บทท 2 โคลงภาพพระราชพงศาวดาร วรรณคด ว จ กษ ม.๒ google sites

อยา่ งชุลมุน และภาพช้างศกึ ที่ไล่ตามกันอยา่ งกระช้ันชิด ตลอดจนภาพการใชง้ า้ วฟาดบา่ ของพระสรุ โิ ยทัยจนถึง

หน้าอก ทาให้รสู้ กึ ราวกบั ไดร้ ว่ มอยู่ในเหตุการณ์จรงิ

การใชค้ าให้เกิดภาพและเสยี ง ฉาดฉะ “ขุนมอญร่อนง้าวฟาด หรุบด้ิน ศพสู่ นครแฮ ขาดแลง่ ตราบอุระ พจน์ผูส้ รรเสริญ” โอรสรีบกนั พระ สญู ชีพไป่สญู ส้นิ

คาประพันธ์บทนี้มีการใช้คาให้เกิดภาพและเสียง คือคาว่า “ฉาดฉะ” เป็นเสียงของง้าวที่ฟัน พระสุริโยทัย มีการใช้คาว่า “หรุบดิ้น” ซึ่งคาว่าหรุบ หมายถึง ร่วง หล่น และคาว่า ดิ้น หมายถึง อาการสะบัด ไปมาอย่างแรง ทาให้เห็นภาพเหตุการณ์ตามได้ เกิดจินตนาการถึงการต่อสู้กันบนหลังช้าง และตอนท่ี พระสุริโยทัยโดนฟาดด้วยง้าวและร่วงลงมาท่ีคอช้างและยังดิ้น ทาให้ผู้อ่านเข้าถึงอารมณ์ สะเทือนใจ เหมือน อยู่ในเหตกุ ารณ์จรงิ

วรรณกรรมคัดสรรในหนังสือเรียน ม.๒ ๑๐

คุณคา่ ด้านสังคมและวฒั นธรรม

โคลงประกอบภาพพระราชพงศาวดารทัง้ ๒ ภาพ มคี วามโดดเด่นในดา้ นการให้คณุ ค่าทางสังคม ดงั น้ี

๑. แสดงให้เห็นสภาพเหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ คือ แสดงสภาพสังคม และการทาสงครามในสมัย

โบราณ ท่ียกกาลังพลจานวนมากมาต่อสู้กัน แม่ทัพท้ังสองฝ่ายต่างเป็นผู้นาในการออกรบด้วยความกล้าหาญ

ดงั บทประพันธ์

“บุเรงนองนามราชเจา้ จอมรา มญั เฮย

ยกพยุหแสนยา ยิ่งแกล้ว

มอญม่านประมวลมา สามสิบ หมน่ื แฮ

ถึงอยุธเยศแลว้ หยุดใกลน้ ครา

พระมหาจักรพรรดิเผา้ ภูวดล สยามเฮย

วางค่ายรายร้ีพล เพียบหลา้

ดารจิ ักใค่รยล แรงศกึ

ยกนิกรทพั กล้า ออกต้ังกลางสมร”

คาประพันธ์บทน้ีแสดงให้เห็นสภาพเหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ คือ แสดงภาพทางสังคมสมัยก่อนวา่

มีการทาสงครามกันเพ่ือท่ีจะแย่งชิงความเป็นใหญ่ และมีการยกกาลังพลจานวนมากมาต่อสู้กัน แม่ทัพทั้งสอง

ฝ่ายต่างส้กู นั ด้วยความกล้าหาญ

นอกจากน้ียังมีการทายุทธหัตถีหรือการชนช้าง เป็นการทาสงครามบนหลังช้างตามประเพณีโบราณ

ของกษัตริย์ในภูมิภาคอุษาคเนย์ เป็นการทาสงครามแห่งเกียรติยศ เพราะช้างถือเป็นสัตว์ใหญ่ คู่บ้านคู่เมือง

และปะทะกันซึ่ง ๆ หน้า ผู้แพ้อาจถึงแก่ชีวิตแสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรม ประเพณีในสมัยก่อน ดังคาประพันธ์

ตอ่ ไปน้ี

“บงั อรอคั เรศผู้ พิสมยั ทา่ นนา

นามพระสรุ ิโยทยั ออกอ้าง

ทรงเครือ่ งยุทธพไิ ชย เชน่ อุป ราชแฮ

เถลิงคชาธารควา้ ง ควบเขา้ ขบวนไคล

พลไกรกองน่าเร้า โรมรัน

ช้างพระเจ้าแปรประจญั คชไท้

สารทรงซวดเซผัน หลงั แลน่ เตลิดแฮ

เตลงขับคชไลใ่ กล้ หวิดทา้ ยคชาธาร”

๒. แสดงให้เห็นถึงคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมของคนไทย คือ ความรักชาติ กตัญญูต่อแผ่นดิน

จงรกั ภกั ดตี ่อพระมหากษตั ริย์ เพราะรู้ว่าพระมหากษัตริยน์ ัน้ มีความสาคัญต่อแผน่ ดนิ มากเพียงไร และความรัก

ความกตัญญูท่ีมีต่อพระสวามี เนื่องจากสมัยโบราณมีการปลกู ฝังค่านิยมใหผ้ ู้หญิงดูแล เคารพ และเทิดทูนสามี

พระสุริโยทยั จงึ ยอมเสียสละได้แมช้ ีวิตของตนเอง นบั เปน็ วีรกรรมทค่ี วรคา่ แกก่ ารยกยอ่ งสรรเสรญิ อยา่ งยงิ่

ข้อคดิ ท่ีได้รับจากโคลงพระสุริโยทยั ขาดคอชา้ ง ๑. ความกตญั ญูกตเวทีต่อผมู้ พี ระคณุ ๒. รู้จักเสียสละชีวิตหรือทาเพื่อส่วนรวม เพื่อปกป้องประเทศชาติจากข้าศึกศัตรู เพื่อรักษาความเป็น

ไทยเอาไว้

วรรณกรรมคัดสรรในหนังสอื เรียน ม.๒ ๑๑

๓. ปลูกจิตสานึกให้เยาวชนไทยเห็นคุณค่าความเสียสละของวีรชนไทย ระลึกถึงและยกย่องคุณงาม ความดขี องวรี ชนไทย

๔. บรุ ษุ หรือสตรีย่อมมคี วามกลา้ หาญเหมือนกัน ๕. ความจงรกั ภักดตี อ่ สามีเปน็ สงิ่ ท่ดี ภี รรยาควรยึดถือปฏิบัติ เกรด็ ความรจู้ ากเรอ่ื ง ในการเรียนการสอนเร่ืองโคลงภาพพระราชพงศาวดารนั้นนอกจากเรื่องราวทางประวั ติศาสตร์ที่ ปรากฏในบทโคลงแล้วยังสามารถสอดแทรกเกร็ดความรู้เก่ียวกับการรบอาทิเช่นพาหนะในการรบสมัยก่อน หากเปน็ แม่ทัพหรอื บคุ คลสาคัญจะทรงช้างและชา้ งทรงหรือท่ีเรยี กว่าพระคชาธารนน้ั มอี งค์ประกอบดังน้ี

บนหลังชา้ งจะมีคนนงั่ อยู่ 3 คน ตัวแมท่ ัพจะถึงแล้วอยทู่ ี่คอช้างคนท่ีนั่งกลางอยบู่ นกูบจะถือหางนกยูง ซ้ายขวาบกเป็นสัญญาณ และคอยส่งอาวุธให้แม่ทัพ ที่ท้ายช้างจะมีควาญน่ังประจาที่ ตามเท้าช้างทั้ง 4 มีพล ประจาเรยี กว่าจตุรงคบาท คนทั้งหมดจะถืออาวธุ เช่น ปืนปลายขอ หอกซดั ของ้าว ขอเกราะเขน แพน ถ้าเป็น ช้างยุทธหัตถีจะมีหอกผูกผ้าสีแดง 2 เล่ม ปืนใหญ่หันปากออกข้างขวา 1 กระบอก ข้างซ้าย 1 กระบอก มีนายทหารและพลทหารสวมเกราะโพกผ้า

ช้างท่ีเข้ากระบวนทัพจะสวมเกราะใส่เกือกหรือรองเท้าเหล็กสาหรับการขวากหนาม โดยทั้งท่ี 4 เท้า สวมหน้าร่าห์ุ มีปลอกเหลก็ สวมงาท้ังคู่ และมเี กราะโวพ่ นั งวงช้างสาหรับพังหอค่ายโดยไม่เจบ็ ปวดนอกจากนี้ยัง สามารถสอดแทรกเกรด็ ความรู้เก่ยี วกบั การทายุทธหตั ถีในประเทศไทยดังน้ี

ยุทธหัตถี หรือ การชนช้าง คือ การทาสงครามบนหลังช้างตามประเพณีโบราณของกษัตริย์ในภมู ิภาค อุษาคเนย์ เป็นการทาสงครามซึ่งถือว่ามีเกยี รติยศ เพราะช้างถือเปน็ สัตว์ใหญ่ และเป็นการปะทะกันซึง่ ๆ หน้า ผแู้ พ้อาจถึงแก่ชีวิตได้

การทายุทธหัตถีเป็นประเพณีสงครามที่รับมาจากอินเดีย โดยช้างท่ีใช้เรียกว่า “ช้างศึก” โดยมากจะ นิยมเลือกใช้ช้างพลายท่ีกาลังตกมัน ดุร้าย ก่อนออกทาสงครามจะกรอกเหล้าเพื่อให้ช้างเมา เกิดความฮึกเหิม เต็มท่ี โดยจะแต่งช้างให้พร้อมในการรบเช่นใส่เกราะที่งวง หรืองาเพื่อรื้อทาลายค่ายของศัตรูตรงข้ามเรียกว่า

วรรณกรรมคัดสรรในหนงั สอื เรยี น ม.๒ ๑๒

“ช้างกระทืบโรง” หรือลา่ มโซใ่ สห่ นามแหลมที่ท้าวทั้ง 4 ใช้ผ้าสีแดงผนื ใหญ่ปดิ ตาชา้ งใหเ้ ห็นแต่เฉพาะด้านหน้า เพ่อื ไม่ใหช้ า้ งตกใจและเสยี สมาธเิ รียกว่า “ผ้าหน้าราหู”

ตาแหน่งของผู้ที่น่งั บนหลังช้างจะมีดว้ ยกัน 3 คน คือตาแหน่งบนคอชา้ งจะเป็นผู้ทาการตอ่ สู้โดยอาวุธ ท่ีใช้สู้ส่วนมากเป็นง้าว ตาแหน่งกลางช้าง จะเป็นตาแหน่งที่จะให้สญั ญาณและส่งอาวธุ ท่ีอยู่บนสบั คับให้แก่คอ ช้าง โดยอาวุธได้แก่ ง้าว หอก โตมร หอกซดั และเครอ่ื งป้องกันต่างๆ เช่น โลห์ เปน็ ต้น และตาแหน่งควาญช้าง ซึ่งจะเป็นผู้บังคับช้างจะนั่งอยู่หลังสุด และหากเป็นช้างทรงของพระมหากษัตริย์จะมีทหารฝีมือดี 4 คนประจา ตาแหนง่ เทา้ ช้าง4ขา้ งเรยี กว่า จตุรงคบาท ซึง่ ไม่ว่าช้างจะทรงไปทางไหนจตุรงคบาทต้องตามไปคุม้ กันดว้ ยหาก ตามไม่ทนั จะมโี ทษถงึ ชวี ิต โดยมากแล้วผลแพ้-ชนะของการทายุทธหัตถีจะขึ้นอยู่กับขนาดของช้าง ช้างท่ีตัวใหญ่กว่าจะสามารถข่มขวัญ ช้างท่ีตัวเล็กกว่า เม่ือช้างที่ตัวเล็กกว่าหนีหรือหันท้ายให้หรือช้างตัวใดท่ีสามารถงัดช้างอีกตัวให้ลอยข้ึนได้ จะ เปิดจุดออ่ นให้โจมตีไดต้ รงๆการฟันด้วยของา้ วเพียงคร้ังเดียวก็อาจทาใหถ้ ึงชวี ติ ได้ โดยร่างอาจเกือบขาดเป็น 2 ทอ่ นได้เรยี กว่าขาดสะพายแล่ง

พงศาวดารของไทยมีการบันทกึ ทายุทธหัตถคี รงั้ สาคัญ มี 5 ครั้ง ไดแ้ ก่ คร้ังท่ี 1 การชนชา้ งระหว่างพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราชกบั ขุนสามชน เจ้าเมืองฉอด ครง้ั ท่ี 2 การชนชา้ งทีส่ ะพานปา่ ถา่ น ระหว่างเจา้ อ้ายพระยากับเจ้ายพี่ ระยา ครั้งท่ี 3 พระอินทราชา ปะทะ เจ้าหลวงหมื่นดง้ นครและสามขนุ ทัพเชียงใหม่ ครั้งท่ี 4 ยทุ ธหัตถรี ะหว่างสมเดจ็ พระสุริโยทยั กบั พระเจ้าแปร คร้งั ที่ 5 การยทุ ธหัตถรี ะหวา่ งสมเดจ็ พระนเรศวร กบั พระมหาอปุ ราชา

โครงภาพพระราชพงศาวดาร โคลงประกอบรูปที่ ๕๖ แผ่นดินสมเดจ็ พระเจ้าเสอื ภาพพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวติ

พระนิพนธใ์ นพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระนราธปิ ประพนั ธ์พงศ์ ภาพเขยี นฝมี ือนายทอง (พระวรรณวาดวิจติ ร)

วรรณกรรมคดั สรรในหนังสือเรียน ม.๒ ๑๓

ประวัติผูแ้ ต่ง

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า "พระองค์เจ้าวรวรรณากร" ทรง เป็นพระราชโอรสลาดับท่ี ๕๖ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าจอมมารดาเขียน ประสูติเมื่อ วนั ที่ ๒๐ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๐๔

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงมีชื่อเสียงจากงานพระนิพนธ์หลายชิ้น ท่ีรู้จักกันดี ได้แก่ บทละครพูดเรื่อง " สร้อยคอท่ีหาย" ซ่ึงเคยบรรจุในหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย ของกระทรวงศึกษาธิการ บทละครร้อง "สาวเครือฟ้า" ซึ่งได้สร้างตัวละครใหก้ ลายเป็นคนท่ีเหมือนกับมีตัวจริง ข้ึนมา 2 คน คือ ร้อยตรีพร้อม และสาวเครือฟ้า ทรงก่อตั้งโรงละครร้องขึ้นในบริเวณตาหนักที่ประทับ ช่ือว่า "โรงละครปรีดาลยั " เปน็ โรงละครรอ้ งแหง่ แรกในสยาม

นอกจากน้ียังทรงมีงานที่สาคัญ คือ พระนิพนธ์แปล จดหมายเหตุลาลูแบร์ โดยทรงแปลมาจากฉบับ ภาษาองั กฤษ "ตานานพระแท่นมนงั คศลิ าอาสน"์ รุไบยาตของโอมาร์ คยั ยาม และ "นวางกุโรวาท" เป็นตน้ และ พระองคย์ ังทรงใช้นามปากกาว่า "ประเสริฐอกั ษร" เพ่ือทรงพระนพิ นธเ์ ร่ืองสั้นไว้จานวนหน่งึ อีกดว้ ย จุดประสงค์ในการแตง่

๑. เพอื่ สรรเสรญิ วกี รรมของพนั ท้ายนรสงิ ห์ที่มีความกล้าหาญ ความซอื่ สตั ย์ และรับผิดชอบในส่ิงท่ีตน กระทา

๒. เพือ่ ใหป้ ระชาชนเห็นความสาคญั และความศักดส์ิ ทิ ธิ์ของกฎหมาย ๓. เพือ่ ปลูกจิตสานึกให้เยาว์ชนไทยเหน็ ความสาคัญของวีรชนไทย

ลักษณะคาประพันธ์ โคลงเรอื่ งพนั ท้ายนรสิงหถ์ วายชีวติ แต่งเปน็ โคลงส่ีสุภาพ ๔ บท

ตวั อยา่ งโคลงเรอื่ งพนั ทา้ ยนรสงิ ห์ถวายชวี ติ สติคิด พนั ทา้ ยตกประหมา่ สิ้น โทษรอ้ ง บทฆ่า เสยี เทอญ โดดจากเรือทูลอุทศิ คูเ่ สน้ ทาศาล พนั ท้ายนรสงิ ห์ผิด หวั กับโขนเรือตอ้ ง

วรรณกรรมคัดสรรในหนังสือเรยี น ม.๒ ๑๔

วเิ คราะห์เน้ือหาในหนงั สือเรยี น โคลงประกอบรูปท่ี ๕๖ แผ่นดินสมเด็จพระเจ้าเสือ ภาพพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต กล่าวถึงวีรกรรม

สาคัญของพันท้ายนรสิงห์ ท่ีมีความซ่ือสัตย์ มีความรับผิดชอบต่อการกระทาของตน เพื่อรักษาความศักดิ์สิทธิ์ ของกฎหมาย ดังเนอื้ ความตอ่ ไปน้ี

สรรเพชญท่ีแปดเจ้า อยธุ ยา เสดจ็ ประพาสทรงปลา ปากน้า ล่องเรอื เอกไชยมา ถึงโคก ขามพอ่ คลองคดโขนเรือคา้ ขดั ไม้หักสลาย

ถอดความคาประพันธ์ : พระสรรเพชญที่ ๘ แห่งกรุงศรีอยุธยา หรือพระเจ้าเสือ โปรดการประพาส ทรงเบ็ดยงั หวั หวั เมืองชายทะเล ครั้นเสดจ็ ดว้ ยเรือพระท่ีนั่งเอกชัย จะไปประพาสทรงเบด็ ณ ปากนา้ เมืองสาคร บุรี เมื่อเรอื พระท่ีน่ังถงึ ตาบลโคกขาม คลองคดเค้ยี วมากจนพันทา้ ยนรสิงห์ ซ่ึงถอื ท้ายเรอื พระท่นี ่งั คดั ทา้ ยแก้ไข ไม่ทัน หัวเรอื พระทน่ี ั่งชนก่ิงไม้หักตกลงนา้

คาอธบิ ายศพั ท์ : ทรงปลา หมายถงึ ตกปลา

พนั ทา้ ยตกประหม่าสน้ิ สตคิ ิด โดดจากเรือทลู อทุ ศิ โทษรอ้ ง พันท้ายนรสิงห์ผิด บทฆา่ เสยี เทอญ หัวกบั โขนเรือต้อง คเู่ สน้ ทาศาล

ถอดความคาประพันธ์ : พันท้ายนรสิงห์เห็ฯดังนน้ั ก็ตกใจ กระโดดขึ้นบนฝ่ัง กราบบังคมทูลพระกรุณา

ให้ทาศาลสูงเพียงตา แล้วตัดหัวพันท้ายนรสิงห์นาขึ้นบวงสรวงไว้บนศาลคู่กับหัวเรือพระที่นั่งท่ีหักตกน้า ตาม

พระราชกาหนดในบทพระอัยการ

คาอธบิ ายศพั ท์ : บท หมายถงึ บทบัญญตั ิในกฎหมาย

โขนเรือ หมายถึง ไม้ท่ตี ่อเสรมิ หวั เรอื ท้ายเรอื ใหง้ อนเชิดข้ึนไป

เสน้ หมายถงึ คือ เซ่น หมายถึง สังเวยผหี รอื เจ้าดว้ ยอาหาร เป็นตน้

ภบู าลบาเหน็จให้ โทษถนอม ใจหนอ พันไม่ยอมอยยู่ อม มอดม้วย พระโปรดเปลย่ี นโทษปลอม ฟนั รปู เเทนพ่อ พนั กราบทูลทัดด้วย ทา่ นทงิ้ ประเพณี

ถอดความคาประพันธ์ : สมเด็จพระเจ้าเสือโปรดพระราชทานอภัยโทษให้ ด้วยเห็นเป็นเหตุสุดวิสัย

แต่พันท้ายนรสิงห์กราบบังคมทูลวิงวอนขออย่าให้ละเมิดพระราชกาหนดสาหรับแผ่นดิน เพราะนานไปภาย

หน้า ผู้คนท้ังปวงจะครหาติเตียนดูหม่ินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ สมเด็จพระเจ้าเสือจึงโปรดให้ปั้นดินเป็นรูปพัน

ท้ายนรสงิ ห์ แล้วใหต้ ดั หัว พอเป็นเหตแุ ทนตัว แตพ่ นั ทา้ ยนรสงิ หไ์ มย่ อมกลัวเสียพระราชกาหนดตามธรรมเนียม

โบราณและกลัวสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวถกู ตฉิ นิ นนิ ทามากกวา่ เสียดายชีวิต

คาอิบายศพั ท์ : บาเหน็จ หมายถึง ตอบแทนความชอบทีไ่ ดก้ ระทามา

ถนอมใจ หมายถึง รกั ษานา้ ใจ

วรรณกรรมคดั สรรในหนังสอื เรียน ม.๒ ๑๕

ภมู ีปลอบกลบั ต้งั ขอบรร ลยั พอ่

จาสง่ั เพชฌฆาตฟัน ฟาดเกลา้ โขนเรือกบั หัวพนั เส้นที่ ศาลเเล ศาลสืบกฤติคณุ เค้า คตไิ วใ้ นสยาม

ถอดความคาประพันธ์ : สมเด็จพระเจ้าเสือมีพระราชดารัสวิงวอนหลายคร้ัง พันท้ายนรสิงห์ก็ไม่ ยินยอม พระเจ้าเสือจึงจายอมให้ทาตามพระราชกาหนด มีพระราชดารัสส่ังให้เพชฌฆาตประหารชีวิตพัน ท้ายนรสิงห์ แล้วให้ทาศาลสูงเพียงตานาหัวพันท้ายนรสิงห์และหัวเรือพระที่นั่งที่หักนั้นขึ้นพลีกรรมไว้ด้วยกัน ศาลน้ันคงอย่สู ืบเกียรติคณุ ของพนั ทา้ ยนรสงิ ห์เป็นแบบอยา่ งของชาตสิ บื มา

คาอธิบายศพั ท์ : กฤติคุณ หมายถงึ กิตติคณุ หมายถงึ ชอ่ื เสยี งโดยคุณงามความดี

จากการถอดความโคลงประกอบภาพที่ ๕๖ ภาพพันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิตข้างต้น กล่าวถึงวีรกรรม

ของพันท้ายนรสิงห์ซึ่งเป็นแบบอย่างที่ดีของข้าราชการในสานักที่มีความรับผิดชอบ แสดงให้เห็นถึงความ

จงรักภักดี ความซื่อสัตย์ ความกตัญญูต่อพระเจ้าแผ่นดิน ยอมสละชีวิตของตนเพ่ือรักษาความศักด์ิสิทธิ์ของ

กฎหมายและพระเกยี รติยศของสมเด็จพระเจ้าเสือ เพ่อื ป้องกันและไม่ใหผ้ ู้อ่ืนดูหมิ่นและครหาพระองค์ได้ และ

เพ่ือรักษาราชประเพณีไว้สืบต่อไป และเพื่อให้เป็นไปตามคาขอของพันท้ายนรสิงห์ สมเด็จพระเจ้าเสือจึงจา

ยอมให้ประหารชวี ติ และทรงตั้งศาลเพยี งตาสบื เกียรติคณุ พนั ทา้ ยนรสงิ ห์ไวส้ บื ไป ดังบทประพันธ์

“ภมู ีปลอบกลับตัง้ ขอบรร ลัยพอ่

จาสง่ั เพชฌฆาตฟนั ฟาดเกลา้

โขนเรอื กับหัวพัน เสน้ ที่ ศาลเเล

ศาลสบื กฤติคณุ เคา้ คตไิ วใ้ นสยาม”

คณุ ค่าทางวรรณศลิ ป์

พงศาวดารได้กล่าวถึงเหตุการณ์ตอนพันท้ายนรสิงห์ไว้ค่อนข้างยาวและบันทึกบทสนทนาระหว่าง

พระเจ้าเสือกับพันท้ายไว้อย่างละเอียด แต่พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงถ่ายทอด

เรื่องราวผ่านโคลงทั้ง 4 บท ด้วยถ้อยคาท่ีกะทัดรัด สละสลวย เข้าใจเนื้อเร่ืองทั้งหมดและตามลาดับเหตุการณ์

ไดอ้ ย่างตอ่ เนอื่ งครบถ้วนสมบูรณ์ ซึ่งถอื เปน็ คณุ คา่ ของเร่อื งนีใ้ นการใช้ภาษาทนี่ อ้ ยแตก่ ินใจมาก และนอกจากนี้

ก็ยังมีการใชว้ รรณศิลป์ในการประพันธอ์ ีกมากมาย

๑. การสรรคา

การซ้าคา

“พันท้ายตกประหมา่ สนิ้ สติคิด

โดดจากเรือทูลอุทิศ โทษร้อง

พนั ไมย่ อมอย่ยู อม มอดม้วย

พันกราบทูลทัดดว้ ย ท่านทิ้งประเพณ”ี

คาประพันธ์บทน้ีมีการซ้าคา คือคาว่า “พัน” เป็นการซ้าคาท่ีมีความหมายเดียวกัน คือ เรียกแทนตัว

ของพนั ท้ายนรสิงห์ ทาให้โคลงมีถอ้ ยคากะทดั รัดแตย่ ังคงสละสลวย อกี ทงั้ ยังได้ใจความครบถ้วนสมบูรณ์

วรรณกรรมคัดสรรในหนงั สอื เรียน ม.๒ ๑๖

การสมั ผัสเสยี งพยญั ชนะ

“ภบู าลบาเหน็จให้ โทษถนอม ใจนอ

พนั ไม่ยอมอย่ยู อม มอดมว้ ย

พระโปรดเปลยี่ นโทษปลอม ฟันรปู แทนพ่อ

พันกราบทูลทัดด้วย ทา่ นท้งิ ประเพณี ”

คาประพันธ์บทน้ีมีการเล่นสัมผสั ของคา คือ เป็นการสัมผัสเสียงของพยัญชนะ เป็นการเล่นเสียงทาให้

โคลงมคี วามสละสลวยของคาและเกดิ ความไพเราะมากยิ่งขนึ้ คอื (ภ)ู บาล - บา(เหนจ็ ) / โทษ - ถนอม / ยอม -

อยู่ - ยอม / มอด - ม้วย / โปรด - เปลีย่ น - ปลอม / ทลู - ทัด - ทา่ น - ทง้ิ

“สรรเพชญทแี่ ปดเจ้า อยุธยา

เสดจ็ ประพาสทรงปลา ปากน้า

ล่องเรอื เอกไชยมา ถงึ โคก ขามพ่อ

คลองคดโขนเรอื คา้ ขดั ไม้หักสลาย”

คาประพันธ์บทนี้ก็เป็นการเล่นคาสัมผัสเช่นกัน คือเป็นการสัมผัสเสียงของพยัญชนะ มีทั้งสัมผัสใน

วรรคเดียวกันและสมั ผัสนอกวรรค ทาให้เกิดความสละสลวย ไพเราะมากย่ิงข้ึน คือ โคก – ขาม / คลอง – คด

– โขน – ขดั

๒. รสวรรณคดี

“พนั ท้ายตกประหมา่ สนิ้ สตคิ ดิ

โดดจากเรอื ทูลอุทิศ โทษรอ้ ง

พันไมย่ อมอยู่ยอม มอดมว้ ย

พันกราบทูลทดั ด้วย ทา่ นทงิ้ ประเพณ”ี

คาประพันธ์บทนีป้ รากฏรสวรรณคดีถึง 2 รส คอื รสแหง่ ความกลัว ตื่นเต้น และตกใจ พนั ทา้ ยนรสิงห์

ตกใจท่ีโขนเรือนั้นหักลง และทราบถึงโทษท่ีจะได้รับพร้อมท้ังกราบทูลขอรับโทษน้ันด้วยความไม่กลัวตายจึง

นามาซงึ่ อกี รสหน่ึง คือวรีรส รสแหง่ ความกลา้ หาญ ไมเ่ กรงกลัวต่อความตาย

คุณค่าทางด้านสังคม เรื่องพันท้ายนรสิงห์แสดงให้เห็นถึงคุณธรรมในเร่ืองการรับผิดชอบต่อหน้าที่ การเคารพกฎหมาย

บา้ นเมอื ง จงรกั ภักดตี อ่ พระมหากษัตรยิ ์ รักษาขนบธรรมเนียมไทยอย่างเครง่ ครดั เพือ่ เปน็ ตัวอยา่ งแก่บุคคลอื่น ยอมสละชวี ติ ของตนเองเพ่ือรับผิดชอบต่อหน้าท่ีของตน ท่ีปรากฏในโคลงที่ว่า

“พันทา้ ยตกประหมา่ สน้ิ สตคิ ิด โดดจากเรือทลู อุทิศ โทษร้อง พันทา้ ยนรสิงหผ์ ิด บทฆ่า เสียเทอญ หวั กับโขนเรือตอ้ ง คูเ่ สน้ ทาศาล โทษถนอม ใจนอ ภูบาลบาเหนจ็ ให้ มอดมว้ ย พันไมย่ อมอยู่ยอม ฟันรปู แทนพ่อ พระโปรดเปลย่ี นโทษปลอม ท่านทงิ้ ประเพณี พนั กราบทูลทัดด้วย

วรรณกรรมคัดสรรในหนงั สอื เรยี น ม.๒ ๑๗

ภมู ปี ลอบกลับตง้ั ขอบรร ลยั พ่อ จาสัง่ เพชฌฆาตฟนั ฟาดเกลา้ โขนเรือกบั หวั พนั เซ่นที่ ศาลแล ศาลสืบกฤติคุณเคา้ คตไิ วใ้ นสยาม”

คาประพันธ์บทน้ีแสดงให้เห็นถึงความตั้งม่ันของพันท้ายนรสิงห์ ท่ีจะขอรับโทษเพ่ือรับผิดชอบต่อ หน้าที่ของตน เพื่อที่จะรักษาขนบธรรมเนียมไทย กฎหมายของบ้านเมืองรักษาพระเกียรติยศของ พระมหากษตั รยิ ์ไว้ แต่พระเจ้าเสือกย็ ังมีเมตตาต่อพนั ทา้ ย แสดงใหเ้ ห็นถึงคุณธรรมของพระมหากษตั ริย์ที่ทรงมี พระเมตตาต่อข้าราชบริพาร แต่พันท้ายก็ยังยืนยันท่ีจะรับโทษ แสดงถึงความกล้าหาญไม่เกรงกลัวความตาย ซ่อื สตั ยแ์ ละมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ การกระทา

ขอ้ คดิ ทไี่ ดร้ ับจากโคลงพนั ทา้ ยนรสิงห์ถวายชวี ิต ๑. มีความกตัญญูตอ่ ผมู้ พี ระคุณ และแสดงความรักความซอื่ สตั ย์ตอ่ สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ๒. ร้จู กั เสียสละชีวิตเพ่อื ปกปอ้ งพระราชกาหนดให้คงอยตู่ ลอดไป ๓. ปลกู จิตสานึกให้เยาวช์ นไทยเห็นคุณคา่ เสียสละของวรี ชนไทย ๔. เคารพกฎหมายบ้านเมือง คือ ต้องใช้กฎหมายให้เท่าเทียมกันทุกคน และรักษาความศักด์ิสิทธิ์ของ

ธรรมเนียมไทย ๕. เมื่อได้รับผิดชอบงานใดแล้ว ต้องปฏิบัติให้สุดความสามารถ และรับผิดชอบต่อการกระทาของตน

เพื่อเป็นตัวอย่างแก่บุคคลอ่ืน มีความกล้าหาญ ซื่อสัตย์ เป็นการกระทาท่ีย่อมได้รับการสรรเสริญ การยกย่อง บชู า

วรรณกรรมคดั สรรในหนงั สือเรียน ม.๒ ๑๘

เกร็ดความรู้จากเรอ่ื ง

ประวัติพนั ท้ายนรสงิ ห์ พันท้ายนรสิงห์ เป็นชาวบ้านนรสิงห์ แขวงเมืองวิเศษ

ชัยชาญ (ปัจจุบันคือ ตาบลนรสิงห์ อาเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง) รับราชการเป็นนายท้ายเรือพระที่น่ังเอกชัย อยู่ในรัชสมัยสมเด็จพระ สรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ) แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้รับการยกย่องว่า เป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต จงรักภักดี และรักษาระเบียบวินัยย่ิงชีวิต สมควรเปน็ แบบอยา่ งแก่อนชุ นรุน่ หลงั ตอ่ ไป

เร่ืองราวของพันท้ายนรสิงห์ ปรากฏอยู่ในพระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยาฉบับต่างๆ เนื้อความเป็นไปในแบบเดยี วกนั ได้กล่าวถึง เหตุการณ์ใน พ.ศ. 2247 (จุลศักราช 1066) สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี 8 ประพาสปากน้าสาครบุรี (ปัจจุบันคือจังหวัดสมุทรสาคร) เพ่ือทรง เบ็ดด้วยเรือพระท่ีนั่งเอกชัย มีพันท้ายนรสิงห์เป็นนายท้า ย ตามหลักฐานชุมนุมพระนิพนธ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรม พระยาดารงราชานภุ าพ ทรงบนั ทึกไวว้ ่า ทันท้ายนรสงิ ห์เป็นชาวบ้าน น ร สิ ง ห์ แ ข ว ง เ มื อ ง วิ เ ศ ษ ชั ย ช า ญ และเปน็ ทโ่ี ปรดปรานของสมเด็จพระสรรเพชญท์ ี่ 8 จนทรงพระกรณุ า โปรดเกล้าฯ ใหร้ บั ราชการรบั ใช้พระองค์ อยา่ งใกล้ชดิ

ศาลพนั ทา้ ยนรสงิ หแ์ ละศาลเจา้ แมศ่ รนี วล (รูปเก่า พ.ศ. 2530) ซ่ึงเป็นศาลเจ้าแม่หัวนาเกลือเก่า ริมคลองบ้านโคก ต. โคกขาม อ. เมอื ง จ. สมทุ รสาคร

วรรณกรรมคดั สรรในหนงั สอื เรยี น ม.๒ ๑๙

คลองโคกขามและคลองมหาชัย คลองโคกขามเปน็ คลองในเขตอาเภอเมอื งจงั หวัดสมทุ รสาคร ที่มีความคดเคี้ยวมาก ลักษณะเปน็ คลอง

ข้อศอก กระแสน้าเช่ียวมากทาให้การเดินเรือมีความลาบาก เมื่อครั้งท่ีพระเจ้าเสือหรือสมเด็จพระสรรเพชญที่ ๘ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เสด็จประพาสต้นตามลาคลองโคกขามด้วยเรือพระที่นั่งเอกไชย ได้เกิด อุบัติเหตุเรือพระท่ีนั่งชนก่ิงไม้หัก ทาให้พันท้ายนรสิงห์ถูกประหารชีวิต บริเวณที่ประหารชีวิตพันท้ายนรสิงห์ พระเจ้าเสือโปรดให้สร้างสารพันท้ายนรสิงห์ขึ้นและโปรดให้ขุดคลองตัดทางคดเคี้ยวของคลองโคกขามให้ตร ง โดยให้เจ้าพระยาราชสงครามเป็นแม่กองคุมไพร่พลจานวน 3000 คนขุดคองตัดจากคลองโคกขามตั้งแต่ พุทธศักราช ๒๒๔๘ มาเช่ือมกับแม่นา้ ท่าจนี ขนาดของกว้าง ๕ วา ลึก ๖ ศอก เสร็จในพุทธศักราช ๒๒๕๒ ใน สมัยของพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ เมื่อขุดเสร็จจึงได้พระราชทานนามว่า คลองสนามไชย ต่อมาเปลี่ยนเป็นคลอง มหาชยั แตบ่ างครงั้ ชาวบ้านกเ็ รยี กวา่ คลองถา่ น

ทีม่ า : เสน้ ทางสขุ ภาพสถานทท่ี อ่ งเท่ียวตลาดนา้ วัด

บรรยากาศคลองโคก คลองมหาชยั ในปจั จุบนั ขาม

วรรณกรรมคัดสรรในหนงั สือเรียน ม.๒ ๒๐

บรรณานกุ รม

สานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศลิ ปากร. 2550. โคลงภาพพระราชพงศาวดาร พรอ้ มบทขยาย ความและวิเคราะห์. พิมพ์คร้ังที่6. กรุงเทพมหานคร. หจก. อรณุ การพมิ พ.์

ศกึ ษาธิการ,กระทรวง. 2548. วรรณคดวี ิจกั ษช์ นั้ มธั ยมศึกษาปที 2ี่ . กรุงเทพมหานคร:ครุ ุสภา. กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางขัน้ พ้ืนฐาน. 2551. ภาษาไทย วรรณคดแี ละ

วรรณกรรม ม.2. พิมพค์ ร้ังท่ี1. กรุงเทพมหานคร. บริษทั ไทยรม่ เกลา้ จากัด. ศิลปะและวฒั นธรรมในแบบเรียน. บทท1่ี โคลงภาพพระราชพงศาวดาร. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทม่ี า

http://110.164.59.3/chomlearning/media/TH8.pdf. (14 กมุ ภาพนั ธ์ 2563) ครลู ูกเกด. 2561. โคลงภาพพระราชพงศาวดาร. [ระบบอนนไลน์]. แหล่งท่มี า

https://sites.google.com/a/bodin3.ac.th/krurakket/kholng-phaph-phra-rach- phngsawdar. (13 กุมภาพันธ์ 2563) ครูหนอ ภาษาไทย. เน้ือหาโคลงภาพพระราชพงศาวดาร. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ที่มา https://sites.google.com/site/khruhnxphasathiy/neuxha-khorng-phaph-phra-rach- phngsawdar. (13 กมุ ภาพันธ์ 2563) ศาลพันทา้ ยนรสิงห.์ 2560. ประวตั ศิ าลพันทา้ ยนรสงิ ห์. [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ที่มา http://sanpantainorasing.org/public/story/data/index/menu/252. (15 กุมภาพันธ์ 2563) MThai Talk. 2557. สงครามยทุ ธหตั ถี. [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทมี่ า https://talk.mthai.com/inbox/404389.html. (15 กมุ ภาพนั ธ์ 2563)

วรรณกรรมคดั สรรในหนังสือเรยี น ม.๒ ๒๑

บทที่ ๒ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวศิ วกรรมาและสามัคคีเสวก

บทนา บทเสภาสามัคคีเสวก เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราช-

นิพนธ์ข้ึนเมื่อ พ.ศ.2457 มีลักษณะเป็นบทเสภาขนาดส้ัน จานวน 4 ตอน ได้แก่ กิจแห่งพระนนที กรีนิรมิต วิศวกรรมา และสามัคคีเสวก ซ่งึ ในแต่ละตอนกจ็ ะมุ่งเสนอแนวคดิ ตา่ งๆ โดยในตอนวิศวกรรมาจะแสดงให้เห็น ถึงความสาคัญของศิลปะท่ีเป็นมรดกตกทอดและสะท้อนถึงความสงบสุขและความเจริญรุ่งเรืองของชาติ และ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนสามัคคีเสวก แสดงให้เห็นถึงความสมานสามัคคี หลักปฏิบัติของข้าราชบริพาร ท่ีดี และแสดงใหเ้ หน็ ถึงลกั ษณะการปกครองแบบสมบรู ณาญาสทิ ธิราช ประวตั ิผู้แต่ง

ภาพที่ 1 พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั (ท่ีมา : http://www.memohall.chula.ac.th)

พระนามเดิม คือ สมเด็จเจ้าฟ้าชายมหาวชิราวุธฯ ทรงเป็นพระราชโอรสองค์ท่ี 29 ในพระราชบิดา พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั องค์ที่ 2 ในสมเดจ็ พระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระราชมารดา ประสูติเม่ือวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2423 ได้เสด็จไปศึกษา ณ ประเทศอังกฤษตั้งแต่พระชนมายุ 14 พรรษา ทรงศึกษาวิชาพลเรือนในมหาวิทยาลัยออกวฟอร์ด วิชาทหารบกท่ีโรงเรียนแซนด์เฮิสต์ และได้เถลิงถวัลย์ราช สมบัตเิ มอื่ พระชนมายุ 30 พรรษา ทรงพระปรมาภิไธยว่า พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั ดารงราชย์ อยู่ 15 ปี เสดจ็ สวรรคต เมือ่ มพี ระชนมายุ 46 พรรษา (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2556:244)

พระมหาธีรราชเจ้าเป็นพระสมัญญาภิไธย ซ่ึงประชาชาติได้ถวายแด่พระองค์ท่าน คาว่า “มหาธีระ” แปลตามศัพท์ว่า ปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่ เป็นสมัญญาอันควรแก่พระเกียรติและพระปรีชาสามารถอย่างยิ่ง พระราชกรณียกิจทั้งในทางการเมืองและอักษรศาสตร์เป็นพยานให้เห็นถึงความรอบรู้และพ ระปรีชาสามารถ พระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีไว้หลายแขนง ท้ังท่ีเป็นศิลปะและวิทยาการ ทรงเป็นนักแปล นักเทศน์ นักพูด นักเขียนภาพล้อ นักการเมือง นักการทหาร นักการละคร นักประวัติศาสตร์ พระองค์ทรงเป็นกวีและ นักเขียนที่สาคัญย่ิงในประวัติศาสตร์ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2556:244-245) และในปี พ.ศ. 2515 พระองค์

วรรณกรรมคัดสรรในหนังสอื เรียน ม.๒ ๒๒

ทรงได้รับการประกาศยกย่องจากองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาติ (UNESCO) ให้ทรงเปน็ 1 ใน 5 ของนกั ปราชญช์ าติไทย (ทิพย์สเุ นตร อนมั บตุ ร, 2559:27) พระนามแฝงในพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัว

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระนามแฝงในงานพระราชนิพนธ์ อาทิ อัศวพาหุ , พระขรรค์เพชร, ศรีอยุธยา, รามจิตติ, พันแหลม, ไก่เขียว, นายแก้วนายขวัญ, น้อยลา, สุครีพ, หนานแก้วเมือง บูรณ์ สภานายก, สุรยิ งส่องฟา้ , นกั เรยี นคนหนึ่ง, ร.จ., ท.ป.ส. ฯลฯ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2556:245) ทมี่ าของเร่อื ง

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอธิบายสาเหตุท่ีทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาสามัคคีเสวก ชุดนีไ้ ว้วา่

“เมอ่ื ข้าพเจ้าพักผอ่ นอิริยาบถอยู่ทีพ่ ระราชวังสนามจันทร์ ไดม้ ขี ้าราชบริพารในราชสานัก ผลดั เปลย่ี น กันจัดอาหารเลี้ยงทุก ๆ วันเสาร์ และเม่ือเล้ียงแล้วมักจะมีอะไรดูกันเล่นอย่าง1 คร้ังเม่ือจวนจะถึงคราวที่ เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดีจัดเลีย้ ง เจ้าพระยาธรรมาฯ ได้ขอให้ข้าพเจ้าคิดหาการเล่นสักอย่าง1 ข้าพเจ้าจึง ได้คิดผูกระบา “สามคั คเี สวก” ขนึ้ ระบาทก่ี ลา่ วนี้ได้เล่นตามแบบใหม่เป็นครัง้ แรก กล่าวคอื ไม่มบี ทร้องเลย มี แต่หน้าพาทย์ประกอบกับท่าระบาเท่านั้น คราวน้ีราพึงขึ้นว่า ในเวลาพักระหว่างตอนแห่งระบาน้ัน คร้ันจะให้ พิณพาทย์บรรเลงนั้น พิณพาทย์นั้นก็ได้ตีเหน็ดเหน่ือยตลอดเวลาที่เล่นระบา ควรที่ให้พิณพาทย์น้ันได้พักหาย เหนือ่ ยบ้าง ขา้ พเจา้ จึงตกลงแต่งบทเสภาขึน้ สาหรับขบั ระหวา่ งตอน”

จากคาอธิบายน้ี จะเห็นได้ว่า บทเสภาสามัคคีเสวก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระ ราชนิพนธ์ข้ึนตามคากราบบงั คมทูลขอพระราชทานของเจ้าพระยาธรรมาธกิ รณาธิบดี โดยคร้งั แรกพระองค์ทรง คิดการแสดงชื่อว่า “ระบาสามัคคีเสวก” ซ่ึงเป็นการราตามเพลงหน้าพาทย์ไม่มีบทร้อง และต่อมาได้แต่งบท เสภาขนึ้ ขับระหว่างเวลาพักตอนเพ่อื ใหพ้ ณิ พาทย์ไดพ้ ักเหน่อื ยบา้ ง (กลั ยา สหชาติโกสยี แ์ ละคณะ, ม.ป.ป: 19)

ภาพท่ี 2 เจา้ พระยาธรรมาธกิ รณาธิบดี (ที่มา : พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, 2485 )

จุดม่งุ หมายในการแต่ง เพ่ือใช้สาหรับขับอธิบายนาเร่ืองในการฟ้อนราตอนต่าง ๆ ของระบาสามัคคีเสวก (เอกรัตน์ อุดมพร,

2555:45)

วรรณกรรมคัดสรรในหนงั สือเรียน ม.๒ ๒๓

ลักษณะคาประพันธ์ บทเสภาสามัคคีเสวกเปน็ บทประพันธ์ท่ีแตง่ ขึ้นเพื่อใชใ้ นการขับระหว่างตอนของระบาเสภา มีรูปแบบ

เป็นกลอนเสภา โดยมรี ปู แบบฉันทลักษณด์ ังแผนผังตอ่ ไปน้ี

๐๐๐๐๐๐ ๐

๐๐๐๐๐๐ ๐

(บุญเหลอื ใจมโน, 2555: 57)

อนั ชาตใิ ดไร้ศานติสุขสงบ ต้องมวั รบราญรอนหาผอ่ นไม่

ณ ชาตนิ น้ั นรชนไมส่ นใจ ในกจิ ศลิ ปะวิไลละวาดงาม

กลอนเสภา พัฒนามาจากการเล่านิทาน เม่ือการเล่านิทานเป็นร้อยแก้วทาให้ผู้ฟังรู้สึกเบื่อหน่าย จึงได้มีผู้คิดแต่งนิทานให้เป็นบทกลอนที่มีสัมผัสคล้องจองและขับเป็นทานอง โดยใช้กรับเป็นเครื่องประกอบ จงั หวะ ซง่ี กลอนเสภามลี ักษณะ ดงั น้ี

1. เน้อื ความตอนหนงึ่ ๆ จะยาวกคี่ ากลอนกไ็ ด้ ไม่บังคับ 2. จานวนคาในแต่ละวรรคอาจไม่เท่ากัน คือ มีได้ตั้งแต่ 6 - 10 คา ตามความเหมาะสม เพื่อความ ชดั เจนของเนือ้ หาความในแต่ละวรรค 3. การส่งและการสัมผัส คือ คาสุดท้ายของวรรคหน้า (วรรคสดับและวรรครอง) นิยมส่งสัมผัสไป คาท่ี 1 - 5 คาใดคาหน่ึงของวรรคหลัง (วรรครับและวรรคสง่ ) และคาสุดท้ายของวรรคส่งของกลอนบทแรกส่ง สัมผสั ไปยงั คาสดุ ทา้ ยของวรรครบั ในกลอนบทตอ่ ไปดว้ ย (กัลยา สหชาติโกสยี ์และคณะ, ม.ป.ป: 20-21)

เนือ้ เรื่องยอ่ บทเสภาสามัคคีเสวกเป็นบทเสภาขนาดส้ันมี 4 ตอน เน้ือหาในแต่ละตอนเป็นการเสนอแนวคิด โดย

แนวคดิ สาคัญคือความสามคั คี และความจงรักภักดขี องขา้ ราชการที่มีต่อชาติและพระมหากษตั ริย์ บทเสภาตอนที่ 1 กิจการแห่งพระนนที กล่าวถึงพระนนทีซึ่งเป็นเทพเสวกของพระอิศวร เม่ือพระ

อิศวรจะเสด็จไปที่ใด พระนนทีจะแปลงเป็นโคอุสุภราชพาหนะทรงของพระอิศวรและทาหน้าที่ด้วยความขยัน ขันแข็ง นับเป็นตัวอย่างของเสวกท่ีดี เม่ือเสด็จเทวกิจก็กลับมาเป็นเทพดังเดิม เม่ือขับเสภาเสร็จจะเป็นการจับ ระบา ตอนพระอิศวรและพระอุมาเสด็จออกมาให้เหล่าเทพเข้าเฝ้า มยี กั ษ์กาลเนมเี ข้ามาไลจ่ ับนางฟา้ พระนนที บญั ชาใหเ้ หล่าเทพเสวกไล่จับ ลงอาญาและขับไล่ไป จากน้ันพระอนิ ทร์และจตโุ ลกบาลเสดจ็ มาเฝา้ พระอิศวร

บทเสภาตอนที่ 2 กรีนิมิต กล่าวสรรเสริญพระคเณศ ผู้เป็นเทพแห่งศิลปวทิ ยาต่าง ๆ และเป็นผู้สรา้ ง ช้างตระกลู ตา่ ง ๆ เพื่อเป็นเครอื่ งเฉลมิ พระยศของพระมหากษัตริย์ การแสดงระบาเร่ิมดว้ ยระบาช้าง 8 ตระกูล ยักษ์กาลเนมีออกมาไล่จับช้าง พระคเณศต่อสู้กับยักษ์และขับไล่ยักษ์ไปได้ จากน้ันจึงมอบช้างให้ท้าวจตุ โลกบาลทงั้ 8 ไวป้ ระจาแตล่ ะทศิ ร่ายมนตส์ รา้ งพญาชา้ งเผอื กแลว้ บัญชาให้หมอเฒา่ จับชา้ งและจัดกระบวนแห่ พญาช้างเผอื ก

บทเสภาตอนที่ 3 วิศวกรรมา กล่าวสรรเสริญพระวิศวกรรม เทพแห่งงานศิลป์ การก่อสร้างและการ ช่างนานา กล่าวถึงความสาคัญของศิลปะของชาติ การแสดงเริ่มด้วยพระวิศวกรรมออกมาร่ายรา ต่อจากน้ัน

วรรณกรรมคัดสรรในหนงั สือเรยี น ม.๒ ๒๔

นางวิจิตรเลขาออกมาราทาท่าวาดภาพถวาย หลงั จากน้นั พระรปู การออกมาร่ายราท่าป้นั รปู ถวาย จากนัน้ เป็น การแสดงอาวุธต่าง ๆ และจบด้วยระบานพรัตน์ ซึ่งเป็นอัญมณีทงั้ 9 ชนดิ มาจับระบาราโคม

บทเสภาตอนท่ี 4 สามัคคเี สวก กล่าวถึงความสมานสามคั คีในหมรู่ าชเสวก ใหม้ ีความมน่ั คงจงรักภักดี ซ่ือตรง ขยันขันแข็งในการทางาน รักษาเกียรติของข้าราชการ การแสดงเร่ิมด้วยราชเสวก 28 หมู่ ออกมาสวน สนามหม่ลู ะ 1 คู่ จบแล้วทุกคนร้องเพลงแสดงความจงรักภักดีพร้อมกนั (กัลยา สหชาติโกสียแ์ ละคณะ, ม.ป.ป: 19-20)

วเิ คราะห์เน้อื หา

บทเสภาสามคั คีเสวกเป็นวรรณคดีในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2 โดยตอนทีไ่ ดห้ ยบิ ยกมา

วิเคราะห์ด้านเน้ือหามีทั้งหมด 2 ตอน คือ ตอนวิศวกรรมา และตอนสามัคคีเสวก โดยท้ัง 2 ตอน มีเน้ือหาที่มี

การนาเสนอแตกตา่ งกัน ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี

1.1 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา ในการนาเสนอเน้ือหา ทรงเลือกท่ีจะแสดงให้

เห็นถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับบ้านเมืองก่อนหากเราไม่เหน็ ถึงประโยชน์ของศิลปะ แล้วจึงยกให้เหน็ ถึงดา้ นดี ดัง

ตวั อย่าง

๏ อนั ชาติใดไร้ศานตสิ ุขสงบ ต้องมวั รบราญรอนหาผอ่ นไม่

ณ ชาตนิ ้ันนรชนไม่สนใจ ในกิจศิลปะวไิ ลละวาดงาม

๏ แต่ชาติใดรุง่ เรอื งเมืองสงบ วา่ งการรบอรพิ ลอันลน้ หลาม

ย่อมจานงศิลปาสงา่ งาม เพือ่ อร่ามเรืองระยับประดบั ประดา

จากนัน้ จึงโน้มนา้ วใหค้ นหันมาสนบั สนนุ ใหช้ ว่ ยกันบารุงกจิ การงานช่าง ดังตวั อยา่ ง

๏ ควรไทยเราชว่ ยบารงุ วิชาชา่ ง เครือ่ งสาอางแบบไทยสโมสร

ช่วยบารงุ ช่างไทยให้ถาวร อย่าใหห้ ยอ่ นกวา่ เขาเราจะอาย

ลักษณะการโน้มน้าวได้มีการเปรียบกับการท่ีเราชว่ ยบารุงงานชา่ งเปรียบเสมือนการที่เราได้ช่วยเหลือ

บ้านเมอื ง ดงั ตวั อยา่ ง

๏ เราชว่ ยช่างเหมือนอยา่ งชว่ ยบา้ นเมือง ใหป้ ระเทอื งประเทศไทยอันไพศาล

สมเปน็ เมอื งใหญ่โตมโหฬาร พอไม่อายเพอื่ นบา้ นถึงจะดี

นอกจากนีย้ ังมกี ารใช้ภาษาในเชิงตอ่ ว่าแบบตรงไปตรงมา ดังตัวอยา่ ง

๏ ใครดถู กู ผู้ชานาญในการช่าง ความคดิ ขวางเฉไฉไมเ่ ข้าเร่ือง

เหมอื นคนป่าคนไพรไมร่ ุง่ เรือง จะพดู ดว้ ยนัน้ ก็เปลอื งซ่ึงวาจา

1.2 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก มีการใช้อุปมาโวหาร โดยเปรียบประเทศชาติ กับเรือท่ีแล่นไปกลางทะเล โดยที่เหล่าข้าราชการ เปรียบเสมือนเป็นกะลาสีหรือลูกเรือ และพระมหากษัตริย์ เปรียบเสมือนนายเรือหรือกัปตัน ซึ่งการใช้โวหารดังกล่าวทาให้มองเห็นภาพได้อย่างชัดเจนถึงความสัมพันธ์ ระหว่างขา้ ราชการ พระมหากษัตรยิ ์ และประเทศชาติ ดังตัวอย่าง

๏ ควรนกึ ว่าบรรดาขา้ พระบาท ล้วนเป็นราชบรพิ ารพระทรงศรี เหมือนลูกเรอื อยใู่ นกลางหวา่ งวารี จาต้องมมี ติ รจิตสนิทกัน ตอ้ งมุง่ หมายช่วยแรงโดยแข็งขัน ๏ แมล้ กู เรือเช่ือถอื ผูเ้ ป็นนาย นาวานั้นจง่ึ จะรอดตลอดทะเล คอยต้ังใจฟังบงั คบั กัปปติ นั

วรรณกรรมคดั สรรในหนงั สอื เรียน ม.๒ ๒๕

ทรงใช้กลวิธีการนาเสนอโดยให้เห็นผลร้ายของการที่ข้าราชการที่ขาดความสามัคคีและขาดวินัยก่อน

เพอ่ื ให้เห็นถงึ ผลเสยี ท่ีตามมา ดงั ตัวอย่าง

๏ แมล้ ูกเรืออวดดีมีทฐิ ิ และเริ่มริเฉโกยุ่งโยเส

เมอื่ คลน่ื ลมแรงจดั ซัดโซเซ เรือจะเหล่ระยาควา่ ไป

จากน้นั จึงได้มีการส่งั สอนอยา่ งตรงไปตรงมา ดงั ตวั อย่าง

๏ ถงึ เสวที เี่ ปน็ ขา้ ฝ่าพระบาท ไม่ควรขาดความสมัครสโมสร

ในพระราชสานักพระภูธร เหมือนเรือแล่นสาครสมทุ รไทย

๏ เหล่าเสวกตกท่กี ะลาสี ควรคดิ ถงึ หนา้ ทน่ี ั้นเป็นใหญ่

รกั ษาตนเครง่ คงตรงวินยั สมานใจจงรักพระจักรี

ถอดความบทเสภาสามัคคเี สวก ตอน วิศวกรรมา

๏ อนั ชาตใิ ดไร้ศานติสขุ สงบ ต้องมวั รบราญรอนหาผอ่ นไม่

ณ ชาตินนั้ นรชนไมส่ นใจ ในกจิ ศิลปะวิไลละวาดงาม

นรชน หมายถึง คน

ละวาด หมายถึง งามอยา่ งวาดภาพ

ศานติ หมายถงึ ศานติ หรือสนั ติ แปลว่า ความสงบ

ถอดความไดว้ า่ ประเทศใดไร้ซึ้งความสงบสุข ตอ้ งคอยรบราฆ่าฟนั กัน คนในประเทศนั้นย่อม

ท่ีจะไมส่ นใจในเร่ืองของศลิ ปะ ความงามต่าง ๆ

๏ แต่ชาติใดรุง่ เรอื งเมืองสงบ วา่ งการรบอรพิ ลอนั ลน้ หลาม

ย่อมจานงศลิ ปาสง่างาม เพือ่ อร่ามเรืองระยบั ประดบั ประดา

จานง หมายถึง ม่งุ ประสงค์

อร่าม หมายถึง แพรวพราว สว่างไสว

อริพล หมายถึง ข้าศึก

ถอดความได้ว่า แต่ประเทศใดที่มีความสงบสุข ปราศจากการสู้รบหรือสงคราม ผู้คนย่อมมี

ความเอาใจใส่ ทานุบารุงศิลปะ ซ่งึ เป็นเครื่องแสดงถงึ ความรงุ่ เรืองของประเทศชาตินนั้ ๆ

๏ อนั ชาติใดไรช้ ่างชานาญศิลป์ เหมือนนารนิ ไร้โฉมบรรโลมสง่า

ใครใครเหน็ ไม่เป็นทีจ่ าเริญตา เขาจะพากันเยย้ ใหอ้ บั อาย

นาริน หมายถงึ ผู้หญิง สตรี

บรรโลม หมายถึง ประโลม ทาใหพ้ ึงพอใจ

ถอดความได้ว่า ประเทศใดท่ีไร้ช่าง ผ้ชู านาญศลิ ปะตา่ ง ๆ ก็เปรียบเสมือนผู้หญิงที่ไร้ซ่ึงความ

งาม ไมเ่ ปน็ ทตี่ ้องตาใคร ผคู้ นจะพากันเยาะเย้ยทาให้อับอาย

๏ ศลิ ปกรรมนาใจใหส้ รา่ งโศก ชว่ ยบรรเทาทุกขใ์ นโลกให้เหอื ดหาย

จาเริญตาพาใจใหส้ บาย อีกรา่ งกายก็จะพลอยสุขสราญ

ศิลปกรรม หมายถึง ส่ิงท่ีเป็น ศิลปะ ส่ิงที่สร้างสรรค์ข้ึนเป็นศิลปะ เช่น งานประติมากรรม งาน

สถาปัตยกรรม

วรรณกรรมคดั สรรในหนงั สอื เรยี น ม.๒ ๒๖

ถอดความได้ว่า ประโยชน์ของศิลปกรรมคือช่วยให้ใจพ้นจากความเศร้าโศก ช่วยบรรเทา ความทุกข์บนโลกนี้ให้จางหายไป การท่ีจิตใจของเรามีความสุขย่อมส่งผลต่อร่างกายด้วย กล่าวคือ ประโยชน์ ของศิลปกรรมนัน้ ทาให้สขุ ภาพใจและสขุ ภาพจติ ดี

๏ แมผ้ ้ใู ดไมน่ ยิ มชมสงิ่ งาม เม่ือถงึ ยามเศรา้ อรุ านา่ สงสาร

เพราะขาดเครื่องระงับดับราคาญ โอสถใดจะสมานซึง่ ดวงใจ

ถอดความได้ว่า ผใู้ ดท่ไี มน่ ยิ มชมชอบในความสวยงาม เมื่อตกอยู่ในห่วงความรู้สึกที่หดหู่และ

เศร้าหมอง ความรู้สึกดังกล่าวก็ย่ิงทวีมากขึ้น เนื่องจากไร้ซ่ึงส่ิงที่จะช่วยปลอบประโลมหรือบรรเทาความรู้สึก

เศรา้ หมอง ถงึ แมจ้ ะมียาขนานใดก็ไม่สามารถรักษาความรสู้ กึ ทางใจได้

๏ เพราะการช่างงานน้สี าคัญอันวิเศษ ทกุ ประเทศนานาทงั้ น้อยใหญ่

จึงยกย่องศิลปกรรมน์ น้ั ทัว่ ไป ศรวี ิไลวลิ าสดเี ป็นศรเี มอื ง

วลิ าส หมายถึง งามมเี สน่ห์ งามสดใส

ศรวี ไิ ล หมายถึง คือ ซิวิไลซ์ มาจากคาภาษาอังกฤษว่า civilized แปลว่า มีความเจริญ มีอารยธรรม

มีวัฒนธรรม

ถอดความได้ว่า งานช่างน้ีเป็นงานที่สาคัญอย่างย่ิง ทุกประเทศในโลกน้ีล้วนยกย่องงานช่าง

และงานศลิ ป์ เพอื่ เปน็ เครือ่ งบ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรือง ความมีอารยะของชาตินนั้ ๆ

๏ ใครดถู กู ผ้ชู านาญในการชา่ ง ความคิดขวางเฉไฉไม่เขา้ เรอื่ ง เหมือนคนป่าคนไพรไมร่ งุ่ เรอื ง จะพดู ดว้ ยน้นั กเ็ ปลืองซง่ึ วาจา

ถอดความได้ว่า ใครท่ีดูถูกผู้ท่ีมีความชานาญในงานชา่ ง มีความคิดที่ต่อต้านหรือขัดขวาง คน เหล่าน้ันกไ็ ม่ตา่ งอะไรกับคนปา่ คนท่ีขาดความเจริญ หากจะพูดคยุ ดว้ ยกเ็ สียเปลา่

๏ แต่กรงุ ไทยศรวี ไิ ลทนั เพือ่ นบา้ น จงึ มชี ่างชานาญวเิ ลขา

ทัง้ ชา่ งปัน้ ชา่ งเขียนเพยี รวชิ า อกี ชา่ งสถาปนาถกู ทานอง

ชา่ งเขียน หมายถงึ ชา่ งวาดภาพ ปจั จุบนั ใช้ จิตรกร

ช่างสถาปนา หมายถงึ ช่างก่อสรา้ ง

วเิ ลขา หมายถึง งามย่งิ

ถอดความไดว้ ่า แตป่ ระเทศไทยของเราน้ันมีความเจริญทัดเทียมประเทศเพื่อนบ้าน จงึ มชี ่าง

ที่มคี วามชานาญในงานศลิ ปต์ ่าง ๆ เช่น ชา่ งปัน้ ชา่ งเขยี น ชา่ งสถาปนกิ ( ชา่ งปูน )

๏ ทง้ั ชา่ งรูปพรรณสวุ รรณกิจ ชา่ งประดษิ ฐร์ ัชดาสงา่ ผอ่ ง

อีกชา่ งถมลายลักษณะจาลอง อีกช่าชองเชิงรตั นประกร

ช่างประดษิ ฐ์รชั ดา หมายถึง ช่างเงนิ ชา่ งรปู พรรณสวุ รรณกิจ หมายถงึ ชา่ งทอง คาวา่ ประกร แปลวา่ ทาขึน้ ประดิษฐข์ ึน้ รัตรประกร จึงหมายถึง ทาเพชรนิลจินดา

ถอดความได้วา่ ทงั้ ชา่ งทอง ชา่ งเงิน ชา่ งถม และช่างทาอญั มณี

๏ ควรไทยเราช่วยบารงุ วิชาช่าง เครอื่ งสาอางแบบไทยสโมสร

ชว่ ยบารงุ ชา่ งไทยให้ถาวร อย่าให้หยอ่ นกว่าเขาเราจะอาย

สาอาง หมายถึง งามสะอาดหมดจด

วรรณกรรมคดั สรรในหนังสอื เรียน ม.๒ ๒๗

ถอดความได้ว่า เราคนไทยจึงควรช่วยบารุงดูแลในวิชางานช่างเหล่าน้ี ซ่ึงเปรียบเสมือน เคร่ืองสาอางท่ีช่วยให้ประเทศมีความสวยงาม ควรช่วยกันดูแลเพ่ือให้คงอยู่คู่กับชาติไทยตลอดไป อย่าให้ นอ้ ยหนา้ ชาติอนื่ ๆ ซงึ่ จะใหเ้ กิดความอบั อาย

๏ อนั ของชาติไพรัชช่างจัดสรร เป็นหลายอยา่ งต่างพรรณเขา้ มาขาย เราต้องซอ้ื หลากหลากและมากมาย ตอ้ งใช้ทรัพยส์ รุ ยุ่ สรุ า่ ยเป็นก่ายกอง

ชาติไพรัช หมายถงึ ตา่ งชาติ ตา่ งประเทศ ถอดความไดว้ า่ ศิลปวัตถตุ ่าง ๆ ที่ชาวตา่ งชาติได้นาเข้ามาขาย ซ่ึงมีหลากหลายชนิด เราต้อง

ซื้อเป็นจานวนมาก ทาใหต้ อ้ งใชท้ รัพย์สมบตั ิในการจา่ ยเป็นจานวนมาก

๏ แม้พวกเราชาวไทยต้งั ใจช่วย เอออานวยชา่ งไทยใหท้ าของ

ชา่ งคงใฝ่ใจผูกถกู ทานอง และทาของงามงามขึน้ ตามกาล

ถอดความได้ว่า แต่ถ้าหากเราในฐานะประชาชนคนไทย ช่วยสนับสนุนผลงานของช่างไทย

เพื่อให้พวกเขาเหล่านั้นได้สร้างสรรค์ผลงานขึ้นมา ช่างจะมีกาลังใจในการสร้างสรรค์ผลงานที่มีความสวยงาม

ขึ้นมา

๏ เราช่วยชา่ งเหมือนอย่างช่วยบา้ นเมอื ง ให้ประเทืองประเทศไทยอันไพศาล

สมเป็นเมอื งใหญ่โตมโหฬาร พอไมอ่ ายเพ่ือนบา้ นจ่ึงจะดี

ประเทือง หมายถึง ทาให้ดีขึ้น

ถอดความได้ว่า เราได้ช่วยงานช่างก็เหมือนการที่เราได้ช่วยบ้านเมือง ให้มีความเจริญรุ่งเรือง

สมกับความเปน็ เมืองใหญม่ ีอารยะ เพ่ือที่จะไดไ้ ม่น้อยหนา้ ประเทศอื่น ๆ

ถอดความบทเสภาสามคั คเี สวก ตอน สามัคคีเสวก

๏ ประการหนึง่ พึงคิดในจิตมน่ั ว่าทรงธรรม์เหมือนบดิ าบงั เกดิ หัว

ควรเคารพยาเยงและเกรงกลวั ประโยชน์ตวั นึกนอ้ ยหน่อยจะดี

ทรงธรรม์ หมายถงึ พระเจ้าแผ่นดนิ

ยาเยง หมายถงึ ยาเกรง หมายถึง เกรงกลัวเพราะความเคารพนบั ถือ

ถอดความได้ว่า สง่ิ หน่งึ ท่พี ึงตระหนักคอื พระเจ้าแผน่ ดนิ เปรยี บเสมือนพ่อบังเกดิ เกลา้ ควร

ให้ความเคารพ และมีความเกรงใจเสมอื นพอ่ ของตนเอง และใหน้ ึกถึงประโยชน์สว่ นรวมมากกวา่ สว่ นตวั

๏ ควรนกึ ว่าบรรดาข้าพระบาท ล้วนเปน็ ราชบรพิ ารพระทรงศรี

เหมือนลกู เรืออยู่ในกลางหวา่ งวารี จาต้องมีมติ รจติ รสนทิ กนั

ถอดความได้ว่า ควรนึกไว้ว่าข้าราชการก็เหมือนลูกเรอื ที่อยู่ในกลางทะเล ซึ่งต้องมีไมตรีจิต

ต่อกนั

๏ แม้ลกู เรอื เชือ่ ถือผเู้ ป็นนาย ตอ้ งมงุ่ หมายช่วยแรงโดยแข็งขัน

คอยตง้ั ใจฟงั บังคบั กัปปติ ัน นาวาน้นั จึงจะรอดตลอดทะเล

กัปปติ ัน หมายถงึ นายเรอื (มาจากภาษาอังกฤษวา่ captain) ปจั จุบนั เขียนว่า กปั ตนั

นาวา หมายถงึ เรือ

ถอดความได้ว่า ถ้าลูกเรือเช่ือฟังนายเรือหรือกัปตัน คอยช่วยเหลืออย่างขยันขันแข็ง คอย

ตั้งใจฟังคาสัง่ ของกปั ตนั เรือน้ันจงึ จะสามารถฝ่าอปุ สรรคในท้องทะเลไปไดต้ ลอดรอดฝ่ัง

วรรณกรรมคัดสรรในหนังสอื เรยี น ม.๒ ๒๘

๏ แมล้ ูกเรืออวดดีมีทฐิ ิ และเร่มิ ริเฉโกยุ่งโยเส

เมื่อคล่นื ลมแรงจดั ซัดโซเซ เรอื จะเหล่ระยาควา่ ไป

เฉโก หมายถึง ฉลาดแกมโกง ไม่ตรงไปตรงมา

ทิฐิ หมายถึง ความเห็น ความอวดดี ความถอื ดี

โยเส หมายถึง มาจากคาว่า โยโส หมายถึง โหยกเหยก อวดดี ในบทเสภาเปลี่ยนจากสระโอเป็น

สระเอเพือ่ ให้สัมผสั กบั คาว่า ทะเล

ถอดความได้ว่า แต่ถ้าหากลูกเรือมีทิฐิ เร่ิมอวดดี และขาดความซื่อตรงในการทาหน้าที่ของ

ตน เม่ือคล่นื ทะเลพัดมา ก็อาจจะทาใหเ้ รอื นน้ั ลม่ ไป

๏ แมต้ า่ งคนต่างเถยี งเกีย่ งแก่งแย่ง นายเรอื จะเอาแรงมาแต่ไหน

แมไ้ ม่ถอื เคร่งคงตรงวินัย เมื่อถึงคราวพายุใหญ่จะครวญคราง

ถอดความได้ว่า ถ้าลูกเรอื ต่างก็ทะเลาะเบาะแวง้ กัน กปั ตนั กจ็ ะไม่มลี ูกเรอื มาชว่ ยเหลือ ถ้าไม่

เครง่ ครัดต่อกฎระเบยี บ เม่อื เจอพายใุ หญ่พัดมากม็ ีแต่จะเดือดร้อน

๏ นายจะสัง่ สิง่ ใดไม่เข้าจติ จะตอ้ งตดิ ตันใจใหข้ ัดขวาง

จะยงุ่ แล้วยุ่งเลา่ ไมเ่ ข้าทาง เรอื ก็คงอบั ปางกลางสาคร

สาคร หมายถึง ห้วงน้า ทะเล

อบั ปาง หมายถึง ลม่ จม แตก (ใช้แก่เรือเดินทะเล)

ถอดความไดว้ า่ กัปตันจะบอกกลา่ วสงิ่ ใดก็ไม่ฟัง คอยแตจ่ ะขัดขวาง เมือ่ เจอกบั ปญั หาอะไร

กจ็ ะทาให้เรอื ล่มไปในทสี่ ุด

๏ ถึงเสวีท่เี ปน็ ข้าฝา่ พระบาท ไม่ควรขาดความสมัครสโมสร

ในพระราชสานกั พระภูธร เหมอื นเรือแล่นสาครสมุทรไทย

สมัครสโมสร หมายถงึ เชื่อมสามคั คีในหมู่คณะ

ถอดความได้ว่า ข้าราชการในราชสานักก็ไม่ควรขาดความสมัครสมานสามัคคี เพราะ

พระราชสานกั ก็เปรียบเสมือนเรือทกี่ าลังแล่นในทะเล

๏ เหลา่ เสวกตกทก่ี ะลาสี ควรคดิ ถงึ หนา้ ทนี่ นั้ เปน็ ใหญ่

รักษาตนเคร่งคงตรงวนิ ัย สมานใจจงรกั พระจักรี

กะลาสี หมายถงึ ลูกเรือ

เสวก หมายถึง อ่านวา่ เส-วก แปลวา่ ขา้ ราชการในราชสานัก บางครง้ั ใช้ เสวี

ถอดความได้ว่า เหล่าข้าราชการก็เหมือนลูกเรือหรือกะลาสี ควรคานึงถึงหน้าท่ีของตนเอง

น้ันเป็นอันดบั แรก ให้ดารงไว้ซง่ึ ระเบียบวนิ ยั อยา่ งเครง่ ครัด และมคี วามจงรกั ภักดีในสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์

๏ ไมค่ วรเลือกทร่ี กั มกั ที่ชัง สามัคคเี ปน็ กาลงั พลังศรี

ควรปรองดองในหมู่ราชเสวี ให้สมท่รี ว่ มพระเจ้าเราองค์เดยี ว

ถอดความได้ว่า ไมค่ วรเลือกรักหรือชัง ควรสามัคคีปรองดองกันไว้ในหมู่ข้าราชการ สมกับที่

เรามพี ระเจ้าแผ่นดนิ องคเ์ ดียวกนั

วรรณกรรมคัดสรรในหนงั สอื เรยี น ม.๒ ๒๙

บทวิเคราะห์

1.คณุ ค่าด้านแนวคดิ บทเสภาสามัคคีเสวกเป็นวรรณคดีในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยตอนที่ได้หยิบยกมา

วิเคราะห์คุณค่าด้านแนวคิดมีท้ังหมด 2 ตอน คือ ตอนวิศวกรรมา และตอนสามัคคีเสวก โดยท้ัง 2 ตอน ล้วนแล้วแต่ม่งุ เสนอแนวคิดท่แี ตกตา่ งกนั ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้

1.1 บทเสภาสามัคคเี สวก ตอน วิศวกรรมา เปน็ ตอนทม่ี ีแนวคิดสาคัญคือ การเตอื นใจให้เห็น คุณค่าของงานศลิ ปกรรมท่ีเป็นสิ่งแสดงถึงความเจรญิ รุ่งเรืองของชาติ มีจดุ มุ่งหมายให้คนไทยชว่ ยกันสนับสนุน ผลงานของช่าง เพือ่ ให้เกดิ กาลงั ใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะต่อไป

1.2 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก เป็นตอนท่ีมีแนวคิดสาคัญคือ การเตือนใจหมู่ ข้าราชการให้ตระหนักถึงหน้าท่ีของตน เพราะข้าราชการเป็นกลไกสาคัญในการบริหารราชการแผ่นดินให้ เป็นไปตามความเรียบร้อย ข้าราชการจึงต้องต้ังใจปฏิบัติหน้าที่ รู้จักการเสียสละประโยชน์ส่วนตน ไม่แก่งแย่ง ชิงดีชิงเด่น เช่ือฟังคาสั่งของผู้บังคับบัญชา รู้จักตระหนักในหน้าที่ตนเองอยู่เสมอ และให้สานึกต่อพระมหา กรณุ าธิคณุ ของพระมหากษตั ริย์องคเ์ ดยี วกัน

สรุปคุณค่าในด้านเนื้อหา บทเสภาสามัคคีเสวก ท้ัง 2 ตอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มี แนวคิดสาคัญในเร่ืองคือการเห็นคุณค่าของงานศิลปกรรมและให้ช่วยกันทานุบารุงงานช่าง และมีแนวคิดใน เร่ืองความสามคั คี ความจงรักภกั ดตี อ่ สถาบันชาตแิ ละพระมหากษตั ริย์

2.คุณคา่ ด้านเนอ้ื หา บทเสภาสามัคคีเสวกเปน็ วรรณคดใี นระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โดยตอนท่ไี ดห้ ยิบยกมา

วิเคราะห์คุณค่าด้านเน้ือหามีท้ังหมด 2 ตอน คือ ตอนวิศวกรรมา และตอนสามัคคีเสวก โดยทั้ง 2 ตอน มีคุณคา่ ด้านเนอ้ื หาท่ีมกี ารนาเสนอแตกต่างกัน ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี

2.1 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา สะท้อนให้เห็นความเช่ือเรื่องของเทพเจ้า ในศาสนาพราหมณ์ที่ปะปนอยู่ในสังคมไทย นั่นคือ พระวิศวกรรม โดยคนไทยมีความเชื่อว่าท่านเป็นเทพผู้ ท่ีสร้างเคร่ืองไม้เครื่องมือ ตลอดจนส่ิงต่าง ๆ ให้มนุษย์ได้ใช้งาน และท่านยังเป็นครูของเหล่าบรรดาช่างต่าง ๆ นอกจากนี้ยังแสดงใหเ้ ห็นชา่ งตา่ ง ๆ ของไทยในสมยั โบราณ หรือที่เรารจู้ ักในช่อื ของช่าง 10 หมู่ เช่น ชา่ งเขียน (จิตรกร) ช่างสถาปนา(ช่างก่อสร้าง) ช่างทอง ช่างเงิน ช่างถม ช่างทาอัญมณี และแสดงให้เห็นถึงการติดต่อ ค้าขายกับชาวต่างชาตใิ นเร่ืองของผลงานศิลปะ หรือศลิ ปวัตถุ

2.2 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรม ระบอบ การปกครองสมบูรณาญาสิทธิราช โดยที่พระมหาหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นาประเทศ ทาให้เห็นบทบาทของ ข้าราชการท่ีรบั ใช้ใต้เบื้องพระยุคลบาท ซง่ึ จะต้องมีความสมัครสมานสามัคคีและจงรักภักดีต่อสถาบนั ชาติและ สถาบนั พระมหากษตั ริยเ์ พอ่ื ท่ีจะชว่ ยใหป้ ระเทศอย่รู อดต่อไปได้

3.คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์ บทเสภาสามคั คีเสวก ตอน วศิ วกรรมา และสามคั คีเสวก เป็นบททโ่ี ดดเด่นในเร่ืองของการใช้

ภาพพจน์เปรียบเทียบ คือ การใช้อุปมาโวหาร (simile) และการเล่นเสียงสัมผัส เพื่อทาให้ผู้อ่านเกิด จินตนาการและจินตภาพตามเนื้อเรื่อง โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

3.1 การใชโ้ วหารภาพพจน์ การใช้โวหารภาพพจน์ในบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา และสามัคคีเสวก มีความโดดเด่นในการใช้ภาพพจน์เปรียบเทียบ หรือ การใช้อุปมาโวหาร (simile) ซ่ึงเป็นการใช้กลวิธี

วรรณกรรมคดั สรรในหนงั สอื เรยี น ม.๒ ๓๐

ทางวรรณศิลป์ในการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกส่ิงหน่ึง โดยท้ังใน วิศวกรรมา และสามัคคีเสวก มกี ารใช้ภาพพจนก์ ารเปรยี บเทียบ ดงั น้ี

3.1.1 การใชโ้ วหารภาพพจน์ในวิศวกรรมา

กลวิธีการใช้วรรณศิลปท์ โี่ ดดเดน่ ของบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วศิ วกรรมา

คอื การใชภ้ าพพจน์แบบอุปมาโวหาร และใช้คาง่าย ทาใหแ้ นวคิดที่ผู้ประพันธ์ที่ตัง้ ใจจะนาเสนอนั้นเด่นชัดขึ้น

ดังบทท่ียกมาขา้ งต้น ตอ่ ไปนี้

อันชาติใดไร้ช่างชานาญศลิ ป์ เหมอื นนารนิ ไร้โฉมบรรโลมสง่า

ใครใครเห็นไมเ่ ป็นทจี่ าเริญตา เขาจะพากันเย้ยให้อบั อาย

(บทเสภาสามัคคเี สวก ตอน วิศวกรรมา)

ตัวบทข้างต้นเป็นการเปรียบเทียบชาติท่ีไร้ซึ่งช่างที่ชานาญงานศิลป์ กับสตรี ท่ีไร้เคร่ืองประโลมเรือนร่าง การที่สตรีไร้เคร่ืองประโลมเรือนร่าง คือเป็นสตรีท่ีไม่สมกับความเป็นสตรี ดังน้ัน การเปรียบชาติท่ีไร้งานช่างต่าง ๆ โดยงานช่างเป็นงานที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองในอารยะของชาติ นน้ั ๆ แตถ่ า้ ชาตไิ หนไร้งานช่างนั้นแลว้ ชาตกิ ย็ ่อมไมเ่ ปน็ ชาติ เช่นเดียวกบั สตรที ไ่ี รเ้ ครื่องประโลมผิว

ใครดถู กู ผ้ชู านาญในการชา่ ง ความคดิ ขวางเฉไฉไมเ่ ขา้ เร่ือง เหมอื นคนป่าคนไพรไมร่ ุ่งเรือง จะพูดดว้ ยน้ันก็เปลอื งซ่ึงวาจา

(บทเสภาสามคั คีเสวก ตอน วิศวกรรมา)

ตัวบทข้างต้นเป็นการเปรียบเทียบ “การดูถูกงานช่าง” กับ “คนป่า” โดยการดูถูก งานช่างในบริบทสมัยก่อน ถูกจัดว่าเป็นความคิดท่ีขัดขวางกับความเจริญรุ่งเรือง “ความคิดขวางเฉไฉไม่เข้า เรื่อง” ซ่ึงความคิดดังกล่าวได้ถูกนามาเปรียบกับคนป่า ท่ีถูกมองว่าเป็นกลุ่มชนที่ไม่มีความเจริญ และไม่มี ประโยชนใ์ นสงั คม

3.1.2 การใช้โวหารภาพพจนใ์ นสามัคคีเสวก บทเสภาสามัคคี ตอน สามัคคีเสวก มีกลวิธีในการใช้วรรณศิลป์ท่ีโดดเด่น

คือ การใช้ภาพพจน์เปรียบเทยี บ หรือ การใช้อุปมาโวหาร ดงั บททีย่ กมาข้างต้น ดังน้ี

ควรนกึ วา่ บรรดาขา้ พระบาท ลว้ นเปน็ ราชบรพิ ารพระทรงศรี เหมอื นลกู เรอื อยใู่ นกลางหว่างวารี จาต้องมมี ิตรสนทิ กนั ตอ้ งมุง่ หมายชว่ ยแรงโดยแข็งขนั แม้ลูกเรือเชอ่ื ถือผ้เู ป็นนาย นาวานนั้ จึงจะรอดตลอดทะเล คอยต้ังใจฟังบังคับกัปปิตัน (บทเสภาสามคั คีเสวก ตอน สามัคคีเสวก)

ตัวบทข้างต้นเป็นการเปรียบเทียบ ข้าราชบริพาร เหมือน ลูกเรือ และ พระมหากษัตริย์ เหมือน กัปตัน ที่ลูกเรือต้องเช่ือฟังคาสั่งของกัปตันเรือจึงจะแล่นในทะเลได้ตลอดรอดฝ่ัง เหมือนกับ ข้าราชบรพิ าร ท่ตี อ้ งเชื่อฟงั คาบอกกล่าวจากกษัตรยิ ์ เพ่ือชาตจิ ะดาเนินไปตอ่ ได้

3.2 การเลน่ เสยี ง กลวิธีการเล่นเสียง คือ การนาเสียงสัมผัสพยัญชนะ สัมผัสสระ และเสียงวรรณยุกต์ มาเล่น

เพื่อให้เกิดความไพเราะ (จิตต์นิภา ศรีไลย์, ประนอม วิบูลย์พันธุ์ และอินทร์วุธ เกษตระชนม์, ม.ป.ป: 14) โดยบทเสภาสามคั คเี สวก ตอน วศิ วกรรมา และสามคั คีเสวก มีการเล่นเสยี งสมั ผสั พยญั ชนะและสระ ดังนี้

วรรณกรรมคดั สรรในหนังสือเรยี น ม.๒ ๓๑

อันชาติใดไร้ศานติสขุ สงบ ต้องมวั รบราญรอนหาผ่อนไม่

ณชาตนิ ั้นนรชนไมส่ นใจ ในกจิ ศิลปะวิไลละวาดงาม

(บทเสภาสามัคคเี สวก ตอนวิศวกรรมา)

ตวั บทขา้ งตน้ เปน็ บทตวั อย่างในตอน วศิ วกรรมา มีการเลน่ สัมผัสพยญั ชนะและสระ ดังนี้

1. การเลน่ เสยี งสัมผัสสระในเสียงสระ ไอ ได้แก่คาว่า ใด , ไร้

2. การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะ ได้แก่เสียง ร ในคาว่า รบราญรอน และเสียง ส

ในคาวา่ ศานติ , สขุ สงบ เปน็ ตน้

ประการหน่ึงพึงคิดในจติ ม่นั ว่าทรงธรรมเ์ หมอื นบิดาบังเกดิ หวั ควรเคารพยาเยงและเกรงกลัว ประโยชนต์ ัวนึกน้อยหนอ่ ยจะดี

(บทเสภาสามคั คเี สวก ตอนสามัคคีเสวก)

ตัวบทขา้ งต้นตวั อย่างในตอน สามคั คเี สวก มีการเล่นสมั ผสั พยญั ชนะและสระ ดงั น้ี 1.การเล่นเสียงสัมผัสสระในเสียง สระอึ ได้แก่คาว่า หน่ึง , พึง และสัมผัสเสียง

สระออ ได้แก่คาวา่ น้อย , หนอ่ ย 2.การเลน่ เสยี งสมั ผสั พยัญชนะโดยการใชเ้ สียง บ ค ย ก น ดงั นี้ 2.1 การสมั ผัสเสียงพยัญชนะ โดยใชเ้ สยี ง บ ได้แก่คาว่า บดิ า , บงั เกดิ 2.2 การสัมผัสเสียงพยญั ชนะ โดยใช้เสยี ง ค ได้แก่คาว่า ควร , เคารพ 2.3 การสัมผัสเสยี งพยญั ชนะ โดยใช้เสยี ง ย ได้แกค่ าวา่ ยา , แยง 2.4 การสัมผสั เสียงพยัญชนะ โดยใชเ้ สียง ก ได้แก่คาว่า เกรง , กลวั 2.5 การสัมผัสเสยี งพยัญชนะ โดยใช้เสียง น ได้แกค่ าวา่ นกึ นอ้ ยหนอ่ ย

4.คณุ คา่ ด้านสงั คม บทเสภาสามคั คเี สวก ตอน วศิ วกรรมา และสามคั คเี สวก มีคณุ คา่ ทางด้านสังคม ดงั น้ี

4.1 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา เป็นบทที่มีวัตถุประสงค์ ให้คนในประเทศชาติ ช่วยกันรักษาสมบัติชาติ นั่นคือ งานศิลปกรรมแขนงต่าง ๆ รวมถึงช่างหลากแขนง โดยช่างล้วนสรรค์สร้าง ความเป็นเอกลักษณ์ของชาติผ่านงานศิลป์ ที่มีการสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน งานช่างและศิลป์เป็นสิ่งที่ สะทอ้ นให้เหน็ ถึงความเจริญรงุ่ เรืองของชาติ ดงั บททก่ี ลา่ ววา่

เพราะการช่างนี้สาคัญอันวเิ ศษ ทกุ ประเทศนานาท้งั น้อยใหญ่

จง่ึ ยกยอ่ งศิลป์กรรม์นั้นทัว่ ไป ศรวี ไิ ลวลิ าสดเี ปนศรีเมอื ง

4.2 บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก เป็นบทท่ีมีการกล่าวถึง ความสาสามัคคีใน หมเู่ สวก หรือขา้ ราชการในราชสานัก เพ่ือให้จงรกั ภักดตี ่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ซงึ่ เป็นสัญลักษณ์ทส่ี ะท้อน ให้เห็นถึงค่านิยมและความเช่ือในระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ โดยมีกษัตริย์เสมือนเทวรา ชา เทพที่คอยปกป้องคุ้มครองให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข สถาบันกษัตริย์จึงเป็นสถาบันท่ีมีอานาจสูงสุดและได้รับ การเทิดทูนจากประชาชนในขณะน้ัน ซึ่งจากสาเหตุนี้การที่เหล่าเสวกได้ปฏิบัติตามคาสั่งของกษัตริย์ย่อมเป็น การปฏิบัติที่สมเกียรติในฐานะข้าราชการของแผ่นดิน และผลปฏิบัติย่อมเป็นผลท่ีทาให้แผ่นดินและชาติ บา้ นเมอื งเขม้ แขง็ และเปน็ ชาตทิ ี่มั่นคง

กล่าวโดยสรุป บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา และสามัคคีเสวก เป็นบทประพันธ์ ที่สะท้อนค่านิยมในยุคนั้น ที่มีค่านิยมความเชื่อเก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ซ่ึง ณ ตอนนั้นสังคมไทยยังมี

วรรณกรรมคดั สรรในหนงั สือเรยี น ม.๒ ๓๒

การปกครองในระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และการท่ีเหล่าข้าราชการในสมัยน้ันได้ปฏิบัติตามคาสอนของ กษัตริย์ถือว่าเป็นเรื่องที่เป็นเกียรติและเป็นสิริมงคลย่ิง นอกจากเรื่องค่านิยมความเชื่อในเรื่องสถาบัน พระมหากษัตริย์ ยังสะท้อนให้เห็นความสาคัญในงานศิลปกรรมและงานช่างที่ในหลวงรัชกาลท่ี 6 ทรงได้เชิญ ชวนให้คนในยุคน้ันช่วยกันอนุรักษ์ เพราะงานศิลป์และงานช่างท้ังหลายเป็นส่ิงท่ีสะท้อนให้เห็นถึงความ เจริญรุ่งเรืองของประเทศ ท่ีมีประวัติศาสตร์ยาวนาน และความเจริญทัดเทียมอารยประเทศ ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีล้วน แต่เป็นคณุ คา่ ทางวฒั นธรรมทตี่ กทอดมาจากรนุ่ บรรพบรุ ุษ และควรสืบสานใหค้ นรุ่นหลังสืบไป เกรด็ ความรู้

ภาพที่ 3 รูปพระพฆิ เนศ หรอื พระวิฆเนศวร (ท่ีมา: ttp://www.idotravellers.com/index.php)

1.พระพิฆเนศ พระคเณศ หรอื พระวิฆเนศวร พระวิฆเนศวรน้ี ตามความนิยมแห่งไสยศาสตร์ว่าเป็นเจ้าแห่งความรู้ ตามรูปศัพท์

ของสันสกฤตอ่านว่า วิฆเนศวร มีความหมายว่า เป็นหัวหน้านาคณะข้ามความขัดข้อง หรือบางทีก็มีนาม เรียกว่า สิทธิบดี (เป็นใหญ่เหนือความขัดข้อง) บางพวกก็เรียกว่า คณปุงควะ (เหมือนโคผู้นาฝูงโค) และชื่ออื่น อีกหลายชื่อ เป็นต้นว่า อขุรถ (ขี่หนู) คชมุข กรีมุข (หน้าเป็นช้าง) เอกทนต์ (งาเดียว) ลัมพกรรณ (หูยาน) ลัมโพทร (ท้องยาน) ทวิเทห (ตัวสองลอน) ตามตาหรับว่า พระวิฆเนศวร เป็นโอรสพระอิศวรกับพระอุมา และ บางตาราก็วา่ เปน็ โอรสพระอมุ าองค์เดียว คือเกดิ จากเหง่ือไคลของพระอุมา และกลา่ วกันอกี วา่ พระคเณศ เปน็ ผ้เู ขียนคัมภรี ม์ หาภารตะจากวาจาของพระฤษีวยาส และนบั ถอื วา่ เปน็ เทพเจ้าเหนือการรจนาหนงั สือใด ๆ ดว้ ย

ลักษณะของพระวิฆเนศวร รูปกายเป็นมนุษย์ อ้วนเต้ีย ท้องพลุ้ย หูยาน มีเศียรเป็นช้าง มีงาข้างเดียว (ถูกขวานปรศุราม หักเสียงาหน่ึง) กายสีแดง บางแห่งว่าผิวเหลือง นุ่งห่มแดง มี 4 กร ถือบาศ (บ่วง) และขอ (ขอช้าง) บางแห่งเคยเห็นภาพเขียนถือวชั ระบ้าง จกั รบ้าง สังข์บา้ ง คทาบา้ ง ดอกบัวบ้าง เทพศาสตรา เหล่านี้ นัยว่าได้ประทานมาจากพระอิศวรผู้เป็นพระบิดา พาหนะสาหรับขี่ ใช้หนู และดูเหมือนจะมีหนูเป็น บริวาร (สจั จาภริ มย์, พระยา อา้ งถงึ ใน จรญู ศรี วีระวานชิ , 2532:77-81) 2. พระวิศวกรรม หรือ พระวษิ ณกุ รรม

พระวิศวกรรม หรือเรียกได้อีกหลายชื่อว่า พระวิษณุกรรม พระวิสสุกรรม พระเวสสุกรรม หรือพระเพชรฉลกู รรม เปน็ เทวดานายช่างใหญข่ องพระอินทร์ ตามตานานกลา่ วว่า เป็นผสู้ รา้ งเครื่องมือสิ่งของ ตา่ ง ๆ ใหเ้ กดิ ขน้ึ และเป็นแบบอย่างให้แก่มนุษยส์ บื มา สว่ นตานานฮินดกู ล่าววา่ พระวศิ วกรรมา มีพระเนตร 3 ดวง มีกายสีขาว ทรงอาภรณ์สีเขียว โพกผ้า มือถือคทา แต่ไทยนิยมวาดหรือปั้นรูปพระวิศวกรรมา ทรงชฎา

วรรณกรรมคัดสรรในหนังสือเรยี น ม.๒ ๓๓

มือถือจอบหรือผ่ึง (เคร่ืองมือสาหรับถากไม้ชนิดหน่ึง รูปร่างคล้ายจอบ แต่มีด้ามส้ันกว่า) และลูกด่ิง ซ่ึงเป็น สญั ลกั ษณท์ างช่างอยา่ งชัดเจน

พระวิศวกรรมรับเทวโองการต่าง ๆ จากพระอินทร์ เพ่ือสร้างอุปกรณ์ สิ่งของ อาคารต่าง ๆ เป็นผู้นาวิชาช่างมาสอนแก่มนุษย์ นับแต่น้ันมามนุษย์จึงรูจ้ ักการสร้างและใช้งานส่ิงของต่าง ๆ จนมีการพัฒนา รูปแบบมาจนถึงปัจจุบันนี้ช่างไทยแขนงต่าง ๆ ให้ความเคารพบูชาพระวิศวกรรมในฐานะครูช่าง หรือเทพแห่ง วิศวกรรมของไทย และมักพบเห็นรูปจาลองตามสถานศึกษาทางช่างทุกสถาบัน โดยนิยมสร้างอยู่สองท่า คือ ท่าประทับน่ังห้อยพระบาท พระหัตถ์ข้างหนึ่งถือผึ่ง (จอบสาหรับขุดไม้) และอีกข้างถือดิ่ง และท่าประทับยืน มอื ขวาถือไมเ้ มตรหรือไม้วา มอื ซ้ายถือลกู ด่ิงและไมฉ้ าก (อิสรนิ ทร์ ดีนุ่ม, ม.ป.ป.)

ภาพที่ 4 รปู ปนั้ พระวิศวกรรม (ทม่ี า :สุรเกยี รติ มะสใุ ส, 2563 )

3. พระนนที หรอื พระนนทิ หรือ โคอุสภุ ราช ประวัติการกาเนิดของโคนนทิน้ี มีการกล่าวถึงท่ีแตกต่างออกไป กล่าวว่าแต่เดิมนั้น โคนนทิ

ราช หรือ โคอุศุภราช น้ี เป็นเทพบุตรองค์หน่ึงบนสรวงสวรรค์ช้ันฟ้า ซึ่งเทพบุตรองค์น้ีก็มีนามว่า “นนทิ” มีหน้าที่เป็นเทพที่คอยคุ้มครองดูแลบรรดาสัตว์ส่ีเท้าทั้งปวง ท่ีอาศัยอยู่ในป่าใกล้ ๆ กับเขาไกรลาสและเทพ นนทิ ท่ีเป็นเทพที่ครองสัตว์จัตตุบาทท้ังปวงนั้น ก็มักจะนิรมิตองค์เองให้กลายเป็นโคเผือก เพ่ือให้พระศิวะได้ เสด็จประทับไปยงั แห่งหนต่าง ๆ จนเป็นเสมอื นพาหนะประจาพระองค์ไปโดยปริยาย

คัมภรี ์โบราณนั้นยังบันทึกไวด้ ้วยว่า เทพบุตรนนทิองคน์ ี้ ไม่ไดเ้ ปน็ คู่เทพทจ่ี ะมาแปลงกายเป็น โค ใหพ้ ระศิวะไดเ้ สด็จประทบั เปน็ พาหนะเท่านัน้ แต่พระนนทิ ก็ยงั เป็นหัวหน้าแห่งเทพบริวารท้ังหลายทั้งปวง ของเทพพระศิวะอีกด้วย

คมั ภรี ์บางเลม่ กลา่ ววา่ พระโคนนทิ นอกจากจะเป็นเทพผู้ครองสตั วจ์ ตั ตบุ าทหรือสัตวส์ ่เี ท้าท้ัง มวลแล้ว ยังเป็นเทพท่ีเป็นนักดนตรีอีกด้วย ยังปรากฏว่าได้เคยร่วมนาฏกรรมราฟ้อนกับองค์พระศิวะ บ่อย ๆ โดยรับหน้าทต่ี ีตะโพนคอยใหจ้ ังหวะ ในขณะทอี่ งคพ์ ระศิวะรา่ ยราระบาฟ้อน ในวโรกาสสาคญั ต่าง ๆ พระโคนนทิ ยังมีความสาคัญอีกมากมายที่ทาให้บรรดามวลมนุษย์ที่บวงสรวงบูชาพระศิวะน้ัน นิยมบวงสรวง บชู าโคนนทดิ ว้ ย โดยยกยอ่ งใหเ้ ป็น “โคพิเศษ” เป็นโคศกั ดสิ์ ิทธ์ิท่ีเปรยี บเสมือนกับเป็นสญั ลักษณ์แห่งพระศิวะ มหาเทพ

วรรณกรรมคัดสรรในหนงั สือเรียน ม.๒ ๓๔

ภาพที่ 5 พระนนที (ทมี่ า:สามัคคเี สวกและทศพธิ ราชธรรม, 2526)

4. ช่าง 10 หมู่ ช่างสิบหมู่ที่จะกล่าวต่อไปน้ีมีช่างแขนงเดียวหรือหลายแขนง หรือบางหมู่มีแขนงช่างซ้ากัน

ก็ได้ การแบ่งออกเป็น 1 หมู่ จัดแบ่งตามโคลงซึ่งพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าประดิษฐวรการ ทรงพระนิพนธ์ ไว้ซง่ึ มี ดังน้ี

1. หมู่ช่างเขียน ประกอบด้วยช่างเขียน ช่างปิดทอง ช่างลงรัก ช่างแกะ ช่างป้ัน ช่างหุ่น และ ชา่ งอื่น ๆ ช่างเขยี น หรอื ปจั จบุ ันเรียกวา่ “จิตรกร”

2. หมู่ช่างแกะ มีท้ังช่างแกะตรา ช่างแกะลาย ช่างแกะพระหรือภาพ ซึ่งหมายรวมไปถึงช่าง เงนิ ชา่ งทอง ช่างเพชรพลอย

3. หมู่ช่างหุ่น มีช่างไม้ ช่างไม้สูง ช่างเล่ือย ช่างปากไม้ ช่างทาหุ่นรูปคน สัตว์ หัวโขน ช่าง เขยี น ชา่ งปน้ั ชา่ งไม้

4. หม่ชู ่างปน้ั มชี ่างขีผ้ ึง้ ช่างปนู ช่างขน้ึ รปู ช่างหุ่น 5. หมู่ช่างปูน มีช่างปั้น ชา่ งปนู ก่อ ช่างปนู ฉาบ ช่างปนู ปัน้ 6. หมูช่ ่างรกั มีช่างลงรกั ช่างปิดทอง ช่างประดับกระจก ชา่ งมุก ช่างเครือ่ งเขนิ 7. หม่ชู า่ งบุ เป็นชา่ งเดีย่ ว แตก่ ห็ มายรวมไปถงึ ชา่ งโลหะด้วย 8. หมู่ช่างกลึง มีช่างไม้ ช่างแกะงา ช่างทากลองและเก่ียวข้องกับช่างลงรัก ช่างปิดทอง ช่าง ประดบั กระจก ชา่ งเขยี นดว้ ย 9. หมู่ชา่ งสลัก มชี า่ งฉลุ ชา่ งกระดาษ ชา่ งหยวก ช่างเครื่องสด 10. หมู่ชา่ งหล่อ มชี ่างหุ่นดิน ช่างขผี้ ึ้ง ชา่ งผสมโลหะ ท้ัง 10 หมู่นี้ เป็นเพียงการจัดเข้าหมู่กันให้ได้จานวน 10 หมู่ แต่มิได้หมายจะให้ตรงกับคาว่า “ช่าง10หมู่” เพราะยังไม่มีหลักฐานใดจะจัดให้ลงตัวกันได้ มีช่างอีกพวกหน่ึง คือ ช่างทอง ไม่เข้าหมู่ช่าง ทั้งหลาย เพราะไม่มีหน่วยงานเฉพาะ ทั้งเป็นช่างท่ีต้องใช้ฝีมือมาก งานบางอย่างต้องซ่ือสัตย์สุจริตจริง ๆ เพราะทองคาย่อมมีราคาสูงอยู่แล้ว นอกจากนั้นยังประกอบด้วยเพชรพลอยล้วนมีราคาสูงท้ังสิ้น จึงเป็น หน่วยงานทีเ่ รียกวา่ “สุวรรณกิจ” มีหน้าที่ทาเครอื่ งราชปู โภค เปน็ ต้น (วทิ ย์ พิณคนั เงนิ , ม.ป.ป. : 11)

วรรณกรรมคดั สรรในหนังสอื เรียน ม.๒ ๓๕

ภาพที่ 6 ชา่ งเขียน ภาพท่ี 7 ชา่ งแกะ (ทม่ี า: http://www.thaigoodview.com) (ที่มา: http://culture.mome.co/baanjangnak)

ภาพท่ี 7 การทาห่นุ ภาพที่ 8 การปนั้ หนุ่ พระ (ทีม่ า:http://saranukromthai.or.th) (ทม่ี า:https://www.facebook.com)

ภาพที่ 9 การสรา้ งศาสนสถาน ภาพท่ี 10 จานลงรกั ปิดทอง (ทม่ี า:https://pakhuaychalong.blogspot.com) (ทม่ี า:https://www.ictsilpakorn.com)

ภาพท่ี 11 พระบเุ งนิ ภาพที่ 12 การกลงึ ไม้ (ที่มา: https://www.kaidee.com) (ที่มา:http://www.thaigoodview.com)

วรรณกรรมคดั สรรในหนงั สอื เรยี น ม.๒ ๓๖

ภาพท่ี 13 การแทงหยวกกล้วย ภาพท่ี 14 การหลอ่ พระ (ที่มา:https://www.pinterest.com) (ที่มา:http://www.cm77.com/)

วรรณกรรมคดั สรรในหนงั สอื เรียน ม.๒ ๓๗

อา้ งอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). ประวัติวรรณคดีเล่ม 2 วรรณคดีและวรรณกรรม สมัยกรุงธนบุรีและสมัย หหหหกรุงรตั นโกสนิ ทร์. (พิมพค์ รงั้ ที่ 2). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พส์ กสค. ลาดพรา้ ว. จติ ตน์ ภิ า ศรไี ลย์, ประนอม วบิ ูลย์พันธุ์ และอนิ ทร์วุธ เกษตระชนม.์ (ม.ป.ป.). วรรณคดีและวรรณกรรมชัน้

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2. กรงุ เทพฯ: บริษัทพฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.) จากดั . ทพิ ย์สเุ นตร อนัมบุตร. (2559). วรรณกรรมพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั . (พิมพ์ครัง้ ท่ี 5).

กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคาแหง. กลั ยา สหชาตโิ กสยี แ์ ละคณะ. (ม.ป.ป.). วรรณคดีและวรรณกรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2. (พิมพ์ครง้ั ท่ี 9).

กรงุ เทพฯ: บริษัทอกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท.จากดั .

วรรณกรรมคดั สรรในหนังสอื เรยี น ม.๒ ๓๘

บทที่ ๓ ศลิ าจารึกหลักที่ ๑

บทนา

ศลิ าจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหง หรือ ศลิ าจารึกหลกั ท่ี ๑ เป็น ศิลา จารึกหลักแรกที่ใช้ตัวอักษรไทยและภาษาไทยมากที่สุด ท่ีบันทึกเรื่องราว ต่าง ๆ ลงบนแท่นศิลารูปส่ีเหล่ียมยอดแหลมปลายมน มีข้อความค่อนข้าง สมบรู ณ์ ซ่ึงมคี วามสาคญั และได้รบั ยกย่องวา่ เปน็ วรรณคดีเร่ืองแรกของไทย ท่ีบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร มีความสาคัญคือให้ประโยชน์ทางด้าน ประวัติศาสตร์ และภาษาในสมัยสุโขทัย ท้ังนี้ ศิลาจารึกหลักท่ี ๑ ยังแสดง ให้เห็นถงึ พัฒนาการทางดา้ นภาษาของชาติไทยอกี ดว้ ย

ความเปน็ มาของเร่ือง ภาพที่ ๑ : ศลิ าจารึกหลกั ท่ี ๑ ท่ีมา : https://www.matichon.co.th

ในปัจจุบันการศึกษาข้อมูลจากจารึกพ่อขุนรามคาแหง เป็นส่ิงหน่ึงที่นักวิชาการให้ความสนใจมากข้นึ

เป็นจารึกที่สาคัญของชาติชิ้นหน่ึง มีหลักฐานว่า ศิลาจารึกหลักที่ ๑ หรือที่เรียกกันว่าจารึกพ่อขุนรามคาแหง

ท่ีเผยแพร่และเป็นท่ีเข้าใจของคนไทยทั่วไปได้กล่าวว่าศิลาจารึกหลักน้ีพบในปี พุทธศักราช ๒๓๗๖

โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในขณะน้ันดารงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ

เจ้าฟ้ามงกุฎฯ และทรงผนวชอยู่ท่ีวัดสมอราย (วัดราชาธิวาสในปัจจุบัน) ระหว่างท่ีพระองค์ท่านได้จาริกธุดงค์

ไปทางหัวเมืองเหนือในปีที่ว่าน้ีได้พบจารึกหินดังกล่าวท่ีเนินปราสาทเมืองเก่าสุโขทัย จึงโปรดให้นาลงมา

กรุงเทพฯ พร้อมกับจารึกวัดป่ามะม่วงภาษาเขมร หรือท่ีกาหนดในภายหลังเรียกว่าศิลาจารึกหลักท่ี ๔

และพระแท่นมนังศิลาบาตรท่ีได้พบในคราวนั้น ได้เก็บรักษาไว้ที่วัดราชาธิวาสเป็นแห่งแรก ต่อมาพระองค์ได้

เสด็จไปประทบั ณ วัดบวรนเิ วศราชวรวหิ าร กไ็ ดโ้ ปรดให้ยา้ ยศลิ าจารึกทงั้ สองหลักไปด้วย

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระองค์แรกท่ีเห็นความสาคัญของศิลาจารึก

ทรงศึกษาถอดความศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้วยพระองค์เอง ทรงเผยแพร่ให้แก่ชาวไทยและชาวต่างชาติได้ทราบ

และเห็นคุณประโยชน์ของจารึก นับต้ังแต่นั้นมาจึงได้มีนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดี ทั้งชาวไทยและ

ชาวต่างชาติทาการขุดค้นและศึกษาศิลาจารึกต่าง ๆ ในเมืองไทย ทาให้เราได้รับความรู้ในทางประวัติศาสตร์

และโบราณคดีอย่างมีหลักฐานจะอ้างอิงได้ และเมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๖ จารึกพ่อขุนรามคาแหง

ได้รับยกย่องจากองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประกาศข้ึน

ทะเบียนเป็นเอกสารมรดกความทรงจา ปัจจุบันน้ี ศลิ าจารึกหลักท่ี ๑ ตัง้ อยทู่ ี่พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ

วรรณกรรมคัดสรรในหนังสอื เรยี น ม.๒ ๓๙

ผแู้ ตง่

ปัจจบุ ันนักวชิ าการชาวไทยและชาวตา่ งชาติหลายทา่ นได้ศึกษาและวจิ ารณจ์ ารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหงฯ พรอ้ มทง้ั ตง้ั ขอ้ สงั เกตประเดน็ เรือ่ งผู้แต่งและปที ีจ่ ารึก ไวด้ งั นี้

กระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๕๑: ๑๓) กล่าวว่า พ่อขุนรามคาแหงได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นในปี พ.ศ. ๑๘๒๖ และได้จารึกอักษรไทยลงไว้บนแท่นศิลา เม่ือประมาณ พ.ศ. ๑๘๓๕ ดังปรากฏข้อความใน หลักศิลาจารกึ วา่ “เม่ือก่อนลายสือไทยน้ีบ่มี ๑๒๐๕ ศกปีมะแม พ่อขุนรามคาแหง หาใคร่ใจในใจแล่ใสล่ ายสอื ไทยน้ี ลายสอื ไทยนี้จึงมเี พื่อขนุ ผูน้ น้ั ใส่ไว้”

น้อมนิจ วงศ์สุทธิธรรม (๒๕๔๙: ๑๐-๑๑) กล่าวว่า เป็นที่ทราบกันดีแน่ชัดว่า ข้อความตอนต้นใน

ด้านที่ ๑ บรรทัดท่ี ๑-๑๘ เริ่มตั้งแต่ “พ่อกูช่ือศรีอินทราทิตย์” จนถึง “พี่กูตายจึงได้เมืองแก่กูท้ังกลม” ผู้แต่ง

คือ พอ่ ขนุ รามคาแหง สว่ นขอ้ ความต่อจากน้ันไม่ทราบแนช่ ัดวา่ ผใู้ ดแต่ง เพราะไม่ได้ใชส้ รรพนามบรุ ุษที่ ๑ “กู”

อกี เลย ทั้งยงั ใช้คาว่า “เมอื่ ชั่วพอ่ ขุนรามคาแหง” (เหมอื นในบรรทดั ที่ ๑๑ ที่กลา่ วถึง “เมื่อช่ัวพ่อกู กบู าเรอแก่

พ่อกู” อันเป็นข้อความบ่งบอกถึงอดีตกาล มีความหมายในทางท่ีว่าพ่อขุนรามคาแหงได้สวรรคตไปแล้ว

นอกจากนี้ ข้อความตอนปลาย ตงั้ แตบ่ รรทัดท่ี ๑๑-๒๗ ตวั หนังสอื ไม่เหมือนกับตอนต้น คอื ใช้ตัวพยัญชนะลีบ

เลก็ กวา่ และสระท่ใี ชก้ ็ตา่ งกันไปบ้าง แสดงวา่ ข้อความตอนตน้ กับตอนปลายคงจะจารึกหา่ งกันหลายปี อยา่ งไร

ก็ตาม ได้มีผู้สันนิษฐานไว้ว่า ข้อความหลังจาก ๑๗ บรรทัดแรกแล้ว เป็นข้อความที่พญาลิไท (พระมหาธรรม

ราชาท่ี ๑) โปรดให้จารกึ ข้นึ จนจบทง้ั ๔ ดา้ น

ร่นื ฤทยั สจั จพันธ์ (๒๕๕๓) กล่าวว่า ศิลาจารกึ หลกั ท่ี ๑ หรือทเี่ รียกกนั ว่าจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหง ไมไ่ ด้ เป็นพระราชนิพนธ์ของพ่อขุนรามคาแหงแต่เพียงท่านเดียว เม่ือได้พิจารณาข้อความในศิลาจารึกนี้จะพบ ข้อ แตกตา่ งกัน ดงั นี้ ตอนท่ี ๑ ตง้ั แต่บรรทดั ท่ี ๑-๑๘ ของด้านท่ี ๑ เป็นเนื้อหาพระราชวตั พิ ่อขุนรามคาแหง ต้งั แต่ ประสูติจนถึงเสวยราชสมบัติ เป็นการเล่าในเชิงอัตชีวประวัติ ใช้สรรพนามแทนตัวว่า “กู” เป็นพื้น จึงทาให้ ทราบวา่ เปน็ พระราชนพิ นธ์ของพ่อขนุ รามคาแหง ตอนที่ ๒ ต้ังแต่บรรทัดที่ ๑๘ ด้านท่ี ๑ ไปจนถึงบรรทัดท่ี ๒๗ ด้านท่ี ๓ เน้ือหาเป็นเร่ือง การพรรณนาความ อุดมสมบูรณ์และความเจริญของเมืองสุโขทัย ตลอดจนชีวิตความเป็นอยู่ จารีต ประเพณี การละเล่น ของชาว สุโขทยั นอกจากน้ียงั กล่าวถึงพระราชกรณยี ากิจในด้านตา่ ง ๆ เช่น การปกครอง ศาสนา และยงั ทาให้ทราบถึง ผังเมืองสุโขทัยในสมัยนั้น ในตอนนี้ใช้คาว่า “พ่อขุนรามคาแหง” แทนคาว่า “กู” โดยตลอด ในตอนแรกใช้คา ว่า “พ่อขุนรามคาแหง เจ้าเมืองสุโขทัย” ในช่วงหลังใช้คาวา่ “พ่อขุนรามคาแหง เจ้าเมืองศรีสัชนาลัยสุโขทัย” แสดงว่าในตอนที่ ๒ ไม่ใช่พระราชนิพนธ์พ่อขุนรามคาแหง แต่เป็นผู้อ่ืนที่จารึก เหตุการณ์ในสมัยพ่อขุน รามคาแหงเพอ่ื ยอพระเกียรตขิ องพระองค์ ตอนท่ี ๓ ตั้งแต่บรรทัดที่ ๑-๒๗ ของด้านที่ ๔ เนื้อหาเป็นเร่ืองการกล่าวซ้าความเดิมของ ตอนที่ ๒ และ กลา่ วถึงพระราชกรณยี ากจิ ท่ีตอนท่ี ๒ ท่ไี ม่ได้กล่าวไว้ จารึกตอนที่ ๓ นี้ เชื่อว่าเป็นการจารึก ภายหลงั ดา้ นแรก เปน็ เวลาหลายปี เพราะตวั อักษรไมเ่ หมอื นกนั ตัวพยัญชนะเล็กและลีบกว่า รวมทั้งวิธีการ วางสระก็ตา่ งไป จาก ตอนแรก ๆ

จนั จิราวฒั น์ รัชนี (๒๕๓๒) กลา่ วไว้ว่า “ทา่ นทรงเห็นวา่ จารึกน้ันพูดถึงพ่อขุนรามคาแหงเป็นบุรุษที่ ๓ และผู้สรา้ งอาจเป็นพระยาลิไทย เพราะพระองค์มคี วามจาเปน็ ทางการเมือง พระองค์ทรงต้องการสิทธิโดยชอบ ธรรมของการข้ึนครองราชย์ในสุโขทัย เพราะในยุคหลังจากพ่อขุนรามคาแหงแล้วรัฐสุโขทัยไม่ได้เป็นปึกแผ่น ดังเดิม แล้วได้สร้างศิลาจารึกหลักที่ ๑ หลักที่ ๓ และหลักที่ ๔ เพ่ือเป็นการแสดงสิทธิเหนือดินแดน ว่าสุโขทัยเป็นรฐั ของราชวงศ์พระร่วงและรุ่งเรอื งภายใต้อานาจของราชวงศ์พระร่วงมานาน”

วรรณกรรมคดั สรรในหนงั สือเรยี น ม.๒ ๔๐

จากคากล่าวของนักวิชาการข้างต้น สรุปข้อมูลได้ว่า ผู้แต่งศิลาจารึกหลักท่ี ๑ นี้ อาจจะมีผู้แต่ง ถึง ๓ กลุ่มด้วยกัน และจารึกในเวลาท่ีแตกต่างกัน ตั้งแต่พ่อขุนรามคาแหงยังมีพระชนชีพอยู่ จนกระท่ัง ส้ินพระชนม์ จารึกหลักนี้จึงเสร็จสมบูรณ์ เพราะเน้ือเร่ืองใน ศิลาจารึกหลักที่ ๑ แบ่งได้เป็น ๓ ตอน รวมท้ัง ข้อความตอนต้นกับข้อความตอนปลายมีลักษณะการเขียน พยัญชนะ สระ ท่ีต่างกัน และยังไม่สามารถระบุได้ ว่าศิลาจารึกหลักที่ ๑ ทุกด้านถูกสร้างข้ึนมาในสมัยสุโขทัยท้ังหมด แต่ในปัจจุบันผู้คนส่วนใหญ่ยังคงเช่ือว่า พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราชเปน็ ผแู้ ต่งศิลาจารึกหลักท่ี ๑

ประวตั ผิ ู้แตง่

พ่อขุนรามคาแหงมหาราชเป็นพระราชโอรสองค์ท่ี ๓ ของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์กับนางเสือง ซ่ึงพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ และนางเสือง มีพระราชโอรสสามพระองค์ พระราชธิดาสอง พระองค์ พระราชโอรส องค์ใหญ่สิ้นพระชนม์ต้ังแต่ยังเยาว์ องค์กลาง มีพระนามวา่ บานเมือง และพระราชโอรสองค์ที่สาม คือ พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช เมื่อพระชันษาได้ ๑๙ ปี ได้ ชนช้างชนะ ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดจึงได้รับพระราชทานนาม ว่า "พระรามคาแหง" เม่ือสิ้นรัชสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์และ พ่อขุนบานเมืองแล้ว พระองค์จึงได้ครองกรุงสุโขทัยต่อมา เป็น พระมหากษัตริย์รัชกาลท่ี ๓ แห่งราชวงศ์พระร่วง สันนิษฐานว่า ภาพท่ี ๒ : พระบรมราชานสุ าวรยี พ์ ่อขนุ รามคาแหง พระองค์ข้ึนครองราชย์ พ.ศ. ๑๘๒๐ และสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. มหาราช จงั หวดั สโุ ขทยั ๑๘๖๐ รวมระยะเวลาท่พี ระองค์ทรงครองราชย์ท้ังหมดประมาณ ท่มี า :https://www.thebangkokinsight.com/ ๔๐ ปี

พ่อขุนรามคาแหงทรงเป็นมหาราชองค์ท่ีสองของชาวไทย และทรงเป็นมหาราชพระองค์เดียว ในสมัยสุโขทัย พระองค์ทรงเป็นอัจฉริยกษัตริย์ ทรงชานาญทั้งในด้านการรบ การปกครอง เศรษฐกิจ ศาสนา และศิลปวิทยาต่าง ๆ ที่สาคัญคือ พระองค์ได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยข้ึนเม่ือประมาณ พ.ศ. ๑๘๒๖ ซึ่งเป็นต้น กาเนิดของอักษรไทยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน พระองค์ทรงขยายอาณาจักรสุโขทัยออกไปได้อย่างกว้างใหญ่ไพศาล ทง้ั ทรงปกครองไพรฟ่ า้ ขา้ แผน่ ดินด้วยความยุตธิ รรมได้รับความรม่ เย็นเป็นสุขกันท่วั หนา้

จุดมุ่งหมายในการแต่ง

เพ่อื บนั ทึกเรื่องราวตา่ ง ๆ เช่น ลกั ษณะการปกครอง ชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร ตลอดจนบรรยาย ถงึ ความเจริญรุ่งเรืองและความอุดมสมบูรณ์ ความสงบสุขของกรุงสุโขทัย

วรรณกรรมคดั สรรในหนังสอื เรียน ม.๒ ๔๑

ลกั ษณะคาประพนั ธ์

ไพเราะ มากรักษา (๒๕๔๘: ๓๓) กล่าวว่า ลักษณะการแต่งเป็นร้อยแก้ว บางตอนลักษณะเป็นกลอน มเี สียงสมั ผัสไพเราะ

น้อมนิจ วงศ์สุทธิธรรม (๒๕๔๙: ๑๒) กล่าวว่า จารึกหลักท่ี ๑ นี้ แม้จะแต่งเป็นร้อยแก้ว แต่ก็มีความ ไพเราะคล้องจองกันในบางแหง่ ซึง่ แสดงถึงความประณตี ในการเลอื กสรรถอ้ ยคาของผู้แตง่ ได้เป็นอย่างดี

นายธนิต อยู่โพธ์ิ (อดีตอธิบดีกรมศิลปากร) อ้างถึงใน กุหลาบ มัลลิกามาส (๒๕๕๕: ๔๔) กล่าวว่า ถ้าจะประมวลคาที่ใช้ในหลักศิลาจารึก จะมีประมาณ ๑,๕๐๐ คา ตัดซ้าออกเสีย จะเหลือประมาณ ๔๐๕ คา ในจานวนนี้นบั เปน็ คาทีม่ ีรากศัพท์มาจากเขมร ๑๓ คา ชื่อเฉพาะ ๑๑ คา มมี ูลรากจากบาลแี ละอื่นๆ ประมาณ ๖๒ คา เหลือเปน็ คาไทยแท้ราว ๓๑๙ คา นับได้ว่าเป็นเอกสารภาษาไทยที่ใช้คาไทยแทม้ ากทสี่ ุดฉบับหนึง่

สรุปได้ว่า ศิลาจารึกหลักท่ี ๑ มีลักษณะการประพันธ์เป็นร้อยแก้ว บางตอนมีลักษณะเป็นกลอน มีเสียงสัมผัสคล้องจองกัน ทาให้เกิดความไพเราะ เป็นภาษาไทยแท้ เช่น “…ในน้ามีปลา ในนามีข้าว…” “...เพอ่ื นจูงวัวไปคา้ ข่มี ้าไปขาย...” เป็นตน้ ลกั ษณะประโยคสั้น ไม่สลบั ซบั ซอ้ นทาให้เกิดจนิ ตภาพแกผ่ ู้อา่ น

เน้ือเรื่องยอ่

เนอื้ ความในศลิ าจารกึ แบ่งไดเ้ ป็น ๓ ตอน ดังน้ี

ตอนท่ี ๑ (ด้านที่ ๑ บรรทัดท่ี ๑-๑๘) เป็นพระราชประวัติพ่อขุนรามคาแหงมหาราช อย่างส้ัน ๆ

กล่าวถึงพระราชบิดา คือพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พระราชมารดา คือ นางเสือง และราชตระกูลของพระองค์

ต่อจากน้ันได้กล่าวถึงการรบในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ซึ่งพ่อขุนรามคาแหงทรงกระทายุตธหัตถีชนะ

ขนุ สามชน เจา้ เมืองฉอด อนั เปน็ เหตใุ หไ้ ดพ้ ระนามว่า พระรามคาแหง กล่าวถึงความจงรักภกั ดี ความ

กตัญญูกตเวทีที่ทรงแสดงต่อพระราชบิดาและพระเชษฐา จบลงด้วยการกล่าวถึงเสวยราชย์โดยวิธีสืบ

ราชสันติวงศ์ ดังขอ้ ความทีว่ า่ “...พกี่ ตู าย จงึ ได้เมอื งแกก่ ทู ้งั กลม...”

ตอนท่ี ๒ (ตั้งแต่ด้านท่ี ๑ บรรทัดท่ี ๑๘ ไปจนถึงด้านท่ี ๔ บรรทัดที่ ๑๑) เป็นเรื่องราวที่เก่ียวกับ

ธรรมเนียม ประเพณี และชีวิตความเป็นอยู่ของชาวสุโขทัยในรัชสมัยพ่อขุนรามคาแหง กล่าวถึง เมืองสุโขทัย

ในด้านตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ความอุดมสมบรู ณ์ของบ้านเมอื ง กฎหมาย สภาพบ้านเมือง ความศรัทธาในศาสนาพุทธปน

กับความนับถืออานาจศักด์ิสิทธ์ิ “ผีเทพดา” การสร้างพระแท่นมนังศิลาบาตร เม่ือมหาศักราช ๑๒๑๔ การ

สร้างจารึก การสร้างศาลา การสร้างพระธาตุเมืองศรีสัชนาลัย เมื่อ มหาศักราช ๑๒๐๗ และการประดิษฐ์

ลายสอื ไทยเม่อื มหาศกั ราช ๑๒๐๕

ตอนที่ ๓ (ด้านท่ี ๔ บรรทัดท่ี ๑๑ ถึงบรรทัดสุดท้าย) เป็นคายอพระเกียรติพ่อขุนราชคาแหงในฐานะ

ท่ีทรงเป็นกษัตริย์ปกครองไทยท้ังหลาย ทรงเป็น “ครูอาจารย์ส่ังสอนไทยทั้งหลายให้รู้บุญรู้ธรรมแท้”

และทรงรอบรู้ กล้าหาญ และแข็งแรงหาคนเสมอมิได้ ทรงขยายอาณาเขตของอาณาจักรสุโขทัยออกไป

กวา้ งขวางทางทศิ ตะวันออกไปถึงเวยี งจันทร์ เวยี งคา ทางทิศใต้ถงึ นครศรีธรรมราช จดฝ่ังทะเล ทาง

ทิศตะวันตกถึงเมืองหงสาวดี จดอ่าวเบงกอลและทางทิศเหนือถึงเมืองชะวา (หลวงพระบาง) พ่อ

ขุนรามคาแหงทรงปกครองลูกบ้านลูกเมืองด้วยความเที่ยงธรรม ดังข้อความในตอนท้ายที่ว่า “...ปลูกเลี้ยงฝูง

ลกู บา้ นลกู เมอื งนั้นชอบด้วยธรรมทกุ คน...”

วรรณกรรมคดั สรรในหนังสอื เรียน ม.๒ ๔๒

วเิ คราะห์คุณค่าศิลาจารกึ หลักท่ี ๑

รูปแสดงตัวอยา่ งอักษร และคาอ่านในศลิ าจารกึ พ่อขุนรามคาแหง ดา้ นที่ ๑

ภาพที่ ๔-๗ : อย่างอักษร และคาอา่ นในศิลาจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหง ดา้ นท่ี ๑ ที่มา : https://sites.google.com/site/puwadolbenz

วรรณกรรมคดั สรรในหนังสอื เรียน ม.๒ ๔๓

จากเนื้อหาศิลาจารึกหลักที่ ๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ในหนังสือ แบบเรยี นวรรณคดีวิจักษ์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มเี น้ือหาศิลาจารกึ หลักที่ ๑ ด้านท่ี ๑ (บรรทดั ที่ ๑ – ๑๘) สามารถถอดความและแปลความได้ดังตอ่ ไปนี้ บรรทัดที่ ๑ พ่อกชู ่ือศรอี นิ ทราทติ ย์ แม่กชู ื่อนางเสือง พี่กูชอื่ บานเมือง

คาศัพท์ กู หมายถงึ ฉนั , ขา้ พเจ้า นางเสอื ง หมายถงึ เชื่องช้า , แชม่ ช้อย

บรรทัดท่ี ๒ ตพู ่ีน้องท้องเดียวกนั ห้าคน ผ้ชู ายสาม ผู้หญิงโสง คาศัพท์ ตู หมายถึง เรา โสง หมายถงึ สอง แปลความบรรทัดที่ ๑-๒ บิดาของพ่อขุนรามคาแหงช่ือ ศรีอินทราทิตย์ มารดาช่ือ นางเสือง

พ่ีชายช่ือ บานเมือง พ่อขุนรามคาแหงมีพี่น้องท้องเดียวกันท้ังหมดห้าคน เป็นผู้ชายสามคนผู้หญิงสองคน พ่ีชายคนโตของพ่อขุนรามคาแหงไดต้ ายจากไปตง้ั แต่พ่อขนุ รามคาแหงยังเป็นเดก็ อยู่ บรรทัดที่ ๓ พเ่ี ผือผ้อู า้ ยตายจากเผือเตยี มแต่ยังเลก็ เม่ือกูขึน้ ใหญไ่ ด้

คาศัพท์ เผือ หมายถงึ เรา เตียมแต่ หมายถึง ตัง้ แต่ ขึน้ ใหญ่ หมายถึง เติบโต , มอี ายุ

บรรทัดท่ี ๔ สบิ เก้าเข้า ขนุ สามชนเจ้าเมอื งฉอด มาท่เมืองตาก พ่อกไู ปรบ คาศัพท์ เขา้ หมายถึง ปี เมืองฉอด หมายถงึ เมืองที่ตงั้ อยูร่ ิมแมน่ ้าเมย เวลาน้ีเรยี กว่าอาเภอแมส่ อด อยใู่ นจังหวดั ตาก ท่ (คาเขมร) หมายถึง ตี

บรรทัดที่ ๕ ขนุ สามชนหัวซ้าย ขุนสามชนขบั มาหัวขวา ขนุ สาม คาศัพท์ หัวซา้ ย หมายถึง ด้านซา้ ย หวั ขวา หมายถึง ดา้ นขวา

บรรทดั ที่ ๖ ชนเกลื่อนเขา้ ไพร่ฟ้าหน้าใส พ่อกูหนญี ญา่ ยพายจะแจ้น คาศัพท์ เกลื่อน หมายถงึ เคลื่อน ไพร่ฟา้ หนา้ ใส หมายถึง ทหาร , ประชาชน หนญี ญ่ายพายจะแจ้น หมายถงึ หนกี ระจดั กระจาย หลีกหนีย้ายไปโดยเร็ว

บรรทัดที่ ๗ กบู ่หนีกขู ี่ช้างเบกพล กขู ับเข้าก่อนพ่อกู กูต่อ คาศัพท์ กบู ห่ นี หมายถึง กูไม่หนี , กูไมห่ ลีก เบกพล หมายถึง เบกิ พล ใช้ในความหมายว่าบกุ พลหรือแหวกพล ต่อช้าง หมายถึง ชนช้าง

บรรทดั ที่ ๘ ชา้ งด้วยขนุ สามชน ตนกพู งุ่ ช้างขุนสามชนตัวช่อื คาศัพท์ กู หมายถงึ ฉนั , ข้าพเจ้า

บรรทดั ที่ ๙ มาสเมืองแพ้ขุนสามชนพ่ายหนี พ่อกจู ึ่งขน้ึ ชื่อกู คาศัพท์ มาส (เขมร) หมายถงึ ทอง แพ้ หมายถึง ชนะ พ่าย หมายถึง แพ้

วรรณกรรมคัดสรรในหนังสอื เรียน ม.๒ ๔๔

บรรทัดท่ี ๑๐ ช่ือรามคาแหง เพ่ือกูพุง่ ขนุ สามชน เมอื่

คาศัพท์ เพ่ือกู หมายถึง เพราะกู

แปลความบรรทัดที่ ๓-๑๐ เมื่อพ่อขุนรามคาแหงอายุได้สิบเก้าปี ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดได้ยกทัพ

มาตีเมืองตาก พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ไปออกรบกับขุนสามชน เม่ือทหารปีกซ้ายและปกี ขวาของขุนสามชนขี่ช้าง

จะขับมาชนช้างของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ไพร่พลต่างวิ่งหนีกันชุลมุน เพราะว่ากลัวแพ้ แต่พ่อขุนรามคาแหง

ไม่ได้หนี กลับข้ึนข่ีช้างแหวกไพร่พลออกไป แล้วเข้าพุ่งชนกับช้างมาสเมืองซึ่งเป็นช้างของขุนสามชน

แทนพ่อขนุ ศรีอินทราทิตย์ จนชา้ งมาสเมอื งแพ้ ขนุ สามชนก็ไดแ้ พแ้ ลว้ หนีเตลดิ ไป ด้วยเหตนุ ี้ทาให้ พอ่

ขนุ ศรีอนิ ทราทิตยส์ ถาปนาพ่อขนุ รามคาแหงเป็น พระรามคาแหง

บรรทดั ที่ ๑๑ เมอ่ื ช่ัวพ่อกูกบู าเรอแก่พอ่ กู กูบาเรอแกแ่ ม่กู กไู ด้ตวั

คาศัพท์ เม่ือชัว่ พอ่ กู หมายถึง รัชสมยั เม่ือพ่อขนุ ศรอี ินทราทิตย์

บาเรอ หมายถึง ปฏบิ ตั ิ

บรรทดั ท่ี ๑๒ ตัวเนื้อตัวปลา กเู อามาแกพ่ อ่ กู กูได้หมากส้มหมากหวาน

คาศัพท์ ตวั เนอ้ื ตวั ปลา หมายถึง สตั วบ์ กสัตวน์ ้า

หมากส้มหมากหวาน หมายถึง ผลไมเ้ ปรีย้ วผลไม้หวาน

บรรทดั ที่ ๑๓ อนั ใดกนิ อร่อยกนิ ดี กเู อามาแก่พอ่ กู กไู ปตี

คาศัพท์ กู หมายถงึ ฉัน , ข้าพเจ้า

บรรทัดที่ ๑๔ หนงั วังชา้ งไดก้ เู อามาแก่พ่อกู กูไปท่บา้ นท่เมอื ง

คาศัพท์ ตหี นังวงั ช้าง หมายถึง คล้องชา้ ง , จับช้าง

ท่ (เขมร) หมายถงึ ตี

บรรทดั ท่ี ๑๕ ได้ช้างได้งวง ได้ปว่ั ไดน้ าง ได้เงอื นไดท้ อง กูเอา

คาศัพท์ ได้ป่วั ได้นาง หมายถงึ ไดผ้ ชู้ าย ได้ผหู้ ญงิ ได้ผู้คน

เงอื น หมายถึง เงนิ

บรรทดั ท่ี ๑๖ มาเวนแกพ่ ่อกู พ่อกูตายยังพี่กู กูพรา่ บาเรอแก่พี่

คาศัพท์ เวน หมายถงึ ถวาย , มอบให้

พร่าบาเรอ หมายถึง ปรนนบิ ัติ , ปฏิบัติบอ่ ย ๆ

บรรทดั ที่ ๑๗ ด่งั บาเรอแกพ่ ่อกู พกี่ ตู ายจ่ึงได้เมอื งแก่กทู ั้ง

คาศัพท์ บาเรอ หมายถึง ปฏิบัติ

กู หมายถึง ฉัน , ขา้ พเจ้า

แปลความบรรทัดท่ี ๑๑-๑๗ พ่อขุนรามคาแหงคอยปรนนิบัติรับใช้พ่อขุนศรีอินทราทิตย์และ

นางเสืองอย่างจงรักภักดี เมื่อหาสัตว์บกสัตว์น้า ผลไม้ต่าง ๆ หรืออะไรที่อร่อยจะนามาถวายเสมอไปคลอ้ งชา้ ง

ได้ช้างมาก่ีเชือกก็จะนามาถวาย แม้ไปตีบ้านตีเมืองอื่นได้เชลยชายหญิง ได้เงินได้ทอง ก็นามาถวายแด่

พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ตลอด เมื่อพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ส้ินพระชนม์พ่อขุนบานเมืองครองราชย์ต่อ พ่อขุน

รามคาแหงกย็ ังคงปฏิบัตติ นเชน่ เดมิ ยังคงคอยปรนนบิ ตั ริ บั ใชพ้ ่อขุนบานเมืองดงั่ เช่นเคยทากบั พ่อ

ขุนศรอี นิ ทราทติ ย์

วรรณกรรมคดั สรรในหนังสอื เรียน ม.๒ ๔๕

บรรทัดท่ี ๑๘ กลม เม่ือชั่วพ่อขุนรามคาแหง เมืองสโุ ขทัยนี้ดี ในนา้ คาศัพท์ ทง้ั กลม หมายถึง ทงั้ หมด ทง้ั สน้ิ เม่ือชวั่ พ่อขุนรามคาแหง หมายถึง เมอ่ื รชั กาลพ่อขุนรามคาแหง แปลความบรรทัดท่ี ๑๘ เมื่อพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ส้ินพระชนม์พ่อขุนบานเมืองครองราชย์ต่อ

พ่อขุนรามคาแหงก็ยังคงปฏิบัติตนเช่นเดิม ยังคงคอยปรนนิบัติรับใช้พ่อขุนบานเมืองด่ังเช่นเคยทากั บ พอ่ ขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ เม่อื พอ่ ขุนบานเมืองสิ้นพระชนม์พ่อขนุ รามคาแหงจงึ ไดข้ ้นึ ครองราชย์

คุณค่าด้านเน้อื หาในแบบเรยี น

เนื้อหาศิลาจารึกหลักที่ ๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ในหนังสือ แบบเรียนวรรณคดีวิจักษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ของกระทรวงศึกษาธิการ เม่ืออ่านและพิจารณาวรรณกรรม เรื่องนี้จะเห็นว่ามีเนื้อศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านท่ี ๑ (บรรทัดท่ี ๑ – ๑๘) ดังนั้น คณะผู้จัดทาจึงได้วิเคราะห์ คณุ ค่าดา้ นเนือ้ หาตามหนงั สอื แบบเรยี นไวด้ งั น้ี

๑. คุณคา่ ทางด้านวรรณศิลป์ เน้ือหาที่ปรากฏในศิลาจารึกหลักท่ี ๑ มีลักษณะของเนื้อหา คือ รูปแบบการประพันธ์น้ันเป็นการแต่ง

แบบร้อยแก้ว เมื่ออ่านภายในตัวบทแล้วจะเห็นได้ว่าการประพันธ์มีการใช้เสียงท่ีมีการแบ่งวรรคตอนหรือ จังหวะไว้อย่างชัดเจน นอกจากนี้ยังมีการใช้เสียงสัมผัสแบบคาคล้องจอง การซ้าคาและการซ้อนคา ทาให้บทประพันธ์นั้นมีเน้ือหาท่ีเน้นคาหรือเน้นความเพ่ือให้ความหมายน้ันหนักแน่นมากย่ิงขึ้น อีกท้ังยัง ทาให้อ่านได้ง่ายและไพเราะมากยิ่งข้ึน นอกจากนี้เนื้อหาที่ปรากฏยังมีการใช้รูปแบบของคาที่เป็นคาโดด ซึ่งคาโดดเหล่านั้นเป็นคาไทยแท้ และยังมีการใช้รูปประโยคแบบประโยคความเดียว ไม่มีความซับซ้อน ทาใหส้ ามารถเขา้ ใจเนอ้ื หาได้ง่าย ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

๑.๑ ตัวอย่างการซ้าคา “...กไู ด้ตวั เนอื้ ตวั ปลา กูเอามาแกพ่ ่อกู กูไดห้ มากส้มหมากหวานอันใดกนิ อร่อยกนิ ดี กเู อามาแก่พ่อกู กู ไปตีหนังวังช้างได้ กุเอามาแก่พ่อกู กูไปท่บ้านท่เมืองได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือนได้ทอง กูเอามาเวนแก่ พอ่ กู...”

(ดา้ นที่ ๑ บรรทดั ๑๑ - ๑๖)

จะเหน็ ได้วา่ จากบทข้างตน้ จะมกี ารซา้ คาปรากฏในหลายจดุ เชน่ หมากส้มหมากหวาน มกี ารซา้ คาว่า “หมาก” ตวั เนอ้ื ตวั ปลา มกี ารซา้ คาวา่ “ตวั ” ไดเ้ งอื นไดท้ อง มกี ารซา้ คาว่า “ได”้ ๑.๒ ตวั อยา่ งคาคลอ้ งหรอื คาที่มีเสียงสัมผัสกัน “ไพร่ฟ้าหน้าใส” จากคาข้างต้น มีการสัมผัสเสียงสระหรือคล้องจองสระ คือ คาว่า “ฟ้า” กับคาว่า “หนา้ ” “ตีหนังวังช้าง” จากคาข้างต้น มีการสัมผัสเสียงสระหรือคล้องจองสระ คือ คาว่า “หนัง” กับคาว่า “วงั ” ๑.๓ ตวั อย่างคาโดดหรอื คาไทยแท้ เช่น คาวา่ เผื่อ โสง ผู้ อา้ ย เงอื น หมาก แพ้ ตู

วรรณกรรมคดั สรรในหนังสือเรียน ม.๒ ๔๖

๑.๔ ตัวอยา่ งประโยคความเดยี ว “...กไู ด้ตวั เนื้อตัวปลา กูเอามาแกพ่ ่อกู กูได้หมากสม้ หมากหวานอันใดกนิ อร่อยกนิ ดี กูเอามาแก่พอ่ กู กู ไปตีหนังวังช้างได้ กุเอามาแก่พ่อกู กูไปท่บ้านท่เมืองได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือนได้ทอง กูเอามาเวนแก่ พ่อกู...”

(ดา้ นที่ ๑ บรรทดั ๑๑ - ๑๖)

จากบทข้างต้นจะเห็นได้ว่า รูปแบบของประโยคน้ันเป็นประโยคท่ีมีคากริยาเดียว ประธานคนเดียว และมีความหมาย ความหมายเดียว นอกจากนรี้ ปู ประโยคนั้นกเ็ ป็นรูปประโยคส้ัน ๆ ไมม่ คี วามซบั ซอ้ น

๒. คุณคา่ ด้านสงั คม

ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง เป็นเอกสารโบราณประเภทจารึกช้ินสาคัญท่ีสุดของชาติชิ้นหน่ึงท่ีให้

ความรู้เก่ียวกับอารยธรรมความเจริญของไทยในสมัยสุโขทัย โดยเฉพาะความเจริญในด้านการรู้หนังสือ

ขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงาม เน่ืองด้วยพระพทุ ธศาสนาและการให้เสรีภาพแกป่ ระชาชน

ขอ้ ความในศิลาจารกึ หลกั ท่ี ๑ บง่ บอกถงึ วถิ ีชีวิตและแนวคดิ ทท่ี ันสมัยเปน็ สากลหลายประการ ดงั นี้

๑. ความยดึ ม่นั ในหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา เชน่ ความกตัญญูรู้คุณบดิ ามารดา พอ่ ขนุ รามคาแหง

มหาราชทรงจารึกไว้ในตอนแรกเก่ียวกับการปรนนิบัติพระราชบิดา พระราชมารดา และพระเชษฐา ดังตัวบท

ศิลาจารึกท่ีวา่

“...เมือ่ ชวั่ พอ่ กู กบู าเรอแกพ่ ่อกู กูบาเรอแกแ่ มก่ ู ...พ่อกูตายยงั พก่ี ู กูพร่าบาเรอแกพ่ ีก่ ู ดงั

บาเรอแกพ่ อ่ ก.ู ..”

๒. ความกลา้ หาญ คือ ในการต่อส้ขู องพ่อขุนรามคาแหงเม่ือตอนที่ได้ตดิ ตามบิดาชนช้างกับขุนสามชน

เจา้ เมอื งฉอด ขณะชนชา้ งบดิ าไดเ้ สยี ทเี มอ่ื พอ่ ขนุ รามคาแหงเหน็ ดังน้ันจึงเร่งชา้ งเข้าไปประชดิ และต่อสจู้ นชนะ

จากขอ้ ความทีว่ า่

“...กูบ่หนี กุขีช่ า้ งเบกพล กูขบั เขา้ กอ่ นพ่อกู กูตอ่ ช้างด้วยขุนสามชน ตนกพู ุ่งชา้ ง…”

๓. ความเสียสละ คือ พ่อขุนรามคาแหงออกมาทาศึกชนช้างยอมเสียสละเอาชีวิตมาเส่ียงอันตรายจน

ได้รบั ชยั ชนะ

“...กตู อ่ ช้างดว้ ยขนุ สามชน ตนกพู ุ่งช้าง…”

สรุปได้ว่าคุณค่าด้านสังคมของศิลาจารึกหลักที่ ๑ น้ันสะท้อนสภาพสังคมของชาวสุโขทัย ทาให้เกิด

ความภาคภูมิใจในบรรพบุรุษของไทยและเกียรติภูมิของประเทศเป็นอย่างมาก แสดงให้เห็นความสัมพันธ์

ระหวา่ งกษตั รยิ ์กับประชาชนได้ความรู้เรื่องการปกครอง ทาให้เห็นค่านิยมเกย่ี วกับการเป็นผู้นาของประเทศว่า

ผู้นาประเทศจะต้ององอาจกล้าหาญ รับผิดชอบ และเสียสละเพื่อประโยชน์สุขของคนในชาติ ทั้งนี้ยังแสดงให้

เห็นค่านิยมเกี่ยวกับความกตัญญูต่อบุพการีและญาติพ่ีน้อง เม่ือพระองค์ได้ส่ิงใดมาก็จะนามาถวายแด่พระราช

บิดา พระราชมารดา เม่ือพระราชบิดาสวรรคตก็ทรงดูแลพระเชษฐาตราบจนสิ้นรัชกาล พระองค์จึงได้ทรงขึ้น

ครองราชยต์ อ่ มา

๓. คุณค่าดา้ นประวตั ศิ าสตร์ ทาให้ทราบเกี่ยวกับพระราชประวัติพ่อขุนรามคาแหง ในทานองอัตชีวประวัติและเฉลิมพระเกียรติ

กล่าวถึงเหตุการณ์ตา่ ง ๆ และขนบธรรมเนียมประเพณีชาวสุโขทัย ศีลธรรมและวฒั นธรรม ภูมิสถานบ้านเมือง กล่าวถงึ อาณาเขตและความรุ่งเรอื งของอาณาจักรสุโขทัย อาชีพของชาวสุโขทยั คอื ศิลปะการชา่ ง งาน หัตถกรรม ในด้านเศรษฐกิจสะท้อนให้เห็นถึงการเกษตรกรรมอันสมบูรณ์และเสรีทางการค้า จากข้อว่าที่ว่า “ในน้ามีปลา ในนามีเข้า” “ใครจักใครค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า” การปกครองแบบพ่อปกครองลูก

วรรณกรรมคัดสรรในหนังสอื เรียน ม.๒ ๔๗

การปกครองแบบธรรมราชา จากคุณค่าด้านประวัติศาสตร์ (สิริวัฒน์ โพธิ์กระเจน,๒๕๕๙) กล่าวว่า ในด้านนิติศาสตร์ ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช แสดงความเห็นว่าศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงถือเป็นปฐมรัฐธรรมนญู ของไทย เทียบได้กับเอกสารแมคนา คาร์ตา ซึ่งประเทศอังกฤษถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศ เพราะมีการกาหนดสิทธิเสรีภาพของประชาชนและการรักษาสิทธิมนุษยชน เช่นมี การคุ้มครองเชลยศึก มขี อ้ ความเป็นกฎหมายของบ้านเมือง เช่น กฎหมายพจิ ารณาคดี กฎหมายการรับมรดก กฎหมายการปกครอง หวั เมืองขนึ้

ขอ้ คดิ ทไี่ ดจ้ ากเรือ่ ง

๑. การเปน็ ลูกท่ดี ตี อ้ งมคี วามกตัญญูตอ่ บพุ การี ดงั จะเห็นไดจ้ ากตวั อย่างดงั นี้ “...กไู ด้ตวั เน้ือตัวปลา กเู อามาแกพ่ ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวานอันใดกินอร่อยกนิ ดี กูเอามาแกพ่ อ่ กู กู ไปตีหนังวังช้างได้ กุเอามาแก่พ่อกู กูไปท่บ้านท่เมืองได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือนได้ทอง กูเอามาเวนแก่ พอ่ ก.ู ..”

(ดา้ นท่ี ๑ บรรทดั ๑๑ - ๑๖)

๒. พี่นอ้ งควรใหเ้ กียรติซึ่งกันและกัน มคี วามรกั ใคร่สามัคคีปรองดองกนั ทส่ี าคญั นอ้ งต้องให้ความ เคารพพี่ ดังจะเห็นไดจ้ ากตัวอยา่ งดังนี้

“...พ่อกตู ายยังพกี่ ู กพู รา่ บาเรอแกพ่ ี่กูดั่งบาเรอแก่พ่อกู พี่กูตายจ่งึ ได้เมืองแก่กทู ง้ั กลม...”

(ดา้ นท่ี ๑ บรรทัด ๑๖ - ๑๗)

๓. การท่ีจะเป็นผู้นาที่ยิ่งใหญ่ต้องมีความกล้าหาญกล้าตัดสินใจปกป้องบ้านเมืองให้สงบสุข หากผู้นาเข้มแข็งและกล้าหาญบ้านเมืองก็อยู่รอดปลอดภัยและประชาชนก็ดารงชีวิตอย่างมีความสุข ดังจะเห็นไดจ้ ากตัวอย่างดังน้ี

“...เมอ่ื กขู ้นึ ใหญ่ได้สิบเกา้ เขา้ ขุนสามชนเจ้าเมอื งฉอดมาท่เมอื งตาก พ่อกูไปรบขนุ สามชน หวั ซา้ ย ขุนสามชนขับมา หัวขวาขนุ สามชนเกลอื่ นเขา้ ไพร่ฟ้าหนา้ ใสพ่อกูหนีญญ่ายพายจแจน้ กูบ่หนี กูขชี่ า้ งเบกพล

กขู ับเข้าก่อนพ่อกู กตู ่อชา้ งด้วยขุนสามชน ตนกพู ุ่งชา้ งขนุ สามชนตวั ชือ่ มาสเมืองแพ้ ขุนสามชนพา่ ยหนี...”