การใช ม อล วงกระเป าขณะค ยก บผ ใหญ ผ ดไหม

ข้อไหล่จัดเป็นข้อที่มีความซับซ้อนมากที่สุดในร่างกายมนุษย์ เมื่อเป็นโรคข้อไหล่แล้ว จะรักษายากที่สุด !! ต้องตรวจกันอย่างละเอียด ทั้งเอกซเรย์และ MRI ก่อนที่จะวินิจฉัยและให้การรักษาได้อย่างถูกต้อง บางครั้งก็ต้องทำกายภาพ ต้องผ่าตัดส่องกล้อง

สุขภาพข้อไหล่ – โรคข้อไหล่ที่พบบ่อย รักษาได้อย่างไร?

การใช ม อล วงกระเป าขณะค ยก บผ ใหญ ผ ดไหม

รู้จัก “ข้อไหล่” กันก่อน

ไหล่ของคนเรา ประกอบด้วยกระดูก 3 ส่วน ได้แก่ กระดูกไหปลาร้าส่วนปลาย (Clavicle) กระดูกสะบัก (Scapular) และกระดูกต้นแขน (Humerus)

หัวกระดูกต้นแขนนี้ จะมีลักษณะต่อเข้ากับบริเวณแอ่งของกระดูกสะบัก โดยจะมีกระดูกไหปลาร้า ซึ่งเชื่อมต่อกับกระดูกสะบักส่วนบนเป็นหลังคาคุ้มกันให้ จากนั้นเส้นเอ็นจะทำหน้าที่ในการเพิ่มความแข็งแรง ให้กับข้อไหล่ และปกคลุมด้วยกล้ามเนื้อ เพื่อทำให้แขนสามารถเคลื่อนไหวในทิศทางต่างๆ

โดยปกติข้อไหล่จะมีการเคลื่อนไหวมาก ธรรมชาติจึงสร้างถุงน้ำมา เพื่อช่วยในการรองรับน้ำหนัก และลดการเสียดสีของเนื้อเยื่อภายในข้อ ทำให้ข้อไหล่สามารถเคลื่อนไหวได้หลายทาง


ปวดไหล่ เกิดจากอะไร?

อาการเจ็บหรือปวดที่บริเวณข้อไหล่ หรือยกแขนข้างนั้นขึ้นไม่สุด กรณีที่เป็นมากจะไม่สามารถใช้มือข้างนั้นหวีผม หรือไขว้หลังได้! สาเหตุของอาการปวดไหล่ ที่พบได้บ่อยๆ เกิดจาก…

ข้อไหล่หลุด มักเกิดจากอุบัติเหตุ โดยเกิดการกระแทกที่บริเวณไหล่โดยตรง สามารถเห็นได้ชัด เพราะมีอาการปวดมากจนไม่สามารถขยับไหล่ได้ มองเห็นไหล่ผิดรูปอย่างชัดเจน เกิดอาการบวมในทันที

เอ็นข้อไหล่ฉีกขาด จะมีอาการปวดยอกในขณะที่มีการเคลื่อนไหวและเอ็นเกิดการฉีกขาด ในกรณีนี้หากได้พักข้อไหล่อย่างเพียงพอ อาการดังกล่าวสามารถหายได้ภายในประมาณ 1 เดือน

กระดูกหัก อาการรุนแรงเด่นชัด ปวดมาก และเขียวช้ำ ต้องรีบพาผู้ป่วยไปพบแพทย์เพื่อดามกระดูกโดยทันที

ข้อไหล่ติดแข็ง เป็นผลที่เกิดขึ้นหลังเกิดการบาดเจ็บของข้อไหล่ในสาเหตุต่างๆ แล้วไม่ได้มีการเคลื่อนไหว ซึ่งเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อย เนื่องจากผู้ป่วยปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องในระหว่างการรักษา

โรคไหล่ติด ทำไมถึงเป็น?


ปวดไหล่ ทำอย่างไรดี? ปวดไหล่แบบไหน ต้องมาพบแพทย์

  • กรณีที่ปวดมาก ควรพักการใช้ข้อไหล่ และใช้ผ้าคล้องแขนห้อยคอประมาณ 2-3 วัน
  • เมื่อเริ่มมีอาการปวด ควรประคบไหล่ด้วยถุงน้ำแข็ง วันละ 2-3 ครั้ง ครั้งละ 15-30 นาที
  • ห้ามบีบ นวด หรือตัดข้อไหล่ที่กำลังปวด เพราะจะทำให้ไหล่ถูกดึงรั้ง เกิดการอักเสบได้ง่าย
  • ไม่ควรนอนทับไหล่ข้างที่ปวดเป็นเวลานาน
  • ห้ามใช้แขนข้างที่ปวดยกหรือหิ้วของหนัก เพราะจะทำให้ไหล่ถูกดึงรั้ง เกิดการอักเสบได้ง่าย
  • ควรเริ่มบริหารข้อไหล่ เมื่ออาการปวดทุเลาลง โดยเริ่มต้นทำช่วงเวลาสั้นๆ ในแต่ละครั้งก่อน แล้วจึงค่อยเพิ่มขึ้นจนกระทั่งสามารถเคลื่อนไหวหัวไหล่ได้ปกติ
  • ออกกำลังบริหารกล้ามเนื้อไหล่อยู่เสมอ เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหวของข้อไหล่
  • กรณีที่มีอาการปวดรุนแรงมาก หรือสงสัยว่ามีความอันตราย ควรรีบปรึกษาแพทย์เฉพาะทางด้านกระดูกและข้อทันที

ปวดไหล่ ป้องกันได้!

การบริหารข้อไหล่ จะช่วยรักษาทิศทางของการเคลื่อนไหวให้เป็นไปอย่างคล่องแคล่วว่องไว การบริหารข้อไหล่อย่างสม่ำเสมอ เช่นเดียวกันกับการออกกำลังกาย การเล่นกีฬา หรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่จำเป็นต้องใช้ข้อไหล่ จะช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อ การเคลื่อนไหวข้อ อีกทั้งยังเป็นการช่วยป้องกันและรักษาอาการปวดข้อไหล่ได้อีกวิธีหนึ่ง

“การบริหารข้อไหล่” วิธีการป้องกันอาการปวดไหล่ที่ดีที่สุด โดยควรทำเป็นประจำอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันการเจ็บปวดและขณะที่ทำการบริหารอาจทำให้มีอาการปวดหรือรู้สึกขัดบ้างเมื่อหยุดพัก อาการดังกล่าวจะหายไปเอง

การใช ม อล วงกระเป าขณะค ยก บผ ใหญ ผ ดไหม

ท่าบริหารหัวไหล่ ช่วยป้องกันอาการปวดไหล่

ท่าพื้นฐานในการบริหารหัวไหล่ง่ายๆ สามารถทำได้ด้วยตนเอง จะช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อ การเคลื่อนไหวข้อ อีกทั้งยังสามารถป้องกันและรักษาอาการปวดของข้อไหล่ได้

หัวใจ ประกอบไปด้วยกล้ามเนื้อเซลล์พิเศษที่สามารถสร้างกระแสไฟฟ้าได้ด้วยตัวเอง (pacemaker cell) ซึ่งเซลล์นี้พบได้ในหัวใจเท่านั้น โดยมีอยู่ 2 ตำแหน่ง คือ ในหัวใจห้องบนขวา (SA node) และต่ำลงมาระหว่างห้องบนและห้องล่าง (AV node) เซลล์เหล่านี้จะสร้างกระแสไฟฟ้าเป็นจังหวะ 60-100 ครั้งต่อนาที โดยห้องบนจะสร้างจังหวะที่รวดเร็วกว่าจึงเป็นตัวหลักในการกำหนดจังหวะ กระแสไฟฟ้าจะวิ่งผ่านจากห้องบน วิ่งลงมาที่ห้องล่างโดยมีการหน่วงเล็กน้อยที่ระหว่างทาง ทำให้หัวใจห้องบนบีบตัวก่อนห้องล่างเล็กน้อยเพื่อเป็นการไล่เลือดตามทิศทางที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง

หัวใจเต้นผิดจังหวะ

หัวใจเต้นผิดจังหวะ คือ การที่หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะตามธรรมชาติ โดยอาจเต้นเร็วเกินไปหรือช้าเกินไป ซึ่งเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าในหัวใจหรือเกิดไฟฟ้าลัดวงจรในห้องหัวใจ ทำให้การสูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ซึ่งแพทย์สามารถวิเคราะห์ได้จากการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

อาการ

  • วิงเวียน
  • หน้ามืด ตาลาย
  • ใจสั่น
  • เป็นลม หมดสติ

    การรักษา

    1. ใช้ยาควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ
    2. ใส่เครื่องช่วยการเต้นของหัวใจ (Pacemaker)

      การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ (Pacemaker implantation)

      เป็นหัตถการเพื่อฝังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เข้าไปในผนังหน้าอก ใต้ผิวหนังของผู้ป่วยเพื่อกระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจ โดยส่งสัญญาณไฟฟ้าไปยังหัวใจห้องที่ทำงานผิดปกติ สัญญาณไฟฟ้าจะช่วยให้หัวใจเต้นเร็วพอ ที่จะสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายและอวัยวะส่วนอื่นๆ ได้มากเพียงพอ

      วิธี แก้ปวดคอ บ่า ไหล่กินยาอะไร

      เป็นการแก้ไขเพื่อบรรเทาอาการปวดที่ปลายเหตุ การรับประทานยากลุ่มแก้ปวดอักเสบ เช่น Arcoxia® , Celebrex® หรือ ยาคลายกล้ามเนื้อ เช่น Norgesic® , Mydocalm® เป็นต้น หรือการใช้แผ่นแปะบรรเทาปวดหรือยาทาแก้ปวดต่าง ๆ เหล่านี้ ก่อนใช้ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรทุกครั้ง เพื่อเลือกใช้ให้ตรงกับอาการและข้อจำกัดของท่าน เพื่อลดผลข้างเคียง ...

      กินยาคลายกล้ามเนื้อ อันตรายไหม

      ทั้งยาแก้ปวดและยาคลายกล้ามเนื้อต่างเป็นกลุ่มยาที่ผู้ป่วยไม่ค่อยระมัดระวัง เพราะเข้าใจว่าเป็นยาที่ไม่อันตราย!! ซึ่งจริงๆ แล้วยาประเภทนี้ “เป็นพิษต่อไต” แถมร่างกายเรายังขับสารเคมีเหล่านี้ออกทางไต ทำให้ไตได้รับสารพิษจากยาเป็นจำนวนมากและการสะสมที่ยาวนาน ก็ทำให้เกิดโรคไตที่รุนแรงถึงขั้นไตวายได้นั่นเอง!!!

      กล้ามเนื้ออักเสบต้องกินยาอะไร

      ปวดกล้ามเนื้อ กินยาอะไรช่วยดี?.

      1. ยาต้านอาการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ... .

      2. ยาอะเซตามิโนเฟน (Acetaminophen) ... .

      3. ยาคลายกล้ามเนื้อ ... .

      4. ทรามาดอล (tramadol).

      ยาคลายกล้ามเนื้อ ควรกินตอนไหน

      ขนาดใช้ยาในผู้ใหญ่ที่ระบุไว้ตามฉลากคือสามารถรับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 3 ครั้ง จะรับประทานก่อนหรือหลังอาหารก็ได้ แต่โดยทั่วไปมักให้ใช้ครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง และมักใช้ร่วมกับยาแก้ปวด-อักเสบ กลุ่มเอ็นเสด (NSAIDs)หรือคนทั่วไปอาจเรียกว่ายาแก้ยอก เช่น ไดโคลฟีแนค(diclofenac), อีโธริค็อกซิบ (Etoricoxib), ซีลีค็อกซิบ( ...