กฎระเบ ยบเก ยวก บโทรศ พท ม ถ อ ท ทำงาน

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ.2564

กฎระเบ ยบเก ยวก บโทรศ พท ม ถ อ ท ทำงาน
กฎระเบ ยบเก ยวก บโทรศ พท ม ถ อ ท ทำงาน

กฎระเบ ยบเก ยวก บโทรศ พท ม ถ อ ท ทำงาน


ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่กฎกระทรวงแรงงาน เกี่ยวกับการกำหนดให้นายจ้างบริหาร จัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดในกฎกระทรวงและเพื่อให้การทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ ให้มีมาตรฐาน อันจะทำให้ลูกจ้างมีความปลอดภัยในการทำงานมากขึ้น

ปัญหาโลกแตกระหว่างนายจ้าง กับ ลูกจ้าง ที่เกิดขึ้นทุกหน่วยงาน มีข่าวออกมาให้ได้ยินอยู่บ่อยๆ ซึ่งส่วนมากก็จะได้ยินข่าวว่านายจ้างเอาเปรียบ หรือ กดค่าแรงลูกจ้าง ให้ทำงานเกินเวลา จนทำให้ลูกจ้างต้องลาออกจากงานเพราะทนถูกเอาเปรียบไม่ไหว ซึ่งจริงๆแล้ว หากลูกจ้างคนไหนที่คิดจะลาออกและได้อ่านบทความนี้ อยากบอกว่า ไม่ว่าหน่วยงานไหน บริษัทไหน ก็มีโอกาสเกิดเหตุการณ์แบบนี้ขึ้นได้เสมอ การลาออกจึงไม่ได้การันตีว่า หน่วยงานหรือบริษัทใหม่จะดีกว่าเดิมเสมอไป หรืออาจจะเป็นการหนีเสือปะจระเข้ซะมากกว่า

ดังนั้น ทางที่ดีควรหันมาศึกษาหาความรู้เกี่ยว กฎหมายแรงงาน ที่จำเป็นในการทำงานจะดีกว่า เพื่อให้การทำงานอยู่ในกฎระเบียบ ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบ และมีข้อโต้แย้งเจ้านาย โดยถือกฎหมายเป็นหลักจะปลอดภัย และน่าจะเป็นทางเลือกที่ดีกว่าการลาออกนะคะ การคุยด้วยเหตุผลและกฎหมายจะทำให้นายจ้างไม่กล้าเอาเปรียบเรา เพราะรู้ว่าลูกจ้างมีความรู้เรื่องกฎหมายแรงงาน ซึ่งบทความนี้จะสรุปกฎหมายแรงงานที่จำเป็น ที่ลูกจ้างจะต้องรู้ เพื่อให้ทำงานได้อย่างสบายใจมากขึ้น

ทำไมต้องรู้กฎหมายแรงงาน

เพราะ กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่ระบุถึงสิทธิของลูกจ้าง และ นายจ้าง ไว้อย่างชัดเจน เพื่อที่ไม่เกิดการเอาเปรียบไม่ว่าฝ่ายไหนก็ตาม ซึ่งใน กฎหมายแรงงาน จะระบุถึงสิทธิต่างๆ สวัสดิการ วันหยุด ค่าแรง และความปลอดภัยในการทำงาน ทำให้ลูกจ้างสบายใจ หากรู้กฎหมายแรงงาน ก็จะลดการถูกเอาเปรียบ หรือได้รับค่าแรงไม่เป็นธรรม และทำงานได้อย่างมีคามสุขทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างเอง

ลูกจ้างได้ประโยชน์อะไรจากกฎหมายแรงงานบ้าง

1 ได้ค่าแรงที่เป็นธรรม ไม่ถูกกดค่าแรง ได้ค่าแรงที่เหมาะกับคุณวุฒิและตำแหน่งในการทำงาน

2 ได้รับสวัสดิการที่ลูกจ้างทุกคนพึงจะได้รับตามกฎหมายระบุ ทำให้ลูกจ้างมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

3 มีเวลาทำงานและพักระหว่างทำงานตามกฎหมาย กฎหมายกำหนดให้ทำงานทั่วไปทำงานไม่เกิน 8 ชั่วโมงต่อวัน และไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ส่วนงานที่เป็นอันตราย กำหนดให้ทำงานไม่เกิน 7 ชั่วโมงต่อวัน และไม่เกิน 42 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทำให้ลูกจ้างไม่ถูกใช้แรงงานหนักจนเกินไป หรือหากทำงานในวันหยุดก็ได้รับเงินเพิ่มตามที่กฎหมายกำหนด

ส่วนเวลาพัก กฎหมายแรงงาน ก็กำหนดให้มีเวลาพักอย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อวัน หากลูกจ้างต้องทำงานล่วงเวลาเกิน 2ชั่วโมง ก็ต้องจัดเวลาให้พักก่อนที่จะเริ่มงานอย่างน้อย 20 นาที

4 มีวันหยุดพักผ่อน กฎหมายแรงงานกำหนดให้มีวันหยุดอย่างน้อย 1 วันต่อสัปดาห์ หรือจะรวมเป็นวันหยุดสะสมก็ได้ตามลักษณะของงาน และต้องมีวันหยุดตามประเพณีไม่น้อยกว่า 13 วัน และวันหยุดพักผ่อนประจำปีไม่ต่ำกว่า 6 วันต่อปี

5 มีระบบการทำงานที่ปลอดภัย ได้มาตรฐาน ทำให้การทำงานเกิดความปลอดภัย ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และไม่เสียงเกิดอุบัติจากความไม่ปลอดภัยของการทำงาน ส่งผลต่อสวัสดิภาพของลูกจ้าง

6 การทำงานวันหยุด สำหรับลูกจ้าง กฎหมายแรงงาน กำหนดลูกจ้างทำงานล่วงเวลาได้ แต่ต้องไม่เกิน 36 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ซึ่งการทำงานล่วงเวลาในวันหยุดนี้ นายจ้างไม่มีความผิด หากลูกจ้างยินยอม และสภาพงานมีความจำเป็นที่ต้องทำต่อเนื่อง จนต้องทำงานล่วงเวลา

7 การลางานของลูกจ้าง ลูกจ้างมีสิทธิ์ลาป่วยได้ แต่ถ้าหากลาติดต่อกันเกิน 3 วัน ต้องมีใบรับรองแพทย์ และยังมีสิทธิ์ลาเพื่ออบรม ลากิจ ลารับราชการทหาร ลาคลอดบุตร

8 ค่าตอบแทนหรือค่าจ้างในการทำงาน ตามกฎหมายแรงงานมีการกำหนดค่าแรงขั้นต่ำไว้ ซึ่งนายจ้างห้ามจ่ายค่าแรงต่ำกว่าที่กฎหมายกำหนด และหากลูกจ้างมีการทำงานล่วงเวลา นายจ้างจะต้องจ่ายค่าจ้าง 1.5 เท่าของค่าจ้างปกติ โดยคิดเป็นรายชั่วโมง และเกณฑ์ยังนำไปคิดค่าจ้างในกรณีทำงานวันหยุด

9 ค่าชดเชยการเลิกจ้าง หากมีการเลิกจ้างลูกจ้าง กรณีที่ลูกจ้างไม่การกระทำความผิดใดๆ นายจ้างจะต้องจ่ายค่าชดเชยตามอายุการทำงานและเงินเดือนของลูกจ้าง

เห็นไหมว่า หากเรารู้ ” กฎหมายแรงงาน ” ที่จำเป็น ก็ทำให้ลูกจ้างและนายจ้างทำงานร่วมกันได้ โดยไม่มีฝ่ายไหนเอารัดเอาเปรียบกัน เพราะมีกฎหมายแรงงานกำหนดข้อปฏิบัติต่างๆไว้ เพื่อเป็นแนวทาง และลดปัญหาต่างๆในการทำงานได้เป็นอย่างดี แต่ที่เกิดปัญหาระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างปัจจุบัน เพราะไม่รู้กฎหมายแรงงาน เสียสละเวลาสักนิด เรียนรู้และศึกษากฎหมายแรงงาน เพื่อคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ดีขึ้น

4. ละทงิ้ หนำ้ ทเ่ี ป็นเวลำ 3 วนั ทำงำนติดต่อกนั ไม่ว่ำจะมีวนั หยดุ ค่นั อย่หู รอื ไม่ก็ตำมโดยไมม่ เี หตอุ นั สมควร

5. ประมำทเลินเล่อ เป็นเหตใุ หบ้ รษิ ัทฯ ไดร้ บั ควำมเสียหำยอย่ำงรำ้ ยแรง 6. ไดร้ บั โทษจำคกุ ตำมคำพพิ ำกษำถงึ ท่ีสดุ ใหจ้ ำคกุ เวน้ แตเ่ ป็นโทษสำหรบั ควำมผิดทีไ่ ดก้ ระทำโดย ประมำทหรือควำมผิดลหโุ ทษ 7. เปิดเผย บอก ขำย แจกจ่ำยใหเ้ อกสำรสำคญั เอกสำรลบั เฉพำะของบรษิ ัทฯ ต่อบคุ คลภำยนอกโดยไม่ได้ รบั อนญุ ำต 8. ข่เู ข็ญ หรือประทษุ รำ้ ยผบู้ งั คบั บญั ชำซง่ึ ปฏบิ ตั ิหนำ้ ทีใ่ นงำน หรือในสำยกำรบงั คบั บญั ชำ หรอื พฤติกรรม อื่นๆ ทคี่ ลำ้ ยคลงึ กับพฤติกรรมดงั กล่ำว 9. ยกั ยอก ตดิ สินบน หรือกำรกระทำอ่นื ๆ ที่เป็นกำรรบั ทรพั ย์ สงิ่ ของซง่ึ ไม่ใช่เป็นกำรรบั ปกติของหนำ้ ท่ีกำร งำน 10. มพี ฤตกิ รรมกำ้ วรำ้ ว รุนแรง พฤตกิ รรมที่เป็นอนั ตรำย เล่นกำรพนนั ในบริษทั ฯ หรือมียำเสพตดิ ยำท่ีมี

อนั ตรำย ส่ิงของทมี่ อี นั ตรำย หรอื ส่ิงของทผ่ี ดิ กฎหมำยไวใ้ นครอบครองหรือนำเขำ้ มำในบรเิ วณบริษัท 11. ด่ืมสรุ ำ เสพยำเสพติดในบริษัทฯ หรอื เขำ้ มำในบริษัทฯ โดยมอี ำกำรมนึ เมำสรุ ำยำเสพติด 12. เจตนำย่วั ยุ กอ่ กวน ปลกุ ระดมหรอื มสี ว่ นรว่ มใหผ้ อู้ น่ื ก่อควำมเสยี หำยตอ่ บรษิ ทั ฯ 13. จงใจทำรำ้ ยผรู้ ว่ มงำน หรือผบู้ งั คบั บญั ชำทงั้ โดยทำงตรง หรอื โดยทำงออ้ มเวน้ แต่เป็นกำรป้องกนั ตนเอง หรือป้องกนั ทรพั ยส์ ินของบริษัทฯ 14. ลกั หรอื สมคบกบั ผอู้ ื่นลกั ทรพั ยห์ รอื มสี ่วนเก่ียวขอ้ งกบั กำรลกั ทรพั ยข์ องบริษัทฯหรอื ของผอู้ ่ืนในบรเิ วณ บรษิ ทั ฯ 15. บนั ทึกเวลำทำงำนแทนผอู้ ืน่ หรือใหผ้ อู้ ่ืนบนั ทกึ เวลำทำงำนแทน 16. นดั หยดุ งำนโดยฝ่ำฝืนพระรำชบญั ญตั แิ รงงำนสมั พนั ธ์ พ.ศ. 2518

การบอกเลิกสญั ญาจา้ ง

พนกั งำนทม่ี ีกำรกำหนดระยะเวลำสญั ญำจำ้ ง เม่ือสญั ญำจำ้ งครบกำหนดระยะเวลำจำ้ ง นำยจำ้ งมีสิทธิ์ใน กำรบอกเลกิ สญั ญำโดยไม่ตอ้ งบอกกล่ำวล่วงหนำ้

การร้องทกุ ข์

ในกรณีทพี่ นกั งำนไม่พงึ พอใจหรอื มคี วำมทกุ ขอ์ นั เกิดขึน้ เน่อื งจำกกำรทำงำนท่ีไม่เหมำะสม ไมว่ ำ่ จะเป็น เร่อื งสภำพกำรทำงำน สภำพกำรจำ้ ง กำรบงั คบั บญั ชำ กำรส่งั งำนหรอื กำรมอบหมำยงำน กำรจ่ำย ค่ำตอบแทนหรอื ผลประโยชนอ์ น่ื ๆ ใหพ้ นักงำนเสนอกำรรอ้ งทกุ ขน์ นั้ ต่อบริษทั ฯ เพ่อื ใหบ้ รษิ ัทฯ ได้ ดำเนินกำรแกไ้ ขหรอื ยตุ ิเหตกุ ำรณน์ นั้ โดยจะมขี นั้ ตอนดงั ต่อไปนี้

การย่นื คาร้องทกุ ข์

1. ใหพ้ นกั งำนย่นื คำรอ้ งทกุ ข์ ในแบบฟอรม์ ของบรษิ ัทฯ ตอ่ นำยจำ้ ง โดยขอ้ มลู ในคำรอ้ งทกุ ขจ์ ะตอ้ ง เป็นควำมจรงิ เท่ำนนั้ และใชถ้ อ้ ยคำสภุ ำพ 2. นำยจำ้ งจะทำกำรตรวจสอบขอ้ เท็จจริงโดยละเอียดเกี่ยวกบั คำรอ้ งทกุ ขน์ นั้ 3. หำกพบว่ำขอ้ รอ้ งทกุ ขน์ นั้ เป็นควำมจรงิ และมคี วำมผดิ ถำ้ อยใู่ นขอบเขตอำนำจของบริษทั ฯ ที่ สำมำรถแกไ้ ขได้ บริษัทฯ จะดำเนินกำรแกไ้ ข และจะแจง้ ใหพ้ นักงำนผรู้ อ้ งทกุ ขท์ รำบ พนักงานจกั ต้องทาการร้องทกุ ข์กับบรษิ ัทฯ ก่อน หากไม่พอใจผลการพจิ ารณาของ บริษัทฯ พนักงานมสี ทิ ธิทีจ่ ะดาเนินการในทางอน่ื อนั ชอบด้วยกฎหมายต่อไปได้ หมายเหตุ หำกพนกั งำนตอ้ งกำรรอ้ งทกุ ขด์ ว่ นใหต้ ดิ ตอ่ 033-091-185

การคดิ คา่ จา้ ง

1. บริษัทฯ จะนำกำรลงเวลำเขำ้ - ออก ท่พี นกั งำนไดส้ แกนนิว้ หรอื ลงบนั ทกึ กำรทำงำนมำคำนวณค่ำจำ้ ง หำกสแกนไมต่ ิดจะตอ้ งทำบนั ทกึ รบั รองกำรมำทำงำนใหห้ วั หนำ้ แผนกและผจู้ ดั กำรตน้ สงั กดั รบั รองกำรมำ ทำงำน 2. คำนวณจำกวนั ทำงำน ตงั้ แต่วนั ที่ 11 ของเดือน ถงึ วนั ท่ี 10 เดอื นถัดไป กำหนดจ่ำยค่ำจำ้ งทกุ วนั ที่ 26 ของเดอื นเดียวกนั ผ่ำนธนำคำรไทยพำณิชย์ โดยบรษิ ัทฯ เป็นผรู้ บั ผิดชอบค่ำธรรมเนยี มกำรโอน 3. ในกรณีท่พี นักงำนตอ้ งทำงำนนอกเหนอื หรือเกนิ เวลำทำงำนปกติตำมควำมจำเป็นของงำนบรษิ ัทฯ จะ จำ่ ยค่ำล่วงเวลำและค่ำล่วงเวลำในวนั หยดุ ใหก้ บั พนกั งำนดงั ตอ่ ไปนี้ 3.1 ในกรณีท่ีใหพ้ นกั งำนทำงำนในวนั หยดุ ตำมควำมจำเป็นของงำนบริษทั ฯ จะจำ่ ยให้ 1 เทำ่ ของอตั รำ ค่ำจำ้ งพนกั งำนรำยเดอื น และ 2 เท่ำของอตั รำคำ่ จำ้ งพนักงำนรำยวนั ตำมจำนวนวนั ท่ีทำงำน 3.2 ถำ้ บรษิ ทั ฯ ใหพ้ นกั งำนทำงำนนอกเหนอื หรอื เกินเวลำทำงำนปกติในวนั ทำงำน พนกั งำนจะไดร้ บั ค่ำ ล่วงเวลำ 1.5 เทำ่ ของอตั รำค่ำจำ้ งต่อช่วั โมงในวนั ทำงำนตำมจำนวนช่วั โมงที่ทำ 3.3 ถำ้ บริษทั ฯ ใหพ้ นกั งำนทำงำนนอกเหนือหรือเกินเวลำทำงำนปกติในวนั หยดุ พนกั งำนจะไดร้ บั ค่ำ ลว่ งเวลำในวนั หยดุ 3 เท่ำของอตั รำค่ำจำ้ งตอ่ ช่วั โมงในวนั ทำงำนตำมจำนวนช่วั โมงทีท่ ำ

สลิปเงนิ เดอื น

บริษัทฯ จะแจกสลิปใหพ้ นกั งำนกอ่ นวนั เงนิ เดือนออก 1 วนั เม่ือไดร้ บั สลิปเงินเดือนแลว้ ใหต้ รวจสอบค่ำจำ้ ง