ว ทยาการคอมพ วเตอร ม.ธรรมศาสตร เร ยนจบแล วทำอะไร

ว ทยาการคอมพ วเตอร ม.ธรรมศาสตร เร ยนจบแล วทำอะไร
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์

เรียนเกี่ยวกับอะไร?

เรียนเกี่ยวกับทฤษฎีการคำนวณสำหรับคอมพิวเตอร์ ทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และเครือข่าย ซึ่งประกอบด้วยหลายหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ เช่น การวิเคราะห์และสังเคราะห์ขั้นตอนวิธี ทฤษฎีภาษาโปรแกรม ทฤษฎีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎีฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และทฤษฎีเครือข่าย

ว ทยาการคอมพ วเตอร ม.ธรรมศาสตร เร ยนจบแล วทำอะไร
ปี 1 เรียนวิชาพื้นฐานทั่วไป เรียนวิชาพื้นฐานเหมือนกันทุกสาขา เช่น แคลคูลัส ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ สถิติ จิตวิทยา ภาษาอังกฤษ โครงสร้างข้อมูล ปรัชญาวิทยาศาสตร์ พื้นฐานทางการเขียนโปรแกรม

ว ทยาการคอมพ วเตอร ม.ธรรมศาสตร เร ยนจบแล วทำอะไร
ปี 2 เริ่มเรียนในหมวดวิชาเฉพาะ เรียนวิชาระบบฐานข้อมูล เช่นแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูล โครงสร้างหน่วยเก็บข้อมูล วิชาสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และต้องเลือกเรียนหมวดวิชาเฉพาะ เช่น วิชาการโปรแกรมภาษาจาวา วิชาการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เชิงมัลติมีเดีย

ว ทยาการคอมพ วเตอร ม.ธรรมศาสตร เร ยนจบแล วทำอะไร
ปี 3 เรียนลึกลงไปเกี่ยวกับวิชาเลือก ในปีนี้ต้องเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟแวร์ วิชาเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร วิชาปัญญาประดิษฐ์ วิชาภาษาโปรแกรม และต้องเรียนวิชาเลือกตามที่น้องๆสนใจ เช่น วิชาภาษาซีพลัสพลัส วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก วิชาการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ฯลฯ

ว ทยาการคอมพ วเตอร ม.ธรรมศาสตร เร ยนจบแล วทำอะไร
ปี 4 ฝึกงาน , สหกิจศึกษา มีการเรียนวิชาเลือกเสรี และฝึกงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรืองานอื่นที่เทียบเท่า ต้องเขียนรายงานและนำเสนอผลงาน หรือฝึกอบรมหรือฝึกงานในต่างประเทศ ซึ่งแต่ละมหาวิทยาลัยอาจจะแตกต่างกันไป

ว ทยาการคอมพ วเตอร ม.ธรรมศาสตร เร ยนจบแล วทำอะไร
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เรียนจบแล้วทำงานอะไร? 1. นักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Developer) 2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) 3. นักทดสอบซอฟต์แวร์ (Software Tester) 4. นักออกแบบเว็บ (Web Designer) 5. ผู้บริหารเว็บ (Webmaster) 6. วิศวกรระบบ (System Engineer) 7. วิศวกรเครือข่าย (Network Engineer) 8. ผู้ประสานงานโครงการด้านเทคนิค (Technical Project Coordinator) 9. เจ้าหน้าที่สนับสนุนด้านเทคนิคซอฟต์แวร์ (Software Technical Support) 10. เจ้าหน้าที่ช่วยเหลือด้านเทคนิค (Technical Help Desk) 11. ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะผลิตภัณฑ์(Product Specialist) 12. นักบริหารฐานข้อมูล (Database Administrator) 13. นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 14. ผู้ประกอบการ (Entrepreneur)

เรื่องของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีไม่ได้จบแค่ที่การเรียน แต่ต้องพัฒนาและต่อยอด รวมทั้งหาความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอถึงจะสามารถเก่งขึ้นได้ เพราะว่าโลกของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีก็พัฒนาอย่างรวดเร็ว ในสัปดาห์หน้าพี่แป้งมีประสบการณ์รุ่นพี่ที่ได้ทำงานที่ Google มาฝากกัน รอติดตามนะคะ

Computer Science เรียนเกี่ยวกับอะไร

สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ( Computer Science ) เป็นสาขาที่เป็นมุ่งเน้นในการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยี การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาต่างๆ เพื่อพัฒนาชีวิตให้ได้รับความสะดวกสบาย สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้เป็นอย่างดี และยังเป็นสาขาวิชาที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน และมีค่าตอบแทนอาชีพที่ค่อนข้างสูงเป็นอย่างยิ่งในปัจจุบันอีกด้วย

วท.บ.คณิตศาสตร์เชิงวิทยาการคอมพิวเตอร์จบไปทำอะไร

การประกอบอาชีพนักวิชาการ ครูอาจารย์ นักวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน นักวิจัย นักการเงิน การธนาคาร และงานด้านคอมพิวเตอร์

สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ต้องเก่งอะไร

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เน้นที่ความเข้าใจถึงศาสตร์และศิลป์ของการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยมีพื้นฐานอย่างดีในด้าน Algorithm, Data Structure และ Discrete. Mathematics นักศึกษาจะต้องมีความเชี่ยวชาญอย่างสูงในวิทยาการแบบ Object โดยใช้ภาษา Java และเทคโนโลยี . Netสามารถพัฒนาระบบ Database ได้ สามารถเขียน

สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หางานยากไหม

การหางานในสายงานวิทยาการคอมพิวเตอร์ มีความยากง่ายขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ความเชี่ยวชาญในสาขาที่ต้องการทำงาน ประสบการณ์ และตลาดงานในพื้นที่ที่สนใจหรือต้องการทำงานในนั้น บางสาขาที่เป็นที่ต้องการในวงการวิทยาการคอมพิวเตอร์