนในซีรั่มมากกว่า 
20 ชนิด ที่ในภาวะปกติจะอยู่ในรูป inactive form แต่เมื่อถูกกระตุ้นจาก antigen-antibody 
complex หรือ immune complex จะทำให้เกิดการกระตุ้นเชื่อมโยงต่อๆ ไป และ products ที่เกิด
ขึ้นจับเป็นคอมเพล็กซ์ที่เมมเบรนและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่กลับคืนไม่ได้ของเมมเบรนทั้ง
หน้าที่และรูปร่าง ทำให้เซลล์เกิดการแตกสลาย นอกจากนั้น biological products ที่เกิดขึ้นจะมีผล
ให้เกิดปฏิกิริยาต่างๆ ตามมามากมาย เช่น inflammation, anaphylaxis

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
2. ภูมิคุ้มกันแบบเฉพาะเจาะจง (specific acquired immunity) จะแบ่งวิธีการ
ตอบสนองออกเป็น 2 ระบบใหญ่ คือ
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
- humoral immune response (HIR) คือกระแสเลือดและกระแสน้ำทั่วร่างกาย โดย
อาศัยการสร้าง antibody (Ab) จาก B-lymphocyte ซึ่งมีกำเนิดจากไขกระดูก ในตอนแรกจะอยู่ใน
รูป pre-B-cell จากนั้นย้ายไปที่ lymphoid tissue เพื่อพัฒนาเป็น B-lymphocyte ที่เจริญเต็มที่จึง
ถูกปล่อยออกมาสู่กระแสเลือดและไปตาม lymphoid tissue ต่างๆ เข้าสู่กระแสน้ำเหลืองทั่วร่างกาย
เพื่อทำหน้าที่ เมื่อมี immunogen เข้ามาและทำการตอบสนองก็จะเปลี่ยนแปลงไปเป็น blast cell 
และ plasma cell ตามลำดับเพื่อทำหน้าที่สร้าง antibody ที่จำเพาะต่อ immunogen แต่ละชนิด

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
- cell-mediated immune response (CMIR) คือด้านพึ่งเซลล์ เซลล์ที่ทำหน้าที่ใน
การตอบสนองนี้คือ T lymphocyte ซึ่งต้นกำเนิดก็มาจากไขกระดูกเช่นเดียวกับ B lymphocyte โดย
ในตอนแรกจะเป็น pre-T-cell จากนั้นจึงพัฒนาผ่านทาง thymus gland มาเป็น T-cell ที่สมบูรณ์ 
นอกจากนี้การตอบสนองอาจเกิดจากปฏิกิริยาของ mediators ที่ปล่อยออกมา (lymphokines) หรือ
ร่วมกับเซลล์อื่นๆ เช่น killer cell (K cell), natural killer cell (NK cell), macrophage

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เม็ดเลือดขาว (leucocyte) แบ่งเป็น
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1. polymorphonuclear granular leucocyte (PMN) เช่น neutrophil, 
eosinophil, basophil

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
2. non-granular leucocyte เช่น lymphocyte, monocyte โดย lymphocyte 
จะเจริญต่อไปเป็น
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
2.1 T lymphocyte มีหน้าที่คือ
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1. ทำลายเซลล์เป้าหมาย เช่น เซลล์เนื้องอก เซลล์มะเร็ง เป็นต้น

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
2. มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน ได้แก่ ผลิต lymphokines ชนิด
ต่างๆ เพื่อช่วย B lymphocyte สร้าง antibody และช่วย T lymphocyte ชนิดอื่น, NK cell, 
phagocyte ในการกำจัดสิ่งแปลกปลอม นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ควบคุมการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน
ไม่ให้มากเกินไป โดยการหลั่ง suppressor factor

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
2.2 B lymphocyte เป็นต้นกำเนิดของ plasma cell ซึ่งเป็นเซลล์สำคัญในการผลิต 
antibody
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1. NK cell (Natural Killer Cell) เป็น large granular lymphocyte ที่ต่างจาก 
T, B lymphocyte คือสามารถเข้าทำลายเซลล์แปลกปลอมได้โดยไม่ต้องอาศัย antibody คือไม่ต้อง
มีความจำเพาะระหว่างมันและเซลล์แปลกปลอม การทำงานที่แตกต่างกันนี้จึงถูกเรียกว่า non 
specific cell-mediated cytotoxicity

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
2. K cell (Killer Cell) การทำงานต่างจาก NK cell คือ จะทำลายเซลล์แปลก
ปลอมด้วยวิธี ADCC (Antibody dependent cell-mediated cytotoxicity)

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
3. Phargocyte ได้แก่ neutrophil, eosinophil, monocyte และ 
macrophage ทำให้เกิดกระบวนการ phagocytosis คือ กินและทำลายสิ่งแปลกปลอม เมื่อเซลล์
เหล่านี้มาถึงจะเคลื่อนตัวไปหาสิ่งแปลกปลอมนั้น (chemotaxis) แล้วประกบติด (attachment) 
ต่อมาจะกลืน (ingestion) แล้วจึงมีการย่อย (intracellular digestion) ด้วยกลไกหลายอย่างในเซลล์
แล้วจึงปล่อยสิ่งแปลกปลอมที่ถูกทำลายแล้วออกไปจากเซลล์ (elimination)

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
4. Mediator cell ได้แก่ mast cell, basophil ใน granule มีสารหลายอย่างที่
สำคัญคือ histamine และ SRS-A (Slow Reactive Substance of Anaphylaxis) ทำให้มี
บทบาทสำคัญในปฏิกิริยาการแพ้ต่างๆ

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
5. Interferon (IFN) เป็นกลุ่มของโปรตีน มี 3 ชนิด คือ 
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
- interferon alpha ได้จาก leucocyte และ lymphoblastoid cells
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
- interferon beta ได้จาก fibroblast 
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
- interferon gamma ได้จาก T lymphocyte 
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
IFN จัดเป็น lymphokines ตัวหนึ่งที่มีผลปรับปรุงภูมิคุ้มกันระบบ CMIR เช่น 
เพิ่ม microphage activity เพิ่ม cytotoxicity ของ macrophage และ NK cell เพิ่มการสร้าง 
antibody ของ B cell เป็นต้น

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
6. Interleukin (IL) เป็นสารโปรตีนที่หลั่งมาจาก leucocyte มีทั้ง IL1, IL2, 
IL3, IL4 โดย IL1 มีฤทธิ์เพิ่ม proliferation ของ B lymphocyte กระตุ้น NK cell chemotaxis 
เป็นต้น ส่วน IL2 มีฤทธิ์เพิ่ม proliferation ของ T lymphocyte กระตุ้นการสร้าง antibody กระตุ้น 
NK cell เป็นต้น

ความต้านทานโรคที่ต่างกันขึ้นกับ 2 ปัจจัย คือ

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1. กรรมพันธุ์ ปัจจัยนี้ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล แต่ละคนมีระบบภูมิคุ้มกันที่ได้รับการถ่ายทอด
จากพ่อแม่ต่างกัน ฉะนั้นหากพ่อแม่มีระบบภูมิคุ้มกันที่ดี ลูกก็ย่อมจะมีภูมิคุ้มกันที่ดีด้วย หากพ่อแม่มี
ภูมิคุ้มกันบางจุดบกพร่อง ลูกก็อาจได้รับการถ่ายทอดในจุดที่บกพร่องได้เช่นกัน แต่โดยทั่วๆ ไป
ภูมิคุ้มกันก็จะได้มาตรฐานในระดับหนึ่ง

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
2. สุขภาพร่างกาย เมื่อได้รับเชื้อโรค ร่างกายจะต้องสร้างสารภูมิคุ้มกันได้เร็วและมากพอ
จึงจะกำจัดเชื้อโรคได้ ถ้าร่างกายอ่อนแอก็ทำให้ระบบอ่อนแอไปด้วย การสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกายก็
ไม่ค่อยดี จึงเกิดการเจ็บป่วยขึ้น

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี

การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
ถึงแม้แต่ละคนจะมีระบบภูมิคุ้มกันที่ได้รับถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์มาต่างกัน แต่ก็สามารถ
มีระบบภูมิคุ้มกันที่ดีได้เหมือนกัน โดยหลักการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันง่ายๆ มีดังนี้คือ
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1. อาหาร กินอาหารให้ครบทุกหมู่และเพียงพอ และอาหารที่กินควรมีคุณภาพดี เช่น สด 
สะอาด ปนเปื้อนน้อยที่สุด ไม่กินอาหารหมักดอง อาหารที่ทอดหรือย่างจนไหม้เกรียม

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
2. ออกกำลังกาย การออกกำลังกายจะทำให้ระบบไหลเวียนเลือดดีขึ้น มีการแตกแขนง
ของหลอดเลือดในเนื้อเยื่อต่างๆ มากขึ้น ทำให้เม็ดโลหิตขาวหรือภูมิคุ้มกัน เข้าสู่ในเนื้อเยื่อต่างๆ ได้
ง่าย เมื่อมีเชื้อโรคเข้ามาก็เข้าไปจัดการได้เร็ว

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
3. ทำจิตใจให้เบิกบาน จิตใจมีส่วนเกี่ยวข้องกับการหลั่งสารเอ็นดอร์ฟิน หรือสารสุขใน
ร่างกาย สารนี้พอหลั่งออกมาทำให้ระบบการทำงานของเซลล์ดีขึ้น ในทางตรงกันข้ามหากจิตใจห่อเหี่ยว
เศร้า เป็นทุกข์ ร่างกายจะหลั่งสารทุกข์ ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันทำงานได้ไม่ดี ร่างกายอาจเจ็บป่วยได้ 
สารเอ็นดอร์ฟินจะหลั่งเมื่อจิตใจมีความสุข สงบ เบิกบาน ฉะนั้นการคิดแต่สิ่งดีๆ คิดช่วยเหลือผู้อื่น 
คิดในแง่บวก ก็เป็นการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันเช่นกัน

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
ปัจจุบันมีการนำความรู้ทางระบบภูมิคุ้มกันมาใช้ในการรักษาโรค (immunotherapy) โดย
เฉพาะโรคที่เกี่ยวกับภาวะภูมิคุ้มกันผิดปกติ เช่น โรคมะเร็ง และโรคเอดส์ การค้นคว้าวิจัยหาสารที่มี
ฤทธิ์ปรับภาวะภูมิคุ้มกันของร่างกายจึงเป็นสิ่งจำเป็น

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
สารปรับปรุงภูมิคุ้มกัน (immunomodulators) คือ สารใดๆ ก็ตามทั้งที่เป็นสาร
ชีวภาพ (biological) และไม่ใช่สารชีวภาพที่มีผลโดยตรงต่อระบบภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะ หรือมีผล
เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบใดๆ ของ immunoregulatory network ทำให้มีผลทางอ้อมต่อระบบ
ภูมิคุ้มกันอีกต่อหนึ่ง สารปรับปรุงภูมิคุ้มกันมีความสำคัญมากขึ้นเนื่องมาจากการระบาดของไวรัส HIV 
ซึ่งทำให้เกิดโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (AIDS, aquired immunodeficiency syndrome) เพราะว่า
เชื้อ HIV จะเข้าทำลาย helper T cell หากจะสรุปประโยชน์ของสารปรับปรุงภูมิคุ้มกันก็คือ
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1. รักษาผู้ป่วยมะเร็ง เพราะผู้ป่วยมะเร็งทุกคนจะมีความบกพร่องในระบบภูมิคุ้มกัน
นอกจากนี้คนที่มีระบบภูมิคุ้มกันบกพร่องจะมีอัตราการเกิดมะเร็งมากกว่าคนปกติถึง 200 เท่า เพราะ
ฉะนั้นเมื่อเราเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันให้ดีด้วยสารปรับปรุงภูมิคุ้มกันจึงรักษาผู้ป่วยมะเร็งได้ โดยจะ
ไปเพิ่มการตอบสนองของร่างกายโดยตรงต่อเซลล์มะเร็งคือ จะเพิ่มจำนวนและ/หรือ activator ของ 
effector cells หรือไปเพิ่มการหลั่ง mediators เช่น lymphokines จาก T cell

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
2. ใช้รักษาโรค AIDS โดยเชื้อ HIV จะทำลาย helper T cell ทำให้ผู้ป่วยมีโอกาสเป็น
โรคติดเชื้อ โรคมะเร็งได้ง่ายกว่าปกติ รุนแรงและรักษายากด้วย นอกจากนี้เชื้อ HIV ยังทำให้เซลล์
อื่นๆ ผิดปกติด้วยเช่น NK cell และการผลิต lymphokines เปลี่ยนแปลง

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
3. เป็นยาต้านไวรัส เช่น interferon (IFN) สามารถป้องกันไม่ให้ uninfected cell ติดเชื้อไวรัส

สารปรับปรุงภูมิคุ้มกันของร่างกายมีหลายชนิด สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ ได้ดังนี้

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1. สารปรับปรุงภูมิคุ้มกันที่เตรียมจากจุลินทรีย์ เช่น Bacillus Calmette Guerin 
(BCG) เป็นวัคซีนกระตุ้น macrophage ให้ดุร้ายขึ้นและทำลายเชลล์มะเร็งดีขึ้น, 
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
-1,3 glucan 
จากผนังเซลล์ Saccharomyces cerevisiae จะช่วยกระตุ้น reticuloendothelial system (RES)
ทำให้มีการสร้าง granulocyte และ monocyte เพิ่มขึ้น, Corynebacterium parvum, 
muramyldipeptide dipeptide, lentinan เป็นต้น

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
2. Thymic Hormones เช่น thymosins, thymichormone factors และ 
hormone-like factors

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
3. สารสังเคราะห์ เช่น retinoids, levamisole, isoprinosin

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
4. Interferons และ interferon inducers เช่น ไวรัส แบคทีเรีย สารสกัดจากรา 
เป็นต้น

เอกสารอ้างอิง

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
1. ปริ่มเฉนียน มุ่งการดี. ภูมิคุ้มกันวิทยาและระบบภูมิคุ้มกัน. เภสัชจุลชีววิทยา 
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2531.

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
2. อัครพล แก้วมาลี และอุไรวรรณ โรจน์สังวาล. สารชีวภาพที่มีฤทธิ์ปรับภาวะภูมิคุ้มกัน
ทางร่างกาย I. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2534.

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
3. http://www.allergy.or.th/cover/immunology.html

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ ที่เข้าสู่ร่างกาย เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เกสรดอกไม้ ละอองสารเคมี
4. http://thaiabonline.com/immunosystem.htm

เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกายทางใดบ้าง

อวัยวะสำคัญที่ทำหน้าที่ป้องกันและทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย ได้แก่ ผิวหนัง เซลล์เม็ดเลือดขาว ระบบน้ำเหลือง ผิวหนัง ป้องกันร่างกายจากเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม แต่แอนติเจนบางชนิดก็อาจเข้าสู่ ร่างกายทางต่อมเหงื่อและรูขุมขนได้ ดังภาพ รูขุมขน

ข้อใดทำหน้าที่ป้องกันเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย

ด่านป้องกันเชื้อโรคร่างกาย ด่านป้องกันเชื้อโรคของร่างกายด่านแรก คือ ผิวหนัง ซึ่งสามารถขับกรดบางชนิดออกมากับเหงื่อช่วยในการยับยั้งแบคทีเรีย น้ำตาและน้ำลายก็มีฤทธิ์ทำลายเชื้อโรคได้ในระบบทางเดินอาหารก็มีกรดเเละเมือกคอยกำจัดเชื้อโรค รวมทั้งเมือกที่อยู่ในระบบหายใจด้วยเช่นกัน

เซลล์ชนิดใด ทำหน้าที่ป้องกันเชื้อโรคและสารแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย

ที-เซลล์ เป็นเซลล์ภูมิต้านทานชนิดหนึ่ง ซึ่งมีหน้าที่หลักในการหาเซลล์ที่ติดเชื้อหรือเชื้อโรคต่าง ๆ และกำจัดมัน มันทำหน้าที่นี้ได้โดยการใช้โปรตีนที่อยู่บนพื้นผิวของมันเองไปยึดเกาะกับโปรตีนบนพื้นผิวของสิ่งแปลกปลอม

Lymphocyte มีอะไรบ้าง

เซลล์ lymphocyte มีด้วยกัน 3 ชนิดได้แก่ T cells, B cells. natural killer (NK) cells.