ประเทศที่เวลาช้ากว่าไทย 2 ชั่วโมง

เราสังเกตเห็นว่าคุณกำลังใช้เบราว์เซอร์ที่ไม่สนับสนุน เว็บไซต์ Tripadvisor จึงอาจแสดงผลอย่างไม่ถูกต้องเราสนับสนุนเบราว์เซอร์ต่อไปนี้:
Windows: Internet Explorer, Mozilla Firefox, Google Chrome. Mac: Safari.

จะไปเที่ยวประเทศไหนแต่ละทีต้องงงมา เช็ค เวลา แต่ละประเทศ ทีละเว็บ เราเลยทำตารางสรุปเทียบ เวลามาให้ซะเลย! เป็นตารางเทียบ เวลา โลก กับเวลาในประเทศไทยว่า เร็วกว่า ช้ากว่า หรือเท่ากับไทยกี่ชั่วโมง ใครไม่อยากเปิดหาบ่อยๆก็เซฟเก็บไว้ดูกันได้เลยนะคะ! มีตั้งแต่แถบเอเชีย ออสเตรเลีย แอฟริกา ไปจนถึงยุโรป ไม่ว่าจะเป็น เวียดนาม พม่า ฮ่องกง จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น เกาหลี มัลดีฟส์ อังกฤษ แคนาดา อิตาลี ฝรั่งเศส และอีกเพียบ! ดูในรูปได้เลย

เริ่มจากประเทศแรกของโลกที่ก้าวเข้าสู่ปี ค.ศ.2017 คือ “หมู่เกาะซามัว” มีพื้นที่ 3,030 ตารางกิโลเมตร โดยหมู่เกาะซามัวตั้งอยู่ห่างจากฟิจิประมาณ 800 กิโลเมตร จากตองกา 530 กิโลเมตร จากนิวซีแลนด์ 2,900 กิโลเมตร และ 4,000 กิโลเมตรจากรัฐฮาวาย ประชากรหมู่เกาะซามัวมีประมาณ 250,000 คน

ส่วนประเทศนิวซีแลนด์ เป็นเมืองใหญ่เมืองแรกของโลก ที่ก้าวสู่ปีใหม่ เพราะนิวซีแลนด์เวลาเร็วกว่าไทย 6 ชั่วโมง ตามมาด้วยออสเตรเลียเวลาห่างจากไทย 4 ชั่วโมง และเป็น 2 ประเทศที่จัดงานเฉลิมฉลองปีใหม่สุดยิ่งใหญ่

ขณะที่ประเทศแถบเอเชียแปซิฟิก อย่าง ประเทศญี่ปุ่น และเกาหลี ซึ่งมีเวลาเร็วกว่าไทย 2 ชั่วโมงก็จะก้าวเข้าสู่ปีใหม่ก่อนไทย ต่อด้วยประเทศที่มีเวลาเร็วกว่าไทย 1 ชั่วโมง ได้แก่ ประเทศจีน สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย

สำหรับประเทศที่เฉลิมฉลองปีใหม่พร้อมกับไทย คือ ประเทศอินโดนีเซีย เวียดนาม กัมพูชา และลาว

ส่วนประเทศที่ก้าวเข้าสู่ปีใหม่ช้ากว่าไทย คือ ประเทศในแถบเอเชียใต้ เช่น บังกลาเทศ และศรีลังกา ซึ่งมีเวลาช้ากว่าไทย 1 ชั่วโมง หมายความว่า ประเทศไทยเป็นเวลา 01.00 น. (1 ม.ค.) จะตรงกับประเทศดังกล่าวเวลา 24.00 น. ถัดมาอีก 1 ชั่วโมงจะเป็นการก้าวเข้าสู่ปีใหม่ของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ จอร์เจีย อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน มอริเชียส และโอมาน ต่อด้วยประเทศอิหร่าน รัสเซีย อิรัก คูเวต ซาอุดีอาระเบีย กาตาร์ ที่จะก้าวเข้าสู่ปีใหม่ไปพร้อมๆ กับหลายประเทศในทวีปแอฟริกา เช่น เคนยา ซูดาน เอธิโอเปีย แทนซาเนีย

ประเทศที่เวลาช้ากว่าไทย 2 ชั่วโมง

หลังไทยก้าวเข้าสู่ปีใหม่ได้ 5 ชั่วโมงแล้ว ประเทศอียิปต์ ตุรกี แอฟริกาใต้ และประเทศในยุโรปตะวันออกอีกหลายประเทศ เช่น กรีซ โรมาเนีย เบลารุส เอสโตเนีย และฟินแลนด์ ซึ่งมีเวลาช้ากว่าประเทศไทย 5 ชั่วโมงก็จะเข้าสู่ปีใหม่

ขณะที่ประเทศอังกฤษ คนลอนดอนจะเข้าสู่ปีใหม่ในเวลา 7 โมงเช้าของวันที่ 1 ม.ค.ตามเวลาประเทศไทย จากนั้นเที่ยงตรง หรือ 12.00 น.ไทมส์ สแควร์ นิวยอร์ก ของสหรัฐฯ จะก้าวเข้าสู่ปีใหม่ และเนื่องจากสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่ใหญ่มาก 2 ฝั่งประเทศมีเวลาต่างกัน ถึง 4 ช่วงเวลา ซึ่ง 2 รัฐสุดท้ายที่ได้ฉลองปีใหม่ คือ รัฐอลาสกา และฮาวาย

ประเทศที่เวลาช้ากว่าไทย 2 ชั่วโมง

ที่ไล่เรียงการก้าวเข้าสู่ปีใหม่ให้ทราบกันพอสังเขป เพื่อจะบอกว่าแต่ละประเทศที่ก้าวเข้าสู่ปีใหม่ไม่พร้อมกัน มีสาเหตุมาจากโลกหมุนรอบตัวเอง ซีกหนึ่งของโลกจึงเป็นกลางคืนในขณะที่อีกซีกหนึ่งเป็นกลางวัน ดังนั้นความตกลงระหว่างประเทศต่างๆ ทั้งหมด 25 ประเทศในปี ค.ศ.1884  จึงได้มีการกำหนดเขตแบ่งเวลากันขึ้น หากลากเส้นแบ่งที่กึ่งกลางโลกไปบรรจบกันเป็นวงกลม เส้นนี้จะเรียกว่า อีเควเตอร์ (Equator) ที่ประชุมได้แบ่งจากเส้นนี้ ออกไปอีก 24 เส้นจากทั้งหมด 360 องศารอบโลก นั่นหมายความว่า แต่ละเส้นจะห่างจากเส้นที่อยู่ติดกัน 15 องศา (360หาร24 = 15) โดยเริ่มนับเส้นแรกจากเส้นเวลามาตรฐานกรีนิช (Greenwich) ประเทศอังกฤษแต่ละเส้นจากทั้งหมด 24 เส้น จะเป็นการแสดงความแตกต่างของเวลาหนึ่งชั่วโมง

ประเทศไทย จะอยู่ในราวเส้นที่ 105 องศาตะวันออก หากหารด้วย 15 ก็จะได้เส้นแบ่งเวลาออกมาเป็นเส้นที่ 7 หมายความว่า เวลาในประเทศไทย จะล้ำหน้าเวลาในอังกฤษอยู่ 7 ชั่วโมง ส่วนสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศใหญ่จะมีการแบ่งเขตเวลาภายในประเทศออกเป็น 4 เขตด้วยกัน คือ ตะวันออก ภาคกลาง เทือกเขา และ แปซิฟิก เช่น เวลา 19.00 น. (7 p.m.) เวลาตะวันออก จะเป็น 18.00 น. (6 p.m.) เวลาภาคกลาง เป็น 17.00 น. (5 p.m.) เวลาเทือกเขา และเป็นเวลา 16.00 น. (4 p.m.)  เวลาแปซิฟิก

วันและเวลาของโลกปฏิสัมพันธ์กับเส้นลองจิจูด  โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ใช้เวลา 24 ชั่วโมง เป็นมุม 360 องศา นำ 24 ไปหาร 360 จะได้ว่าโลกหมุนไปได้ชั่วโมงละ 15 องศา / นาทีละ 15 ลิปดา / วินาทีละ 15 ฟิลิปดา ดังนั้นค่าลองจิจูด หรือเส้นเมอริเดียนจะทำให้เราคำนวณเวลาทั้ง  24 เขตของโลก  การแบ่งเวลาของโลกโดยแบ่งออกเป็น 24 เขต แต่ละเขตมีความกว้าง 15 องศาลองจิจูด หรือ เวลา 1 ชั่วโมง โดยเขตแรกมีเส้นเมอริเดียนแรก หรือเมอริเดียน 0 องศา ผ่านเมืองกรีนิชเป็นแกนกลาง เขตเวลาของโลกจะนับตามลองจิจูดใดก็ตาม ถ้านับไปทางตะวันออก จะเร็วกว่าทางตะวันตก และถ้านับไปทางตะวันตกจะช้ากว่าเวลาทางตะวันออก

ประเภทของเวลา

1.เวลามาตรฐานสากล(Greennich Mean Time) เวลาที่ลองจิจูด 0 องศา / เวลามาตรฐานกรีนิช

2.เวลามาตรฐาน(Standard time)โดยแต่ละประเทศจะกำหนดเวลาประเทศของตน ยึดหลักตามลองจิจูดหลักของเขตเวลาของโลกที่ผ่านประเทศของตน เช่น ประเทศไทยกำหนดเวลามาตรฐานตามเวลาที่ลองจิจูด 105 องศาตะวันออก ซึ่งเร็วกว่าเวลามาตรฐานสากล 7 ชั่วโมงการนับเวลามาตรฐานของประเทศจะเท่ากันทั่วประเทศ แต่สำหรับประเทศที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ก็มีเวลาหลายเวลาตามแต่ละเขตพื้นที่ เช่น อเมริกา และรัสเซีย เป็นต้น

3.เวลาท้องถิ่น (Local time) เวลาที่นับตามลองจิจูดที่ผ่านบริเวณนั้นจริงๆ เช่น จังหวัดอุบลราชธานีตั้งอยู่ที่ 105 องศาตะวันออก ซึ่งเร็วกว่าเวลามาตรฐานสากลอยู่ 7 ชั่วโมง กรุงเทพฯ ตั้งอยู่ที่ลองจิจูดที่ 100 องศาตะวันออกจึงมีเวลาเร็วกว่าเวลามาตรฐานสากลอยู่ 6 ชั่วโมง 40 นาที เวลาที่นับตามลองจิจูดที่ผ่านจริงนี้ เรียกว่า เวลาท้องถิ่นเส้นที่เกี่ยวข้องกับเวลาที่สำคัญเส้นแบ่งเขตวันสากล ( International Date Time) โดยกำหนดประมาณที่เส้นลองจิจูดที่ 180 เป็นเส้นแบ่งเขตวันสากลแต่มีการเลี่ยงให้เส้นเขตวันนี้ผ่านเฉพาะพื้นน้ำ เพื่อขจัดปัญหาการมี 2 วันบนเกาะเดียวกัน ดังนั้นเส้นเขตวันนี้จึงไม่เป็นเส้นตรงตามเส้นเมอริเดียน 180 ตลอดทั้งเส้น อีกทั้งถ้าข้ามเส้นเขตวันนี้ไปทางซีกโลกตะวันตกต้องนับวันลดลง 1 วัน และถ้าข้ามเส้นเขตวันนี้ไปทางซีกโลกตะวันออกจะต้องนับวันเพิ่มขึ้นอีก 1 วัน

ประเทศไหนช้ากว่าไทย 3 ชั่วโมง

ถัดมาเป็นช่วงเวลาของชาวอาหรับ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ จอร์เจีย อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน มอริเชียส และโอมาน (ช้ากว่าไทย 3 ชั่วโมง) ตามด้วย อิหร่าน รัสเซีย* อิรัก คูเวต ซาอุดีอาระเบีย และกาตาร์ ที่ฉลองไปพร้อมๆ กับประเทศในแถบแอฟริกา ได้แก่ เคนยา ซูดาน เอธิโอเปีย และแทนซาเนีย (ช้ากว่าไทย 4 ชั่วโมง)

ประเทศใดมีเวลาช้ากว่าประเทศไทย

ประเทศ
ช้ากว่าเวลาประเทศไทย (ชั่วโมง)
ช้ากว่าเวลาประเทศไทย (ชั่วโมง)
India
1 ชั่วโมงครึ่ง
11 ชั่วโมง
Indonesia
0
6 ชั่วโมง
ประเทศ
ช้ากว่าเวลาประเทศไทย (ชั่วโมง)
ช้ากว่าเวลาประเทศไทย (ชั่วโมง)
Iran
4 ชั่วโมงครึ่ง
5 ชั่วโมง
ตารางเทียบเวลาประเทศไทยกับต่างประเทศ ประเทศ เร็วกว่าเวลา ...www.bic.moe.go.th › images › stories › book › other › thaitimenull

ประเทศอะไรเวลาเร็วกว่าไทย 2 ชั่วโมง

ขณะที่ประเทศแถบเอเชียแปซิฟิก อย่าง ประเทศญี่ปุ่น และเกาหลี ซึ่งมีเวลาเร็วกว่าไทย 2 ชั่วโมงก็จะก้าวเข้าสู่ปีใหม่ก่อนไทย ต่อด้วยประเทศที่มีเวลาเร็วกว่าไทย 1 ชั่วโมง ได้แก่ ประเทศจีน สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย สำหรับประเทศที่เฉลิมฉลองปีใหม่พร้อมกับไทย คือ ประเทศอินโดนีเซีย เวียดนาม กัมพูชา และลาว

ประเทศไหนช้ากว่าไทย4ชั่วโมง

Angola 6 ชั่วโมง Japan 2 ชั่วโมง Australia Jordan 5 ชั่วโมง เมือง Adilade 2 ชั่วโมง ครึ่ง Kenya 4 ชั่วโมง