ม.ร.ว.ค กฤทธ ปราโมช ตาย ใช คำราชาศ พท ว าอะไร

หนังสือวรรณกรรมท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เป็นหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

Read the Text Version

No Text Content!

ก ข ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ความเปน มาและความหมายของตำนานทองถิ่น ในอดีตมนุษยมักมีความสงสัยและตั้งปญหาถามตนเอง ทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับตัวของ มนุษยสรรพชีวิต และวัฒนธรรมของตน โดยการสรางเรื่องราวอธิบายขอสงสัยตางๆ ของมนุษย ซึ่งมักจะปรากฏออกมาในรูปของตำนานปรัมปราและนิยายประจำถ่ินตางๆ ทีก่ ลา วถึงต้งั แตย ุคสรา งโลกหรือกำเนดิ มนษุ ยแ ละสงิ่ มชี วี ติ บนโลก ตลอดจนประวัติความ เปนมาในอดีตของชุมชนบานเมืองและกลุม ชนของตน ตำนานเปนคำที่คนไทยรูจักคุน หู กันมาชา นานและใชกันแพรหลายทั่วไปในสังคมท่วั ไป ความหมายของตำนาน มีดงั นี้ ตำนาน (อังกฤษ: legend; ละตนิ : legenda, แปลวา \"ส่งิ ทจี่ ะตองอา น\") คือ เรอื่ งเลา ขานทม่ี ีมาแตอดีต เปรยี บไดเหมือนเครอื่ งมอื ท่ีชว ยถา ยทอดเรื่องราวทางประวตั ศิ าสตร ซ่ึง เรอ่ื งราวเหลา นี้สะทอนใหเหน็ ถงึ วิถชี ีวติ ความคิด ความเชอ่ื รวมถึงประเพณีตางๆ ของคนใน ยคุ อดีต อาจเปนเรอ่ื งจริงหรือไมกไ็ ด อาจมหี ลกั ฐานหรือไมม ีกไ็ ด พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใหน ยิ ามของคำ \"ตำนาน\" ไวว า น.เร่ืองแสดงความเปน มาแตป างหลงั ของสถานท่ี บุคคล หรอื พิธกี รรม เปน ตน , เรอ่ื งราว นมนานที่เลา กันสบื ๆ มา, เชน ตำนานพุทธเจดีย, ตำนานเจา แมล ม้ิ กอเหน่ยี ว; เรียกพระปรติ ร บทหนึง่ ๆ วา ตำนาน ในคำวา เจ็ดตำนาน สิบสองตำนาน. ๘ แบบฝก หัดทายบท 1. ความเปนมาของตำนานทอ งถน่ิ เปน อยางไร จงอธิบายพรอ มใหเหตุผล 2. จงอธบิ ายความหมายของตำนานทอ งถิน่ ใหเ ขา ใจโดยสังเขป 3. นักเรียนคดิ วา ตำนานทองถิ่นเปนเครื่องมอื บอกเลาทางประวตั ศิ าสตรไดอยา งไร 4. นักเรียนคิดวา ตำนานเปน เรอ่ื งเลา ทส่ี บื มากนั มาไดอ ยางไร 5. นักเรียนจะนำความรูเก่ียวกบั ความเปนมา และความหมายไปประยกุ ตใ ชใน ชวี ติ ประจำวันดานใดบาง ๙ ความสำคญั ของตำนานทอ งถิ่น ความสำคญั ของตำนานทองถ่ิน มีดงั น้ี 1. บนั ทกึ ความเปน อยูของคนไทยในทอ งถิน่ การเลา ตำนานของผูเลา นน้ั มิไดการถายทอด เน้อื หาของตำนานแตอ ยา งเดยี ว แตผ ูเลาไดเ ลา ถึงสภาพทั่วๆ ไปของผคู น ในทองถิ่นดว ย 2. สะทอ นใหเ ห็นสภาพและบทบาททางสงั คม 3. สะทอ นใหเ ห็นความเปนมนุษยเ ชน การปกปองบานเมอื งการอพยพยายถ่นิ ทอี่ ยอู าศยั 4. สะทอ นใหเ หน็ ความเชื่อในดานตา งๆ เชน ความเชือ่ ดานไสยศาสตรเ รอ่ื งผคี วามเช่ือ 5. อธิบายเรื่องที่เกดิ ข้ึนตามธรรมชาตดิ วยความเช่ือเชน ตำนานท่ีกลา วถึงเรือ่ งแผน ดินไหว 6. ใหข อคิดแกคนเก่ียวกบั การประกอบกรรมดผี ูฟง หรอื ผอู า นตำนานทอ งถน่ิ 7. ทำใหเกิดความภาคภมู ิใจแกคนในทอ งถน่ิ เม่อื ผคู นในทองถิ่นทราบประวัติความเปน มาของ บคุ คลหรอื สถานท่ีในทองถิน่ ก็จะเกดิ ความภูมใิ จ ทำใหรักถน่ิ เกิด เทดิ ทูนบรรพบรุ ษุ และชว ยกัน รักษาวัฒนธรรมเหลา นสี้ ืบไป ๑๐ แบบฝก หัดทายบท 1. ความสำคัญของตำนานทองถ่ินเปน อยางไร จงอธบิ ายพรอ มใหเหตผุ ล 2. ความเปน อยูของคนไทยมผี ลตอ ตำนานทองถิ่นหรือไม 3. นักเรียนคดิ วา ตำนานทอ งถน่ิ สามารถสรา งความภาคภมู ใิ จไดอ ยา งไร 4. นกั เรยี นสามารถศกึ ษาสภาพสังคมกบั ตำนานทอ งถิ่นไดห รอื ไม 5. นักเรยี นจะนำความรเู กย่ี วกบั ความสำคัญของตำนานทอ งถิ่นไปประยกุ ตใชใน ชวี ติ ประจำวันดานใดบาง ๑๑ ประโยชนต ำนานทอ งถน่ิ ประโยชนในการศกึ ษาวรรณกรรมทอ งถนิ่ วรรณกรรมทอ งถ่ินมปี ระโยชนมากมายหลายประการดงั น้ี ๑. ทำใหผูศึกษาวรรณกรรมทองถิ่นเขาใจความเชื่อ คตินิยม จารีตประเพณี ฯลฯ ของสงั คมทองถ่นิ ๒. ทำใหทราบคำที่ใชในทองถิ่นตางๆ วรรณกรรมทองถิ่นที่เปนลายลักษณ นับเปนแหลงคลงั คำของทอ งถน่ิ ไดเ ปน อยา งดี ๓. การศึกษาวรรณกรรมทองถิ่นในสถาบันการศึกษา เปนวิธีหนึ่งในการ อนรุ ักษศ ิลปวฒั นธรรมทองถิ่น ๔. ทำใหผูศึกษาวรรณกรรมทองถิ่นทราบถึงความสามารถของกวีพื้นบาน ไดเ รียนรูภาษาถ่ินและวฒั นธรรมทอ งถน่ิ ๕. ทำใหผ ูศกึ ษาวรรณกรรมทอ งถิ่นเกดิ ความภาคภูมิใจในทอ งถ่ินของตน ๖. การศึกษาวรรณกรรมทองถิ่นเปนการอนุรักษวรรณกรรมพื้นบานของไทยไว ไมใหส ญู หายไปกอ นเวลาอันควร บทบาทของวรรณกรรมทอ งถนิ่ บทบาทของวรรณกรรมทอ งถ่ินมหี ลายประการ เชน ๑. ใหความบันเทิง วรรณกรรมทองถิ่นมีบทบาทสำคัญในการใหความบันเทิงแก บุคคลในสังคม ดังจะเห็นไดจากการเลา นทิ านพื้นบานของภาคตา งๆ ๑๒ ๒. สืบทอดวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น การถายทอดวรรณกรรมทองถิ่น ประเภทตา งๆ ใหเ ขา ใจในคา นิยม โลกทัศนข องแตล ะทองถ่ินโดยผา นวรรณกรรม ๓. เปน ส่อื กลางระหวา งวัดกบั ประชาชน ในทอ งถิ่นของไทยมวี ดั เปนศูนยกลาง ในการสรางสรรค ใหเขาใจวัฒนธรรมของชาวบานในทองถิ่นเผยแพรและอนุรักษ วรรณกรรมทอ งถิ่น ๔. ควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม เนื่องจากวรรณกรรมทองถิ่นสวนใหญมี เนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา ดังนั้นแนวคิดและคตินิยมตางๆ ที่ปรากฏในวรรณกรรม ทองถิ่นจึงมีสวนสำคัญในการควบคุมความประพฤติของคนในสังคมเปนแนวทางการ ดำเนินชวี ติ กอใหเ กิดความรกั ถ่นิ หวงแหนมาตุภูมิ และรักสามคั คใี นทอ งถิ่นตน ประโยชนแ ละภูมิปญ ญาทางวัฒนธรรมที่สำคัญ ถงึ แมย งั ไมม บี ทสรุปแหงชอ่ื ทมี่ าของ ทา เตียน แตต ำนานยักษวดั โพธ์ิ ยักษวัดแจง ทำใหเ กดิ ความเขา ใจทำใหเ ห็นถึงรากเหงา ของเรอ่ื งราวท่บี รรพชนสรา งไวผา นงานศลิ ปะ วรรณกรรม ศลิ ปกรรม สถาปตยกรรม นาฏกรรม ลำนำเพลง รวมถึงความเช่ือและความ ศรัทธาในพระพุทธศาสนาของคนไทย ตำนานท่บี อกเลากันปากตอ ปากน้ี จงึ สะทอ นให เหน็ ความเปน ไปของสังคม ภาพวิถีชวี ติ การทำมาคาขาย การคมนาคมของคนในอดตี การสรางสรรคผ ลงานศลิ ปะ การสรา งสรรคผ ลงานศลิ ปะ ซง่ึ ดำเนนิ สืบเน่ืองมาจนถึง ปจ จบุ ัน คุณคาของวรรณกรรมพ้ืนบา น ตำนานยักษว ดั โพธ์ิ ยกั ษว ัดแจง ทา เตยี น เปน วรรณกรรมท่ถี า ยทอดเรือ่ งราว สภาพสงั คมและเศรษฐกจิ ของกรงุ เทพไดอยางชดั เจนซ่ึง สามารถสรุปเปนประเดน็ ตา งๆ ดังน้ี ๑๓ ๑. ประโยชนต อ คนรุนหลงั ๑.๑ การเชอ่ื มโยงเรื่องราวไปสูการพฒั นาสถานท่ที ่ีเกี่ยวขอ งตามตำนาน ใหเปนแหลงทอ งเทย่ี วเชิงวัฒนธรรม เชิงประวตั ศิ าสตร และเชิงอนุรกั ษได ๑.๒ วรรณกรรมทสี่ ามารถนำไปสกู ารสรา งรายไดใ นทกุ ยุคทกุ สมยั การสง ตอ และตคี วาม ความเชื่อในยคุ สมยั ใหมตอ บทบาทยักษวดั โพธแิ์ ละยักษว ดั แจง ๑.๓ การสรา งกระบวนการเรียนรขู องเด็ก และเยาวชน ไดแก การ สงเสรมิ การเรยี นรูป ระวตั ิศาสตรท อ งถิน่ การสงเสรมิ การเรยี นรใู นศาสนสถาน และการ ปลกู ฝง จิตสำนึกเรอ่ื งการรกั ษาสิ่งแวดลอ ม ๑.๔ การสรา งรายไดใ หแ กช มุ ชน เชน การสง เสรมิ การทอ งเทย่ี ว เปนตน ๒. ประโยชนใ นการศกึ ษาวจิ ยั ๒.๑ งานวรรณกรรม สะทอนใหเห็นถึงพัฒนาการทางภาษาและ วรรณกรรมจากตำนานมุขปาฐะสูบทประพันธและการบอกเลาประเภทตางๆ ๒.๒ สภาพสังคม ดานขนบธรรมเนียมประเพณี ดานความเชื่อ และดาน สภาพชีวติ ความเปนอยู ไดแ ก การตั้งถ่นิ ฐานบา นเรือนและการประกอบอาชีพ รวมไปถึง การพฒั นางานดา นศลิ ปะ สถาปต ยกรรมในสถานท่ีน้นั ๆ เปน ตน ๑๔ แบบฝก หดั ทายบท 1.จงเขยี นสรุปประโยชนใ นการศกึ ษาวรรณกรรมทอ งถิน่ 2.วรรณกรรมทอ งถ่ินชว ยสืบทอดประเพณีทอ งถ่นิ ไดอ ยางไร จงอธิบาย 3.จงอธิบายถึงประโยชนแ ละบทบาทของวรรณกรรมทอ งถ่ินพรอมยกตัวอยา ง 4.ใหน กั เรียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณกรรมทอ งถนิ่ มีประโยชนด า นการศกึ ษา อยา งไร จงอธบิ าย 5.นกั เรยี นจะมวี ธิ ีการอนรุ ักษแ ละเผยแพรวรรณกรรมทอ งถ่ินไดอ ยางไร ๑๕ คุณคาและขอคดิ ตำนานทอ งถน่ิ คุณคา ตำนานทอ งถิ่น คุณคา ตำนานทองถิ่น หมายถึง ความดีงาม ของงานพูด งานเขยี นของ นักพดู นักเขยี น ตำนานทองถ่นิ เปนเรื่องเลา ของคนไทยสบื ทอดกนั มาหลายชวั่ อายคุ นมคี ุณคา ตอ คนในสงั คมดา นตา งๆ ดังน้ี ๑.คุณคาดานจรยิ ศาสตร จรยิ ศาสตร ความประพฤติ การครองชวี ติ วาอะไรดี ชว่ั หรอื อะไรถูกผิด วรรณกรรมทอ งถ่ินจะทำหนาท่ีรักษาแบบแผนและความประพฤติ การครองชวี ติ ของ ชาวบา นใหด ำเนนิ ไปอยา งถกู ตอ งตามขอตกลงกฎ, ระเบียบและประเพณีอันดีงามของ สงั คม ๒.คุณคาดานสุนทรยี ศาสตร สุนทรยี ศาสตร หมายถงึ การนยิ มความงาม ความไพเราะของถอ ยคำ ภาษาที่ใชใน วรรณกรรมทอ งถิน่ การใชคำสมั ผัส คลอ งจอง ความไพเราะของทว งทำนอง บทกวี เม่อื ฟง หรืออา น แลว เกิดจนิ ตนาการ ความรสู กึ และอารมณ วรรณกรรมทองถน่ิ ทุกประเภท จะมีคณุ คาทางดา นน้ี ๓.คณุ คาทางดานศาสนา วรรณกรรมทอ งถนิ่ เปนสือ่ ถายทอดคำสอนและปรชั ญาทางศาสนาเผยแพรไ ปสู ประชาชน ทำใหประชาชนมีหลกั ยึดเหนย่ี วใจ ไดขอ คดิ และมีแนวทางในการดำรงชวี ิต ประพฤติ ปฏบิ ตั ิตน เปน คนดีของสงั คม วรรณกรรมที่ใหคณุ คา ทางดานนี้ เชน นิทาน ชาดก มหาชาตชิ าดก เปน ตน ๑๖ ๔.คณุ คาดานการศกึ ษา วรรณกรรมทอ งถ่นิ ทกุ ประเภทเปน สอ่ื ท่ีใหค วามรู ความเขา ใจในเร่ืองตา งๆ อยา งมากมาย นอกเหนือจากการใหค วามบนั เทิงแลว เชน ความรเู รอื่ งประวัตศิ าสตร ศาสนา คำสอน ชวี ิตความเปนอยู และขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในทอ งถน่ิ เปน ตน ๕.คุณคาทางดา นภาษา วรรณกรรมทกุ ประเภททงั้ งานเขียนและการพูด ตองใชถ อ ยคำ ภาษาเปน สอ่ื ใน การ เสนอเรือ่ ง ดังนั้นจึงมีคุณคาทางดา นภาษาของคนทองถนิ่ เปน อยา งมาก ซงึ่ แสดงให เหน็ ถงึ วัฒนธรรมและววิ ัฒนาการดานภาษาของชาติที่มีภาษาเปน ของตนเอง มที งั้ ใน ดานความ สละสลวย สวยงามและความไพเราะ ควรคาแกการอนรุ ักษแ ละสืบทอดตอไป ตำนานทองถิ่นไดรับการถายทอดทางมุขปาฐะ จนกระทั่งการเขียน การพิมพ เจริญขึ้น จึงไดมีการบันทึกไวเปนลายลักษณอักษร ดังนั้นคุณคาดานภาษาจึงมี 2 ประการคือ ๕.1 ภาษามุขปาฐะ เปนภาษาพูดที่สื่อสารกันในระดับทองถิ่น คำและ สำเนียงภาษา จึงแตกตางไปจากภาษาเขียน ภาษาพูดเปนภาษาที่ถายทอดอารมณ ความรูสึกไดอยา งลกึ ซง้ึ กวา ภาษาเขียน ๕.2 ภาษาลายลักษณ ตำนานทองถิ่นไดรับการเรียบเรียงผานการ กลั่นกรองของผูเรียบเรียง อีกทอดหนึ่งภาษาที่ใชแมบางคำยังคงภาษาถิ่นไวเพื่อคง ความหมาย ความสละสลวย การลำดับเรื่องและลำดับความคิดเปนระบบกวาภาษา มุขปาฐะ ภาษาทปี่ รากฏในตำนานทองถ่นิ บางคำไมมใี ชใ นปจจุบนั บางคำใชภาษากลาง แทนคำและ สำนวนดั้งเดมิ จึงมปี รากฏในภาษาถิน่ ทีช่ าวบานใชในการเลาตำนานทองถิ่น เทา นั้น ๑๗ ๖.คณุ คา ดา นเศรษฐศาสตร วรรณกรรมทอ งถนิ่ ประเภทคำสอน ภาษติ นทิ าน ศาสนา จะใหความรเู ก่ยี วกบั การเกบ็ ออม การใชจ า ยอยา งประหยดั และการหารายได เปนตน นอกจากนว้ี รรณกรรม ทอ งถ่ิน ประเภทตำรายา ตำราพยากรณ ตำราบทสวด ตำราบททำขวญั ในพิธกี รรมตา งๆ ยงั ใหค วามรแู กผ ูทศ่ี กึ ษาจริงจงั สามารถนำไปประกอบอาชพี เพอ่ื หารายไดไดอีกดวย ๗.คุณคาดา นสังคม วรรณกรรมทอ งถิน่ เปน ส่อื ท่ีปลกู ฝง คานยิ มเร่อื งความสามคั คี การดำเนินชีวติ อยู ในสงั คม แบบพ่งึ พาอาศัย เออื้ เฟอ เผือ่ แผซ ง่ึ กนั และกัน การมมี นษุ ยสมั พนั ธต อกัน เพอื่ ความรมเยน็ เปน สขุ ของสังคมและทองถิ่นเชนวรรณกรรมประเภทคำสอนตา งๆ ๘.คณุ คาดา นประวัติศาสตรแ ละโบราณคดี วรรณกรรมทอ งถิ่นประเภทตำนาน หรือนิทานตา งๆ ทำใหผอู า นหรือผฟู งไดมี ความรู เรอ่ื งประวัตศิ าสตร โบราณสถาน โบราณวัตถไุ ดเปน อยา งดี ๙.คุณคาดา นจิตใจ วรรณกรรมทุกประเภทมกั นำเสนอเร่ืองราวทท่ี ำใหผ ูอา นหรอื ผฟู งมคี วามรูความ เพลิดเพลนิ และความบันเทงิ ทำใหเ กิดความจรรโลงใจคลค่ี ลายความทกุ ขได ๑๐.คณุ คา ดานประโยชนใ ชส อย วรรณกรรมทองถิ่นนอกจากจะมีประโยชนดานตางๆ ดังที่กลาวมาแลว ยังให ประโยชน ดานใชส อยดว ย เชน ตำรารักษาโรคและตำราพธิ กี รรมตา งๆ เปน ตน ๑1.คณุ คา ดา นอารมณ การเลาตำนานทองถน่ิ มีจุดมุงหมายสำคัญคือใหค วามเพลิดเพลนิ แกผ ฟู ง นำผูฟง ไปยังโลก แหงความมหัศจรรย ดินแดนที่วิเศษ ดินแดนที่แปลก ๆ เต็มไปดวยอิทธิฤทธิ์ ปาฏหิ าริยและเรือ่ งเลา นน้ั อาจจะมหี รอื ไมม ีอยจู ริงกไ็ ดต ามความเชื่อของคนสมยั นัน้ ๆ ตัว ละครในนิทานมีทั้งมนุษย อมนุษย ลวนแลวแตเปนภาพจำลองของมนุษยทัง้ สิน้ มีทั้งดี และเลว กลาหาญและข้ีขลาด เสยี สละและเหน็ แกตวั การฟง เรอื่ งเลา ตำนานทอ งถิ่นทำ ใหไดเรียนรูมนุษยหลายบุคลิก ผูฟงไดเพลิดเพลินสนุกสนาน ไปกับเรื่องราวตางๆ หลายหลากรส ซ่งึ ทำใหผ ฟู งมคี วามสุขและมีความหวังในการดำรงชวี ิต ๑๘ ๑2.คุณคา ดานความคดิ ตำนานทองถิ่นสวนใหญมีจุดมุงหมายแฝงในดานการใหขอคิดและคติเตือนใจ ตำนานทองถิ่นชวยขัดเกลาสมาชิกของสังคมใหเปนไปตามบรรทัดฐานและคานิยมของ สงั คมที่วางไว มีจุดมงุ หมายชใี้ หเหน็ คา นยิ มของการทำดไี ดด ีทำชว่ั ไดชั่ว มีเมตตากรุณา ตอสัตวโลก รูจักพิจารณารอบดานกอนตัดสินใจขอคิดเหลานี้ผูฟงจะซึมซับโดยไมรูตัว ๑3.คุณคา ดานสตปิ ญ ญา ตำนานทอ งถน่ิ เปน คลังความรูทีบ่ รรพบุรษุ ส่งั สมมาหลายช่ัวอายุจึงมีคุณคาโดยให เกิดภมู ริ ู สตปิ ญ ญาดานตางๆ ดังน้ี ๑3.1 ความรเู กยี่ วกบั ความเปนมาของชุมชนจะบอกใหรูวาชุมชนน้ีมีท่ีมา อยางไร แมจะมีการเสริมเติมแตงเนื้อเรือ่ งเขาไปบาง ก็ยังปรากฏรองรอยความเปนมา ของกลุมชน เชน ตำนานทาเตียน ตำนานสามเสน ตำนานแมนาคพระโขนง ตำนาน แรง วัดสระเกศ ๑3.2 ความรูเกี่ยวกับความเชื่อขนบธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติใน ชุมชน อธิบายขนบธรรมเนียมประเพณีตางๆ ท่ีชุมชนเชอ่ื ถอื และปฏบิ ัติ ๑3.3 ความรูเกยี่ วกับธรรมชาติและสภาพแวดลอม อธบิ ายเหตุแสดงให เห็นความสนใจตอธรรมชาติ แสดงใหเห็นความพยายามอธิบายธรรมชาติรอบๆ ตัว ตามความรทู ี่มอี ยู แมการอธิบายในตำนานทอ งถ่ินจะไมเ ปนวทิ ยาศาสตร แตก็แสดงให เห็นความเอาใจใสตอธรรมชาติ พยายามหาเหตุผลในระดับหนึ่งมาตอบสนองความ อยากรูอ ยากเหน็ ๑3.4 ความรูเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต ตำนานทองถ่ินเปนการถายทอด ประสบการณ ในการดำเนินชีวิตวิธีการหนึ่ง ชีวิตตัวละครในตำนานทองถิ่นเปน อุทาหรณที่ดีแกผูฟง เชน ความโงเขลา ความฉลาด ความโลภ ความอิจฉา ริษยา ตำนานทองถิ่นหลายเรื่องไดเสนอวิธีการปรับตัวและ การเอาตัวรอดใน สังคม การฟงตำนานทองถิ่นจึงเปนการเรียนรูวิธีการปฏิบัติตอกันเพื่ออยูอยางสันติใน สงั คม ๑๙ ขอ คิดตำนานทองถิน่ การหาขอคิดหรอื คตสิ อนใจจากเร่ืองที่อานวา เรอ่ื งนัน้ ๆ ใหข อ คดิ ทเี่ ปน ประโยชน อะไรบาง แลว จงึ นำขอ คดิ นั้นมาประยกุ ตใชใ นชวี ิตประจำวัน การหาขอ คดิ จากการอา น หนงั สือตำนานทอ งถน่ิ ควรอา นตั้งแตตนจนจบเร่ือง แลวทำความเขา ใจ เนอื้ เรื่อง และ จบั ใจความสำคญั หรอื ประเดน็ สำคัญทผ่ี ูเขยี นตอ งการใหขอ คิดกบั ผอู า น ๒๐ แบบฝกหัดทายบท 1. นกั เรยี นเหน็ คณุ คา จากการอา นตำนานทองถ่นิ ในเรื่องใดบา ง จงอธบิ ายพรอ มให เหตผุ ล 2. นักเรียนคิดวา การอา นคุณคา และขอ คิดตำนานทอ งถิ่นมปี ระโยชนต อนกั เรียนหรอื ไม เพราะอะไร 3. จงเขยี นสรุปความคณุ คา ทไ่ี ดจ ากการอา นตำนานทองถิน่ 4. จงเขียนสรุปความขอ คดิ ทีไ่ ดจากการอานตำนานทองถิน่ 5. นกั เรยี นจะนำคณุ คา และขอ คิดจากการอานตำนานทอ งถิน่ ไปประยุกตใ ชใ น ชวี ติ ประจำวนั ดา นใดบา ง ๒๑ ตำนานทาเตยี น ตำนานทาเตียน เปนนิทานที่แตงขึ้นเกี่ยวกับยักษวัดโพธิ์กับยักษวัดแจง เพ่ือ โยงใหเขากับชื่อสถานที่ที่เรียกวาทาเตียน ซึ่งเปนทาน้ำและยานการคา อยูริมแมน้ำ เจา พระยาทางทศิ ตะวันตกของวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม โดยมีเร่อื งเลา ดังนี้ “ยักษว ัดโพธ”ิ์ ตง้ั เกบ็ ไวในตูกระจกหนาซมุ ประตทู างเขาพระมณฑป (หอไตรจตรุ มขุ ) ๒๒ “ยกั ษวัดแจง ” มี ๒ ตนคอื ยักษด า นเหนอื กายสีขาว มชี ือ่ วา “สหัสเดชะ” สวนยกั ษด านใตกายสีเขยี ว มชี ือ่ วา “ทศกัณฐ” ยืนเฝาที่ประตูซมุ ยอดมงกฎุ ทางเขาพระอโุ บสถ วัดอรุณราชวราราม “ยักษว ัดพระแกว ” นายทวารบาลเฝา ประตู ๒ ตน ๒๓ “ยกั ษ” เปนอมนษุ ยชนดิ หนึ่ง มกี ลาวถึงทัง้ ในทางศาสนาและวรรณคดเี ปน ความเช่ือของ ไทยทไ่ี ดรบั อิทธิพลจากศาสนาพราหมณแ ละศาสนาพทุ ธ โดยเช่ือวายกั ษม ีหลายระดับ ขน้ึ อยกู บั บญุ บารมี ยกั ษช น้ั สงู จะมีวมิ านเปน ทอง มรี ูปรางสวยงาม ปกตไิ มเห็นเข้ยี ว เวลาโกรธจงึ จะมีเขย้ี วงอกออกมา ยักษชนั้ กลางสวนใหญจ ะเปนบรวิ ารของยักษชัน้ สูง สว นยักษช นั้ ต่ำทบ่ี ญุ นอ ยก็จะมีรูปรา งนา กลัว ผมหยกิ ตวั ดำผิวหยาบ นสิ ัยดุรา ย จะเห็น ไดว าในวัดวาอารามตางๆ มักจะมยี ักษม าประกอบเปน สว นหนงึ่ ของวัดหรอื โบราณสถาน ไมว าจะเปนรูปปนยักษแบกพระเจดียในวดั พระแกว รูปปน ยักษแบกองค พระปรางคใ น วัดแจง หรือยักษวดั โพธิ์ เปนตน ซง่ึ ตามตำนานเลาวา พระพทุ ธเจาไดเ ทศนส ั่งสอนยักษใ หล ดทิฐิมานะ ยกั ษท่ไี ด ฟง และเขา ใจในพระธรรม จึงไดก ลายมาเปนผอู ปุ ถมั ภค ้ำชพู ระพทุ ธศาสนา หรอื อีกนยั หนงึ่ กห็ มายถึง ผูแบกสรวงสวรรค และทำหนาที่เปนผูปกปองคุม ครองสถูปสถาน และอาคารศักดิ์สิทธ์ิ เพื่อเปนการค้ำชูพระพุทธศาสนาใหมั่งคงและเจริญรุงเรืองสืบตอมา ตำนานเรือ่ งเลา หลายคนคงเคยไดย นิ ตำนานกำเนดิ ทาเตียน ท่เี ลาปากตอ ปากกัน มาวา บริเวณทาเตียนอันเปนพื้นที่โลงเตียนนั้นเปนผลจากการตอสูของ “ยักษวัดแจง” กับ “ยักษวัดโพธิ์” โดยมี “ยักษวัดพระแกว” เปนผูหามทัพตำนานกำเนิดทาเตียน มีวา ยักษวัดโพธ์ิซึ่งทำหนาทด่ี ูแลวดั โพธแิ์ ละยักษวัดแจงซ่ึงทำหนาทดี่ ูแลวัดแจงหรือวัดอรุณฯ ฝงตรงขา มนน้ั ทัง้ ๒ ตนเปน เพอื่ นรกั กัน วนั หนง่ึ ทางฝา ยยกั ษว ัดโพธิไ์ มมเี งินจงึ ขามแมน้ำ เจาพระยาไปขอยืมเงินจากยักษวัดแจง พรอมทั้งนัดวันที่จะนำเงินไปสงคืน เมื่อถึง กำหนดสงเงินคืน ยักษวัดโพธิ์กลับไมยอมจายหนี้ เบี้ยวเอาเสียด้ือ ๆ ยักษวัดแจงเมื่อรอ แลวรอเลาจนทนไมไหว จึงตัดสินใจขามแมน้ำเจาพระยามาทวงเงินคืน แตยักษวัดโพธิ์ ไมยอมให ๒๔ ยกั ษว ดั โพธิ์ & ยกั ษว ดั แจง ๑๘ ยกั ษวัดแกว (กรรมการหา มศกึ ) ๒๕ ดงั น้นั ในทสี่ ดุ ยักษท ้งั ๒ ตนจึงเกิดการทะเลาะถึงข้นั ตอ สกู นั แตเ พราะรูปรา งที่ ใหญโ ตมหมึ าและมกี ำลงั มหาศาลของยักษทงั้ ๒ ตน เมอ่ื ตอ สูกนั จึงทำใหต นไมใ นบริเวณ นน้ั ถูกยกั ษท งั้ สองเหยียบยำ่ จนลม ตายลงหมด หลังจากท่ีเลกิ ตอสกู นั แลว บรเิ วณทยี่ กั ษ ท้งั สองประลองกำลังกันนั้น จึงราบเรียบเปน หนากลองกลายเปน สถานทีท่ ่ีโลง เตียนไป หมด ไมม อี ะไรเหลอื เลย ซง่ึ ตามตำนานเรอื่ งเลา ดังกลาวยงั สรปุ ไมไ ดวา ยกั ษวัดไหนเปน ฝา ยชนะ คร้นั เมอ่ื พระอิศวร (พระศิวะ) ไดทราบเรอ่ื งราวการตอ สูกนั ทำใหบ รรดามนุษย และสตั วทัง้ หลายในบรเิ วณน้ันเดอื ดรอ น จึงไดลงโทษโดยการสาปใหยักษท ั้ง ๒ กลายเปน หิน แลว ใหย ักษว ดั โพธ์ิ ทำหนา ทยี่ ืนเฝาหนา พระอโุ บสถ วัดโพธ์ิ และใหยักษว ดั แจง ทำ หนาทย่ี ืนเฝา พระวหิ าร วดั แจง เร่ือยมา สว นฤทธจ์ิ ากการสรู บของยกั ษท ัง้ คูทที่ ำชุมชน ละแวกนีร้ าบเรยี บเปนหนากลอง ทำใหชาวบา นพากนั เรยี กวา “ทาเตยี น” เรื่อยมาจนถึง ทกุ วนั นี้ ขอคดิ ทายเร่อื ง 1. การไมย อมขม ใจ และกระทำการทะเลาะวิวาทกนั ของผูเปนใหญ ยอ มสรา งความ เสยี หายไดอยา งมากมาย และยอ มนำความเดือดรอ นมาสูตนดวยเชน กนั 2. ตามตำนาน ยกั ษผ มู บี ารมีในเวลาปกติกจ็ ะมรี ูปรางสงา งาม แตเมอ่ื โกรธจะมเี ขยี้ วนา กลัวงอกออกมา ทำใหด นู ากลัวฉนั ใด มนุษยผ มู นี สิ ยั รา เรงิ แจมใส ยมิ้ แยม เปนปกติ กน็ า ดู ชม สวนผูท มี่ ักโกรธ ทำหนาบ้งึ ตึง ก็ไมนา ดูชมคลา ยยักษท ่มี เี ขยี้ วงอกมาฉนั นัน้ 3. การไมร กั ษาสัจจะคำพูด ยอ มเปน เหตุทำตนใหเสอ่ื มเสียเกียรติ และเปนเหตุสรา งการ วิวาทหรอื เรอื่ งไมด ีตางๆ ในภายหลงั ๒๖ แบบฝกหดั ทายบท ๑. หากใหนกั เรยี นพดู ถงึ “ยักษวัดโพธิ”์ และ “ยักษวัดแจง” นักเรยี นจะพดู ถงึ ในแง ใดบาง ๒. หากนกั เรียนเปน “ยักษวัดโพธ”์ิ หรือ “ยกั ษว ดั แจง” นักเรียนจะทำอยา งยักษทั้ง 2 ตนหรือไม เพราะเหตใุ ด ๓. หากนักเรยี นเปน “ยกั ษวดั แกว ” นกั เรียนจะหา มปราบ “ยักษว ดั โพธิ์” และ “ยกั ษ วดั แจง ” หรอื ไม เพราะเหตใุ ด ๔. หากนักเรยี นเปน “พระอศิ วร (พระศิวะ)” นักเรยี นจะลงโทษยกั ษท ้งั ๒ ตนโดยให ทำหนาทย่ี ืนเฝา หนา พระอุโบสถและพระวิหารหรือไม เพราะเหตใุ ด ๕. นกั เรียนไดข อคดิ จากเรือ่ ง “ตำนานทา เตยี น” ในเรื่องใดบาง จงอธบิ าย ๒๗ ตำนานสามเสน ตำนานสามเสน มีเรอื่ งเลาโดยการอา งถงึ นิราศพระบาทของทา นสนุ ทรภูเ ปน หลัก ดังนี้ ถงึ สามเสนแจง ความตามสำเหนียก เมื่อแรกเรยี กสามแสนทงั้ กรุงศรี ประชมุ ฉดุ พุทธรูปในวารี ไมเคล่อื นท่ีชลธารบาดาลดิน จงึ สาปนามสามแสนเปน ชือ่ คุง เออชาวกรุงกลบั เรยี กสามเสนสน้ิ นีห่ รอื รกั มนิ าเปน ราคดิ แตช ่ือดินเจียวยงั กลายเปนหลายคำ ขอใจนชุ ท่ีฉันสจุ รติ รกั ใหแนนหนักเหมือนพทุ ธรปู เลขาขำ ถึงแสนคนจะมาวอนชะออนนำ สักแสนคำอยา ใหเ คลือ่ นจงเหมอื นใจฯ แผนทส่ี ามเสน ๒๘ เร่อื งเลา ท่ีมาของช่ือสามเสน แตเดิมพื้นที่บริเวณนี้เปนพื้นท่ีทุงนาและลำคลองมีชื่อเรียกวา \"ทุง สามเสน\" ติดริมแมเจาพระยา มีปรากฏตั้งแตอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา รัชสมัย สมเด็จพระนารายณมหาราช โดยชาวโปรตุเกสที่ไดอพยพเขามาอาศัยอยูในกรุง ศรีอยุธยา เมื่อเกิดศึกสงคราม ชาวโปรตุเกสไดรับราชการสงครามมีความดี ความชอบ สมเด็จพระนารายณมหาราชจึงไดโปรดเกลาฯ พระราชทานที่ดินให เขามาอยูอาศัยเมื่อราว พ.ศ. ๒๒๑๗ จึงไดมีการสรางวัดคอนเซ็ปชัญ หรือวัดแม พระปฏิสนธินิรมล ศาสนาสถานของศาสนาคริสตนกิ ายโรมันคาทอลิก ซึ่งในตอน แรกเปนเพียงแคโบสถไม นับเปนศาสนสถานของคาสนาคริสตที่เกาแกที่สุดใน กรุงเทพมหานคร และกลายเปนชุมชนเรียกวา \"บานโปรตุเกส\" หากแตแถบทุง สามเสนนี้ ก็เปนพื้นที่ ๆ มีผูคนอาศัยอยูกอนแลว โดยปรากฏหลักฐาน คือ วัด ราชาธิวาสราชวรวิหาร (วัดสมอราย) ซึ่งสันนิษฐานวาสรางมาตั้งแตกอน อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา และวัดเทวราชกุญชรวรวิหาร (วัดสมอแครง) รวมถึงวัด โบสถสามเสนทส่ี รา งในอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ชุมชน “บานโปรตุเกส” หรือ \"หมูบานเขมร\" ๒๙ ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช รัชกาลท่ี ๑ ในชวงตนกรุงรัตนโกสินทร ไดโปรดเกลาฯ ใหชาวเขมรที่เขารตี ศาสนาครสิ ตท ี่ หลบลี้ภัยสงครามมา เขามาอยูอาศัยที่บานโปรตุเกสนี้ ทำใหหมูบานโปรตุเกส เปลี่ยนชื่อเปน \"หมูบานเขมร\" โดยมีชาวเขมรผูหนึ่งชื่อ นายแกว มีตำแหนงเปน จางวาง ทำหนาที่เปนนายหมูบานดวย ตอมาสังฆราชปาเลกัว (ฌ็อง-บาติสต ปาลกัว) ไดเขามาเปนอธิการวัดคอนเซ็ปชัญ ก็ไดสรางความเจริญใหแกวัดแหงนี้ ตราบจนถึงปจจุบัน ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ ไดโปรดเกลาฯ ใหชาวญวนที่อพยพเขามาในกรุง รัตนโกสินทรอันเนือ่ งจากมีการปราบปราบชาวญวนที่นับถือศาสนาคริสต เขามา อาศัยอยูยังบริเวณวัดสมเกลี้ยง ซึ่งเปนวัดราง เหนือหมูบานเขมร เรียกกันวา \"หมูบานญวน\" และมีการสรางวัดนักบุญฟรังซิสเซเวียร และกลายมาเปนชุมชน ชาวญวนมาจนถงึ ปจ จบุ ัน วดั นักบุญฟรังซิสเซเวียร โดยชื่อ \"สามเสน\" นนั้ ยังไมทราบถงึ ความหมายและทม่ี าทไี่ ปแนช ดั มี ตำนานเลาวา หลวงพอโต พระพุทธรูปมาจากวดั บางพลีใหญใน (ปจ จุบันต้ังอยใู น อำเภอบางพลี จังหวดั สมทุ รปราการ) ไดล อยนำ้ ลงมาจากทางเหนือ มาปรากฏอยู แถบนี้ ผูคนไดม าชวยกนั ฉุดลากขน้ึ จากน้ำ แตก ไ็ มขึน้ เพราะเปนพระพทุ ธรูปทอง สัมฤทธิ์ หนา ตักกวา ง ๓ ศอก ๓ คบื จนมผี ูคนมาชวยกันถึงสามแสนคนก็ยังไม ๓๐ สำเรจ็ แตผลบุ จมหายไป เลยเรียกตำบลนัน้ วา \"สามแสน\" ตอมากเ็ พย้ี นเปน \"สามเสน\" ซึ่งสามเสนก็ยงั ปรากฏอยใู นนริ าศพระบาทของสุนทรภู เม่ือปลายป พ.ศ. ๒๓๕๐ ดวย หลวงพอสามเสน แตจากหลกั ฐานแผนทใ่ี นจดหมายเหตุหมอแกมปเ ฟอร (เอ็งเงลิ แบรท เคม็ พ เฟอร) นายแพทยชาวเยอรมันที่ไดเดินทางเขามายังกรุงศรีอยุธยาตั้งแต พ.ศ. ๒๒๓๓ ไดระบุตำแหนงที่ชื่อวา Ban Samsel ซึ่งชื่อดังกลาวมีความใกลเคียงกับ คำวา \"บานสามเสน\" อีกทั้งตำแหนง Ban Samsel ก็ตั้งอยูระหวางปอมท่ี บางกอก (ฝง ธนบุรี) กับตลาดแกว ตลาดขวญั (จงั หวดั นนทบรุ )ี มกี ารสนั นษิ ฐานไปตา งๆ นานา เชน คำวา \"เสน\" เปนภาษาบาลีหมายถงึ โคตรวงศ, เหลา แตเดมิ บริเวณพ้ืนท่แี ถบนนี้ าจะมีชาวอนิ เดยี ทช่ี ือ่ วา \"สาม\" อาศัย อยู หรืออธิบายวา โบสถทอมาสเดอะเซนต ที่เคยอยแู ถบน้ี ซึ่งสรา งขนึ้ โดย นาย ทอมาส นบั ถอื กนั วา เปน นักบญุ หรือเซนต จึงมคี ำวา เซนต ตอ ทายนาม แตค น ทั่วไปมักเรยี กวา \"ทามเสน\" ตอมาจึงกลายเปน \"สามเสน\" หรอื มนี ักภาษาศาสตร เสนอไวว า นา มาจะจากภาษามลายวู า \"สไุ หงซมั ซัม\" (Su–ngai Samsam) หมายถึง \"คลองชาวมสุ ลิม\" หรอื อาจจะมาจากคำวา \"สไุ หงซามซิง\" (Su–ngai Samsing) หมายถงึ \"คลองคนดรุ าย\" เปน ตน ๓๑ ขอคิดทา ยเรื่อง 1. ความมีเมตตาไมตรยี อ มทำใหผคู นแมต า งชาติ ตางศาสนา ตา งความเชอ่ื สามารถอยรู ว มกนั ไดอ ยา งมีความสงบสขุ 2. การพยายามลงมอื ทำสิ่งใดอยา งสดุ ความสามารถ กไ็ มไ ดแ ปลวา สงิ่ น้นั จะ สำเร็จตามความมุง หมายเสมอไป เพราะฉะนนั้ ตองเตรยี มใจไวร บั ความผิดพลาด ความไมสำเร็จดว ยเชนกนั ๓๒ แบบฝกหัดทายบท ๑. เม่ือนักเรยี นอา นนริ าศพระบาทของสุนทรภแู ลว นกั เรียนสามารถจนิ ตนาการสถานที่ ไดอ ยา งไร จงอธิบาย ๒. หากใหนกั เรยี นพูดถึง “สามเสน” นกั เรยี นจะพูดถึงในแงใ ดบาง ๓. นกั เรยี นไดข อคดิ จากเรื่อง “ตำนานสามเสน” ในเรอ่ื งใดบาง จงอธบิ าย ๔. เม่ือนกั เรยี นอา นเรอ่ื ง “ตำนานสามเสน” แลวนกั เรยี นประทับใจในเรอ่ื งใด ๕. เม่ือนักเรยี นอา นเรอ่ื ง “ตำนานสามเสน” แลวใหนักเรียนวาดภาพ “สามเสน” ตาม จินตนาการของนักเรยี น ๓๓ ตำนาน แมน าคพระโขนง ตำนานแมน าคพระโขนง เปนหนึ่งในหลาย ๆ ตำนานที่เปนทีร่ ูจักอยา งแพรหลาย ของคนไทย ไมจำเพาะเพียงแตคนในจังหวัดกรุงเทพมหานครถิ่นเกิดขึ้นของตำนาน เทา น้ัน แตนับวา เปน ทร่ี ูจักกนั อยา งกวา งขวางและแพรหลายในระดับประเทศ เน่ืองดวย เปน ตำนานทม่ี ีเคา โครงจากเรอ่ื งจรงิ และมีเนือ้ หาท่ตี ราตรงึ ใจของผไู ดร บั ฟง หรอื ชมดู การทีต่ ำนานแมนาคพระโขนง เปน ที่รูจ ักไปอยา งแพรห ลายนั้น เนอื่ งดวยเรื่องแม นาคพระโขนงนั้น ถูกนำมาจัดทำเปนทั้งภาพยนตร ละครเวที ละครวิทยุ ละครโทรทัศน และหนังสือ เรื่องแมนาคพระโขนงนี้ถูกสรางซ้ำเรื่อยมา ตั้งแตหนังสือสยามประเภท พ.ศ. 2442 โดย ก.ศ.ร. กุหลาบ จนมาถึงปจจุบันก็ยังมีนำเรื่องแมนาคพระขโนง มา สรา งเปนภาพยนตร ละครทวี ี ใหเ ห็นอยบู อ ย ๆ รวมการสรา งซำ้ นบั หลายสบิ คร้ัง นับวา เปนตำนานทถี่ กู กลาวถึง เปนทร่ี จู ัก และมกี ารจดั สรา งเปน ภาพยนตร ละครทีวี มากที่สุด เรือ่ งหน่งึ ของประเทศไทย เหตุการณแมนาคพระโขนง พอสนั นษิ ฐานไดว า นาจะเกดิ ข้ึนในราวชว งปลายรชั สมัยรัชกาลท่ี 3 ถึงตน รชั สมัยรชั กาลท่ี 4 ๓๔ คนไทยเลาตอกันมาวา กาลครั้งหนึ่งนานมาแลว สามีภรรยาคูหนึ่งใชชีวิตในทอง นายานชนบททุงพระโขนง สามีชื่อนายมาก สวนภรรยาชื่อนางนาค (บางครั้งสะกดดวย ก เปน “นาก”) อยูมาวันหนึ่ง นายมากไดรับหมายเรียกเกณฑไปเปนทหารรับใชชาติที่ บางกอก ซึ่งในขณะนั้น นางนาคกำลังตั้งครรภออนๆ นางจึงตองอยูตามลำพังที่ กระทอ มปลายนา เมอื่ เจ็บทอ งหมอตำแยกม็ าทำคลอดให แตทวาลูกของนางนาคไมกลับ หวั จงึ ไมสามารถคลอดออกมาตามธรรมชาตไิ ด ทำใหนางนาคเจ็บปวดทรมานย่งิ นัก ใน ที่สุดนางนาคสิ้นใจไปพรอมกับลูกในทอง คนไทยโบราณเรยี กการตายลักษณะนี้วา ตาย ท้งั กลม ซึ่งตามตำราของพอ มดแมหมอไทยทั้งหลายระบุวา ผตี ายทัง้ กลมดุราย เฮี้ยนกวา ผีแบบอื่น ๆ เรื่องของนางนาคที่เสียชีวิตทั้งกลมเปนที่โจษจันกันไปทั่วทองทุงพระโขนง แตคนทีไ่ มท ราบคอื สามีที่ช่ือนายมาก ขณะนน้ั เปน ทหารอยูในบางกอก ศพของนางนาคไดถ กู นำไปฝงไว ยังปาชา ทา ยวดั มหาบุศย นายมากปลดจากทหารกอง ประจำการกลับมาบานทุงพระโขนง พบ กับนางนาค ผัวเมียคูนี้กนิ อยูหลับนอนกัน เปนปกติ จนกระทั่งวันหนึ่งชาวบาน ละแวกใกลเคียงแอบมาพบนายมากและ กระซิบบอกนายมากวานางนาคตายท้ัง กลมไปนานแลว นายมากโกรธจัดและปฏิเสธท่ี จะเชอื่ เพอื่ นบา นเหลา น้ัน ในภาพยนตรเรื่องแมนาคพระ โขนงจะตองเนนฉากท่ีโดดเดนที่สุด คือ ฉากที่นางนาคตำน้ำพริกอยูนอกชานบน บาน เธอกำลังมองหาผลมะนาวเพื่อปรุงรสน้ำพริก มะนาวลูกกลมๆ ก็กลิ้งหลนลงไปอยู ใตถุนบา น ๓๕ จังหวะนั้นแขนของนางนาคจะเหยียดยาวยืดออกไปจากนอกชานชั้นบนลงไปถึงใตถุน แลวเธอสามารถหยิบลูกมะนาวใสมือ หดแขนกลับเขาที่เดิม นางนาคบีบมะนาวใสครก แลวตำนำ้ พรกิ ตอ ไดแ บบสบายใจ นาทีสยองที่นางนาคยืดแขนหยิบลูกมะนาวนั้น นายมากเผอิญหันมามอง นาย มากตกตะลึงตาเหลือก หัวใจกระแทกทรวงอกแทบพัง รำพึงกับตนเองวา นางนาคไมใช คนเปนแนแท เธอตายแลวแนนอนและเขากำลังใชชีวิตอยูกับผีตามที่ชาวบานแอบมา บอก ตำนานเรื่องแมนาคเลาตอกันมาวา เย็นวันนั้น นายมากวางแผนหลบหนีเมียผี โดยการแอบเจาะตุมใสน้ำใหรั่วแลว เอาดินเหนียวอุดไว ตกกลางคืนทำทีลุกขึน้ ไปฉ่ี นาย มากไปแกะดนิ ทอี่ ดุ ตมุ ไวใ หน ำ้ ไหลออกตกถงึ พ้นื ดินเสยี งดงั เหมอื นคนฉี่ นายมากแอบหนี ไปได นางนาคเมื่อเห็นวานานผิดสังเกตจึงออกมาดู รูวาตัวเองโดนหลอก จึงออกตามผัว รักไปทันที นายมากหนีเขาไปซอนอยูในดงหนาด นางนาคไมสามารถทำอะไรไดเพราะผี กลัวใบหนาด (เปน ความเชอ่ื ของคนโบราณวาผีกลัวใบหนาด) นายมากหนีไปพึ่งพระอาศยั กินนอนที่วดั นางนาคยิ่งเฮีย้ นออกอาละวาดแถวยาน พระโขนง เพราะเจ็บใจชาวบานที่ไปยุแยงตะแคงรั่ว ปากหอยปากปูบอกผัวตัวเอง ชาวบานยานพระโขนงหวาดกลัวกันไปทั้งบาง มืดค่ำทีไรตองปดประตูหนาตางจุดธูป เทยี นสวดมนตกนั หมด ๓๖ ขอมลู บางแหลง ระบวุ า ในที่สุดพระสงฆสามารถนำวญิ ญาณของผีนางนาคใสหมอ ดินถวงน้ำสยบการหลอกหลอนไดชั่วระยะเวลาหนึ่งจนทำใหชาวบานยานทุงพระโขนง กลาออกมานอกบา นยามคำ่ คนื แตตอมาตายายคูหนึ่งที่เพิ่งยายมาทำมาหากินแถวทุงพระโขนง ไปเฟอะฟะเก็บ หมอที่ถวงวิญญาณนางนาคขึ้นมาไดขณะทอดแหจับปลา วิญญาณนางนาคจึงถูก ปลดปลอยออกมาอีกครั้ง แตสุดทายก็ถูกสมเด็จพระพุฒาจารย (โต พรหมรังสี) จัดการ สง ดวงวญิ ญาณของนางนาคไปสูสคุ ติ มีเกร็ดตำนานเลาตอมาวา ชื่อสี่แยกมหานาคที่เขตดุสิตในปจจุบัน มาจากการท่ี แมนาคอาละวาดขยายตัวใหใหญ และลนเกลารัชกาลที่ 4 ก็ยังเคยเสด็จทอดพระเนตร ดวย ม.ร.ว.คกึ ฤทธิ์ ปราโมช ไดเคยเขยี นบันทกึ เอาไวว า เม่อื พ.ศ.2468 ซง่ึ เปนสมัยที่ ทานยังเปนเด็ก ทานเคยเห็นเรือนของแมนาค เปนเรือนลักษณะเหมือนเรือนไทยภาค กลางทั่วไปอยตู ดิ รมิ คลองพระโขนง มีเสาเรอื นสูง ซ่ึงปจ จบุ ันนีไ้ ดถ กู รื้อถอนไปแลว แตอ ยา งไรกด็ ี ก็มีขอสงสยั ทีถ่ ามกันมาทุกยุคทกุ สมัยวา “แมนาค” เปนเรื่องจรงิ หรือนิยายกันแน เปน แบบเดยี วกบั “ขนุ ชาง-ขุนแผน” หรือเปลา ซงึ่ เปนเร่ืองแตง แลว ทึกทักกนั จนเชื่อวาเปนเร่อื งจรงิ ในหนังสือ “สยามประเภท” ฉบับวันศุกร ท่ี ๑ ธันวาคม ร.ศ. ๑๑๘ (พ.ศ.๒๔๔๑) สมัยรชั การที่ ๕ หรือเมอ่ื ๑๐๐ กวา ปม าแลว ไดม ีผอู า นเขียนเปนโคลง ถามนายกุหลาบ ตฤษณานนท บรรณาธกิ ารคนดงั ของยุคนั้น วา “โคลงถามเรอื่ งปศ าจนางนากพระโขนง” ขอถามกุหลาบเถา เมธา หนอยพอ เปนเรอื่ งโบราณมากลา วแสร เทจ็ จรงิ พออาจสามารถตอบ ไดแ น เพราะเรอ่ื งเกาแกแ ทเ ลา รรู ะบอื เมอื ง นางนากปศ าจนั้นเปนไฉน หนะพอ หรอื วากลา วลวงไถลหลอกลอ ๓๗ แตไ มคอ ยใกลไ กลเพยี งพระ โขนงนอ เท็จจรงิ อธิบายขอ นัน่ นน้ั อยา งไร ความลอื เลา ครั้งโบราณมา อาจชว ยผวั ทำนาก็ได เพราะวา ปศ าจสามารถดุ นักแฮ รูแนคงตอบใหค อยรรู าวความ ปราชญแ ท ณ รอบรแู นน า หรอื วาสน้ิ ปญญาหมดตู แตเ ชื่อวา ครูบาคงตอบ ไดนอ แมไมร อู ยา รตู อบใหเ ห็นจริง ซึ่งนายกหุ ลาบไดตอบวา “จะเปน วันเดอื นปใ ดจำไมได เปนคำพระศรสี มโภช (บดุ ) วัดสวุ รรณ เลา ถวาย เสด็จอปุ ชฌายว า ในรชั กาลที่ ๓ กรงุ เทพฯ อำแดงนาก บตุ รขุนศรี นายอำเภอ บานอยู ปากคลองพระโขนง เปนภรรยานายชมุ ตัวโขนทศกรรฐในพระเจา บรมวงศเ ธอ เจาฟา กรมหลวงพทิ กั ษม นตรี อำแดงนากมคี รรภค ลอดบตุ รถึงอนิจกรรม นายชมุ ผูสามีจึงนำศพ ไปไวท ่วี ัดมหาบดุ ทพ่ี ระศรสี มโภชเปน ผสู รา งตง้ั แตทา นยังเปน มหาบดุ ในรชั กาลท่ี ๒ ศพ อำแดงนากฝงไวท ่ีนน่ั ไมม ปี ศ าจหลอกหลอนผูใด เปนแตพระศรสี มโภชเจาของวัดมหาบดุ เลา ถวายพระเจา บรมวงศเธอสมเดจ็ กรมพระปรมานุชิตชโิ นรสวา นายชมุ ทศกรรฐ เปน คนมั่งมี เปน ตานอยของนายสนเศรษฐี บุตรนายชุมมชี ายหญงิ หลายคน แตล วนยงั ไมม ี สามภี รยิ าท้งั สิน้ บตุ รนายชมุ หวงั ทรพั ยส มบตั ขิ องบดิ า เกรงวาบดิ าจะมภี รรยาใหม จะ กระจายทรพั ยสมบัติเสยี หมด พวกลกู จะอดตาย พวกลกู จึงทำอบุ ายใชคนไปขวางปา ชาวเรอื ตามลำคลอง ริมปาชาท่ฝี ง ศพอำแดงนากมารดา กระทำเปน ผดี รุ า ยหลอกคน จนถงึ ชวยนายชมุ ถีบระหัดน้ำเขานา และวดิ นำ้ กูเรอื ของนายชมุ ที่ลมกไ็ ด บุตรชายแตง เปน หญิงใหค ลา ยอำแดงนากมารดา ทำกรยิ าเปนผดี รุ ายใหค นกลวั ท้งั ลำคลองพระโขนง เพื่อประโยชนจะกนั เสียไมใหผูหญิงมาเปนภรรยานายชุม บิดา พระศรสี มโภชผสู รา งวดั มหาบุดเลา ถวายเสดจ็ อปุ ช ฌายแ ตเทาน้ี บตุ รนายชุม ทศกรรฐหลายคนไดเลาถวายเสด็จ อปุ ชฌายว า ตนไดทำมารยาเปนปศาจอำแดงนากมารดาหลอกชาวบา นจริง ด่งั พระศรี สมโภชกราบทลู สมเด็จพระอุปชฌายท กุ ประการ ความวถิ ารนอกจากน้ไี มทราบถนดั ได ๓๘ ทราบชัดแตว าบุตรนายชมุ ทศกรรฐ ช่อื แบน บวชเปนพระสมหุ ของสมเดจ็ พระ อุปชฌาย พระสมหุ แบนผูนี้ผูกคอตายทถ่ี านวดั พระเชตพุ นเดยี๋ วน”้ี ถอดความวา เรอื่ งแมน าคพระโขนง แทท่จี ริงแลว เปนเรือ่ งทลี่ กู ๆ ของแมน าค สรางเร่อื งข้นึ มา เพอ่ื ใหผ หู ญงิ อืน่ กลวั ที่จะมาเปน เมยี ใหมของพอ แยง เอาทรพั ยส มบัตไิ ป แตแมจะตพี มิ พเ รอ่ื งนี้ไปแลว วา เรอื่ งแมนาคพระโขนงเปน เรอื่ งคนหลอกคน ไมใชผ หี ลอก คน แตกไ็ มอ าจหยดุ ย้งั ความเชอื่ ในเรือ่ งแมน าคเปนผีอาละวาดลงได และเช่อื กนั มากวา ๑๐๐ ปจนถึงวนั น้ี ทั้งนี้ เรื่องตำนานแมนาคพระโขนง ทั้ง 2 ความเชื่อที่กลาวมานี้ ทั้งที่กลาววาแม นาคพระโขนงเปนเรื่องของผีนางนาคที่ตายทั้งกลมและอาละวาดหลอกหลอนผูคน และ ท่กี ลา ววา แมน าคพระโขนงเปน เพยี งการสรา งเรื่องขึ้นเพอ่ื ปองกันทรพั ยส มบัตขิ องลกู นาง นาคที่ตายไป ก็มีผูคนไมนอยที่ปกใจเชื่อแบบแรก และก็อีกไมนอยที่เชื่อวาเปนแบบท่ี สอง ๓๙ เร่ืองน้ี จึงอยูทด่ี ลุ ยพินจิ ของแตล ะคน ซึ่งเราไมค วรเขาไปกา วลวงหรอื ดหู ม่ินความเชอื่ ของแตล ะคน ในปจจุบันมีการสรางศาลแมนาคไวที่วัดมหาบุศย แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง จงั หวดั กรงุ เทพมหานคร ศาลแมนาคในวดั จะมีผคู นมาสักการบูชาไมขาดสาย โดยบคุ คล เหลานจ้ี ะเรียกดว ยความเคารพวา “ยานาค” ขอคดิ ทายเร่อื ง 1. ความรกั ที่ประกอบไปดวยความยึดม่ันถือมั่น ยอมนำพาความเศราโศกทีย่ าวนานมาสู ตนเชนกัน เหมอื นแกวแตก ย่งิ จบั แรงก็ย่ิงเจบ็ ยิ่งไมย อมปลอย กย็ งิ่ โดนบาดอยูร่ำไป 2. การทำการส่ิงใดเพียงแคห วงั เพอ่ื จะรกั ษาไวซ ึ่งผลประโยชนของตนหรือพวกพอ ง อาจ นำความทกุ ขรอนมาสผู คู นอีกมากมาย 3. บางครั้งผูคนก็เลือกที่จะเชื่อตามสิ่งที่ตนเองเคยเชื่อมั่นและยึดถือ ถึงแมจะผูเห็นตาง หรือไมมีมูลความจริง หาเหตุผลไมไดก็ตาม เพราะฉะนั้นเรื่องความเชื่อสวนบุคคล จึง เปนสิ่งทไี่ มควรกาวลว งซึ่งกันและกนั แตค วรใชวจิ ารณญาณประกอบการตัดสินใจใหมาก ๔๐ แบบฝก หดั ทายบท 1. นักเรียนรูจักตำนานแมนาคพระโขนงจากสื่อ หรือชองทางใด และคิดวาชองทางใดท่ี ทำใหผ คู นรูจ กั ตำนานแมนาคพระโขนงมากทส่ี ดุ 2. นักเรียนคิดวาความเชื่อของผูคนในยุคสมัยกอนกับยุคสมัยนี้เกี่ยวกับตำนานแมนาค พระโขนง เหมอื นกนั หรือตา งกันอยา งไร 3. นักเรียนคิดวาอะไรคือสาเหตุที่ทำใหตำนานแมนาคพระโขนงที่ผานกาลเวาลามานับ รอยกวาป ยงั ไดรับความสนใจและรูจกั อยางแพรหลายมาจนถึงทกุ วนั นี้ 4. ตำนานแมนาคพระโขนง มีความเชื่อแตกเปน 2 อยางหลักๆ ตามที่กลาวในเรื่อง นกั เรยี นมีความคดิ เห็นอยางไรตอ ท้ัง 2 ความเชือ่ นนั้ 5. หลักจากทไ่ี ดอ านเรอื่ งตำนานแมน าคพระโขนง นักเรียนประทับใจในเร่อื งใดมากทส่ี ุด ๔๑ แรง วัดสระเกศ วัดสระเกศเปนวัดโบราณในสมยั กรุงศรี อยุธยา เดิมชื่อวัดสะแก พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชโปรดเกลาฯ ใหปฏิสังขรณและขุดคลองรอบพระ อาราม แลวพระราชทานนามใหมวา วัดสระเกศ ซึ่งแปลวาชำระพระเกศา เนื่องจากเคย ประทับทำพธิ พี ระกระยาสนาน เม่ือทรงกรีธาทัพกลบั จากกัมพชู ามาปราบจลาจลในกรุง ธนบรุ ี และเสดจ็ ข้ึนเถลิงถวัลยราชสมบัติใน พ.ศ.2325 มูลเหตุที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงใหเปลี่ยนชื่อวัด สะแก เปน วัดสระเกศน้ี มีหลักฐานทีค่ วรอางถึงคอื พระราชวจิ ารณในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เรื่องจดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวีขอ 11 วา \"รับสั่งพระโองการ ตรัสวัดสะแกเรียกวัดสระเกศแลวบูรณปฏิสังขรณ เห็นควร ที่ตนทาง เสด็จพระนคร\" ๔๒ ทรงพระราชวิจารณไ วว า \"ปฏิสังขรณวัดสะแกและเปลยี่ นชอ่ื เปน วดั สระเกศ เอา มากลา วปนกบั วดั โพธเิ์ พราะเปนตนทางท่เี สดจ็ เขามาพระนครมีคำเลาๆ กันวา เสดจ็ เขา โขลนทวารสรงพระมุธาภเิ ษกตามประเพณกี ลบั จากทางไกลทวี่ ัดสะแก จึงเปลยี่ นนามวา 'วัดสระ เกศ'\" ในสมยั พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหบ ูรณะและสรา งพระบรม บรรพตหรือภเู ขาทอง ทรงกำหนดใหเ ปนพระ ปรางคม ฐี านยอ มุมไมสบิ สอง แตส รา งไมส ำเร็จใน รัชกาล เม่อื ถงึ สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยูหวั จงึ ทรงใหเปลยี่ นแบบเปน ภเู ขากอ พระ เจดยี ไ วบนยอด เปน ทีป่ ระดษิ ฐานพระบรม สารรี กิ ธาตุ การกอสรา งแลวเสร็จในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยูหัว แตวดั สระเกศยังเปนทรี่ จู ักในภาพอันนา สะพรึงกลวั นน่ั คอื ในสมยั พระบาทสมเด็จพระ พทุ ธเลศิ หลา นภาลัย พ.ศ.2363 เกดิ โรคหา ระบาดอยางหนกั ในกรงุ เทพมหานคร ขณะนั้นยังไมมีวิธีรักษา ไมรูจักการปองกัน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา นภาลัยจึงทรงใชวิธีพระราชทานกำลังพระราชหฤทัย โปรดฯ ใหตั้งพิธีขับไลโรคนี้ขึ้น เรียกวา \"พิธีอาพาธพินาศ\" โดยจัดขึ้นท่ีพระที่นัง่ ดุสิตมหาปราสาท มีการยิงปนใหญรอบ พระนครตลอดคืน อัญเชิญพระแกวมรกตและพระบรมสารีริกธาตุออกแห มีพระราชา คณะโปรยพระพุทธมนตตลอดทาง ทรงทำบุญเลี้ยงพระ โปรดใหปลอยปลาปลอยสัตว และประกาศไมใหประชาชน ฆา สัตวต ัดชีวติ อยูกันแตใ นบา น ๔๓ กระนน้ั กย็ งั มีคนตายเพราะอหิวาตกโรคประมาณ 3 หมน่ื คน ศพกองอยตู ามวดั เปน ภูเขาเลากา เพราะฝง และเผาไมท ัน บา งก็แอบเอาศพทิ้งลงในแมนำ้ ลำคลองในเวลากลางคืน จึงมศี พลอยเกลือ่ นกลาด ไปหมด ประชาชนตางอพยพหนอี อกไปจากเมอื งดวยความกลัว พระสงฆท ้งิ วดั งานของ ราชการและธุรกิจทง้ั หลายตองหยุดชะงกั เพราะผูคนถา ไมห นไี ปกม็ ภี าระในการดแู ลคน ปว ยและจัดการกบั ศพของญาตมิ ิตร ๔๔ ในเวลานัน้ วัดสระเกศเปนศนู ยรวมของแรง จำนวนนบั พัน อหวิ าตกโรคเวยี นมาใน ทุกฤดูแลง และหายไปในฤดูฝนเชนน้ีทุกป จนในป พ.ศ.2392 อหิวาตก ร็ ะบาดหนักอีก ครัง้ หน่ึง ครั้งนเี้ กิดขน้ึ ที่ปน ังกอ น แลวแพรร ะบาดมาจนถึงกรุงเทพฯ เรียกกันวาหาลงประกา ในระยะเวลาชวง 1 เดือนที่เริ่มระบาดมีผูเสียชีวิตถึง 15,000-20,000 คน และตลอดฤดูตายถงึ 40,000 คน เจาฟามงกุฎฯ คือรัชกาลที่ 4 ซึ่งขณะนั้นทรงดำรงเพศบรรพชิตเปนพระราชา คณะ ไดท รงบญั ชาใหวดั สามวัด คอื วัดสระเกศ วัดบางลำพู (วัดสังเวชวิศยาราม) และวัด ตีนเลน (วดั เชงิ เลน หรอื วดั บพติ รพมิ ขุ ) เปนสถานทสี่ ำหรับเผาศพ มศี พท่นี ำมาเผาสูงสดุ ถึงวนั ละ 696 ศพ แตก ระนัน้ ศพท่ีเผาไมทันก็ถูกกองสุมกัน อยูตามวัด โดยเฉพาะวัดสระเกศมีศพสงไปไวมากที่สุด ทำใหฝูงแรงแหไปลงทึ้งกิน ซากศพ ตามลานวัด บนตน ไม บนกำแพง และหลังคากุฏิเตม็ ไปดว ยแรง แมเจาหนาที่จะถือไมคอยไลก็ไมอาจกั้นฝูงแรงที่จองเขามารุมทึ้งซากศพอยางหิว กระหายได และจิกกินซากศพจนเห็นกระดูกขาวโพลน พฤติกรรมของ \"แรงวัดสระเกศ\" ทีน่ า สยดสยองจงึ เปนที่กลา วขวัญกนั ไปท่ัว ๔๕