หน งส อค ม อเตร ยมสอบเข า ม.1 gifted สพฐ

คู่มอื นกั เรยี นและผูป้ กครอง โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษาพัฒนาการสวุ รรณภูมิ สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร หน้า ก

คำนำ หนังสือคู่มือนักเรียน ผู้ปกครอง และครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ จัดทำขึ้นเพ่ือเป็นสื่อกลาง ในการสร้างความเข้าใจ ชแ้ี จง ทำความตกลงกบั นกั เรยี นและผ้ปู กครองทีน่ ำบตุ รหลานเขา้ มาศกึ ษาในโรงเรียนน้ี ปจั จบุ ันการสร้างชีวติ อยูใ่ นสงั คมโรงเรยี นถอื วา่ เปน็ การฝึกให้นักเรยี นมีประสบการณ์ได้ฝึกทักษะสร้างประสบการณแ์ ละ ฝึกให้รู้จักคิดเปน็ ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น โดยฝึกให้อยู่ในกรอบระเบียบของสังคมน้ันๆ ถ้านักเรียนสามารถปฏิบตั ิตามระเบียบได้ นกั เรยี นจะมีชวี ติ ทม่ี คี วามสขุ ดำรงตนอยใู่ นสงั คมไดต้ ลอดไป หนงั สือคมู่ ือนกั เรียน ผู้ปกครอง และครโู รงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการสวุ รรณภูมเิ ป็นเสมอื นแนวทางแหง่ ขอ้ ตกลง และแนวทางในการปฏิบัติตนของนักเรียน ผู้ปกครอง ตลอดจนครูในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิท่ีจะต้อง ปฏบิ ัติไปในทิศทางเดียวกันในสว่ นของนกั เรยี นจะไดท้ ราบแนวทางการประพฤติไปในทศิ ทางเดยี วกนั การปฏิบตั ติ นใหม้ ีความสุข ในส่วนของผู้ปกครองท่านจะได้รับทราบประวัติความเป็นมาของโรงเรียนรวมไปถึงแนวทางในการทำงานของโรงเรียนแตล่ ะฝ่าย หากผู้ปกครองมีความประสงค์จะติดต่อประสานงานสามารถทำความเข้าใจในคู่มือน้ีเพื่อเป็นแนวทางในการให้ความสะดวก ในเบอ้ื งต้นได้เปน็ อยา่ งดี สุดท้ายน้ี โรงเรียนขอขอบพระคุณ ผู้ปกครองที่ให้ความไว้วางใจนำบุตรหลานเข้ามาศึกษา ในสถานศึกษาแห่งนี้ และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือคู่มือนักเรียนผู้ปกครอง และครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิจะเป็นประโยชน์ อย่างสูงสดุ กับทกุ ฝ่ายสืบไป โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภมู ิ หน้า ข

สารบญั ทมี่ าของสัญลักษณ์พระเกีย้ ว.........................................................................................................................................................1 เพลงประจำโรงเรยี น.....................................................................................................................................................................2 ประวตั ิโรงเรยี น…………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………3 ผู้มีอปุ การะคณุ ตอ่ โรงเรยี น………………………………………………………………………………………………………………………………………….6 ทำเนียบผบู้ รหิ าร…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……7 แผนภูมิโครงสร้างการบรหิ าร……………………………………………………………………………………………………………………………………….8 ขอ้ มูลโรงเรียน……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………9 ผู้บรหิ ารโรงเรียน………………………………………………………………………………………………………………….………………..…………………12 กล่มุ บริหารงานบุคคล…………………………………………………………………………………………………….…………………………….………….13 บุคลากรกลุ่มสาระการเรยี นร…ู้ ………………………………………………………………………………….……………………………………………….14 งานความปลอดภยั และงานจราจร………………………………………………………………………………….…..………………………………………23 กลุม่ บริหารงานวิชาการ………………………………………………………………………………………………………………………………………..….24 หลักสูตรท่เี ปิดสอน……………………………………………………………………………………………………………………………………………………25 การวัดและการประเมนิ ผล…………………………………………………………………………………………………………………………………….…..31 กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน………………………………………………………………………………………………………………………………………..………42 กำหนดเกณฑ์การผ่านกจิ กรรมโครงงาน………………………………………………………………………………………………………………………46 ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าดว้ ยการปฏิบัติ พ. ศ. 2548…………………………………………………………………………………………49 ข้อปฏบิ ตั ใิ นการขอหลกั ฐานตา่ งๆท่หี อ้ งทะเบียน………………………………………………………………………………………….……………..52 กลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ…………………………………………………………………………………………………………………………………..…55 หลกั เกณฑ์การเกบ็ เงนิ บำรุงการศึกษา……………………………………………………………………………………………………….………….…….56 สรปุ แนวทางการดำเนนิ งานโครงงานสนบั สนุนคา่ ใชจ้ ่าย………………………………………………………………………………………………..59 งานยานพาหนะ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..๖๐ กลมุ่ บรหิ ารงานทว่ั ไป……………………………………………………………………………………………………………………………………………….61 ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าดว้ ยการลงโทษนักเรียนและนกั ศกึ ษาพ.ศ 2548…………………………………………………..………..63 ระเบยี บโรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ……………………………………………………………………………………………..…65 เครอ่ื งแบบนักเรยี น……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…..66 คำสัญญาของนักเรยี น……………………………………………………………………………………………………………………………………………….86 กลมุ่ งานบริการ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……87 การพฒั นาอาคารสถานทแี่ ละส่ิงแวดลอ้ ม…………………………………………………………………………………………………….………………88 งานอนามยั โรงเรียน……………………………………………………………………………………………………………………………………...…………..92 งานโภชนาการ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….93 งานประชาสัมพนั ธ์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..9๔ หน้า ค

ตราพระเกย้ี ว เครื่องหมายประจำโรงเรียน ประวตั คิ วามเปน็ มาของสญั ลกั ษณพ์ ระเก้ยี ว พระเกี้ยวเป็นศิราภรณ์ประดับพระเกศาหรือพระเศียรของพระราชโอรสพระราชธิดาของ พระมหากษัตริย์ คำว่า เกี้ยว ถ้าเป็นคำนามแปลว่า เครื่องประดับศีรษะหรือเครื่องสวมจุก ถ้าเป็นคำกริยา แปลว่า ผูกรัดหรือพัน พระเกี้ยวเปน็ สัญลักษณ์ ที่ชาวจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัยภูมิใจ ทั้งนี้สืบเน่ืองจาก ชื่อของ มหาวิทยาลัยได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ ในสมเด็จพระปิยมหาราช ซึ่งได้พระราชทานกำเนิดมหาวิทยาลัยนี้ จุฬาลงกรณ์ แปลว่าเครื่องประดับศีรษะ หรือจุลมงกุฎจุลมงกุฎมีความหมายสำคัญยิ่งคือ เกี่ยวโยงถึงพระนามาภิไธยเดิมของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว คือ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามงกุฎฯ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ จึงมีความหมายว่า จุลมงกุฎ หรือพระราชโอรสของสมเด็จฯเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ยิ่งกว่านั้นยังมีความเกี่ยวกัน ถงึ พระปรมาภิไธย ในพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ซง่ึ หมายความว่า “พระจอมเกลา้ นอ้ ย” พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กำหนดให้พระเกี้ยว เป็นพิจิตรเรขา(สัญลักษณ์) ประจำรัชกาลของพระองค์ เมื่อตั้งสำนักฝึกหัดขา้ ราชการพลเรอื น หรือต่อมาได้รับ พระราชทานชื่อโรงเรียนเป็นโรงเรียนมหาดเล็ก จึงโปรดเกล้าพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญ พระเกีย้ วเปน็ เคร่อื งหมายหนา้ หมวกของนักเรยี นมหาดเล็ก ต่อมาเมื่อโรงเรียนมหาดเล็กกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ตามที่กราบบงั คมทูล ขอพระราชทาน เมื่อโรงเรียนมหาดเล็กได้วิวัฒน์ขึ้นเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ และจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ผู้บริหารก็ได้กราบบังคมทูล ขอพระบรมราชานุญาต เปลี่ยนข้อความใต้พระเกี้ยวตามชื่อ ซ่งึ ไดพ้ ระราชทานใหมต่ ลอดมา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้ใช้ตรา พระเกีย้ วเปน็ เครอ่ื งหมายประจำโรงเรียน ตามหนงั สือสำนกั ราชเลขาธิการ โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสวุ รรณภมู ิ 1

เพลงประจำโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษำพฒั นำกำร มำร์ชเตรยี มอดุ มศึกษำพฒั นำกำร คำร้อง ทำนอง อ.อร่าม ขาวสะอาด ธงพระเกี้ยวชมพู พริ้วดงู ามสง่า เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ *สถาบนั การศึกษาเยาวชน พวกเราเรมิ่ ตน้ ดว้ ยการรกั เรียน รวมกนั มั่นคงในความพากเพียร ผลลพั ธ์หมนุ เวียนกลบั มาถึงตน เพ่ือสงั คม เพอ่ื ชาตไิ ทย สามคั คีมไี ว้ ผลดยี ิ่งใหญเ่ ลิศล้น ชมพโู บกสะบดั พระเกี้ยวเด่นชดั ทกุ ๆ คน สถาบันเรม่ิ ต้นเด่นด…ี (ซำ้ *) (พรอ้ มกัน)...พระเก้ียวชมพู คู่เตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการ **ด่งั สาย โลหติ เดียว ยึดเหน่ียวดว้ ยพระเกยี้ วชมพสู ดสี ผูกมิตร ไมตรี ศักด์ิศรีน้องพ่ีสมคั รสมาน เราตอ้ ง มองไกลเพือ่ ไทยในอนาคตกาล เตรยี มอดุ มศึกษาพฒั นาการ ใหเ้ จริญสขุ ศานต์ตลอดไป….(ซ้ำ**) 2 ค่มู อื นกั เรียน ผปู้ กครอง ๒๕๖๔

ประวัตโิ รงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภูมิ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ ได้รับการประกาศจัดตั้งจากสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒ โดยนายสุรศักดิ์ ศรีสว่างรัตน์ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๒ ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานและ กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๔ ใช้อักษรย่อ “ต.อ.พ.ภ.” เป็นโรงเรียนในเครือ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการลำดับที่ ๙ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ ๙) เจริญพระชนมายุครบ ๘๔ พรรษา สถานที่จัดตั้งโรงเรียนมีเนื้อที่จำนวน ๑๙ ไร่ โฉนดที่ดิน เลขที่ ๒๗๗๗๗ ตั้งอยู่ซอยร่มเกล้า ๑๗ ถนนร่มเกล้า แขวงคลองสามประเวศ เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร จากการบริจาคที่ดินของ นายอภิสิทธิ์ งามอัจฉริยะกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัทเคซีพร็อพเพอร์ตี้จำกัด (มหาชน) และครอบครัว ประกอบด้วย นายพงศ์ภพ งามอัจฉริยะกุล นายชาย งามอัจฉริยะกุล และ นางสาวขวัญจิตร์ อุดมสุขนิรันดร ซึ่งได้รับการประสานขอรับบริจาคที่ดินโดยนาย สมพงษ์ พลสงู เนนิ ซง่ึ ในปี ๒๕๕๑ ก่อนท่ีจะบริจาคทด่ี นิ ดังกล่าว นายอภิสิทธ์ิ งามอจั ฉรยิ ะกลุ ได้แสดงเจตนา บริจาคท่ีดนิ จำนวน ๑๑ ไร่ เพื่อก่อตัง้ โรงเรยี นแต่ไม่ผ่านความเหน็ ชอบของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศกึ ษา กรงุ เทพมหานครเขต ๒ ในสมยั นั้น ปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ คุณหญิงสุชาดา ถิรวัฒน์ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการได้สอบถามความคืบหน้าของการบริจาคที่ดินแปลงเดิมที่ไม่ผ่าน ความเห็นชอบ จึงประสานกับนายอุดม พรมพันธ์ใจ ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ และนายสมพงษ์ พลสูงเนิน อดีตผู้อำนวยการโรงเรียนนวมินทราชินูทิศเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า เพ่ือ ขอรับบริจาคที่ดินแปลงใหม่ก่อตั้ งเป็นโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ นายอภิสิทธิ์ งามอัจฉริยะกุล ได้แสดงเจตนาบริจาคที่ดินจำนวน ๑๕ ไร่ แต่ก็ไม่ผ่านความเห็นชอบเนื่องจาก ที่ดินดังกล่าวไม่ครบตามเกณฑ์การจัดตั้งโรงเรียน นายปรีชา จิตรสิงห์ ผู้อำนวยการ สำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒ จึงมอบหมายให้นายวีรพงศ์ เดชบุญ รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒ ประสานขอที่ดินเพิ่มอีก ๑ ไร่รวมเป็น ๑๖ ไร่ จากนั้นนายอุดม พรมพันธ์ ใจ ได้มอบหมายให้นายสุรเดช กาญจนประเสริฐ รองผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการและ นายธรรมรงค์ ฤทธิโชติ ข้าราชการครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ประสานกับนายสมพงษ์ พลสูง เนนิ เพอื่ ขอรบั บรจิ าคที่ดินเพมิ่ จากนายอภิสทิ ธ์ิ งามอัจฉรยิ ะกุลและครอบครัวอกี ๓ ไร่ รวมเป็น ๑๙ ไร่ เพื่อ กอ่ ตั้งโรงเรยี นจงึ เป็นจดุ เรม่ิ ตน้ ของการกอ่ สรา้ งโรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษาพัฒนาการสวุ รรณภูมิ โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสุวรรณภมู ิ 3

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิได้รับการจัดสรรงบประมาณในการก่อสร้างเป็นเงิน ๗๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท ผูกพันปีงบประมาณ ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ เพื่อก่อสรา้ งอาคารเรียนแบบพิเศษ ๕ ชั้น ตั้งอยู่ท่ี ซอยร่มเกล้า ๑๗ ถนนร่มเกล้า แขวงคลองสามประเวศ เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร และ ได้รับ งบประมาณผูกพันในปีต่อไปจนเสร็จสมบูรณ์ในปีการศึกษา ๒๕๖๐ ตามกรอบงบประมาณเดิม ๒๕๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท ปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิประกาศรับนักเรียนเป็นปีแรก ตามแผนการรับนักเรียน โดยเปิดการเรียนการสอน ๕ ห้องเรียน มีจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น ๒๓๓ คน และครู ๖ คน โดยโรงเรียนได้ขอใช้พื้นที่ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการเป็นที่ตั้งชั่วคราว และใช้ อาคารเรียน สามทศวรรษ ต.อ.พ. เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา เป็นสถานที่เรียนในปีแรกและอาคารเรียนช้ัน ล่างอาคาร ๑๒ อาคาร ๑๓ อาคารช่วั คราวตึก ๑๖ และอาคารชัว่ คราวตึก ๑๗ ในปตี ่อมา วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒ ได้แต่งตั้งให้ นายอุดม พรมพันธ์ใจ ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการรักษาราชการตำแหน่งผู้อำนวยการ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิเพื่อให้เกิดความเรียบร้อยและเกิดประโยชน์ต่อทางราชการ ระหว่างรอการกำหนดตำแหน่งผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น วันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๔ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒ ได้แต่งต้ัง นายสุรเดช กาญจนประเสริฐ รองผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการ โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษาพฒั นาการสุวรรณภูมิ วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕ นายสมพร สังวาระ ไดร้ ับคำสัง่ ให้มาดำรงตำแหน่งผอู้ ำนวยการโรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ เป็นผู้ผลักดันให้โรงเรียนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทั้งในเรื่องการ กอ่ สร้าง การประเมนิ ภายนอกและคณุ ภาพดา้ นการจดั การศกึ ษา วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ นายศุภกฤต ดิษฐสุวรรณ ได้รับคำสั่งให้มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภมู ิและได้มาปฏิบัติหน้าท่ใี นวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๗ โดยไดเ้ ข้ามา ดูแลความคืบหน้าในการก่อสร้างจนเฟส A แล้วเสร็จในวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๙ และเฟส B แล้วเสร็จในวันท่ี ๖ มีนาคม ๒๕๖๐ ทำให้โรงเรยี นมีความพรอ้ มในการยา้ ยมาที่ตงั้ ใหม่ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ในวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิได้เริ่มการเรียน การสอนในที่ตั้งใหม่เป็นวันแรกโดยในปีการศึกษา ๒๕๖๐ เปิดทำการเรียนการสอนทั้งหมด ๔ หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรทั่วไป หลักสูตรห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ หลักสูตรทวิศึกษา โดยในปัจจุบัน มีนักเรียนทั้งส้ิน ๒,๐๕๕ คน มีครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งส้ิน ๑๑๒ คน 4 ค่มู อื นกั เรียน ผูป้ กครอง ๒๕๖๔

ผนทตี่ ัง้ โรงเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ เลขท่ี อยรม่ เกล้า นนร่มเกล้า ขวงคลองสาม ประเวศ เขตลาดกระ งั กรุงเทพมหานคร ๕ โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการสุวรรณภมู ิ 5 5

ผูม้ อี ุปการคณุ ต่อโรงเรยี น นายอภสิ ิทธ์ิ งามอัจฉรยิ ะกุล ผู้มอ ท่ีดนิ ใหส้ ร้างโรงเรยี น ละทปี่ รกึ ษาผทู้ รงคณุ วฒุ ิคณะกรรมการส านศกึ ษา นางสาวขวญั จติ ร์ อดุ มสขุ นริ ันดร ผมู้ อ ที่ดนิ ให้สรา้ งโรงเรยี น ละประธานคณะกรรมการส านศกึ ษา ๖6 ค่มู อื นกั เรยี น ผู้ปกครอง ๒๕๖๔ 6

ทำเนยี ผู้ ริหาร โรงเรยี นเตรียมอุดมศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภมู ิ ตง้ั ตป่ ีพทุ ธศักราช ๒๕๕๔ – ปัจจุ นั นายอุดม พรมพนั ธใ์ จ นายสรุ เดช กาญจนประเสรฐิ พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๑๘ เม.ย. ๒๕๕๔ ๑๑ เม.ย. ๒๕๕๔ – ๒๑ ก.ค. ๒๕๕๕ โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ 7 7

8 ค่มู อื นกั เรยี น ผ้ปู กครอง ๒๕๖๔

ขอ้ มลู โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ วิสยั ทศั น์ สถานศกึ ษาชั้นนำ เนน้ การวิจยั สร้างและพฒั นานวตั กรรม สกู่ ารพัฒนาทยี่ ่ังยนื ปรชั ญา ความเปน็ เลิศทางวิชาการ และคณุ ธรรม เอกลกั ษณ์ เรยี นดี ประพฤตดิ ี มีทักษะการวิจยั อตั ลกั ษณ์ เรียนดี มวี ินัย ใสใ่ จสง่ิ แวดล้อม พนั ธกจิ ๑. จัดการศึกษาทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน เทียบเทา่ กับโรงเรียนมาตรฐานสากล ๒. พัฒนาระบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อรองรับการกระจายอำนาจ เป็นสถานศึกษา นติ ิบุคคล ๓. ส่งเสริมให้ครูและนักเรียนรักการอ่าน การค้นคว้า และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย ๔. ส่งเสริมครูและนักเรียนในด้านคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ สืบทอด ศิลปวัฒนธรรมไทย มีวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย รักและเทิดทูนสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ๕. ส่งเสริมใหน้ กั เรยี นและครูมีสขุ ภาพกาย และสขุ ภาพจิตท่ีดี ๖. ส่งเสริมให้ครูและนักเรียนพัฒนาทักษะในด้านการใช้ภาษา และการใช้สื่อ เทคโนโลยี ดิจิทัล เพื่อการศึกษาค้นคว้า การวิจัย พัฒนาจากห้องปฏิบัติการและการลงมือปฏิ บัติจริง โดยครูและวทิ ยากรมอื อาชพี ๗. ส่งเสริมและสนบั สนนุ ครูและบุคลากรในการพัฒนาตนเองใหไ้ ด้มาตรฐานวชิ าชีพ เป็นทย่ี อมรบั ๘. พัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม ให้สะอาด ร่มรื่น สวยงาม น่าอยู่ ปลอดภัย เปน็ แหล่งเรยี นรทู้ ด่ี ี เกิดมลู ค่าเพ่มิ ทางเศรษฐกจิ ๙. สรา้ งและพฒั นาเครอื ข่ายความร่วมมอื กบั ชมุ ชน องคก์ รภาครฐั และเอกชน เพื่อระดมทรัพยากร และความรว่ มมือทางการศึกษา รวมทัง้ มุ่งใหบ้ รกิ ารแก่ชุมชน แวดวงวิชาการและวชิ าชีพ โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภมู ิ 9

เป้าประสงค์ ๑. ผ้เู รยี นเปน็ คนดี คนเก่ง และมีความสุขในการใช้ชวี ติ ๒. เพอื่ พัฒนาครูใหม้ คี วามเปน็ มอื อาชีพ และมคี วามกา้ วหน้าในวชิ าชพี ๓. เพอื่ พัฒนาสถานศกึ ษาใหม้ คี วามพร้อมในการรองรบั การกระจายอำนาจเป็นสถานศกึ ษานิติบุคคล ๔. ครูและนักเรียน มีทักษะในการใช้ภาษา และทักษะการใช้สื่อ เทคโนโลยี ดิจิทัล เพื่อการศึกษา คน้ คว้า วจิ ยั สามารถปรับตัวเทา่ ทนั การเปลีย่ นแปลงในโลกแหง่ อนาคต ๕. อาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อม มีความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม น่าอยู่ ปลอดภัย เป็นแหล่งเรียนรู้ ที่ดี เกดิ มลู คา่ เพมิ่ ทางเศรษฐกจิ และมมี าตรฐานตามนโยบายโรงเรียนมัธยมดีสี่มมุ เมือง ๖. โรงเรียนมีเครือข่ายความร่วมมือกบั ชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชน ที่เข้มแข็ง และพร้อมให้การ สนบั สนุนเพ่อื การพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ที่ ๑ ยกระดั คุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล ครูทุกคนใช้ภาษาและเทคโนโลยีเป็น เครื่องมือในการติดต่อสื่อสารและจัดการเรียนรู้ สร้างและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทางการศึกษา พัฒนาหลักสูตร พัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยีการจัดการเรียนการสอน ให้พร้อมรับการศึกษาค้นคว้าใน โลกอนาคต ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสุขภาพกาย สุขภาพจิต ครู ผู้เรียนอย่างรอบด้าน โดยเน้น การดำเนินงานตามมาตรฐานของโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดบั มาตรฐานคุณภาพแห่งชาติ (TQA) กลยุทธ์ที่ ๒ การขั เคลื่อนนโย ายการศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในโลก ห่งอนาคต พัฒนา ระบบฐานข้อมูลการศึกษา (BIG DATA) ของสถานศึกษา เพื่อรองรับการศึกษาวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ ส่งเสริม ให้ครูและนักเรียนรักการอ่าน การค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ และส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน พัฒนานวัตกรรม และการวิจัย จัดหา พัฒนาสื่อ เทคโนโลยี เครือข่าย การเรียนรู้ และพัฒนาครูให้มีทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล และ Artificial Intelligence (AI) ในการจดั การเรยี นรู้ทั้งในโลกปัจจบุ ันและอนาคต กลยุทธ์ท่ี ๓ เรง่ รดั พฒั นา อาคารส านท่ี สภาพ วดล้อม ใหม้ ีความสะอาด รม่ รน่ื สวยงาม น่าอยู่ ปลอดภัย เป็น หล่งเรียนรู้ที่ดี เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อให้ รรลุ เป้าหมายตามนโย ายโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง คิดค้น หาแนวทางในการสร้างและพัฒนานวัตกรรม การวิจัย เพื่อการบริหารจัดการให้การดำเนินงานตามโครงการโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง ให้สำเร็จ ตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยการสร้างและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ เร่งรัดพัฒนา โครงสร้างและสาธารณูปโภคพื้นฐาน อาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ ให้มีความปลอดภัย 10 ค่มู ือนกั เรียน ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

และเอื้อต่อการจัดการศึกษา พัฒนาครูและบุคลากรให้มีมาตรฐานการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการปฏิบัติตน ขนั้ สูง สามารถรองรับความต้องการของผเู้ รียนได้ กลยทุ ธ์ท่ี ๔ การเตรยี มการรองรั การเปน็ ส านศกึ ษานิติ คุ คล ศึกษา ยกรา่ ง จัดทำค่มู อื มาตรฐาน การบริหารและการปฏิบัติงาน รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษานิติบุคคลตามหลักธรรมาภิบาล ส่งเสริม ความเป็นอิสระและความคล่องตัวในการบริหารจัดการ การปฏิบัติงาน รองรับนโยบายการกระจายอำนาจ เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลในการปฏบิ ัตงิ าน กลยุทธ์ที่ ๕ ส่งเสริมให้ครู ละนักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นพลเมืองดีตามวิ ีประชาธิปไตย พร้อมร่วมสื สาน อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ส่งเสริมให้ครูและนักเรียน เป็นคนดีมีคุณธรรม จริยธรรม บริหาร จัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล ส่งเสริมความมีวิถีชีวิตประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เคารพในระเบียบ กฎหมาย สิทธิหนา้ ท่ี ความเป็นพลเมอื งดขี องชาติ ส่งเสริมการใช้ภาษาไทยและมารยาทไทย ให้ถูกตอ้ ง พร้อมรว่ มสืบสาน และอนุรกั ษ์ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณอี นั ดงี ามของชาตไิ ทย กลยุทธ์ที่ ๖ มีการนำ นวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาผสมผสานรูป ในการพัฒนา สร้างและออกแบบนวัตกรรมการพัฒนาโดยเน้นการพึ่งพาตนเองและการมีส่วนร่วม ให้ครูและนักเรียน ได้ฝึกทักษะการปฏิบัติ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง เพื่อการพัฒนาเป็นสถานศึกษาต้นแบบ ตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งอยา่ งย่ังยืน โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสุวรรณภมู ิ 11

ผู้ ริหารโรงเรยี น นายศภุ กฤต ดิษฐสุวรรณ ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ นางสาวเกตกุ าญจน บัวนาค นางสาวศริ พิ ร ศกั ดิศ์ รีกรม นางสาวธัญพร บญุ สภุ า วา่ ท่ี ร.ต.หญงิ ดร.คณติ า ขนั ธชัย รองผู้อำนวยการ รองผอู้ ำนวยการ รองอำนวยการ รองผ้อู ำนวยการ กลุ่มบรหิ ารวิชาการ กลุ่มบรหิ ารทวั่ ไป กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล 12 คู่มือนกั เรยี น ผ้ปู กครอง ๒๕๖๔ 12

กลมุ่ รหิ ารงาน ุคคล นางสาวธญั พร บญุ สภุ า รองอำนวยการกล่มุ บรหิ ารงานบุคคล โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภมู ิ 13

ครูกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย นางสาว พรวพรรณ วิฆเนศ นางนริ บุ ล นาทอง นางสาวกนกพร จนั ทรน์ ้อย นางสาวอติอร ตญั กาญจน์ หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ นางวรญั ญา รตั นวงศ์ นางสินีนาถ มุ่งก่อกลาง นางสาวอารยา กนั ดวู งศ์ นางสาวนันทนา ฤาชา นางสาวสาวพิ กั ต์ นวสมิ ยั นาม นางสาวจุฑาทพิ ย์ จพู งเศรษฐ นางสุดาพร มะลชิ ู นางสาวศิรประภา แสนศิริ นางสาวณัฐรกิ า ชัยหา 14 ค่มู ือนกั เรียน ผปู้ กครอง ๒๕๖๔ 14

ครกู ลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี นางสาววันวสิ าข์ ภูมิภู นางสาวชนกชนน์ วิภูษิตวรกลุ นายชวลิต มะสำอินทร์ นายพิศษิ ฐ์ บุญประเสรฐิ ศกั ดา หัวหนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ หัวหน้าโครงการห้องเรียนพเิ ศษ GIFTED นายสง่ เสริม สุทัศนะพานนท์ นางสาวชมพนู ทุ บรรณกจิ นายภธู เรศน์ พรประสทิ ธ์ิ นางสาวจริ ฐั นนั ทพฤทธ์ิ นายสทิ ธพิ นั ธ์ุ โสมเกษตรนิ ทร์ นางสาวอารีรัตน์ ศรษี ะพรม นางสาววรี ภรณ์ แกว้ ชู นายอานนท์ ปานะจำนงค์ นางอาภรณ์ นุ่นโต นางสาวอมรรัตน์ เหลืองชมพู นางสาวสุขมุ าล สขุ มุ านนั ท์ นายธีรนนท์ ออประยูร โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสวุ รรณภมู ิ 15 15

ครกู ล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ละเทคโนโลยี วา่ ทรี่ ้อยตรวี ลั ลภ ดิษฐสวุ รรณ นางสาวโชตกิ า จนั ทรบ์ ุญ นางสาวจิราพร ฟองดี นายถนอมชัย ฉมิ วงษ์ นางสาวณัฐณชิ า แซเ่ ลา นางสาวธีรศิ รา แสงมง่ั 16 ค่มู ือนกั เรียน ผูป้ กครอง ๒๕๖๔ 16

นางณัฐณชิ า แก้วสาคร นางกญั จนณ์ ฏั ฐ์ ศรีสละ นางสาวอุทยั วรรณ นุ่นดำ นางสาวปิยาภรณ์ สมวิชา หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ นางสาวลลษิ า บรรดาศกั ดิ์ นางธัญพมิ ล วสยางกูร นายศภุ กร อคั รกมลาภากุล นางสาวนชั ชา นันทวชิ ิต นายศุภกร เลิศอทุ ยั นายจตรุ ภัทร์ นิธิรักษ์ นางสาวกนิษฐา มสี ารพันธ์ นายเสฏฐวฒุ ิ ใบดำรงศักด์ิ นางสาวขวญั ใจ โฉมจงั หรดี นายสุชานนั ท์ หวังผล นายกมล เหมือนเพิก นางสาวชฎารัตน์ ภสู่ นั ติ โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ 17 17

18 ค่มู ือนกั เรยี น ผ้ปู กครอง ๒๕๖๔ 18

วา่ ท่รี ้อยตรธี ันย์ สุวรรณ นางณัฐนนั ท์ นุประพันธ์ นางศิริพร เตชะธนอทิ ธิกุล นางสาวจนิ ตนา อุทธบรู ณ์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ นางสาวประภัสสร แจ่มจำรัส นางสาวอาภสั รา ชยั ดนิ ี นางธัญพร จอมกลาง นายนราทร สวุ รรณ นายวาโย ขนุ ราช นายบุญส่ง โตบารมกี ลุ นางสาววิสสตุ า เมฆจรสั แสง นางสาวฤทยั สหี ะวงษ์ นางสาวศุภลักษณ์ จรสั กาย โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสุวรรณภมู ิ 19 19

ครูกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ นางสาวกระแต รุ่งเรือง นายพชั รวิช แสงวัชรสนุ ทร นายธีรพงษ์ สดใส นางสาวศิวภรณ์ วงศเ์ พชร หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ หวั หนา้ โครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษ หัวหน้าโครงการห้องเรียนพเิ ศษ EP ม.ต้น EP ม.ปลาย นายเทพนม พงษพ์ ฒั น์ นางสาวพจณยี ์ ทีร่ กั ษ์ นางสาวปาณิศา อนุศริ ิ นางสาวณัฐญา มกุ อาสา นางสาวกัญญาณฐั บุญจรลั นางสาวทพิ ย์สดุ า ธรรมสวาสดิ์ นางสาวศศปิ ระภา ศิรสิ ำราญ นายกติ ติธัช ชา่ งประดบั นางสาววชิ ชุดา เนอื้ ไม้ นางสาวณฎั ฐา นรฮีม นางสาวจุฑารัตน์ สินสวสั ดิ์ 20 คู่มอื นกั เรียน ผปู้ กครอง ๒๕๖๔ 20

ครกู ล่มุ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษา ละพลศกึ ษา นางสาวจนั ทร์ทพิ ย์ พันสวัสดิ์ นายสุเมต โพธ์คิ ง นายกฤตเิ ดช สมี ารัตน์ ว่าทรี่ ้อยตรีกฤษฎา ยศปญั ญา หัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ นายยทุ ธนา จนั ทรเ์ พญ็ นายรชพล เจริญผล นายวเิ ศษ เพศหงษ์ โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสุวรรณภมู ิ 21 21

กิจกรรม นะ นว นางสาวธติ ิกาญจน์ ศรตี ระกลู สมบัติ นางสาวมณีรตั น์ พวงสมุ าลี นายสยมภู สิงห์โต หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ นางสาวนันทวัน ตอบงาม นายเฉลิมพันธ์ กองเพชร นางสาวพรรษชล ศริ พิ ันธ์ นายวาทติ ชาติไทย หวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้ นายสรวศิ ประสงค์สขุ นายชนิ กฤต ศรีสขุ นางสาวพรรณนรี เทยี นกระจา่ ง นางสาวสุจริ า โทนเดี่ยว 22 คู่มอื นกั เรยี น ผ้ปู กครอง ๒๕๖๔ 22

งานความปลอดภัย ละงานจราจร นวทางการปฏิ ัติในการรั – สง่ นักเรยี น 1. ช่วงเชา้ ผูป้ กครองมาส่งนกั เรยี นทางประตูหนา้ กอ่ นเวลา 07.45 น. ช่วงเย็น ผปู้ กครองนัดหมายกบั นักเรียนให้เรยี บร้อย และสามารถมารบั นักเรยี นไดห้ ลังเวลา 15.00 หรอื หลงั นกั เรยี นเรยี บจบคาบสดุ ทา้ ยตามตารางเรียน 2. ผูป้ กครองวนรถตามจุดวนรถ และ จอดรบั – สง่ นกั เรียน ตามจดุ ทโ่ี รงเรยี นกำหนดเทา่ นั้น 3. ขอให้ผปู้ กครองใหค้ วามรว่ มมือกบั ครเู วร และ เจา้ หนา้ ทรี่ กั ษาความปลอดภยั ของโรงเรียนทม่ี าอำนวยการ จราจรอยา่ งเคร่งครัด เพื่อความปลอดภัยในการจราจรของทุกๆท่าน โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสุวรรณภูมิ 23

กล่มุ ริหารวชิ าการ นางสาวเกตุกาญจน บัวนาค รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ 24 คู่มอื นกั เรยี น ผ้ปู กครอง ๒๕๖๔

หลักสูตรที่เปดิ สอน โครงสร้างหลกั สูตรโรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภมู ิ ระดั มัธยมศึกษาตอนตน้ ชัน้ ม.1 ปีการศกึ ษา 2564 โครงสรา้ งที่ 1 หลกั สูตรโครงการหอ้ งเรียนพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ ละคณติ ศาสตร์ (Gifted วทิ ย-์ คณิต) เป็นหลักสูตรมุ่งพัฒนาผู้เรียนในทุก ๆ ด้าน และเน้นทางด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์เป็นพิเศษ คุณสมบัติของผู้เรียนควรเป็นผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ทั้งทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ตลอดจนมีเจตคติ ที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และยินดีเข้าร่วมกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยมุ่งเน้นความสนใจด้านกระบวนการคิดทางวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ และจะได้รับการปลูกฝังและ แรงบันดาลใจในการเรียนด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ขั้นสูงจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัย ชื่อดัง ประกอบกับการได้ลงมือปฏิบัติจริงในห้องทดลองที่มีความพร้อมทั้งเครื่องมือและบุคลากร ซงึ่ ในปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นเปดิ โครงสร้างจำนวน 1 หอ้ งเรียน โครงสรา้ งที่ 2 หลกั สูตรโครงการห้องเรยี นพเิ ศษภาษาอังกฤษ (English Program: EP) เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะทางด้านภาษาอังกฤษอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เน้นการใชภ้ าษาองั กฤษเป็นสื่อกลางในการจดั การ เรียนการสอน โดยมีครูชาวต่างชาติสอน ใน 7 รายวิชา ได้แก่ รายวิชาพื้นฐาน 5 รายวิชา คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา สุขศึกษา ภาษาอังกฤษ และรายวิชาเพิ่มเติม 6 รายวิชา คือ รายวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการอ่านและการเขียน รายวิชากลยุทธ์การอ่านและเขียน รายวิชาการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ 1-2 และรายวิชาการพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อการฟัง 1-2 ซึ่งในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนเปิดโครงสร้างจำนวน 2 หอ้ งเรยี น โครงสรา้ งที่ 3 หลกั สตู รหอ้ งเรยี นปกติ (Regular Program) เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการตามศักยภาพให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพตามความถนัดและความสนใจของ ผู้เรยี น จำนวน 7 หอ้ งเรียน โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ 25

โครงสร้างที่ 4 หลักสูตรโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ วิจัย ละเทคโนโลยี (Gifted วิจัย ละ เทคโนโลยี) เป็นหลักสูตรมุ่งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์ ทักษะการวิจัย สร้าง พัฒนาและใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์และเป็นระบบ และสามารถนำไปปรับใช้กับครอบครัว สังคม ประเทศชาติ และสังคมโลกอย่างมีความสุข และมีคุณธรรม และจะได้รับการปลูกฝังและแรงบันดาลใจ ในการเรียนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีขั้นสูงจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัย ชื่อดัง ประกอบกับการได้ลงมือปฏิบัติจริงในห้องทดลองที่มีความพร้อมทั้งเครื่องมือและบุคลากร ซึ่งในปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นเปิดโครงสร้างจำนวน 1 หอ้ งเรยี น ในระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น 26 ค่มู ือนกั เรยี น ผ้ปู กครอง ๒๕๖๔

โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ ระดั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ชนั้ ม.4 ปกี ารศึกษา 2564 โครงสรา้ งที่ 1 หลักสูตรโครงการหอ้ งเรียนพิเศษวทิ ยาศาสตร์ ละคณติ ศาสตร์ (Gifted) เป็นหลักสูตรมุ่งพัฒนาผู้เรียนในทุก ๆ ด้าน และเน้นทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เป็นพิเศษ คุณสมบัติของผู้เรียนควรเป็นผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ทั้งทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ตลอดจนมีเจตคติ ที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และยินดีเข้าร่วมกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ซง่ึ ในปกี ารศึกษา 2564 โรงเรยี นเปิดโครงสร้างจำนวน 1 หอ้ งเรียน โครงสร้างที่ 2 ผนการเรียนวทิ ยาศาสตร-์ คณิตศาสตร์ เป็นโครงสร้างหลักสูตรที่เหมาะกับนักเรียนที่มีความสนใจ และความถนัดทางวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ ซึ่งนักเรียนจะเน้นเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติมจากระดับชั้นม.ต้น ได้แก่ ฟิสิกส์ เคมี และ ชีววิทยา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เทียบเคียงมาตรฐานสากล ซึ่งในปกี ารศึกษา 2564 โรงเรียนเปดิ สอน 3 หอ้ งเรียน โครงสร้างที่ 3 ผนการเรยี นภาษาองั กฤษ-คณิตศาสตร์ เป็นโครงสร้างหลักสูตรที่เหมาะกับนักเรียนที่มีความสนใจและความถนัดทาง ภาษาอังกฤษและ คณิตศาสตร์ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งในปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียน เปิดสอน 1 ห้องเรียน โครงสรา้ งท่ี 4 ผนการเรยี นภาษาอังกฤษ – ภาษาไทย - สังคมศกึ ษา เป็นโครงสร้างหลักสูตรที่เหมาะกับนักเรียนที่มีความสนใจและความถนัดทางภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และสังคมศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งในปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นเปดิ สอน 1 หอ้ งเรยี น โครงสรา้ งที่ ผนการเรยี นภาษาองั กฤษ - ภาษาจนี เป็นโครงสร้างหลักสูตรที่เหมาะกับนักเรียนที่มีความสนใจและความถนัดทางภาษาอังกฤษ และ ภาษาจีน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งในปีการศึกษา 2564 โรงเรียน เปิดสอน 1 ห้องเรยี น โครงสร้างที่ 6 ผนการเรยี นทวศิ ึกษา เป็นโครงสร้างหลักสูตรที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ให้แก่ผู้เรียน ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความประสงค์จะเรียนในสายวิชาชีพ เมื่อสำเร็จการศึกษาครบตามหลักสูตร จะได้รับประกาศนียบัตรรับรองวุฒิการศึกษาท้ังในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภูมิ 27

พร้อมกับ ซึ่งนักเรียนจะได้เรียนที่โรงเรียนจำนวน 3 วัน และเรียนที่วิทยาลัยเทคนิคกาญจนามหานคร จำนวน 2 วัน ซง่ึ ในปกี ารศึกษา 2564 โรงเรียนเปดิ สอน 1 หอ้ งเรียน โครงสร้างที่ หลักสูตรโครงการห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ( English Program : Science and Mathematics) เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งส่งเสริมและพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการระดับมาตรฐานสากล โดยเน้น ความถนัดในวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยการเรียนรู้ผ่านการใช้ภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร ให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ตามความถนัดในสาขาวิชาดังกล่าว และฝึกประสบการณ์ในการใช้ภาษาอังกฤษ เพิ่มขึ้นจนเกิดความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา รายวิชาในการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ ได้แก่ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาอังกฤษ ผู้เรียนจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริม ประสบการณ์ โดยการเรียนรู้กับเจ้าของภาษา และทัศนศึกษาและเรียนรู้วัฒนธรรม ณ ต่างประเทศ ซึ่งในปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนเปิดสอน 1 หอ้ งเรียน 28 ค่มู ือนกั เรยี น ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภมู ิ โครงการห้องเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร์ ละคณติ ศาสตร์ (Gifted) ทั้งระดั ม.ตน้ ละม.ปลาย โครงการหอ้ งเรียนพเิ ศษวิทยาศาสตร์ วิจยั ละเทคโนโลยี ระดั ม.ต้น เป็นหลักสูตรทีม่ ุ่งพัฒนาผู้เรียนในทุก ๆ ด้านและเน้นทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เป็นพิเศษ คุณสมบัติของผู้เรียนควรเป็นนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทั้งทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สามารถ คิดค้น พัฒนา เลือกและใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม ตลอดจนยินดีเข้าร่วม กิจกรรมทางวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์อยา่ งจริงจงั หลักสูตรโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ได้รับการอนุญาตให้ใช้หลักสูตรจาก สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร (สสวท.) มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเสริมหลักสูตรให้กับนักเรียนในวันและเวลานอกราชการ โดย คณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันอุดมศึกษา โดยแบ่งตามรายวิชา คือ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และ คณิตศาสตร์ ทง้ั ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภมู ิ 29

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ โครงการห้องเรียนพเิ ศษภาษาองั กฤษ (English Program) ทั้งระดั ม.ตน้ ละม.ปลาย เกีย่ วกั โครงการ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิจึงได้จัดทำเอกสารหลักสูตรสถานศึกษา โครงการ จัดเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ (English Program) และดำเนินการ จัดการเรียนการสอนในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เพื่อเป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอน พัฒนาผู้เรียนอยา่ งเต็มศักยภาพเพื่อให้มคี ุณภาพดา้ นความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำเนินชีวิตในสังคม ที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีคุณลักษณะและศักยภาพ เป็นพลโลก (World Citizens) ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล วิสยั ทัศน์ “สถานศึกษาช้ันนำ เน้นการวจิ ยั สรา้ งและพัฒนานวตั กรรม สู่การพัฒนาท่ียง่ั ยืน” วัต ปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ให้มีการจดั การเรียนการสอนโดยใช้ภาษาองั กฤษเป็นสอ่ื กลาง 2. เพื่อสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมที กั ษะและมคี วามสามารถในการใช้ภาษาองั กฤษ 3. เพอ่ื ส่งเสริมผู้เรยี นให้เป็นสมาชกิ ทีด่ ีของประชาคมอาเซียนและเปน็ พลโลกท่มี ศี กั ยภาพ 4. เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภูมิใหเ้ ทยี บเคยี ง มาตรฐานสากล จดุ เด่นของหลกั สตู ร 1. จดั รายวิชาหลากหลายเพอ่ื สนองความต้องการของผู้เรียน และพฒั นาผเู้ รยี นให้มีศกั ยภาพเป็นพลโลก 2. จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และกิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เช่น คา่ ยวชิ าการและทกั ษะชวี ิต การศกึ ษาดูงานแหล่งเรยี นรู้ต่าง ๆ กจิ กรรมพัฒนาภาษาอังกฤษทั้งใน และนอกประเทศ 3. ส่งเสริมการประดิษฐ์คิดค้น การมีความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ ดว้ ยการทำโครงงานอยา่ งนอ้ ย 1 โครงงาน ในแต่ละปีการศึกษา 30 ค่มู ือนกั เรียน ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

งานวดั ผล ละประเมนิ ผล เกณฑก์ ารวัด ละประเมินผลการเรียนรู้ . การตดั สนิ ผลการเรยี นรู้ กำหนดหลกั เกณฑ์การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อตัดสินผลการเรียนของผู้เรยี น ดงั นี้ 1.1 ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนท้ังหมดในรายวิชานนั้ ๆ 1.2 ผู้เรยี นต้องไดร้ บั การประเมนิ ทุกตวั ชว้ี ดั และผา่ นเกณฑ์อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 50 1.3 ผูเ้ รียนต้องไดร้ ับการตัดสินผลการเรยี นทุกรายวชิ า 1.4 ผูเ้ รียนตอ้ งได้รับการประเมนิ และมผี ลการประเมินอย่ใู นระดับผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ข้ึนไป ดา้ นการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นและกิจกรรม พฒั นาผเู้ รียน . การให้ระดั ผลการเรียน การประเมินผลการเรียนสาระการเรียนรู้รายวิชา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ซึ่งสถานศึกษาวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น การประเมินผลการเรียนรู้รายวิชา ให้ตัดสินผล การประเมินเป็นระดบั ผลการเรียน 8 ระดับ ดงั ต่อไปน้ี ชว่ งคะ นนเป็นรอ้ ยละ ความหมาย ระดั ผลการเรยี น 80 – 100 ผลการเรยี นดเี ย่ียม 4 75 – 79 ผลการเรยี นดีมาก 3.5 70 – 74 ผลการเรยี นดี 3 65 – 69 ผลการเรยี นค่อนขา้ งดี 2.5 60 – 64 ผลการเรียนน่าพอใจ 2 55 – 59 ผลการเรยี นพอใช้ 1.5 50 – 54 ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำทก่ี ำหนด 1 0 – 49 ผลการเรยี นต่ำกว่าเกณฑข์ ั้นต่ำท่กี ำหนด 0 ในกรณีทไี่ ม่สามารถให้ระดบั ผลการเรยี นเป็น 8 ระดับได้ ใหใ้ ช้ตวั อกั ษรระบุเงอื่ นไขของผลการเรยี น ดังนี้ “มส” หมายถึง ผเู้ รียนไมม่ ีสิทธ์เิ ขา้ รบั การวัดผลปลายภาคเรียน เนือ่ งจากผเู้ รียนมี เวลาเรยี นไมถ่ ึงร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นในแต่ละรายวชิ าและ ไมไ่ ดร้ ับการผ่อนผันใหเ้ ขา้ รับการวัดผลปลายภาคเรยี น โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสุวรรณภมู ิ 31

“ร” หมายถึง รอการตดั สินและยงั ตดั สนิ ผลการเรยี นไมไ่ ด้ เนอื่ งจากไมม่ ขี ้อมลู ผล การเรียนวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วัดผลกลางภาคเรียน/ปลาย ภาคเรียน ไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ทำซึ่งงานนั้นเป็นส่วนหนึ่งของ การตัดสินผลการเรียน หรือมีเหตุสุดวิสัยที่ทำให้ประเมินผลการ เรยี นไมไ่ ด้ . การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาได้ให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นการศึกษาได้พัฒนา ความสามารถของตนเองตามความถนัดและความสนใจให้เต็มศักยภาพ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาองค์รวม ของความเป็นมนุษย์ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยรวม ของสถานศึกษา มีการดำเนินการอย่างมีเป้าหมายชัดเจน มีรูปแบบ และวิธีการที่ครูที่ปรึกษากิจกรรมและ ผู้เรียนร่วมกันกำหนด ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามที่สถานศึกษากำหนด จงึ จะผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับชั้น . ลกั ษณะกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน แบง่ เปน็ 3 ลกั ษณะ คือ ) กิจกรรม นะ นว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้ เหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตนเสริมสร้างทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ์ การเรียนรู้ในเชิงพหุปัญญา และการสร้างสัมพันธภาพที่ดี ซึ่งครูทุกคนต้องทำหน้าท่ี แนะแนวให้คำปรึกษาด้านชีวิต การศึกษาตอ่ และการพฒั นาตนเองสู่โลกอาชีพและการมีงานทำ ) กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเองอย่างครบวงจรตั้งแต่ ศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทำงาน โดยเน้นการทำงานร่วมกัน อย่างเป็นกลุ่ม ได้แก่ โครงงานกิจกรรมตามความสนใจชุมนุมวิชาการกิจกรรมพั ฒนานิสัยรักการอ่าน การคิด วิเคราะห์ และเขียนกจิ กรรมสาธารณประโยชน์ ลูกเสือ เนตรนารี และกิจกรรมพฒั นาคุณลักษณะอัน พึงประสงคข์ องผเู้ รยี น 3) กิจกรรมเพื่อสังคม ละสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตน ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงถึง ความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กจิ กรรมสร้างสรรคส์ งั คม . เกณฑต์ ดั สนิ ผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 1) เกณฑ์การตดั สินรายกจิ กรรมพจิ ารณาจาก 1.1) เข้าร่วมกิจกรรมไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเวลาทงั้ หมด 1.2) ผูเ้ รียนมีพฤตกิ รรมด้านการเรยี นรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 1.3) ผ้เู รียนปฏิบัติกิจกรรมและผา่ นจดุ ประสงคส์ ำคญั ของแต่ละกิจกรรมกำหนด ทกุ ขอ้ 2) ผู้เรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์ ข้อ 4.3 ถอื ว่าผา่ นรายกิจกรรม 32 ค่มู อื นกั เรยี น ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

  1. เกณฑ์การตัดสินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ผู้เรียนต้องได้รับผลการประเมินผ่านทั้งกิจกรรม แนะแนว กจิ กรรมนักเรียนทุกกิจกรรมและกจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชนถ์ อื วา่ ผ่านกิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รียน 4) เกณฑ์การผ่านเลื่อนชั้น / จบหลักสูตร ผู้เรียนต้องได้รับผลการประเมิน ผ่าน ทกุ กจิ กรรมรายภาคเรยี น 3. การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2561) และหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อให้สามารถ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ได้กำหนดให้มีการพัฒนา ผเู้ รยี น ดงั นี้ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซื่อสัตย์สจุ รติ 3. มีวินยั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งม่นั ในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 9. มคี วามกตญั ญู 10. เปน็ เลิศทางวชิ าการ 11. สอ่ื สารได้อย่างน้อยสองภาษา 12. ลำ้ หนา้ ทางความคดิ 13. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์ 14. ร่วมกนั รบั ผดิ ชอบต่อสังคมโลก เกณฑ์การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ) เกณฑ์การประเมินตัว ่งชี้ 1.1) เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ดีเยีย่ ม หมายถึง ผเู้ รียนมพี ฤตกิ รรมตามตัวบง่ ช้ี รอ้ ยละ 80 – 100 ของจำนวนครัง้ ของการประเมนิ ท้ังหมด ดี หมายถงึ ผเู้ รยี นมพี ฤตกิ รรมตามตวั บง่ ชี้ รอ้ ยละ 65 – 79 ของจำนวนคร้ังของการประเมินทัง้ หมด ผา่ น หมายถึง ผเู้ รียนมพี ฤตกิ รรมตามตวั บ่งชี้ ร้อยละ 50 – 64 ของจำนวนครง้ั ของการประเมนิ ทั้งหมด ไมผ่ ่าน หมายถงึ ผูเ้ รยี นมพี ฤติกรรมตามตวั บ่งช้ี รอ้ ยละตำ่ 50 ของจำนวนคร้งั ของการประเมินทง้ั หมด 1.2) เกณฑก์ ารตัดสนิ การผ่านแต่ละตัวบง่ ช้ี ผู้เรียนต้องมพี ฤตกิ รรมตามตวั บ่งชอ้ี ยูใ่ นระดับผา่ นขนึ้ ไป ถือว่าผ่านแต่ละตัวบง่ ช้ี โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภูมิ 33

) เกณฑ์การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 2.1) ให้คิดค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้มาเป็นระดับคุณภาพ ของคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ตล่ ะข้อ 2.2) ให้คิดค่าฐานนิยม จากเกณฑ์การประเมนิ คุณลกั ษณะ 13 ขอ้ สรปุ เปน็ คณุ ลักษณะ อันพงึ ประสงคข์ องรายวชิ าน้นั ๆ 2.3) ให้คิดค่าฐานนิยม จากคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายวิชา สรุปเป็นคุณลักษณะ อันพึงประสงคข์ องผเู้ รียนรายบคุ คล 3) เกณฑ์การตัดสนิ ตล่ ะคณุ ลักษณะ ผเู้ รยี นตอ้ งได้รบั การประเมินอยู่ในระดบั คุณภาพ ผา่ นข้นึ ไป ถอื ว่า ผา่ น 4. การพฒั นา ละประเมนิ ความสามาร ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ ละเขียน 4. ความหมาย การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่าน จากหนังสือ เอกสาร และสื่อตา่ งๆ เพื่อหาความรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์ เพื่อความสุนทรีย์ และประยุกตใ์ ชแ้ ล้ว นำมาคิดวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่อ่าน นำไปสู่การแสดงความคิดเห็น การสังเคราะห์สร้างสรรค์ การแก้ปัญหา ในเรื่องต่าง ๆ และถ่ายทอดความคิดนั้นด้วยการเขียนที่มีสำนวนภาษาถูกต้อง มีเหตุผลและลำดับขั้นตอน ในการนำเสนอ สามารถสรา้ งความเข้าใจแก่ผู้อา่ นได้อย่างชดั เจนตามระดับความสามารถในแตล่ ะระดับช้ัน 4. ขอ เขตการประเมนิ ละตัวชีว้ ดั ที่ สดง ึงความสามาร ในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ ละเขียน ช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ขอ เขตการประเมิน การอ่านจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ข้อมูลสารสนเทศ ข้อคิด ความรู้เกี่ยวกับ สังคมและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้ผู้อ่านนำไปคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ สรุปแนวคิดคุณค่าที่ได้ นำไปประยุกต์ใช้ ด้วยวิจารณญาณ และถ่ายทอดเป็นข้อเขียนเชิงสร้างสรรค์หรือรายงานด้วยภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม เช่น อ่านหนงั สอื พมิ พ์ วารสาร หนังสือเรยี น บทความ สุนทรพจน์ คำแนะนำ คำเตือน แผนภูมิ ตาราง แผนที่ ตัวชีว้ ัดความสามาร ในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ ละเขยี น 1. สามารถคัดสรรสื่อ ที่ต้องการอ่านเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ สามารถ สร้างความเขา้ ใจและประยุกต์ใช้ความร้จู ากการอา่ น 2. สามารถจบั ประเด็นสำคัญและประเดน็ สนบั สนุน โตแ้ ย้ง 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถือ ลำดับความและ ความเป็นไปไดข้ องเร่ืองทีอ่ า่ น 4. สามารถสรปุ คณุ คา่ แนวคดิ แง่คดิ ท่ไี ด้จากการอ่าน 34 ค่มู ือนกั เรียน ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

5. สามารถสรุป อภิปราย ขยายความแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สนับสนุน โน้มน้าว โดยการเขียนสื่อสารในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ ผงั ความคิด เป็นต้น ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ขอ เขตการประเมิน การอ่านจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ประสบการณ์ แนวคิดทฤษฎี รวมท้ังความงดงามทางภาษาที่เอื้อใหผ้ ู้อา่ นวิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ แสดงความคิดเห็นโต้แย้ง หรือสนับสนุน ทำนาย คาดการณ์ ตลอดจนประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหา และถ่ายทอดเป็นข้อเขียน เชิงสรา้ งสรรค์ รายงาน บทความทางวิชาการอย่างถูกต้องตามหลกั วิชา เชน่ อ่านบทความวชิ าการ วรรณกรรม ประเภทตา่ ง ๆ ตัวช้ีวัดความสามาร ในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ ละเขียน 1. สามารถอ่านเพ่ือการศึกษา ค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์และการประยุกต์ใช้ ในชวี ติ ประจำวนั 2. สามารถจับประเดน็ สำคญั ลำดบั เหตกุ ารณจ์ ากการอ่านสอ่ื ท่มี ีความซบั ซ้อน 3. สามารถวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกับผู้อ่าน และสามารถวิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะ ในแงม่ ุมต่าง ๆ 4. สามารถประเมินความน่าเชื่อถอื คุณค่า แนวคดิ ท่ไี ดจ้ ากสิ่งที่อา่ นอยา่ งหลากหลาย 5. สามารถเขียนแสดงความคิดเห็นโต้แย้ง สรุป โดยมีข้อมูลอธิบายสนับสนุนอย่างเพียงพอและ สมเหตสุ มผล 4.3 เกณฑ์การประเมิน ผลงาน : การเขยี นจากการอา่ น คิด วเิ คราะห์ 4.3.1 การใช้กระบวนการอา่ นอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4.3.2 การแสดงความคดิ เห็นอย่างมวี จิ ารณญาณ 4.3.3 ใช้กระบวนการเขียนสือ่ ความอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภูมิ 35

4.4 เกณฑร์ ะดั คณุ ภาพ ความสามาร ในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ ละเขียน 4.4. การอ่าน ระดั คณุ ภาพ ความหมาย ดเี ยย่ี ม ระบสุ าระของเรือ่ งที่อ่านได้ถูกต้องครบถว้ น ลำดับเรอ่ื งที่อ่านได้ถกู ต้อง ระบุ ดี ประเด็นสำคญั ของเร่ืองทอี่ ่านได้ถูกตอ้ ง ระบุจดุ มุ่งหมาย และเจตคตขิ อง ผ่าน ผู้เขยี น ไม่ผา่ น ระบุสาระของเรอ่ื งที่อ่านไดถ้ ูกต้องครบถว้ น ลำดบั เร่อื งทอ่ี า่ นไดถ้ กู ตอ้ ง ระบุ ประเดน็ สำคัญของเร่ืองทอี่ ่านไดถ้ กู ตอ้ ง ระบุจุดมงุ่ หมาย และเจตคติของ ผูเ้ ขียนไมค่ รบถว้ น ระบสุ าระของเรอื่ งที่อา่ นได้ถูกตอ้ งครบถว้ น ลำดับเรือ่ งที่อ่านค่อนขา้ งถกู ตอ้ ง ระบุประเดน็ สำคญั ของเรือ่ งที่อ่านไดไ้ มส่ มบรู ณ์ ระบุจดุ มงุ่ หมาย และเจตคติ ของผ้เู ขยี นเพยี งเลก็ นอ้ ย ระบสุ าระของเร่ืองทอ่ี ่านได้ไม่ครบถ้วน ลำดบั เรื่องท่ีอา่ นผิดพลาดเล็กนอ้ ย ระบุประเดน็ สำคัญของเร่ืองท่ีอา่ นไมถ่ ูกตอ้ ง ไม่ระบจุ ุดมงุ่ หมาย และเจตคติ ของผเู้ ขยี น 4.4. การคดิ วเิ คราะห์ ความหมาย ระดั คณุ ภาพ แสดงความคิดเหน็ ชัดเจน มีเหตุผลระบขุ อ้ มูลสนับสนุนทน่ี ่าเช่ือถือมคี วามคิด ดีเยีย่ ม ทแ่ี ปลกใหม่ เปน็ ประโยชนต์ ่อสังคมโดยสว่ นรวม แสดงความคิดเห็นค่อนขา้ งชัดเจน มีเหตุผลระบขุ ้อมูลสนบั สนุนมคี วามคิด ดี ที่เป็นประโยชนต์ อ่ สังคมโดยสังคมรอบขา้ งตนเอง แสดงความคดิ เห็นท่ีมเี หตุผลระบขุ ้อมลู สนับสนุนท่พี อรับไดม้ คี วามคิดทีเ่ ป็น ผ่าน ประโยชนต์ ่อตนเอง แสดงความคิดเห็นมีเหตุผลไม่ชัดเจน ขาดข้อมูลสนับสนุน มีความคิด ไม่ผ่าน ท่ียงั มองไม่เห็นประโยชนท์ ีช่ ัดเจน 36 คู่มอื นกั เรยี น ผปู้ กครอง ๒๕๖๔

4. .3 การเขยี น ความหมาย ระดั คณุ ภาพ มีจดุ ประสงค์ในการเขียนชัดเจนไดเ้ นือ้ หาสาระรปู แบบการเขียนถกู ต้องมี ดีเยีย่ ม ขัน้ ตอนการเขยี นชดั เจนงา่ ยตอ่ การติดตามใชไ้ วยากรณแ์ ละสะกดคำถกู ตอ้ ง พฒั นาสำนวนภาษาที่สือ่ ความหมายไดช้ ดั เจนกะทัดรดั ดี มีจุดประสงค์ในการเขียนชัดเจนได้เนื้อหาสาระ รูปแบบการเขียนถูกต้องมี ข้ันตอนการเขยี นชดั เจนง่ายต่อการติดตาม ใชไ้ วยากรณแ์ ละสะกดคำผิดพลาด ผา่ น ไมเ่ กิน 3 แห่ง พัฒนาสำนวนภาษาทส่ี อ่ื ความหมายได้ชดั เจน มจี ดุ ประสงค์ในการเขยี นชดั เจนและค่อนข้างได้เน้ือหาสาระ รูปแบบการเขียน ไม่ผา่ น ถูกต้องมีขั้นตอนการเขียนชัดเจนง่ายต่อการติดตาม ใช้ไวยากรณ์และสะกดคำ ผิดพลาดมากกว่า 3 แห่ง ขาดการพัฒนาสำนวนภาษาที่สื่อความหมายได้ ชัดเจน ขาดจุดประสงค์ในการเขียนและเนื้อหาสาระน้อย ใช้ไวยากรณ์และสะกดคำ ผดิ พลาดมาก ขาดการพัฒนาสำนวนภาษาท่ีสื่อความหมาย 4. การสรุปผลการประเมนิ ความสามาร ในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ ละเขียน 4.5.1 ให้คิดค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน มาเปน็ ระดับคุณภาพของแต่ละรายวชิ า 4.5.2 ให้คิดค่าฐานนิยม จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ของแตล่ ะรายวิชา สรุปเปน็ ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ของผ้เู รียนรายบุคคล 4.6 เกณฑก์ ารตดั สนิ ความสามาร ในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ ละเขยี น 4.6.1 ระดบั รายภาคเรยี น ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี น อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ผา่ น ข้ึนไปถือว่า ผา่ น 4.6.2 การเลื่อนช้นั / จบหลักสตู ร ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ผา่ นทุกภาคเรยี น โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสุวรรณภมู ิ 37

. การประเมนิ สมรร นะสำคัญของผูเ้ รียน . สมรร นะสำคัญของผเู้ รียน 5 ขอ้ มีดงั นี้ ) ความสามาร ในการส่อื สาร หมายถึง ใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ ความเข้าใจ ความร้สู ึกและทศั นะของตนเอง เพ่อื เปลยี่ นขอ้ มลู ข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นา ตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับ ข้อมูลข่าวสารด้วยหลักแหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่มี ตี อ่ ตนเองและสงั คม ) ความสามาร ในการคิด หมายถึง รู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดอย่าง สร้างสรรค์ คิดอย่างมีจารณญาณ และคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตดั สินใจเก่ียวกับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3) ความสามาร ในการ ก้ปัญหา หมายถึง เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ เหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้งการตัดสินใจ ท่ีมีคณุ ภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบทเ่ี กดิ ขึน้ ตอ่ ตนเอง สงั คมและส่ิงแวดล้อม 4) ความสามาร ในการใช้ทักษะชีวิต หมายถึง ใช้กระบวนการต่าง ๆ ในการดำเนิน ชวี ิตประจำวนั เรยี นรู้ด้วยตนเองอย่างตอ่ เน่ือง ทำงานและอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมดว้ ยการสรา้ งเสรมิ ความสมั พันธ์ อันดีระหว่างบุคคล จัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม รู้จักปรับตัวให้ทันกับ การเปลี่ยนแปลงของสังคมสภาพแวดล้อม และหลีกเลีย่ งพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ที่มีผลกระทบต่อตนเองและ ผ้อู ื่น ) ความสามาร ในการใช้เทคโนโลยี หมายถึง รู้จักเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมีคณุ ธรรม . เกณฑ์การให้คะ นนระดั คุณภาพสมรร นะสำคัญของผู้เรียน ระดั คณุ ภาพ พฤติกรรม ง่ ช้ี ระดั คะ นน ดีเยี่ยม พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ 3 ดี พฤตกิ รรมท่ีปฏบิ ัตชิ ดั เจนและบอ่ ยครงั้ 2 ผา่ น พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ตั ิบางครั้ง 1 ดีเยีย่ ม ไมเ่ คยปฏบิ ตั พิ ฤติกรรม 0 เกณฑก์ ารสรปุ ผล ดเี ยีย่ ม 13 – 15 คะแนน ดี 9 – 12 คะแนน ผ่าน 1 – 8 คะแนน ไมผ่ า่ น 0 คะแนน 38 ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง ๒๕๖๔

6. การเปลย่ี นผลการเรยี น ใหถ้ อื ปฏิบตั ิดงั น้ี 6. การเปล่ียนระดั ผลการเรียนจาก “ ” ใหค้ รผู สู้ อนดำเนนิ การพัฒนาผเู้ รียน โดยจัดสอนซ่อม เสริม ปรับปรุง แก้ไขผู้เรียนในตัวชี้วัด/ผลการเรยี น ไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำแล้วประเมินด้วยวิธีที่มปี ระสิทธิภาพ จนผู้เรียนสามารถผ่านเกณฑ์การประเมินและให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “1” ทั้งนี้ให้สอบแก้ตัวได้ ไม่เกิน 2 ครั้ง ถ้าผู้เรียนไม่ดำเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาที่สถานศึกษากำหนดให้อยู่ในดุลยพินิจ ของสถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก 1 ภาคเรียน สำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องดำเนินการ ให้เสร็จส้ินภายในปีการศกึ ษานนั้ ถ้าสอบแก้ตัว 2 ครั้งแล้ว ยังได้ระดับผลการเรียน “0” อีก ให้สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการเก่ยี วกับการเปลีย่ นผลการเรียนของผู้เรียน โดยปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1) ถา้ เป็นรายวิชาพ้นื ฐาน ใหเ้ รียนซำ้ รายวิชานน้ั 2) ถ้าเป็นรายวชิ าเพม่ิ เติม ใหอ้ ย่ใู นดุลยพนิ จิ ของสถานศึกษา ใหเ้ รียนซำ้ หรือเปลี่ยนรายวิชา ใหม่ 6. การเปลี่ยนผลการเรียนจาก “ร” ให้ผู้เรียนดำเนินการแก้ไข “ร”ตามสาเหตุเมื่อผู้เรียน แกไ้ ขปัญหาเสร็จแลว้ ให้ได้ระดบั ผลการเรยี นตามปกติ (ตั้งแต่ 0-4) ถ้าผู้เรียนไม่ดำเนินการแก้ “ร” กรณีที่ส่งงานไม่ครบ แต่มีผลการประเมินระหว่างเรียนและปลาย ภาคให้ผู้สอนนำข้อมูลที่มีอยู่ตัดสินผลการเรียน ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา ที่จะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปไม่เกิน 1 ภาคเรียน สำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องดำเนินการให้เสร็จส้ิน ภายในปีการศึกษานั้น เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้เรียนซ้ำหากผลการเรียนเป็น “0” ให้ดำเนินการแก้ไขตาม หลกั เกณฑ์ 6.3 การเปล่ยี นผลการเรยี น “มส” มี 2 กรณี 1) กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 แต่มีเวลาเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียนในรายวิชานั้น ให้ครูผู้สอนจัดให้เรียนเพิ่มเติมโดยใช้ชั่วโมงสอนซ่อม เสริม หรือใช้เวลาว่าง หรือใช้วันหยุด หรือมอบหมายงานให้ทำ จนมีเวลาเรียนครบตามที่กำหนดไว้สำหรับ วิชานั้น แล้วจึงให้วัดผลปลายภาคเป็นกรณีพิเศษ ผลการแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “1” การแก้ “มส” กรณีนี้ให้ทำให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ถ้าผู้ เรียนไม่มาดำเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาทกี่ ำหนดไวน้ ี้ให้เรียนซำ้ ยกเว้นมเี หตสุ ดุ วสิ ัย ใหอ้ ย่ใู นดุลยพินิจของสถานศกึ ษาท่ีจะขยายเวลา การแก้ “มส” ออกไปอีกไมเ่ กิน 1 ภาคเรียน แต่เมอ่ื พน้ กำหนดแล้ว ให้ปฏบิ ตั ิดังนี้ (1.1) ถา้ เป็นรายวชิ าพื้นฐานใหเ้ รยี นซ้ำรายวชิ านน้ั (1.2) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติมให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา ให้เรียนซ้ำหรือเปลี่ยน รายวชิ าเรียนใหม่ 2) กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนน้อยกว่า 60 ของเวลาเรียน ทัง้ หมด ใหด้ ำเนนิ การดงั น้ี โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสุวรรณภูมิ 39

(2.1) ถ้าเป็นรายวชิ าพืน้ ฐาน ใหเ้ รียนซำ้ รายวชิ าน้ัน (2.2) ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะให้เรียนซ้ำ หรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ให้หมายเหตุ ในระเบียนแสดงผลการเรียน วา่ เรยี นแทนรายวิชาใด การเรียน ้ำรายวิชา ผู้เรียนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัวแล้ว 2 ครั้ง แล้วไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินให้เรียนซ้ำรายวิชานั้น ทั้งนี้ หากสถานศึกษาใดไม่สามารถดำเนินการเปิดสอนภาคฤดูร้อน เพื่อแก้ไขผลการเรียนของผู้เรียนได้ ให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/ต้นสังกัด เป็นผู้พิจารณาประสานงาน ใหม้ ีการดำเนนิ การเรยี นการสอนในภาคฤดรู อ้ นเพ่ือแกไ้ ขผลการเรียนของผู้เรยี น 6.4 การเปลี่ยนผลการเรียน “มผ” กรณีที่ผู้เรียนได้ผล “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ ผู้เรียนทำกิจกรรมในส่วนที่ผู้เรียนไม่ได้เข้าร่วมหรือไม่ได้ทำจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผลจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทั้งนี้ ดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนนั้นๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของ สถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน สำหรับภาคเรียนที่ 2 ต้องดำเนินการให้ เสรจ็ สิน้ ภายในปกี ารศึกษาน้ัน . การเลอ่ื นช้ัน เมือ่ สิ้นปีการศกึ ษา ผเู้ รยี นจะได้รับการเลอ่ื นชน้ั เมอ่ื มคี ณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ ดงั น้ี 7.1 รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ได้รับการตัดสินผลการเรียนผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กำหนด 7.2 ผู้เรยี นตอ้ งไดร้ ับการประเมินและมผี ลการประเมนิ ผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากำหนดใน การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 7.3 ระดบั ผลการเรียนเฉล่ยี ในปีการศึกษาน้ันควรไมต่ ่ำกวา่ 1.00 ท้งั นร้ี ายวิชาใดท่ไี ม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน สถานศกึ ษาสามารถซ่อมเสรมิ ผเู้ รยี นให้ไดร้ บั การแก้ไขใน ภาคเรียนถัดไป ทง้ั นส้ี ำหรบั ภาคเรยี นท่ี 2 ตอ้ งดำเนินการให้เสร็จส้นิ ภายในปกี ารศกึ ษานน้ั 8. การเรียน ้ำช้ัน ผู้เรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจ ตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ ความสามารถของผู้เรียนเป็นสำคญั การเรยี นซ้ำช้ันมี 2 ลกั ษณะ คือ 1) ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นต่ำกว่า 1.00 และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหา ตอ่ การเรยี นในระดบั ที่สงู ขึ้น 2) ผูเ้ รียนมผี ลการเรียน 0 , ร และ มส เกนิ ครึง่ หนึง่ ของรายวชิ าทล่ี งทะเบยี นเรยี นในปกี ารศกึ ษานนั้ ทั้งนี้หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือทั้ง 2 ลักษณะ ให้สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุอันสมควรก็ให้ซ้ำชั้นโดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและให้ใช้ผลการเรียนใหม่แทน หากพิจารณาแล้วไม่ต้องเรยี นซ้ำชน้ั ใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของสถานศกึ ษาในการแก้ไขผลการเรียน 40 ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง ๒๕๖๔

เกณฑ์การตดั สนิ ผลการเรียนผา่ นชว่ งชั้น ละจ หลกั สูตรส านศึกษา เกณฑ์การจ หลกั สูตรระดั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมโดยเป็นวิชาพื้นฐานไม่น้อยกว่า 66 หน่วยกิต และรายวิชา เพ่มิ เติมตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด 2) ผเู้ รยี นตอ้ งไดห้ น่วยกิตตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกวา่ 77 หน่วยกติ โดยเป็นรายวิชาพน้ื ฐาน 66 หน่วยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 11 หนว่ ยกติ 3) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี นในระดับผา่ นเกณฑก์ ารประเมินข้นึ ไป 4) ผู้เรยี นมีผลการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดบั ผ่านเกณฑก์ ารประเมินข้นึ ไป 5) ผเู้ รยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนและมผี ลการประเมิน ในระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ขน้ึ ไป เกณฑ์การจ หลกั สตู รระดั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมโดยเป็นวิชาพื้นฐานไม่น้อยกว่า 41 หน่วยกิต และรายวิชา เพ่มิ เติมตามท่ีสถานศึกษากำหนด 2) ผเู้ รียนต้องไดห้ น่วยกติ ตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกวา่ 77 หนว่ ยกติ โดยเปน็ รายวิชาพน้ื ฐาน 41 หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติมไมน่ ้อยกว่า 36 หนว่ ยกติ 3) ผู้เรยี นมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียนในระดบั ผา่ นเกณฑ์การประเมินข้ึนไป 4) ผู้เรียนมผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑก์ ารประเมินขึ้นไป 5) ผู้เรียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นและมีผลการประเมนิ ในระดบั ผ่านเกณฑก์ ารประเมินขึ้นไป โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสุวรรณภมู ิ 41

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่จัดอย่างเป็นกระบวนการ ด้วยรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย ในการพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม มุ่งเสริมเจตคติ คุณค่าชีวิต ปลูกฝัง คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง สร้างจิตสำนึกในธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ ม ปรบั ตวั และปฏิบตั ิตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ สงั คม ประเทศชาติและดำรงชีวิตไดอ้ ย่างมคี วามสขุ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียนตามหลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน แบ่งเป็น 3 ลกั ษณะ คือ 1. กิจกรรม นะ นว ส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้เหมาะสมตามความแตกต่างระหว่าง บุคคล สามารถ คน้ พบและพฒั นาศักยภาพของตน เสริมสร้างทักษะชวี ิต วุฒิภาวะทางอารมณ์ การเรียนรู้ ในเชิงพหุปัญญาและ การสรา้ งสมั พันธภาพทด่ี ี 2. กจิ กรรมนกั เรยี น ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเองตั้งแต่ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุง การทำงาน โดยเน้นการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนได้ช่วยกันคิด ช่วยกันทำ ช่วยกันแก้ปัญหา ส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียนอย่างเต็มที่ รวมทั้งปลูกฝังความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ รู้จักสิทธิ และหน้าที่ของตนเอง 3. กิจกรรมเพอ่ื สงั คม ละสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตาม ความสนใจในลักษณะ อาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เชน่ กจิ กรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สงั คม เปน็ ต้น วตั ปุ ระสงค์ในการจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 1. เพื่อผ้เู รียนใชก้ ระบวนการกลุม่ ฝึกทกั ษะ การวิเคราะห์ วางแผน เพ่ือส่งเสรมิ ด้านวิชาการและวชิ าชีพ 2. ผู้เรยี นได้คน้ พบความสนใจ ความถนดั และได้ใชก้ ระบวนการกล่มุ พัฒนาความสามารถพิเศษเฉพาะตัว 3. ผ้เู รียนได้รบั การฝกึ ทกั ษะการใหบ้ รกิ ารต่าง ๆ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเองและสว่ นรวม 4. ผ้เู รียนพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ เจตคติ คา่ นิยม ในการดำเนนิ ชีวิต 5. ไดร้ บั การปลูกฝงั และสรา้ งจิตสำนกึ ในการทำประโยชนต์ ่อสงั คมและเสรมิ สร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรม กิจกรรมแนะแนว 42 ค่มู ือนกั เรียน ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

การจดั กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน โดยกำหนดให้ผู้เรยี นทกุ คนเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนดงั น้ี 1. กจิ กรรม นะ นว ครูผู้สอนทุกคนทำหน้าที่แนะแนวให้คำปรึกษาด้านชีวิต การศึกษาต่อ และส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นพบ ความต้องการของตนเอง โดยการจัดกิจกรรมหรือการให้ผู้เรียนได้ทำการประเมินตนเอง ครูผู้สอนทุกคน สามารถทำหน้าที่เป็นครูแนะแนวให้คำปรึกษาในกรณีที่ผู้เรียนมีปัญหาซับซ้อนที่ต้องการแก้ไข ครูแนะแนว จะทำหน้าท่ีในการให้คำปรึกษาและแกไ้ ข นวการจัดกิจกรรม นะ นว โรงเรยี นจดั กิจกรรมแนะแนวให้กับผู้เรยี น โดยการกำหนดในตารางเวลาเรยี นปกติ สปั ดาห์ละ 1 คาบ ลกั ษณะของกิจกรรม นะ นว 1. เปน็ กจิ กรรมท่ีมุ่งสง่ เสริมพัฒนาการดา้ นตา่ ง ๆ ของผู้เรยี นไมว่ า่ จะเปน็ สติปญั ญา ความถนดั ความสนใจ อารมณ์และสังคม 2. เปน็ กิจกรรมทีม่ งุ่ ใหผ้ ้เู รยี นไดร้ บั ทราบขอ้ มลู ขา่ วสารอันเปน็ ประโยชนต์ อ่ การศึกษาและการดำเนนิ ชีวติ 3. เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้สอนได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนซึ่งเป็น ประโยชน์ต่อการรู้จักและเข้าใจผู้เรียนอันนำไปสู่การป้องกัน ส่งเสริมหรือช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง และ เหมาะสม การวดั ละเคร่อื งมือสำหรั ผูเ้ รียนในกิจกรรม นะ นว สิง่ ที่ต้องการวัด คอื 1. พฤตกิ รรมของผเู้ รียนด้านการเรียน อารมณ์ สงั คม 2. ความรู้ ความเข้าใจของผูเ้ รยี นเก่ียวกับขอ้ มูลขา่ วสารตา่ ง ๆ เครอื่ งมอื สำหรั การจัดกิจกรรม นะ นว คอื 1. แบบบันทึกการสังเกต 2. แบบสอบถาม 3. แบบทดสอบ 2. กจิ กรรมนกั เรียน เปน็ กจิ กรรมทผ่ี ูเ้ รียนเป็นผูป้ ฏบิ ตั ิดว้ ยตนเองอย่างครบวงจร ตั้งแต่ศกึ ษา วเิ คราะห์ วางแผน ปฏบิ ัติ ตามแผน ประเมนิ และปรบั ปรงุ การทำงาน โดยเนน้ การทำงานร่วมกันเป็นกล่มุ โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสุวรรณภูมิ 43

นวทางการจดั กิจกรรม กิจกรรมนักเรียน โรงเรียนจัดให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมโครงงาน โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้เลือกคิด ทำกจิ กรรมโครงงานตามความถนัด และความตอ้ งการของผู้เรยี น ดงั น้ี 1. กิจกรรมโครงงาน OCOP เพื่อฝึกให้นักเรียนใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์และกระบวนการกลุ่ม ในการสรา้ งและพัฒนาโครงงานเพอื่ สร้างประโยชน์แก่สังคมและแก้ปัญหาตามท่นี กั เรียนเกิดความสนใจรว่ มกนั 2. กิจกรรมพัฒนาสังคม เพื่อทำประโยชน์ต่อสังคม โดยการจัดเป็นกิจกรรมกลุ่มและจัดในตารางเวลา เรยี นปกติ สัปดาห์ละ 1 คาบ ไดแ้ ก่ กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี 3. กจิ กรรมชมรม เพื่อใหน้ กั เรียนได้เรียนรู้ในสิ่งท่สี นใจและพัฒนาตนเองตลอดเวลา หลักเกณฑก์ ารประเมินกจิ กรรม 1. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดและมีหลักฐานแสดง การเข้าร่วม กิจกรรม 2. ผู้เรียนจะต้องผ่านจุดประสงค์ที่สำคัญของแต่ละกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจุดประสงค์ ทั้งหมด 3. ถ้าผู้เรียนไม่ผ่านเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมหรือไม่ผ่านจุดประสงค์ของกิจกรรม ผู้เรียนต้องปฏิบัติ กจิ กรรมเพ่มิ เติมตามท่ีครูปรกึ ษากิจกรรมมอบหมาย หรอื ใหค้ วามเห็นชอบตามที่ผูเ้ รยี นเสนอ การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ประจำปกี ารศกึ ษา 6 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน เกณฑก์ ารประเมิน กิจกรรม นะ นว ผ่าน หมายถงึ - ผูเ้ รียนเขา้ รว่ มและปฏบิ ตั กิ จิ กรรมไมต่ ่ำกว่า 80 % ของเวลาเรยี นทั้งหมด - ผูเ้ รียนนำเสนอผลงานและช้ินงานตอ่ ครูผู้สอน กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ไมผ่ า่ น หมายถึง - ผูเ้ รียนเข้าร่วมและปฏิบัตกิ จิ กรรมไม่ถงึ 80 % ของเวลาเรยี นทั้งหมด - ผเู้ รียนไมไ่ ด้นำเสนอผลงานและชิ้นงานตอ่ ครูผสู้ อน ผา่ น หมายถงึ - ผู้เรียนเข้าร่วมและปฏิบัตกิ จิ กรรมไมต่ ่ำกว่า 80 % ของเวลาเรียนท้ังหมด - ผเู้ รียนเขา้ รับการฝกึ อบรมอย่คู ่ายพักแรมลูกเสือ- เนตรนารี ไมผ่ า่ น หมายถงึ - ผู้เรียนเขา้ ร่วมและปฏิบตั กิ ิจกรรมไมถ่ ึง 80 % ของเวลาเรยี นทัง้ หมด - ผูเ้ รียนไมไ่ ดเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมอยู่คา่ ยพกั แรมลูกเสอื - เนตรนารี 44 ค่มู อื นกั เรยี น ผปู้ กครอง ๒๕๖๔

กจิ กรรมชมรม ผา่ น หมายถึง - ผู้เรียนเขา้ ร่วมและปฏบิ ตั กิ จิ กรรมไมต่ ่ำกวา่ 80 % ของเวลาเรยี นท้ังหมด กิจกรรมเพ่ือสงั คม ละ - ผู้เรียนนำเสนอผลงานและชน้ิ งานของกจิ กรรมชมรมตอ่ ครูที่ สาธารณประโยชน์ ปรกึ ษาชมรม กิจกรรมโครงงาน OCOP ไม่ผ่าน หมายถงึ - ผู้เรียนเขา้ ร่วมและปฏิบัติกจิ กรรมไม่ถงึ 80 % ของเวลาเรียนทั้งหมด - ผเู้ รียนไมไ่ ดน้ ำเสนอผลงานและชิ้นงานของกิจกรรมชมรมต่อ ครูทป่ี รึกษาชมรม ผา่ น หมายถงึ - ผูเ้ รียนเขา้ ร่วมและปฏบิ ตั กิ ิจกรรมไมต่ ำ่ กวา่ 15 ชวั่ โมง/ปี การศกึ ษา (สำหรับนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาตอนต้น) - ผู้เรียนเข้าร่วมและปฏิบตั กิ ิจกรรมไมต่ ำ่ กวา่ 20 ชว่ั โมง/ปี การศึกษา (สำหรบั นกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย) - ผู้เรียนมหี ลกั ฐานการเข้าร่วมและปฏิบตั ิกจิ กรรม ไม่ผา่ น หมายถึง - ผเู้ รียนเข้าร่วมและปฏิบัตกิ จิ กรรมไมถ่ ึง 15 ชว่ั โมง/ปีการศกึ ษา (สำหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ) - ผู้เรียนเข้าร่วมและปฏบิ ตั กิ ิจกรรมไมถ่ ึง 20 ช่วั โมง/ปกี ารศึกษา (สำหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย) - ผ้เู รียนไม่มหี ลกั ฐานการเข้าร่วมและปฏิบัตกิ ิจกรรม ผา่ น หมายถงึ - นักเรียนตอ้ งได้คะแนนการประเมนิ ตามแนวทางการประเมนิ ไมต่ ่ำกว่า 50 คะแนน ไม่ผา่ น หมายถงึ - นักเรียนตอ้ งได้คะแนนการประเมินตามแนวทางการประเมิน ต่ำกว่า 50 คะแนน โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการสุวรรณภมู ิ 45

กำหนดเกณฑ์การผ่านกจิ กรรมโครงงาน (OCOP: One Class One Project) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ ได้กำหนดให้นักเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สุวรรณภูมิ ทุกคนทำกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนทางด้านวิชาการ โดยกำหนดให้นักเรียนทุกห้องเรียนทุกระดับช้ัน เรียนลงทะเบียนทำกิจกรรมในรายวิชาโครงงาน ให้ค่าหน่วยกิตแก่นักเรียนทั้งสองภาคเรียนเป็นกิจกรรม ต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา เวลาทำกิจกรรม 1 คาบ/สัปดาห์ และกำหนดให้นักเรียนนำผลงานมานำเสนอและ ประกวดแข่งขันในงานนิทรรศการสัปดาห์ทางวิชาการหนึ่งห้องเรียนหนึ่งโครงงาน (OCOP: One Class One Project) ในช่วงปลายปีการศึกษา โดยตัดสิน ผ่าน/ไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมิน ซึ่งนับกิจกรรมโครงงาน OCOP เปน็ หนง่ึ ในกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น เกณฑก์ ารผา่ น/ไม่ผา่ น ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ประเมนิ 3 องค์ประกอบ โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี องคป์ ระกอ ที่ การประเมนิ คะ นน 10 1 รายงานความก้าวหน้าครง้ั ท่ี 1 หวั ขอ้ โครงงาน และแผนการดำเนนิ โครงงาน 20 รายงานความก้าวหน้าครง้ั ที่ 2 (ส่วนของบทท่ี 1 ในโครงงาน) 20 20 - ท่ีมาและความสำคญั ของโครงงาน 30 100 - คำถามวจิ ัย (ถา้ มี) - สมมติฐานการวจิ ยั (ถา้ มี) - วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน - ขอบเขตของการศึกษาคน้ คว้า/ขอบเขตงานวจิ ยั - ตัวแปรทศ่ี กึ ษา (ในกรณีทมี่ ีตัวแปร) - นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ (ถา้ มี) - ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับจากการศึกษา รายงานความก้าวหน้าครง้ั ท่ี 3 - เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้อง (สว่ นของบทท่ี 2 ในโครงงาน) - เอกสารอา้ งอิง/บรรณานุกรม 2 รายงานความก้าวหน้าครั้งท่ี 4 - การวางแผนการศึกษาค้นคว้า (สว่ นของบทท่ี 3 ในโครงงาน) - ประมาณการรายจา่ ย 3 นำเสนอเคา้ โครงของโครงงาน - สง่ เล่มเคา้ โครงของโครงงาน - รายงานปากเปลา่ โดยใช้ Power Point รวม 46 ค่มู ือนกั เรียน ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

เกณฑก์ ารผ่าน/ไมผ่ ่าน ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 ประเมนิ 3 องคป์ ระกอบ โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้ องคป์ ระกอ ท่ี การประเมิน คะ นน 15 1 รายงานความกา้ วหน้าครั้งที่ 1 ความคบื หน้าในการเก็บข้อมลู 15 15 รายงานความกา้ วหน้าครง้ั ที่ 2 ผลการดำเนนิ งานและอภปิ ราย 15 40 2 การเขียน ทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล/ผลการศกึ ษาคน้ คว้า 100 การเขียน ทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 3 นำเสนอโครงงานฉ ั สม รู ณ์ - ส่งเล่มโครงงานฉบบั สมบูรณ์ - สง่ ช้นิ งาน (ถ้ามี) - การเผยแพร่โครงงาน รวม หมายเหตุ ในภาคเรียนที่ 1 และ 2 นักเรียนต้องได้คะแนนอย่างน้อย 50 คะแนน จึงจะถือว่า ผ่านกิจกรรม รายวชิ า OCOP โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสุวรรณภมู ิ 47

การจัดการเรียนการสอน รายวชิ าศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง “Independent Study : IS” โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิได้กำหนดให้นักเรียนได้เรียน รายวิชาศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง “Independent Study : IS” ซึ่งนับเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง ในการพัฒนาผู้เรียน เพราะเป็นการเปดิ โลกกว้างให้ผู้เรียนได้ศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งอิสระในเรื่องหรือประเด็นท่ตี น สนใจ เรม่ิ ตั้งแตก่ ารกำหนดประเด็นปัญหา ซ่งึ อาจเป็นPublic Issue และGlobal Issue และดำเนนิ การคน้ คว้า แสวงหาความรู้จากแหล่งขอ้ มลู ที่หลากหลาย มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การอภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อนำไปสู่การสรุปองค์ความรู้ จากนั้นก็หาวิธีการที่เหมาะสมในการสื่อสารนำเสนอให้ผู้อื่นได้รับทราบ และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าไปทำประโยชน์แก่สาธารณะ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นกระบวนการ ที่เชื่อมโยงต่อเนื่องกันตลอดแนว ภายใต้ “การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ( Independent Study : IS)” ซึ่งจดั แบ่งเปน็ สาระการเรียนรู้ 3 สาระ ประกอบด้วย รายวชิ า IS - การศกึ ษาค้นคว้าและสรา้ งองคค์ วามรู้(Research and Knowledge Formation) เปน็ สาระที่มุ่งใหผ้ เู้ รียนกำหนดประเด็นปัญหา ต้งั สมมตุ ิฐาน ค้นควา้ แสวงหาความรแู้ ละฝึก ทักษะการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และสรา้ งองค์ความรู้ รายวิชา IS - การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation) เป็นสาระท่ีมุ่ง ให้ผู้เรียนนำความรทู้ ี่ได้รับ มาพฒั นาวิธีการการถา่ ยทอด/ส่อื สารความหมาย/แนวคิด ข้อมลู และองคค์ วามรู้ ด้วยวธิ ีการนำเสนอทเ่ี หมาะสม หลากหลายรูปแบบ และมปี ระสทิ ธิภาพ รายวิชา IS 3 - การนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (Social Service Activity) เป็นสาระที่มุ่งให้ ผู้เรียน นำไประยุกต์องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติ หรือนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เกิดบริการสาธารณะ (Public Service) ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ ได้กำหนดรายวิชา IS ไว้สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 โดย รายวิชา IS 1 จะเรียนเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในภาคเรียนที่ 1 และ รายวิชา IS 2 จะเรียนเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในภาคเรียนที่ 2 ส่วน รายวิชา IS 3 จำทำเป็นหลักสูตรบูรณาการกับกิจกรรม สาธารณะประโยชนใ์ นรูปแบบกิจกรรม 48 ค่มู อื นกั เรยี น ผูป้ กครอง ๒๕๖๔

ระเ ยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วยการปฏิ ตั ขิ องผู้เข้าสอ พ.ศ. 2548 โดยที่เห็นสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการปฏิบัติของ ผู้เข้าสอบให้เหมาะสม ยิ่งขึ้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารจงึ วางระเบยี บไวด้ งั ต่อไปนี้ ขอ้ 1 ระเบียบนเี้ รยี กว่า “ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าดว้ ยการปฏิบตั ขิ อง ผู้เข้าสอบ พ.ศ. 2548” ขอ้ 2 ระเบยี บนใ้ี หใ้ ช้บงั คับต้ังแตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศเป็นตน้ ไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการปฏิบัติของผู้เข้าสอบ พ.ศ. 2506 ระเบียบนี้ ให้ใช้บงั คับแกผ่ ู้เขา้ สอบ สำหรบั การสอบทกุ ประเภทในส่วนราชการและสถานศึกษาสงั กดั กระทรวงศึกษาธิการ และใหห้ มายความรวมถึงผู้เข้าสอบในสถานศึกษา ท่ีอยู่ในกำกบั ดแู ล หรอื สถานศึกษาทีอ่ ยใู่ นความควบคุมของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ยกเวน้ สถาบนั อดุ มศกึ ษาของรัฐ และสถาบันอดุ มศึกษาเอกชน ข้อ 4 ผ้เู ข้าสอบตอ้ งปฏิบัติดังตอ่ ไปนี้ 4.1 การแต่งกาย ถ้าเป็นนักเรียนหรือนักศึกษาต้องแต่งเครื่องแบบนักเรียนหรือนักศึกษาแล้วแต่กรณี ถา้ เป็นผสู้ มัครสอบต้องแต่งให้สุภาพเรียบร้อยตามประเพณีนยิ ม 4.2 ผเู้ ขา้ สอบจะตอ้ งถือเป็นหน้าที่ ทีจ่ ะตอ้ งตรวจสอบให้ทราบว่า สถานที่สอบอยู่ ณ ท่ีใด ห้องใด 4.3 ไปถึงสถานที่สอบก่อนเวลาเริ่มสอบตามสมควร ผู้ใดไปไม่ทันเวลา ลงมือสอบวิชาใด ไม่มีสิทธิ เข้าสอบวิชานั้น แต่สำหรับการสอบวิชาแรกในตอนเช้าของ แต่ละวัน ผู้ใดเข้าห้องสอบหลังจากเวลาลงมอื สอบ แล้ว 15 นาที จะไม่ได้รับอนุญาตให้สอบวิชานั้น เว้นแต่มีเหตุความจำเป็นให้อยู่ในดุลพินิจของประธาน ดำเนินการสอบพิจารณาอนุญาต 4.4 ไมเ่ ขา้ หอ้ งสอบก่อนไดร้ ับอนุญาต 4.5 ไม่นำเอกสาร เครอื่ งอิเลก็ ทรอนิกส์หรือเครือ่ งส่อื สารใด ๆ เขา้ ไป ในหอ้ งสอบ 4.6 น่งั ตามที่กำหนดให้ จะเปล่ียนทน่ี ง่ั ก่อนไดร้ บั อนญุ าตไม่ได้ 4.7 ปฏิบตั ิตามระเบียบเกีย่ วกบั การสอบ และคำส่ังของผูก้ ำกบั การสอบ โดยไม่ทจุ รติ ในการสอบ 4.8 มิให้ผู้เข้าสอบคนอื่นคัดลอกคำตอบของตน รวมทั้งไม่พูดคุยกับผู้ใดในเวลาสอบ เมื่อมีข้อสงสัย หรือมเี หตคุ วามจำเป็นให้แจ้งตอ่ ผู้กำกับการสอบ 4.9 ประพฤติตนเปน็ สภุ าพชน 4.10 ผู้ใดสอบเสร็จก่อน ผ้นู ้นั ตอ้ งออกไปหา่ งจากหอ้ งสอบ และไมก่ ระทำการใด ๆ อนั เป็นการรบกวน แก่ผู้ที่ยังสอบอยู่ แตท่ ้ังน้ผี ้เู ข้าสอบทุกคนจะออกจากห้องสอบก่อนเวลา 20 นาที หลังจากเรม่ิ สอบวิชานน้ั ไมไ่ ด้ 4.11 ไม่นำกระดาษสำหรบั เขียนคำตอบที่ผ้กู ำกบั การสอบแจกให้ออกไปจากหอ้ งสอบ ข้อ 5 ผู้เข้าสอบผู้ใดกระทำการฝ่าฝืนระเบียบข้อ 4 หรือพยายามกระทำการทุจริตในการสอบวิชาใด ให้ผกู้ ำกับการสอบวา่ กลา่ วตักเตือน โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ 49

ถ้าการกระทำดังกล่าวในวรรคแรกเข้าลักษณะร้ายแรง เมื่อได้สอบสวนแล้ว ประธานกรรมการ หรือ ผู้มีอำนาจหน้าที่ในการจัดการสอบมีอำนาจสั่งไม่ให้ผู้นั้นเข้าสอบวิชา นั้นหรือสั่งไม่ตรวจคำตอบวิชานั้นของ ผนู้ ั้น โดยถอื ว่าสอบไมผ่ า่ นเฉพาะวิชาก็ได้ ข้อ 6 ผู้เข้าสอบผู้ใดกระทำการทุจริตในการสอบวิชาใด เมื่อได้สอบสวนแล้วให้ประธานกรรมการหรือ ผมู้ ีอำนาจหนา้ ทใ่ี นการจดั การสอบ สง่ั ไมต่ รวจคำตอบและถอื วา่ ผนู้ นั้ สอบไมผ่ ่านวชิ านน้ั ในการสอบคราวน้นั ข้อ 7 ในกรณที จุ ริตในการสอบด้วยวิธีคดั ลอกคำตอบระหวา่ งผเู้ ข้าสอบด้วยกัน ให้สันนษิ ฐานไว้ก่อนวา่ ผู้เข้าสอบน้นั ได้สมคบกันกระทำการทุจรติ ขอ้ 8 ใหป้ ลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารรกั ษาการใหเ้ ป็นไปตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วนั ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2548 นายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 50 ค่มู อื นกั เรียน ผ้ปู กครอง ๒๕๖๔

รหัสเอกสาร ช่ือเอกสาร เอกสารหลกั ฐาน ปพ.1 ระเบยี นแสดงผลการเรยี น เอกสารเดิม (Transcript) รบ.1 ปพ.2 ประกาศนียบัตร ประกาศนียบตั ร รบ.2 ปพ.3 แบบรายงานผู้สำเรจ็ การศกึ ษา ไม่มี รบ.3 ปพ.4 แบบแสดงผลการพฒั นาคุณลักษณะอันพึง รบ.4 ประสงค์ ปพ.5 แบบบนั ทกึ พัฒนาผเู้ รียน ปพ.6 แบบรายงาน ผลการพัฒนาผเู้ รียน ปพ.7 ใบรับรองผลการเป็นนกั เรยี น/ ใบรับรองผลการศึกษา ปพ.8 ระเบยี นสะสม โรงเรีย

นทางการศกึ ษา หน่วยงานที่ จุดมุง่ หมายการจดั ทำ/ออกเอกสาร ระยะเวลาออกเอกสาร รั ผิดชอ งานทะเบียน รบั รองผลการเรียน จบการศกึ ษาภาคบังคบั งานทะเบียน จบการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน งานทะเบยี น รบั รองวฒุ ิ จบการศกึ ษาภาคบงั คับ ทางการศึกษา จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน งานทะเบยี น รับรองวุฒิ จบการศึกษาภาคบังคบั ทางการศึกษา จบการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน งานวดั ผล รายงานความกา้ วหน้าและพฒั นาผเู้ รียน จบการศกึ ษาภาคบงั คับ ทางดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ ม จบการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน งานวดั ผล ท่พี งึ ประสงค์ รายงานผลการเรียนรจู้ ำแนกตามกลุม่ สาระ รายภาคเรียน งานทะเบยี น การเรียนรู้ งานแนะแนว รายงานความก้าวหน้าและการพัฒนา รายภาคเรียน ทางด้านผลการเรยี นร้ขู องผูเ้ รยี น เป็นรายบุคคล รับรองสถานภาพของผ้เู รียน ยนเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภูมิ 51

ข้อปฏิ ัติในการขอหลักฐานตา่ งๆ ทีห่ ้องทะเ ียน 1. เขียนคำรอ้ งในแบบฟอร์มคำรอ้ งขอหลักฐานทางการศึกษา ใหถ้ ูกต้องครบถ้วน ด้วยตัวบรรจง 2. ใหแ้ นบรูปถา่ ยขนาด 1.5 นิ้ว ตามจำนวนทแ่ี จ้งความจำนง ระเ ยี เก่ียวรปู ่าย มดี งั นี้ 1) เปน็ รูปถ่ายไม่เกิน 6 เดอื น 2) ตอ้ งไม่เปน็ กระดาษโฟโต้ผิวมนั วาว และห้ามใช้รูปถ่ายโพลาลอยด์ 3) แตง่ กายใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบยี บของโรงเรยี น ผมไมป่ ดิ บังใบหน้าและใบหู ไม่ยอ้ มสีผม 4) ไมส่ วมแว่นตาทุกชนดิ 5) ไมค่ ลอ้ งบตั รนักเรียน 6) ไมส่ วมเส้ือยดื ไวใ้ นเสื้อนกั เรยี น และไมส่ วมสร้อยคอ 7) กรณที นี่ ักเรยี นทจี่ บการศึกษาไปเกิน 6 เดือน ให้ถา่ ยรปู โดยสวมเส้ือเช้ติ สีขาว 3. ตรวจสอบขอ้ มูลใหถ้ ูกต้องกอ่ นย่นื ใบคำร้องขอหลกั ฐานต่องานทะเบียน 4. รบั เอกสารในวนั และเวลาราชการหลงั จากยื่นคำร้องแล้ว 3 – 5 วันทำการ พรอ้ มชำระ คา่ ธรรมเนยี มในการจดั ทำเอกสารแผน่ ละ 5 บาท และใหช้ ำระในวนั ท่มี าขอรับเอกสาร 5. ขอเอกสารได้ไม่เกินคร้ังละ 3 ฉบบั /ประเภท 6. การขอเอกสารทกุ อย่างต้องลว่ งหน้าอย่างน้อย 3 วนั (นับวันทำการ) หมายเหตุ 1. การออกใบรับรอง ใบระเบียนแสดงผลการเรยี น และใบประกาศนยี บัตร 1.1 ใบรับรองทางโรงเรยี นจะออกให้แก่ - นักเรียนที่กำลังเรียนอยู่ในโรงเรียนซึ่งประสงค์จะขอใบรับรองวุฒิและความประพฤติจาก โรงเรียน 1.2 ใบระเบยี นแสดงผลการเรียน ปพ.1 - ปพ. 1:3 จะออกให้แกน่ ักเรียนท่จี บช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 - ปพ. 1:4 จะออกให้แก่นักเรยี นทีจ่ บช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย - กรณีที่นักเรียนจบการศึกษาไปแล้ว จะขอเอกสารใหม่ได้ในกรณีสูญหายเท่านั้น และ ตอ้ งแจ้งความ ณ สถานีตำรวจในเขตพนื้ ที่ทีท่ ำสูญหาย และแนบใบแจง้ ความมาพรอ้ มกับใบคำร้องขอเอกสาร 1.3 ใบระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) เป็นฉบับสำเนาท่ีนายทะเบียนออกให้ สามารถนำไปใชไ้ ด้ ชั่วคราวเทา่ น้นั 1.4 ใบรับรองการศึกษา (ป.พ.7) สามารถนำไปใช้ได้ไม่เกิน 90 วนั นบั ตง้ั แตว่ นั ออก 2. การขอใบรับรองและใบระเบียนแสดงผลการเรียน ต้องเป็นนักเรียนหรือผู้ปกครองเท่านั้นเป็นผู้ขอ และจะต้องแจ้งความจำนงที่ฝา่ ยทะเบยี น 52 ค่มู อื นกั เรยี น ผูป้ กครอง ๒๕๖๔

ตวั อยา่ ง โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภูมิ 53

ตวั อยา่ ง 54 ค่มู อื นกั เรยี น ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

กลุม่ ริหารง ประมาณ นางสาวศริ พิ ร ศกั ดศิ์ รกี รม รองผ้อู ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภูมิ 55

หลักเกณฑก์ ารเกบ็ เงนิ บํารงุ การศกึ ษาของสถานศกึ ษา สังกดั สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ณ วนั ที่ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ --------- ด้วยปัจจุบันสถานศึกษาได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาล เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ค่าจัดการเรียนการสอน ค่าหนังสือเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน และ ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นต้น แต่ในการจัดการศึกษาสําหรับสถานศึกษาที่มีความพร้อม และ มีศักยภาพเป็นสถานศึกษา ที่มีชื่อเสียงต้องการจะเพิ่มพูนประสิทธิภาพและคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนด้วย รูปแบบ วิธีการ สื่ออุปกรณ์ และบุคลากรที่ทําการสอนเพิ่มเติมจากเกณฑ์มาตรฐานทั่วไปของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นกรณีพิเศษ โดยมีค่าใช้จ่ายนอกเหนือจากค่าใช้จ่ายที่รัฐจัดสรรให้ ประกอบ กับการตอบข้อหารือของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เห็นว่าสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน สามารถประกาศให้สถานศึกษาของรัฐในสังกัดเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อจัดการศึกษานอกหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พ้นื ฐานได้ ในการจัดการศึกษาที่ผ่านมาสถานศึกษาจํานวนมากได้จัดการศึกษา โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายตามมาตรา ๔๙ แหง่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๐ แลว้ แต่ยังมสี ถานศึกษาบางแหง่ เกบ็ ค่าใช้จ่าย เพื่อจัดการศึกษาเพ่ิมเตมิ จากเกณฑม์ าตรฐานทั่วไปของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นกรณพี เิ ศษ ดังนั้น เพื่อให้การขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายเป็นไปในแนวทางเดียวกันและการมีส่วนร่วมสนับสนุนให้ สถานศึกษามีความพรอ้ มในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา รวมทง้ั เปน็ การคมุ้ ครองผปู้ กครองมิให้เกิดผลกระทบ ต่อภาระค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของนักเรียนสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกําหนด หลกั เกณฑใ์ หส้ ถานศึกษาถือปฏิบตั ิ ดังนี้ ก. สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่สามารถเรียกเก็บเงิน สนับสนุนจากนักเรียนหรือผู้ปกครองได้ เนื่องจากรัฐบาลได้จ่ายเงินงบประมาณเพื่ออุดหนุนให้ แล้ว ดงั นี้ 1.ค่าเลา่ เรียน 2.คา่ หนงั สอื เรยี น 3.ค่าอุปกรณก์ ารเรยี น 4.คา่ เครอื่ งแบบนกั เรียน 5.คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดกจิ กรรมวชิ าการ ปลี ะ 1 ครัง้ 6.คา่ ใช้จา่ ยในการจัดกจิ กรรมคุณธรรม/ชุมนุมลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยุวกาชาดปีละ 1 คร้ัง 7.คา่ ใชจ้ ่ายในการไปทศั นศึกษา ปลี ะ 1 ครงั้ 8.คา่ ใชจ้ า่ ยในการให้บริการอนิ เตอรเ์ นต็ ตามหลกั สตู รและท่เี พิ่มเตมิ จากหลักสตู รปลี ะ 40 ชั่วโมง 9.ค่าวสั ดุ ฝกึ สอน สอบ พื้นฐาน 10.คา่ สมดุ รายงานประจําตัวนกั เรยี น 11.ค่าบริการหอ้ งสมุดขัน้ พ้ืนฐาน 12.คา่ บรกิ ารหอ้ งพยาบาล 13.คา่ วัสดสุ าํ นกั งาน 14.ค่าวัสดเุ ชื้อเพลิงและหลอ่ ลื่น 15.ค่าวัสดงุ านบ้านงานครัว 16.ค่าอุปกรณก์ ีฬา 56 ค่มู ือนกั เรียน ผปู้ กครอง ๒๕๖๔

17.ซอ่ มแซมครุภัณฑ์และอปุ กรณก์ ารเรยี นการสอน 18.คา่ ใชจ้ า่ ยในการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน 19.ค่าคมู่ ือนกั เรียน 20.คา่ บัตรประจำตวั นักเรยี น 21.ถา้ ปฐมนเิ ทศนักเรียน 22.ค่าวารสารโรงเรยี น สำหรบั รายการที่ 19,20,21 และ 22 หากโรงเรียนได้จดั ทำเปน็ ลักษณะพเิ ศษอย่างมีคณุ ภาพสามารถขอรับ การสนับสนนุ ไดโ้ ดยประหยัดตามความจำเป็นเหมาะสมกบั สภาพเศรษฐกิจทอ้ งถิ่น ข.สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนนอกเหนือหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพการศึกษาให้นักเรียนเกินมาตรฐานที่รัฐจัดให้ สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายได้ ตามความสมคั รใจของผปู้ กครองและนักเรียนดังน้ี 1. ห้องเรียนพเิ ศษ EP (English Program) 2. ห้องเรียนพเิ ศษ MEP (Mini English Program) 3. ห้องเรยี นพเิ ศษด้านภาษาต่างประเทศด้านวชิ าการและด้านอื่นๆ (ห้องเรยี นพิเศษ วิทยาศาสตร์ ,หอ้ งเรยี นพเิ ศษคณติ ศาสตร์ เปน็ ตน้ ) การเปิดห้องเรียนพิเศษตอ้ งไดร้ ับอนุมัติจากสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานหรอื สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาแลว้ แต่กรณี ค.สถานศกึ ษาทจี่ ัดการเรียนการสอนเพื่อเพ่ิมศกั ยภาพและความสามารถของนักเรียน ท่นี อกเหนือ หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานสามารถขอรบั การสนับสนนุ ค่าใชจ้ า่ ยได้ตามความสมคั รใจของผ้ปู กครองและ นกั เรยี นโดยไมร่ อนสทิ ธน์ิ กั เรยี นทด่ี อ้ ยโอกาสดงั น้ี 1.โครงการพัฒนาทักษะตามความถนัดของนักเรยี นนอกเวลาเรียน 2.ค่าจา้ งครชู าวตา่ งประเทศ 3.ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก 4.ค่าเรียนปรบั พ้ืนฐานความรู้ ง.สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนเสริมเพิ่มเติมให้กับนักเรียนนอกเหนือจากเกณฑ์มาตรฐานทั่วไป ที่ได้งบประมาณจากรัฐอาจขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง โดยประหยัดตามความจำเป็นและ เหมาะสมกับสภาพฐานะทางเศรษฐกจิ ของทอ้ งถ่นิ ตามความสมคั รใจของผปู้ กครองและนกั เรยี นดงั นี้ 1. คา่ จา้ งครทู ม่ี ีความเชีย่ วชาญในสาขาเฉพาะ 2. คา่ สาธารณปู โภคสำหรับห้องเรียนปรบั อากาศ 3. ค่าสอนคอมพวิ เตอรก์ รณโี รงเรยี นจดั คอมพิวเตอร์ใหน้ กั เรียนเกนิ มาตรฐานทรี่ ัฐจดั ให้ 4. ค่าใชจ้ ่ายในการจดั รวมโครงการ โครงงาน และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นเกนิ มาตรฐานทีร่ ฐั จัดให้ 5. คา่ ใชจ้ ่ายในการไปทัศนศกึ ษาตามแหลง่ เรียนรขู้ องนักเรียนเกนิ มาตรฐานที่รฐั จดั ให้ จ. สถานศึกษาที่จัดให้มีการดูแลด้านสวัสดิการและสวัสดิภาพของนักเรียนอาจขอรับการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัดตามความจำเป็นและเหมาะสมกับสภาพฐานะทางเศรษฐกจิ ของท้องถน่ิ ตามความสมัครใจของผปู้ กครองและนักเรยี นดงั น้ี 1. คา่ ประกันชวี ติ นกั เรยี น/ค่าประกนั อุบตั เิ หตุนกั เรียน 2. ค่าจา้ งบุคลากรที่ปฏิบตั ิงานในสถานศกึ ษา โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสุวรรณภมู ิ 57

3. ค่าตรวจสขุ ภาพนักเรยี นเป็นกรณีพิเศษ นอกเหนอื จากการให้บริการสาธารณสขุ ของรัฐ 4. ค่าอาหารนักเรยี น 5. ค่าหอพัก 6. ค่าซักรดี สำหรับสถานศกึ ษาที่จัดให้นกั เรยี นอยปู่ ระจำสามารถขอรบั การสนับสนนุ ค่าใช้จา่ ยตามข้อ 1,2,3,4, 5 และ 6 ได้เทา่ ทจี่ ่ายจรงิ โดยประหยดั ตามความจำเป็นและความเหมาะสมกบั สภาพฐานะทางเศรษฐกจิ ของ ท้องถิน่ ฉ. สถานศึกษาต้องพจิ ารณาใหก้ ารดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นด้อยโอกาสใหไ้ ด้เรยี นโดยไม่รอนสทิ ธิท์ ่จี ะ ได้รบั ดังนี้ 1. การเรยี นกบั ครูชาวต่างประเทศ หากสถานศึกษามกี ารจดั ใหน้ กั เรียนทกุ คนควรจดั ให้ นกั เรยี นดอ้ ยโอกาสไดเ้ รยี นสปั ดาหล์ ะไม่น้อยกวา่ 2 ช่วั โมง 2. การเรยี นการสอนโดยครทู ่ีสถานศกึ ษาจา้ งหรือโดยวทิ ยากรภายนอก 3. คา่ สาธารณูปโภคสำหรับห้องเรียนปรบั อากาศ 4. คา่ ตรวจสุขภาพนักเรยี นเปน็ กรณีพิเศษ นอกเหนอื จากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ของรัฐ 5. ถ้าเรยี นปรบั พื้นฐานความรู้ 6. ค่าอาหารนักเรียน 7. การเขา้ ร่วมกจิ กรรมวิชาการ/คุณธรรม/ชมุ นมุ ลูกเสือ/เนตรนารี/และการไปทศั นศึกษา 8. การเรยี นการฝึกใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละการใชบ้ ริการอินเทอรเ์ น็ตปลี ะ 40 ชวั่ โมง อนึง่ การเกบ็ เงนิ บำรงุ การศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ตามข้อ ข,ค,ง,จ และ ฉ ตอ้ งได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน และได้รับอนุมัติ จากสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาก่อน จึงจะดำเนนิ การขอรบั สนบั สนุนได้ โดยใหม้ ีการประกาศ ประชาสัมพนั ธ์ ใหก้ บั ผู้ปกครองและนกั เรยี นทราบลว่ งหนา้ สรุป นวทางการดำเนินงานโครงการสนั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ย ในการจดั การศกึ ษาต้ัง ตร่ ะดั อนุ าล จนจ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ปีง ประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ --------- เพอื่ ให้นักเรียนทกุ คนมคี วามพร้อมทจ่ี ะได้รับการศกึ ษาต้ังแต่ระดบั อนุบาล จนจบการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐานโดยการบรหิ ารจดั การอยา่ งมีประสิทธภิ าพ มสี ว่ นร่วมและรฐั สนับสนุนค่าใช้จา่ ยอย่าง เสมอภาคและเป็นธรรมในรายการพื้นฐาน ได้แก่ ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยนโยบายเรียนฟรี เรียนดี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ มุ่งลดค่าใช้จ่าย ผปู้ กครอง เพ่มิ โอกาสทางการศึกษาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ประชาชนมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้จัดสรรเงนิ ใหน้ ักเรียนแตล่ ะคน ซงึ่ สรปุ ไดด้ งั นี้ 58 ค่มู ือนกั เรียน ผูป้ กครอง ๒๕๖๔

๑. ค่าหนังสือเรียน หนังสือที่กระทรวงศึกษาธิการสนับสนุนงบประมาณให้สถานศึกษาจัดซ้ือ ตามนโยบายโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ในระดับมัธยมศึกษา (ม.๑-ม.๖) ให้ใช้หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน/ รายวิชา พนื้ ฐาน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรตู้ ามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ๒. คา่ อปุ กรณ์การเรียน อุปกรณ์การเรยี นทจ่ี ำเปน็ และสง่ ผลต่อการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ได้แก่ สีเทียน สีน้ำ ดินน้ำมัน ไร้สารพิษ กรรไกรสำหรับเด็กปฐมวัย กระดาษ สมุด ดินสอ ปากกา ยางลบ ไม้บรรทัด เครื่องมือเรขาคณิต วัสดุฝึกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ วัสดุฝึกอาชีพ วัสดุ ด้าน ICT กระเปา๋ นักเรยี น ฯลฯ ในอตั ราดงั น้ี - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ๒๑๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๔๒๐ บาท/คน/ปี) - ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๒๓๐ บาท/คน/ภาคเรยี น (๔๖๐ บาท/คน/ปี) ท้ังนี้ ผปู้ กครอง/นักเรยี นสามารถถวั จา่ ยระหว่างอปุ กรณก์ ารเรียนและเครือ่ งแบบนักเรยี นได้ ๓. ค่าเครือ่ งแบบนักเรียน เคร่อื งแบบนักเรยี น ประกอบดว้ ย เสอ้ื /กางเกง/กระโปรง คนละ ๒ ชดุ /ปี ในอัตรา ดงั น้ี - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ๔๕๐ บาท/คน/ปี - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๕๐๐ บาท/คน/ปี กรณีนักเรียนมีชุดนักเรียนเพียงพอแล้ว สามารถซื้อเข็มขัด รองเท้า ถุงเท้า ชุดลูกเสือ เนตรนารี/ยุวกาชาด/ชุดกีฬา ได้ กรณีการจัดซื้อชุดนักเรียนที่แตกต่างไปจากชุดนักเรียนปกติ และราคาสูงกว่าที่กำหนดวงเงิน ดังกล่าวอาจซื้อได้เพียง ๑ ชุด ทั้งนี้ ผู้ปกครอง/นักเรียนสามารถ ถัวจา่ ยระหวา่ งเครื่องแบบนกั เรียนและ อุปกรณ์การเรยี นได้ ๔. คา่ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน ประกอบดว้ ย ๑. กิจกรรมวิชาการ ๒. กิจกรรมคณุ ธรรม จริยธรรม/ลกู เสอื /เนตรนารี/ยวุ กาชาด/ผู้บำเพ็ญประโยชน์ ๓. กิจกรรมทัศนศึกษา ๔. กจิ กรรมการบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (ICT) โดยมงี บประมาณพัฒนากิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นต่อนกั เรยี น ๑ คน ดงั นี้ - มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๔๔๐ บาท/คน/ภาคเรียน (๘๘๐ บาท/คน/ปี) - มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๔๗๕ บาท/คน/ภาคเรียน (๙๕๐ บาท/คน/ปี) โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสุวรรณภูมิ 59

งานยานพาหนะ โรงเรยี นร่วมกบั ผู้ประกอบการรถโดยสาร จดั รถบัสและรถต้ใู ห้บริการอำนวยความสะดวก ในการเดินทางมาโรงเรียนใหก้ บั นกั เรยี น โดยมสี ายรถบสั ๑๘ สาย และ สายรถตู้ ๒ สาย รถสองแถว ๒ สาย (ข้อมลู ณ วันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๔) ตารางร รั – สง่ นกั เรียน โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสุวรรณภมู ิ ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ สายท่ี เส้นทาง สายที่ ๑ อโุ มงค์พฒั นาการ (สน.คลองตนั ) – ถนนพฒั นาการ – ลาดกระบงั 14/1 สายท่ี ๒ หมู่บ้านเสรี - ออ่ นนชุ - รม่ เกลา้ 44 ,36 สายท่ี ๓ ตลาดเกยี งไกร – สน.รม่ เกล้า – เคหะรม่ เกลา้ – ถนนรม่ เกล้า สายที่ ๔ โรงเรยี นศรีพฤฒา – ถนนกรงุ เทพกรฑี า – ถนนรามคำแหง สายที่ ๕ สนามหลวง ร .9 – ถนนเฉลมิ พระเกยี รติ – วัด/ตลาดลานบุญ(บ.เบลตา้ ) สายที่ ๖ พณชิ ยาการบางนา – ซีคอนสแคว – ถนนศรีนครินทร์ สายที่ ๗ ป่าในกรงุ – ถนนลาดกระบัง – แอร์พอตลิงค์ สายท่ี ๘ วดั ราชโกษา – ถนนลาดกระบงั – ถนนรม่ เกลา้ (บางจุด) สายท่ี ๙ ตลาดอ่อนนชุ – ถนนออ่ นนุช – แยกประเวศ(รร.ศภุ กรณ)์ สายท่ี ๑๐ โฮมโปรกิง่ แก้ว – ถนนกิ่งแก้ว – ถนนรม่ เกล้า(บางจุด) สายท่ี ๑๑ วัดศรีวารีน้อย – ถนนฉลองกรุง สายท่ี ๑๒ สุเหร่าซรี อ – แยกแว็กซี่ – เคหะร่มเกล้า สายที่ ๑๓ แฟชน่ั – หทัยราษฎร์ (2 ฝั่ง) สายท่ี ๑๔ ขนสง่ พืน้ ที่ 4 – ตลาดลำผักชี – ถนนเชือ่ มสมั พันธ์ – คู้ขวา สายที่ ๑๕ ถนนคมุ้ เกลา้ – ถนนสุวนิ ทวงค์ (2ฝง่ั ) สายที่ ๑๖ ตลาดมนี บรุ ี – ถนนนิมิใหม่ (2ฝัง่ ) สายที่ ๑๗ คูซ้ ้าย สายท่ี ๑๘ เดอะมอลล์บางกะปิ – เสรีไทย – ตลาดมีน สายท่ี ๑๙ อ่อนนุช 80 – หมบู่ า้ นเสรี – ถนนลาดกระบัง – ถนนรม่ เกล้า (หอ้ งเรียนพิเศษ) สายที่ ๒๐ แอร์พอตลงิ ค์ – ร่มเกลา้ – (ห้องเรยี นพิเศษ) ร สอง ว ๑. แอรพ์ อตลงิ ค์ – รม่ เกล้า ๒. ตลาดมนี บรุ ี หมายเหตุ การจัดสายรถบัสและรถตอู้ ย่บู นพ้ืนฐานความตอ้ งการของนกั เรยี นและผู้ปกครอง 60 ค่มู ือนกั เรยี น ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

กล่มุ ริหารทั่วไป วา่ ที่ ร.ต.หญงิ ดร.คณติ า ขันธชยั รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารทั่วไป โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสวุ รรณภมู ิ 61

กลมุ่ งานกิจการนกั เรียน งานกิจการนกั เรยี น งานสารวตั รนกั เรยี นและวินยั นกั เรยี น งานระดบั ชนั้ และปกครองนกั เรยี น งานปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาสงิ่ เสพตดิ งานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื งานสง่ เสรมิ ประชาธิปไตย และสภานกั เรยี น งานคณะสี 62 ค่มู อื นกั เรยี น ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

ระเ ยี กระทรวงศกึ ษาธิการว่าดว้ ยการลงโทษนักเรียน ละนักศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๘ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๕ แหง่ พระราชบัญญัติค้มุ ครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษาไว้ ดังต่อไปน้ี ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและ นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘” ขอ้ ๒ ระเบียบนี้ให้ใชบ้ งั คับตัง้ แต่วนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลกิ ระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๓ ขอ้ ๔ ในระเบยี บนี้ “ผู้ ริหารโรงเรียนหรือส านศึกษา” หมายความว่า ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อำนวยการ อธิการบดี หรือหัวหน้าของโรงเรียน หรือสถานศึกษา หรือตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นของโรงเรียน หรือสถานศึกษาน้ัน “การกระทำผิด” หมายความว่า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝ่าฝืนระเบียบ ข้อบังคับของสถานศึกษา หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤติของนักเรียน และนกั ศึกษา “การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทำความผิด โดยมีความมงุ่ หมายเพอื่ การอบรมสง่ั สอน ข้อ ๕ โทษทจ่ี ะลงโทษแกน่ ักเรยี นหรือนักศึกษาทก่ี ระทำความผดิ มี ๔ สถาน ดงั นี้ (๑) ว่ากล่าวตกั เตือน (๒) ทำทณั ฑบ์ น (๓) ตัดคะแนนความประพฤติ (๔) ทำกจิ กรรมเพ่ือให้ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม ข้อ ๖ หา้ มลงโทษนกั เรียนและนักศึกษาดว้ ยวิธีรุนแรง หรอื แบบกลัน่ แกล้ง หรือลงโทษด้วย ความโกรธ หรือด้วยความพยาบาท โดยใหค้ ำนึงถึงอายุของนักเรียนหรือนักศึกษา และความรา้ ยแรงของ พฤตกิ ารณป์ ระกอบการลงโทษด้วย โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภมู ิ 63

การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาให้เป็นไปเพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัยและความประพฤติไม่ดี ของนักเรยี นหรอื นักศกึ ษาให้รู้สำนกึ ในความผดิ และกลบั ประพฤตติ นในทางที่ดีต่อไป ให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผู้ที่ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมาย เป็นผ้มู อี ำนาจในการลงโทษนกั เรียน นกั ศึกษา ข้อ ๗ การวา่ กล่าวตกั เตือน ใชใ้ นกรณนี ักเรียนหรอื นกั ศกึ ษากระทำความผดิ ไมร่ ้ายแรง ข้อ ๘ การทำทัณฑ์บนใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพ นักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีทำให้เสื่อมเสีย ชื่อเสียงและเกียรติศักดิ์ของสถานศึกษา หรือฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษา หรือได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือน แลว้ แตย่ งั ไม่เขด็ หลาบ การทำทัณฑ์บนให้ทำเป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบ ความผิดและรบั รองการทำทัณฑบ์ นไวด้ ้วย ข้อ ๙ การตัดคะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนน ความประพฤตนิ ักเรยี นและนกั ศึกษาของแต่ละสถานศกึ ษากำหนด และใหท้ ำบันทึกขอ้ มูลไว้เป็นหลักฐาน ข้อ ๑๐ ทำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีที่นักเรียนและนักศึกษากระทำ ความผิดที่สมควรต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการ กำหนด ข้อ ๑๑ ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้และให้มีอำนาจ ตีความและวินิจฉยั ปญั หาเกีย่ วกบั การปฏบิ ตั ติ ามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ อดิศยั โพธารามกิ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 64 ค่มู ือนกั เรียน ผปู้ กครอง ๒๕๖๔

ระเ ยี นกั เรียนโรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ พ.ศ. ๒๕๖๐ (ปรั ปรุง ละ ก้ไขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. ๒๕๖๒) โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพฒั นาการสุวรรณภูมิ เห็นสมควรจัดทำระเบียบการปกครองนักเรียนเพอื่ ให้ นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย เสริมสร้างให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม เจริญเติบโตขึ้นเป็นบุตรที่ดีของบิดามารดา เป็นศิษย์ที่ดีของครู และเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ พร้อมทั้งสนับสนุนให้การเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยระเบียบของทางราชการว่าด้วย การควบคมุ ความประพฤตินกั เรยี น การสง่ เสริมและคุ้มครองสิทธเิ ด็กและเยาวชน การลงโทษนกั เรยี นนกั ศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ จึงวางระเบียบเพื่อเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติของ นกั เรยี น ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ เรียกช่อื ยอ่ ว่าระเบยี บนกั เรยี น พ.ศ. ๒๕๖๐ ” (ปรับปรุงและแกไ้ ขเพิม่ เตมิ พ.ศ.๒๕๖๒) ขอ้ ๒ ระเบยี บน้ีใชบ้ ังคบั ต้ังแตว่ ันท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ตั้งแต่วันท่ีใชร้ ะเบียบนี้ ให้ยกเลิก “ระเบยี บวา่ ด้วยการควบคมุ ความประพฤตนิ ักเรียนโรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ พ.ศ.๒๕๖๐” และคำสั่งหรือระเบียบอื่นใดที่กำหนด นอกเหนอื จากระเบยี บน้ี หรือขัด หรอื แย้งกับระเบยี บนี้ ใหใ้ ชร้ ะเบียบน้ีแทน ข้อ ๔ ในระเบยี บน้ี นกั เรยี น หมายความว่า นกั เรยี นโรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ ครู หมายความวา่ ครูโรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษาพัฒนาการสุวรรณภมู ิ การกระทำผิด หมายความว่า การที่นักเรียนประพฤติผิด หรือฝ่าฝืนระเบียบ นักเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ พ.ศ.๒๕๖๐ (ปรับปรุงและแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๖๒) หรือ คำส่งั ของครู หรือระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยการลงโทษนกั เรยี นและนกั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ การลงโทษ หมายความว่า การลงโทษนักเรียนที่ประพฤติผิด หรือฝ่าฝืนระเบียบนักเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ พ.ศ.๒๕๖๐ (ปรับปรุงและแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๖๒) หรือ คำสง่ั ของครู หรอื ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยการลงโทษนักเรยี นและนกั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๘ คะ นนความประพฤติ หมายความว่า การให้คะแนนความประพฤตแิ กน่ กั เรียนทีป่ ระพฤติดี และการตดั คะแนนความประพฤตินักเรยี นทป่ี ระพฤตผิ ดิ หรอื ฝ่าฝนื โดยครูตามระเบยี บทว่ี างไว้ ขอ้ ๕ ระเบยี บนีม้ ี ๕ หมวด โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ 65

หมวดท่ี ๑ การ ตง่ กายของนกั เรยี น นกั เรยี นตอ้ งแตง่ กายใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบยี บของโรงเรียน การดัดแปลงเครอื่ งแบบใหผ้ ิดไปจากระเบียบ ถือว่าเปน็ การฝ่าฝนื ระเบยี บ ข้อ ๑ เครือ่ ง นกั เรยี นชาย ๑.๑ เสือ้ เส้ือเช้ติ คอตั้ง สขี าวเกลี้ยงไม่บางเกินควร ผา่ อกตลอดมีสาบเส้ือท่อี กกวา้ ง ๔ เซนติเมตร กระดมุ สขี าว กลมแบน แขนเสื้อส้ันเหนือขอ้ ศอกเมอ่ื ยนื ตรง ความยาวเหนือขอ้ ศอกประมาณ ๕ เซนติเมตร และมกี ระเปา๋ ติด แนวอกดา้ นซ้าย ๑ ใบ ขนาดกวา้ ง ๘ - ๑๖ เซนตเิ มตร ลึก ๑๐ - ๑๓ เซนติเมตร ปกเสอ้ื ด้านซา้ ยมอื ปกั จุดบอก ระดับ สนี ้ำเงิน ม.๑ และ ม.๔ ๑ จดุ ม.๒ และ ม.๕ ๒ จุด ม.๓ และ ม.๖ ๓ จดุ บนหน้าอกด้านขวาตดิ เขม็ พระเก้ียว (เฉพาะนักเรียนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๔-๖) และปกั อักษรยอ่ ของโรงเรียน ต.อ.พ.ภ (ทางโรงเรียน มแี บบให)้ ชายเสือ้ ตอ้ งเก็บไวใ้ นกางเกงใหเ้ รยี บร้อหา้ มปลอ่ ยชายเสื้อออกนอกกางเกงดึงชายเส้ือใหต้ งึ มองเหน็ หัวเขม็ ขดั ๑.๒ กางเกง กางเกงขาสั้นสีดำ ขากางเกงยาวไม่สูงเกินกว่าสะบ้าหัวเข่า (กรณีที่นักเรียนสูงขึ้น ขากางเกงให้ขยับ สูงขึ้นได้ไม่เกิน ๒ เซนติเมตรจากสะบ้าหัวเข่าและต้องแก้ไขภายใน ๑ สัปดาห์ที่ได้รับการตักเตือน) ส่วนกว้าง ของกางเกงวัดห่างจากขาประมาณ ๘ - ๑๒ เซนติเมตร ผ่าตรง หน้าติดซิบ มีกระเป๋าตามแนวตะเข็บข้าง ขา้ งละ ๑ ใบ มีหรู อ้ ยเขม็ ขดั ๗ หู ๑.๓ เขม็ ขดั เข็มขดั หนงั สีนำ้ ตาลแบบเรยี บไมม่ ีลวดลายกวา้ ง ๓ เซนติเมตร และมีปลอกหนัง ๑ ปลอก ขนาดกวา้ ง ๑.๕ เซนตเิ มตร เขม็ ขัดต้องสอดในหูกางเกงครบทุกหู หา้ มตดั ปลายเขม็ ขัดเปน็ รปู ต่างๆ หรอื ขีดเขยี นตกแตง่ เพิ่มเติม ๑.๔ รองเทา้ นักเรียน รองเท้าผ้าใบหุ้มส้น สีดำ ไม่มีลวดลาย มีเชือกผูกสีเดียวกับรองเท้า ขอบภายนอกสีเดียวกับรองเท้า ทรงหัวมนส้นเตี้ย (ห้ามใส่รองเท้าในลักษณะเหยียบส้นเท้า) ผูกเชือกรองเท้าแบบไขว้กันให้ครบทุกช่อง มัด เปน็ ปมเป็นหูกระต่าย ๑.๕ งุ เท้า ถุงเท้าไม่มีลวดลายและไม่ใช่ชนิดลูกฟูกหนา ไม่พับถุงเท้า ใช้ได้ทั้งแบบสีขาวล้วน และแบบขาวพ้ืน ถุงเท้าสีเทาหรือดำ ความยาวของถุงเท้าไม่น้อยกว่า ๑๐ เซนติเมตร โดยวัดจากเหนือตาตุ่มของผู้สวมใส่ ดึงถงุ เทา้ ใหต้ งึ ตลอดเวลา ไมร่ ่น ุงเท้าส่วนหน้า ไวใ้ นรองเทา้ (กรณีถุงเท้าเกา่ ยน่ จนร่นลงมาตำ่ กว่าท่กี ำหนด ควรจัดซื้อค่ใู หมใ่ ห้มสี ภาพเรียบร้อย) 66 ค่มู อื นกั เรยี น ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

๑.๖ ทรงผมนกั เรียน ตามระเ ีย กระทรวงศึกษาธิการ วา่ ดว้ ยเรือ่ งการไว้ทรงผมของนกั เรยี น พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑. นกั เรยี นชายจะไวผ้ มสน้ั หรอื ผมยาวกไ็ ด้ กรณีไวผ้ มยาวดา้ นขา้ ง ดา้ นหลงั ตอ้ งยาว ไมเ่ ลยตนี ผม ดา้ นหน้าและกลางศรี ษะใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสมและมคี วามเรียบร้อย ๒. นกั เรยี นหญงิ จะไวผ้ มสน้ั หรอื ผมยาวกไ็ ด้ กรณีไวผ้ มยาวใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสมและรวบให้ เรียบร้อย นกั เรยี นตอ้ ง “ห้าม” ปฏิบตั ิตน ดังนี้ ๑. ดัดผม ๒. ยอ้ มสผี มให้ผิดไปจากเดิม ๓. ไว้หนวดหรือเครา ๔. การกระทำอน่ื ใดซ่ึงไมเ่ หมาะสมกับสภาพการเปน็ นักเรียน เช่น การตัดแตง่ ทรงผมเปน็ รูปทรง สญั ลกั ษณห์ รือเป็นลวดลาย ๕. หวีผมแสกกลาง มีจอน ตอ้ งโกนหนวดแลเคราให้เรยี บรอ้ ย หรือในลักษณะดังต่อไปน้ี ทรงผมนักเรียนชายระดั ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ม.๑-ม.๓ ตัดผมทรงนักเรียน (ผมตัดสั้นขาว ๓ ด้านหรือใช้แผ่นรองปัดตาเลี่ยนขนาดไม่เกิน เบอร์ ๑) ด้านหน้ายาวไม่เกิน ๓ เซนติเมตร ด้านบนยาวไม่เกิน ๒.๕ เซนติเมตร ห้ามหวีผมแสกกลาง ไม่มีจอน โกนหนวด และโกนเคราให้เรียบร้อย ต้องดูแลรักษา ความสะอาดอยูเ่ สมอ ทรงผมนักเรียนชายระดั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.๔-ม.๖ ตัดรองทรงสูงด้านหน้ายาวไม่เกิน ๔ เซนติเมตร ด้านบนยาวไม่เกิน ๓ เซนติเมตร (หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนด โรงเรียนสามารถดำเนินการนำช่าง ตัดผมเข้ามาบริการแก้ไขให้ในโรงเรียนโดยเก็บค่าบริการตามความเหมาะสม) ห้ามหวีผมแสกกลาง ไม่มีจอน โกนหนวด และโกนเคราใหเ้ รียบรอ้ ย ตอ้ งดแู ลรกั ษาความสะอาดอยู่เสมอ **หมายเหตุ ห้ามนกั เรยี นชายทกุ ระดบั ชนั้ กดั สีผม ใส่เจล ใสน่ ้ำมนั ใสผ่ ม พ่นสารใด ๆ และตดั ผม เกรียนทง้ั ศรี ษะ (ที่เรยี กว่า สกินเฮด) หรอื ตัดตามแฟชั่น โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ 67

๑.๗ ตั รประจำตวั นักเรยี น (๑) บัตร Smart Card และสายคล้องบัตร ตามรปู แบบที่โรงเรยี นกำหนด (๒) นกั เรยี นตอ้ งหอ้ ยบตั ร Smart Card ของนกั เรยี นเอง ขณะอยู่ในบรเิ วณโรงเรียน ตลอดเวลา (๓) ดแู ลรกั ษาบัตรของตนเองให้ขอ้ ความบนบตั รชดั เจนเสมอ หากชำรุดหรอื สูญหายใหต้ ิดตอ่ เจ้าหน้าทีฝ่ ่ายดูแลบัตรนกั เรยี น ๑.๘ เล็ นกั เรยี นทกุ ระดบั ชน้ั ทัง้ ชายและหญงิ ตดั เลบ็ สน้ั สะอาดเรยี บรอ้ ยอยเู่ สมอพรอ้ มทจ่ี ะไดร้ บั การตรวจ ตลอดเวลา ไมท่ าสีเลบ็ ไม่ตอ่ เลบ็ หรือทำลวดลายท่เี ล็บทกุ น้ิว ข้อ ๒. เครือ่ ง นักเรยี นหญิง ๒.๑ เส้อื เสื้อสีขาวปกทหารเรือ (คอพับในตัว) ต้นแขนไม่มีจีบ ปลายแขนมีจีบเล็กน้อย จุดระดับชั้นปกเส้ือด้าน ซ้ายมือปักจุดบอกระดับ สีน้ำเงิน ม.๑ และ ม.๔ ๑ จุด, ม.๒ และ ม.๕ ๒ จุด, ม.๓ และม.๖ ๓ จุด ผูกหูกระต่ายสีกรมท่าชายสามเหลี่ยมกว้าง ๕-๘ เซนติเมตร ติดกระเป๋าเสื้อ ๘-๑๒ เซนติเมตร ลึก ๑๐ - ๑๕ เซนตเิ มตร ความยาวเสอื้ วัดจากขอบเสื้อถงึ ข้อมือ ๑๐ เซนติเมตร บนหน้าอกด้านขวาตดิ เขม็ พระเก้ียว (เฉพาะ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖) ปักอักษรย่อโรงเรียน ต.อ.พ.ภ (ทางโรงเรียนมีแบบให้) เวลาสวมเส้ือ ให้สอดชายเสื้อไว้ในกระโปรงให้เห็นเข็มขัด และสวมเสื้อซับสีขาว ในทุกครั้งเมื่อแต่งชุดนักเรียน และชุดพละ ศึกษา ๒.๒ กระโปรง สีกรมท่าเกลี้ยง ด้านหน้า ด้านหลัง มีจีบด้านละ ๓ จีบ พับออกด้านนอก เย็บจีบจากขอบกระโปรง ๓ นว้ิ มีซบิ ขา้ งซ้ายมกี ระเป๋าข้างขวา ๑ ใบ ขอบกระโปรงกวา้ ง ๓ เซนตเิ มตร ความยาวกระโปรงคลุมเข่าลงมา ๕ เซนติเมตร ชายกระโปรงพบั รมิ กวา้ งประมาณ ๓ เซนตเิ มตร เมอ่ื สวมกระโปรงใหข้ อบกระโปรงอยรู่ ะดบั เอว ๒.๓ เข็มขดั เขม็ ขัดหนงั สดี ำไม่มลี วดลายกวา้ ง ๓ เซนตเิ มตร และมปี ลอกหนงั ๑ ปลอก ขนาดกว้าง ๑.๕ เซนตเิ มตร สำหรบั สอดปลายเข็มขดั หา้ มตดิ สต๊กิ เกอรท์ เ่ี ขม็ ขัด (ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย) 68 ค่มู อื นกั เรยี น ผปู้ กครอง ๒๕๖๔

๒.๔ งุ เท้า สีขาวเรียบ ไม่มีลวดลาย ไม่มีแถบสี ใช้ได้ทั้งแบบสีขาวล้วน และแบบขาวพื้นถุงเท้า สีเทาหรือดำ ห้ามใช้ถุงเท้าทำด้วยลูกฟูกชนิดหนา หรือชนิดบางคล้ายถุงน่อง ต้องมีความยาวที่สามารถพับได้ ๒ ครั้งและ แถบที่พับกว้างไม่น้อยกว่า ๓ เซนติเมตร ให้ขอบล่างของระยะพับสูงกว่าตาตุ่ม ห้ามกระทำนอกเหนือ จากทโ่ี รงเรียนกำหนด ๒.๕ รองเท้า หนงั สดี ำไม่มลี วดลาย ห้มุ สน้ ปลายเท้าหัวมนชนิดมีสายคาดรัดหลังเท้า (ห้ามใสร่ องเทา้ ในลกั ษณะ เหยียบสน้ เท้า) รองเท้าพละสีขาว (เฉพาะนักเรียนหญิง) ผูกสายสีขาวล้วน แบบหุ้มส้น หุ้มปลายเท้า ไม่มีลวดลาย ทรงหัวมน ขอบภายนอกสีเดียวกับรองเท้า (ห้ามใส่รองเท้าในลักษณะเหยียบส้นเท้า และห้ามใช้ กับชุดนักเรียน) ผูกเชือกรองเท้าแบบไขว้กันให้ครบทุกช่อง มัดเป็นปมเป็นหูกระต่าย ไม่นำรองเท้าพละ ใสร่ ว่ มกบั ชดุ นกั เรยี น ยกเว้นเม่อื ไดร้ บั อนุญาตจากครเู ป็นกรณีไป ๒.๖ ัตรประจำตัวนักเรยี น บตั ร Smart Card และสายคล้องบตั ร ตามรปู แบบทโี่ รงเรียนกำหนด ๒.๗ ทรงผมนกั เรียนหญิง ทรงผมสัน้ ผมทรงนกั เรียน ผมสัน้ ไมจ่ รดปกเสื้อหรอื บ่ากรณีไม่มดั ผม หากยาวเกินกว่าท่ีกลา่ วมา ใหม้ ดั รวบและผูกโบสตี ามระดับชน้ั ของตนเอง ทรงผมยาว มดั รวบใหเ้ รียบรอ้ ย ความยาวของเสน้ ผมเมอื่ มดั ผมรวบใหแ้ นน่ แลว้ วัดจากจดุ ทม่ี ดั จนสุด ปลายผม ยาวไมเ่ กิน ๓๐ เซนตเิ มตร และยาวเทา่ กันตลอดท้ังด้านหลงั หา้ มปลอ่ ยผม ใหร้ วบผมใหเ้ รยี บร้อย รดั ดว้ ยยางรดั ผมสีดำเท่าน้นั ปลายผมด้านหน้าและด้านขา้ ง ใช้กิ๊บติดผมติดเก็บใหเ้ รียบร้อยดา้ นหลงั ผกู โบว์ สขี าว (นักเรียนมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ และ ๔) หรอื ผูกโบว์สีนำ้ เงนิ (นักเรียนมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ และ ๕ ) และผกู โบว์ สดี ำ (นักเรยี นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ และ ๖) ขนาดกวา้ ง ๑ นวิ้ ยาว ๒๕ นิ้ว ไมม่ ลี วดลาย และหา้ มใชส้ ่งิ ตกแตง่ อื่นใด **หมายเหตุ ๑. ไมอ่ นญุ าตให้รวบผมแบบ ๒ ขา้ ง ถักเปยี สวยงาม ถักเปยี หลาย ๆ เปีย ห้ามซอยผมดัด ม้วน ใส่เจล ใส่น้ำมันใส่ผม ย้อมสีหรือพ่นสารใด ๆ ห้ามใช้หวีเสียบผมที่คาดผม ห้ามไว้ผมหน้าม้า ความยาว ของผม ยาวเทา่ กันตลอดทงั้ ดา้ นหน้าและด้านหลงั ๒.๘ เล็ นกั เรยี นทกุ ระดับชั้น ทั้งชายและหญิง ตัดเล็บสนั้ สะอาดเรยี บรอ้ ยอยเู่ สมอพร้อมทีจ่ ะไดร้ บั การตรวจ ตลอดเวลา ไมท่ าสหี รือทำลวดลายท่เี ล็บ โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภมู ิ 69

ขอ้ ๓ เครอื่ ง อน่ื ๆ ที่โรงเรียนกำหนด ๓.๑ เครอ่ื ง พลศกึ ษา โรงเรียนกำหนดใหม้ ีการแตง่ กายตามสเี สื้อและแบบเส้อื ทโี่ รงเรยี นออกแบบไวเ้ พ่อื อำนวยความสะดวก ในการเรยี นวิชาพลศึกษา ใหใ้ ชเ้ ฉพาะวนั ที่มีการเรียนพลศึกษาเท่าน้นั กางเกงพลศึกษา นักเรยี นใสม่ าจากบา้ นในวันทม่ี เี รียนพลศึกษา กางเกงวอร์มสีดำ หรอื สกี รมทา่ (ซือ้ จากโรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการสุวรรณภมู )ิ ใหข้ อบอยูท่ ี่เอวห้ามดึงลงมาหอ้ ยอย่ทู ส่ี ะโพก ๓.๒ เครอ่ื ง ลกู เสอื -เนตรนารี นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ถงึ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ทกุ คนตอ้ งเรยี นวชิ าลกู เสอื -เนตรนารี นกั เรยี นชายเรยี นวชิ าลกู เสอื นกั เรยี นหญงิ เรยี นวชิ าเนตรนารแี ละแตง่ เครอ่ื งแบบลกู เสอื -เนตรนารี ตามแบบที่ กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ซึง่ มีขนาดของเสอ้ื กางเกงเหมือนเคร่อื งแบบนกั เรยี น ๓.๓ เคร่อื ง นักศกึ ษาวิชาทหาร (นศท.) ใหน้ กั เรียนแตง่ เคร่อื งแบบตามที่หลกั สูตรนกั ศึกษาวิชาทหาร (นศท.) กำหนด โดยใหร้ กั ษาความ เรยี บร้อยทงั้ ในขณะอยทู่ โ่ี รงเรยี น และขณะเดนิ ทางไปฝกึ หรือเดินทางไป – กลับ บา้ นและโรงเรยี น 70 ค่มู ือนกั เรียน ผปู้ กครอง ๒๕๖๔

หมวดที่ ๒ การใช้กระเปา๋ เป้ ละของใชจ้ ำเปน็ อืน่ ๆ เพ่อื ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อยในการใช้กระเป๋าเป้ และของใช้จำเป็นอ่ืน ๆ จงึ มีหลักเกณฑด์ ังนี้ ข้อ ๑ นกั เรยี นทกุ ระดบั ช้ันใหใ้ ช้กระเป๋าทท่ี างโรงเรยี นจัดทำข้ึนเทา่ น้นั ได้แก่ กระเปา๋ เป้สะพายหลัง ข้อ ๒ นาฬิกาขอ้ มอื อนุญาตให้ใชเ้ พ่ือประโยชนใ์ นการดเู วลา รูปแบบสภุ าพ สายโลหะหรอื สายหนงั สดี ำหรือ น้ำตาล ขนาดและราคาพอเหมาะกบั วยั เรียน ข้อ ๓ แวน่ ตาอนญุ าตให้ใชเ้ ฉพาะแวน่ สายตา สำหรบั นักเรยี นท่ีมีปัญหาเรอื่ งสายตาเท่านัน้ ต้องมรี ูปทรงที่ สภุ าพเหมาะสม ไมอ่ นุญาตให้ใช้แวน่ กันแดดสชี าหรือสีดำ หรือคอนแทคเลนส์ ยกเว้นกรณมี ีปัญหาเรอื่ งแสง กบั สายตา ต้องขออนุญาตฝา่ ยกิจการนกั เรียน โดยมีใบรบั รองแพทยป์ ระกอบ ข้อ ๔ กิบ๊ ตดิ ผม อนญุ าตใหใ้ ช้เฉพาะนักเรียนหญงิ ต้องเปน็ กิ๊บสีดำ ไมม่ ีลวดลาย ขอ้ ๕ ไมอ่ นญุ าตใหใ้ ชเ้ คร่อื งสำอาง ไมอ่ นุญาตใหน้ ักเรียนหญิงทุกระดบั ช้ันทาลิปสติกทีม่ ีสี หรอื ลปิ มนั เปลีย่ น สีได้ รวมถึงการเขียนคิ้ว เขียนตา ใสข่ นตาปลอม และคอนแทคเลนสท์ ม่ี ีสอี ื่น ๆ ยกเวน้ สใี สสำหรับผมู้ ีปญั หา สายตา เวน้ แต่เปน็ กจิ กรรมทโี่ รงเรยี นอนุญาต หากฝา่ ฝืน โรงเรียนสามารถให้นกั เรยี นแกไ้ ขโดยการเช็ดหรือ ล้างทำความสะอาดโดยทันที และปรับพฤตกิ รรมในกรณเี ดยี วกบั การแตง่ กายผิดระเบียบอ่นื ๆ ข้อ ๖ หา้ มทำศัลยกรรมตกแตง่ รา่ งกายทุกชนิด สักคิว้ ถาวร เจาะตามร่างกายและใส่หว่ งหรือตุ้มโลหะ ขอ้ ๗ เครอ่ื งประดับ ไม่อนุญาตให้นักเรียนทุกระดับชัน้ ทัง้ ชายและหญิง สวมตา่ งหู กรณีเจาะหูให้ ใช้เฉพาะก้านพลาสติกใสใส่ไว้เทา่ นนั้ ไม่อนญุ าตใหส้ วมสร้อยข้อมือหรือกำไลทุกแบบ ไม่อนญุ าตใหส้ วมแหวน ทกุ แบบ ข้อ ๘ สายสร้อยอนญุ าตให้ใสส่ ำหรับผู้ทีต่ อ้ งการมีพระตดิ ตัวไว้ และต้องใหม้ คี วามยาวไม่น้อยกว่า ๒๐ นิ้ว ไมอ่ นุญาตให้สวมสร้อยคอทองคำ สร้อยคอแบบอนื่ ๆ ตอ้ งสวมแบบทีย่ าวไวใ้ นเสือ้ สายสรอ้ ยทำด้วยเงิน หรือ สแตนเลสขนาดเลก็ เทา่ นนั้ โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสุวรรณภูมิ 71

หมวดท่ี ๓ ข้อปฏิ ัตขิ องการเป็นนักเรยี น ขอ้ ๑ การ ตง่ กายมาโรงเรยี น ๑.๑ เมอื่ อยู่ในเครอ่ื งแบบนักเรยี น นักเรียนตอ้ งแต่งกายใหถ้ ูกต้องตามระเบียบ ไม่วา่ ภายใน หรอื ภายนอกโรงเรยี น ๑.๒ เมอ่ื นักเรียนมาติดตอ่ กับโรงเรยี นทกุ ครั้ง ต้องแต่งเครือ่ งแบบนกั เรยี นให้เรยี บรอ้ ย ๑.๓ การแตง่ กายไวท้ ุกข์ นกั เรยี นท่ีมคี วามจำเปน็ ตอ้ งแตง่ กายไวท้ ุกข์ ตามธรรมเนียมประเพณี การไวท้ กุ ขใ์ ห้ทำหนงั สอื ขออนุญาตตอ่ ฝา่ ยกิจการนักเรยี นโดยระบุวนั เริ่มและวนั สิ้นสุดการไว้ทุกข์ พรอ้ มท้ังมี ผู้ปกครองรบั รอง ขอ้ ๒ การมาโรงเรยี น ๒.๑ นกั เรยี นตอ้ งมาถงึ โรงเรียนก่อนเขา้ แถวเคารพธงชาติ และลงชอื่ มาโรงเรียนตามจดุ ท่โี รงเรยี น กำหนดด้วยบัตร Smart Card กอ่ นเข้าแถว ๒.๒ นักเรียนที่มาโรงเรียนไม่ทันเข้าแถวเคารพธงชาติให้ถือว่ามาสาย ให้รายงานตัวและลงชื่อ ต่อครูเวรประจำวันนั้น ๆ และให้เข้าแถวอยู่ต่างหากเฉพาะนักเรียนมาสาย นักเรียนที่มาสายจะถูกพิจารณา โทษ ในแตล่ ะคร้ัง โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของครเู วรประจำวนั นั้น ๆ และเสนอช่ือใหค้ รูหวั หนา้ ระดับดำเนินการ ตามขัน้ ตอนตอ่ ไป สำหรั นกั เรียนทีม่ าสาย (ไม่ทนั เขา้ วเคารพธงชาติ) จะมผี ลดังน้ี ๑. มาสาย ๑-๕ คร้ัง คณุ ครปู ระจำชน้ั วา่ กล่าวตักเตอื น และ/หรอื หกั คะแนนความ ประพฤติ ไม่เกนิ คร้งั ละ ๕ คะแนน และบันทึกไวใ้ นทะเบียนประวัติเป็นหลักฐาน ๒. มาสาย ๖–๑๐ ครง้ั หัวหนา้ ชว่ งช้นั ปกครองว่ากลา่ วตักเตอื น และ/หรอื หักคะแนน ความประพฤติไม่เกนิ คร้ังละ ๘ คะแนน และบันทึกไว้ในทะเบยี นประวัตเิ ปน็ หลักฐาน ๓. มาสายเกิน ๑๐ ครั้ง แผนกปกครอง เชิญผปู้ กครองมาพบ และ/หรอื หกั คะแนน ความประพฤตคิ ร้ังละ ไมเ่ กนิ ๑๐ คะแนน และบันทึกไว้ในทะเบียนประวตั เิ ปน็ หลักฐาน ๒.๓ นักเรียนที่มาสายหลังเข้าแถวเคารพธงชาติ ต้องลงชื่อมาสายที่ห้องกิจการนักเรียนทุกครั้งโดย นักเรียนที่มาสายจะถูกพิจารณาในแต่ละครั้ง และนักเรียนต้องแสดงใบอนุญาตเข้าชั้นเรียน (กรณมี าสาย) ก่อนเขา้ ห้องเรยี นต่อคุณครผู สู้ อนทุกคร้ัง 72 ค่มู อื นกั เรยี น ผปู้ กครอง ๒๕๖๔

สำหรั นกั เรยี นท่มี าสาย (หลังเขา้ วเคารพธงชาติ ) จะมผี ลดงั น้ี ๑. มาสาย ๑-๕ ครั้ง คณุ ครปู ระจำชน้ั ว่ากล่าวตักเตอื น และ/หรอื หกั คะแนนความประพฤติ ครั้งละไมเ่ กนิ ๘ คะแนน พรอ้ มทั้งบนั ทึกไว้ในทะเบียนประวัติเปน็ หลักฐาน ๒. มาสายเกนิ ๕ ครง้ั หัวหนา้ ช่วงช้นั ปกครอง เชญิ ผปู้ กครองมาพบ และ/หรอื หักคะแนน ความประพฤติ ๓ ครง้ั ละไมเ่ กนิ ๑๐ คะแนน พร้อมท้ังบนั ทกึ ไวใ้ นทะเบยี นประวตั เิ ป็นหลักฐาน ๒.๔ นักเรียนที่มีความจำเป็นต้องมาสาย เช่น ช่วยงานผู้ปกครอง หรือ เหตุผลอื่น ๆ ที่เห็นสมควร ให้ผู้ปกครองขออนุญาตจากแผนกปกครองเป็นลายลักษณ์อักษรก่อนและนักเรียนต้องแสดงใบอนุญาต เขา้ ช้นั เรยี น (กรณีมาสาย) จากแผนกปกครองต่อคณุ ครเู วรประจำวนั ท่หี อ้ งกิจการนักเรยี นทกุ ครั้งทม่ี าสาย ๒.๕ การเข้า – ออกโรงเรียนของนักเรียนให้เดินบนบาทวิถีเท่านั้น หากเข้า-ออกเป็นกลุ่มใหญ่ ให้เดนิ เป็นแถว และให้ใช้ประตูเขา้ -ออกตามท่โี รงเรียนกำหนด ๒.๖ หา้ มนักเรยี นนำยานพาหนะใด ๆ เขา้ มาในโรงเรยี นโดยเด็ดขาด ๒.๗ นักเรียนที่ผู้ปกครองมาส่ง หรือมารถรับ-ส่งประจำ ต้องลงรถที่จุดรับ-ส่งที่ทางโรงเรียน กำหนดให้เท่านั้น และตอนเลิกเรียนให้ผู้ปกครอง หรือรถรบั -ส่งนักเรยี นรับนักเรยี นตรงจดุ รบั -ส่งทที่ างโรงเรียน กำหนด (ยกเว้นกรณีท่ีนักเรียนเจบ็ ป่วย หรือฝนตก) ๒.๘ นักเรียนที่ใช้บริการรถโดยสารทุกชนิด ให้ปฏิบัติตามกฎหมายจราจรโดยเคร่งครัด (การขา้ มถนนของนกั เรยี นให้ใชท้ างม้าลายเทา่ น้นั ) ข้อ ๓ การเรยี น ๓.๑ นักเรยี นตอ้ งเขา้ เรยี นทุกคาบเรยี นตามตารางเรียน นักเรยี นทเี่ ขา้ ห้องเรยี นสายเกนิ ๑๐ นาที ถือว่าเขา้ ห้องเรียนสายในคาบเรียนนัน้ ๓.๒ นกั เรียนตอ้ งมอี ปุ กรณก์ ารเรยี นครบทุกรายวชิ า และต้องเตรียมอปุ กรณก์ ารเรยี นใหพ้ ร้อมกอ่ น คณุ ครปู ระจำวชิ าเขา้ หอ้ งสอน ๓.๓ นกั เรยี นตอ้ งตง้ั ใจเรยี น เขา้ รว่ มกจิ กรรม ปฏบิ ตั งิ านตามทค่ี ณุ ครสู งั่ ไมส่ ง่ เสยี งรบกวนหรอื มี พฤตกิ รรมอนื่ ใดท่มี ี ผลกระทบต่อบรรยากาศการเรยี นการสอน และให้ถอื ปฏบิ ัติหรือเข้าร่วมกิจกรรมตาม ระเบียบข้อตกลงท่ีเหน็ ชอบรว่ มกนั ของนกั เรียนในแต่ละหอ้ งเรียน ๓.๔ นักเรยี นทเ่ี จ็บป่วย ไมส่ ามารถเขา้ เรยี นในคาบเรียนใด ให้แจง้ และขออนญุ าตต่อคุณครูประจำ วชิ านนั้ กอ่ น และนำใบอนญุ าตจากคณุ ครูประจำวชิ า ไปแสดงต่อคณุ ครูประจำห้องพยาบาล ๓.๕ ในขณะที่มีการเรียนการสอน นกั เรยี นทมี่ ีกจิ ธรุ ะจำเปน็ ตอ้ งออกจากหอ้ งเรยี น หรอื ตอ้ งการ เขา้ หอ้ งเรียน หรือมีความจำเปน็ เรง่ ดว่ นที่ตอ้ งการพบเพ่ือน ใหข้ ออนุญาตต่อคุณครทู ่ีสอนกอ่ นทกุ ครง้ั ๓.๖ ในคาบเรยี นใดท่ีคณุ ครปู ระจำวชิ าไม่ไดเ้ ขา้ หอ้ งสอน เมอ่ื เวลาผา่ นไปแล้ว ๑๐ นาทใี ห้หวั หนา้ ชัน้ รบี รายงานตอ่ งานวิชาการของโรงเรยี นเพอื่ จดั คุณครดู แู ลหรอื สอนแทน ๓.๗ นกั เรยี นตอ้ งช่วยกนั รักษาความสะอาดของหอ้ งเรยี น จัดผรู้ บั ผดิ ชอบทำความสะอาดเป็นประจำ โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภมู ิ 73

และจัดบรรยากาศของห้องเรียนให้สอดคล้องกับการเรียนการสอนอยู่เสมอ ห้ามนำอาหาร เครื่องด่ืม ของขบเคยี้ วไปรับประทานในห้องเรียน และในอาคารเรยี นโดยเด็ดขาด ๓.๘ ในคาบวา่ ง นักเรียนตอ้ งใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ เชน่ อา่ นหนังสือ เข้าหอ้ งสมุด ทำการบา้ น เล่นกฬี า หรือทำกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ หา้ มกระทำอนื่ ใดท่กี อ่ ให้เกิดการรบกวนการเรียนการสอนของคุณครู และเพอ่ื นนกั เรียน ๓.๙ นกั เรียนตอ้ งมคี วามรักสามคั คี มีมนษุ ยสัมพนั ธ์อนั ดี มีความเป็นเพอื่ น มีความเป็นพห่ี รอื น้องกับ นักเรียนทุกคน ห้ามใช้กำลังชกต่อย หรือใช้อาวุธอื่นใด หรือใช้อารมณ์ในการตัดสินปัญหา หากเกิดปัญหาหรือ เกดิ การทะเลาะกันข้นึ ให้คกู่ รณหี รอื ผพู้ บเหน็ รายงานต่อคณุ ครทู อี่ ย่ใู กลท้ สี่ ุดทราบทันที ขอ้ ๔ การลาหยดุ การเรยี น ๔.๑ นักเรียนที่มีกิจธุระมีความจำเป็นต้องลาหยุดการเรียน นักเรียนต้องส่งใบลาโดยมีผู้ปกครอง รบั รองลงชื่อกำกบั ตอ่ คณุ ครปู ระจำช้นั ลว่ งหน้าอย่างน้อย ๑ วนั หากมีความจำเป็นเร่งด่วน ไม่สามารถส่งใบลาล่วงหน้าได้ตามวรรคหนึ่ง ให้ส่งใบลาโดยมีผู้ปกครอง รับรองลงช่ือกำกับต่อคุณครูประจำชน้ั ในวนั แรกที่ นกั เรียนมาเรียน นกั เรียนทีป่ ลอมแปลงลายมือชื่อผู้ปกครอง หรอื เอกสารอ่ืนใด ถอื วา่ เป็นความผิดต้องไดร้ บั การพจิ ารณาโทษตามระเบียบวา่ ดว้ ยการลงโทษฯนักเรยี น ๔.๒ นักเรียนที่ลาป่วย นักเรียนต้องส่งใบลาโดยมีผู้ปกครองรับรองลงชื่อกำกับต่อคุณครูประจำช้ัน ในวันลา หรือในวันมาเรียนวันแรก หากเจ็บป่วยหลายวันหรือต้องเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล ผู้ปกครอง ตอ้ งแจง้ ให้ทางโรงเรียนทราบโดยเร็ว และใหน้ กั เรียนสง่ ใบลาพร้อมใบรับรองแพทยใ์ นวนั แรกทม่ี าเรียน ๔.๓ กรณีที่ผู้ปกครองมาลาด้วยตนเอง ให้ขออนุญาตลาที่ห้องกลุ่มบริหารงานบุคคล และให้ งานบุคคลแจง้ เป็นหนงั สอื ให้คณุ ครูประจำชั้นทราบทุกคร้ัง ๔.๔ กรณีนกั เรียนขาดเรียนตดิ ตอ่ กัน ๓ วนั โดยไมแ่ จง้ ให้ทางคณุ ครูประจำชน้ั ทราบ ให้คุณครปู ระจำ ชั้นแจ้งครูหัวหน้าระดับชั้น และส่งข้อความผ่านระบบช่วยเหลือนักเรียน (D-School) แจ้งให้ผู้ปกครองทราบ หากไม่ได้รับการติดต่อจากผู้ปกครอง ให้ครูประจำชั้นรายงานมายังงานกิจการนักเรียนรับทราบ เพื่อออกหนังสือติดตามนักเรียนเป็นครั้งที่สอง หากยังไม่ได้รับการติดต่อจากผู้ปกครองในเวลาอันควร งานกิจการนักเรียนเสนอขอ้ มลู ตอ่ ผอู้ ำนวยการเพ่อื พจิ ารณา และดำเนินการในลำดบั ต่อไป ๔.๕ การขาดเรยี นโดยไมแ่ จ้งให้คณุ ครปู ระจำชน้ั ทราบ จะไดร้ บั การพิจารณาโทษตามระเบยี บว่าด้วย การลงโทษนกั เรยี น หมายเหตุ กรณีนักเรยี นมธี รุ ะตอ้ งไปกบั ผูป้ กครอง หรือไปเพยี งลำพงั แล้วจะเขา้ มาเรยี นหลงั เวลาทำ พธิ หี นา้ เสาธง นกั เรียนตอ้ งแจง้ ครทู ่ีปรกึ ษาทางโทรศพั ทห์ รอื ไลน์ ทราบและรับรองใหน้ ักเรียนทุกครง้ั 74 ค่มู อื นกั เรยี น ผ้ปู กครอง ๒๕๖๔

ข้อ ๕ การออกนอก รเิ วณโรงเรียน ๕.๑ นักเรียนไม่สามารถออกนอกบริเวณโรงเรียนตั้งแต่เวลาโรงเรียนเข้า จนถึงเวลาโรงเรียนเลิก โดยไม่ได้รับอนุญาต และโรงเรียนจะไม่อนุญาตให้ออกนอกบริเวณโรงเรียน หากพิจารณาเห็นว่าไม่มีเหตุผล ท่เี หมาะสม ๕.๒ นักเรียนต้องมีผู้ปกครองมารับ และขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียนต่องานกิจการนักเรียน และผปู้ กครองตอ้ งบันทกึ การรบั นักเรียนกลบั ทีห่ ้องงานกจิ การนกั เรยี น และให้คณุ ครูประจำชั้นทราบทกุ คร้งั ๕.๓ นักเรียนที่ทราบล่วงหน้าว่ามีกิจธุระจำเป็นต้องออกนอกบริเวณโรงเรียน และผู้ปกครอง ไม่สามารถรับได้ ต้องมีหนังสือรับรองจากผู้ปกครองมาแสดงเป็นหลักฐานในการขออนุญาต โดยให้ย่ืน ขออนุญาตต่องานกิจการนักเรียน และแจ้งให้คุณครูประจำชั้นทราบ เมื่อนักเรียนได้รับอนุญาต ต้องบันทึก การขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียนในเอกสารที่ห้องงานกิจการนักเรียน พร้อมนำใบอนุญาตไปแสดง ต่อเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยหน้าประตูโรงเรียน เมื่อกลับเข้าโรงเรียนให้นำใบอนุญาตส่งคืนที่งานกิจการ นกั เรยี น ลงเวลาและรายงานตวั ตอ่ คณุ ครปู ระจำชน้ั ๕.๔ นกั เรียนที่มีความจำเปน็ ท่ีจะตอ้ งออกนอกบรเิ วณโรงเรียนโดยไมท่ ราบลว่ งหน้ามากอ่ น ตอ้ งไดร้ ับ อนุญาตจากคุณครูประจำช้ัน คุณครูประจำวิชา ครูหัวหน้าระดับ หัวหน้างานกิจการนักเรียนตามลำดับ เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว ต้องบันทึกการขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียนในเอกสารที่ห้องงานกิจการนักเรียน พร้อมนำใบอนุญาตไปแสดงต่อเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยหน้าประตูโรงเรียน เมื่อกลับเข้าโรงเรี ยนให้นำ ใบอนุญาตสง่ คืนทหี่ ้องงานกิจการนกั เรยี น ลงเวลา และไปรายงานตัวตอ่ หวั หน้าระดบั ช้ัน และคุณครูประจำช้ัน ทุกคร้ัง ๕.๕ นักเรียนที่ไดร้ บั อนุญาตให้ออกนอกบริเวณโรงเรียน ต้องไปทำกิจธุระ หรือกิจกรรมตามท่ีระบุไว้ ในใบอนุญาตเทา่ น้ัน เม่อื เสรจ็ กจิ ธุระ หรือกจิ กรรม ให้รบี กลับเขา้ โรงเรียนทันที ๕.๖ การออกนอกบริเวณโรงเรียน โดยไม่กลับเข้าโรงเรียนในวันนั้นอีก จะด้วยเหตุจำเป็นใดก็ตาม โรงเรียนจะอนุญาตได้ก็ต่อเมื่อ มีผู้ปกครองมารับ หรือผู้ปกครองต้องทำหนังสือขออนุญาตมาเป็นลายลักษณ์ อักษรเท่านน้ั โดยใหข้ ออนุญาตตอ่ งานกิจการนักเรียน และแจ้งใหค้ ุณครปู ระจำชั้นทราบ ๕.๗ นักศึกษาวิชาทหารที่ได้รับอนุญาตให้ออกนอกบริเวณโรงเรียนเพื่อไปเรียนหรือรับการฝึก ต้องแต่งชุดนักศึกษาวิชาทหาร หรือมีบัตรประจำตัวนักศึกษาวิชาทหารแสดงเป็นหลักฐาน ซึ่งจะได้รับอนุญาต ใหอ้ อกนอกบริเวณโรงเรยี น โดยหัวหนา้ งานกิจการนักเรยี น หรอื ผูท้ ่ไี ด้รบั มอบหมาย ๕.๘ การออกนอกบริเวณโรงเรียนเป็นหมู่คณะ ต้องมีคุณครูควบคุมดูแล และคุณครูผู้ควบคุมต้อง เสนอขออนญุ าตจากผอู้ ำนวยการโรงเรยี น โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภูมิ 75

ข้อ ๖ การมาโรงเรยี นในวนั หยดุ หรือนอกเวลาเรยี นปกติ นักเรียนที่ได้รับการนัดหมายให้มาโรงเรียนในวันหยุด หรือนอกเวลาเรียนปกติ เช่น การเรียนเสริม การซ้อมกีฬา หรือการทำกจิ กรรมอื่นใดทเี่ กี่ยวขอ้ งกับโรงเรียน ให้ปฏบิ ัตดิ งั น้ี ๖.๑ คุณครูผรู้ ับผิดชอบตอ้ งเสนอขออนญุ าตจากผ้อู ำนวยการ และดแู ลควบคุมนักเรียนตลอดเวลา ๖.๒ นักเรียนต้องนำหนังสือขออนุญาตจากโรงเรียนให้ผู้ปกครองลงชื่อเพื่ออนุญาต และนำหนังสือ ขออนุญาตมาให้คณุ ครูผ้รู บั ผดิ ชอบ ๖.๓ นักเรียนตอ้ งแต่งเครอ่ื งแบบนักเรียน หรือเคร่อื งแบบกจิ กรรม หรือชดุ สุภาพเรียบร้อยตามท่ี คณุ ครูผรู้ บั ผดิ ชอบเปน็ ผู้กำหนดตามทเ่ี ห็นสมควร ๖.๔ นกั เรยี นตอ้ งประพฤติปฏิบตั ิตนให้อยู่ในระเบียบวินยั ของโรงเรียนเหมือนเช่นวนั เรียนปกติ ๖.๕ นกั เรยี นต้องกลับถึงบา้ นตามเวลาท่ีคุณครผู ้รู บั ผดิ ชอบกำหนด ขอ้ ๗ การรั ประทานอาหาร เคร่ืองด่ืม ๗.๑ เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเพลงโรงเรียน เวลา ๐๗:๔๕ น. ให้หยุดซื้ออาหาร ขนม หรือเครื่องดื่ม หากกำลงั รบั ประทานอยู่ ใหเ้ ร่งรบี ใหท้ นั เวลาเข้าแถวเคารพธงชาติ ๗.๒ โรงเรียนได้กำหนดเวลาการซื้ออาหารและรับประทานอาหาร ในเวลาพัก ๕๐ นาที พักกลางวัน และตามทีโ่ รงเรยี นกำหนด ห้ามลงมาสงั่ อาหารล่วงหนา้ โดยใชเ้ วลาเรียน ๗.๓ นักเรยี นตอ้ งเขา้ แถวซือ้ อาหารตามคิวอยา่ งมีระเบยี บ มนี ำ้ ใจเอือ้ เฟอ้ื มีมารยาทในการรบั ประทาน อาหาร ไม่ทิ้งเศษอาหารลงบนโต๊ะ หรือบนพื้น เศษอาหารหรืออาหารที่ไม่รับประทานให้เก็บใส่ภาชนะ ใหเ้ รยี บรอ้ ย ๗.๔ นักเรียนต้องรับประทานอาหารบนโต๊ะอาหารในโรงอาหาร และบริเวณที่โรงเรียนกำหนด ห้ามนักเรียนเข้าไปในร้าน และหลงั รา้ น เมือ่ รับประทานอาหารเสรจ็ ใหน้ ำภาชนะสง่ คนื ณ จุดรับภาชนะ ๗.๕ เครื่องดื่ม ขนม ไอศกรีม ผลไม้ ฯลฯ ควรรับประทานให้เรียบร้อยในบริเวณที่โรงเรียนจัดไว้ เท่านั้น ไม่นำอาหารไปรับประทานบริเวณอื่น ๆ เมื่อรับประทานเสร็จแล้วให้เก็บภาชนะที่ไม่ใช้แล้วบรรจุ ลงถงั ขยะให้เรยี บร้อยทกุ คร้งั ข้อ ๘ การใชอ้ าคารส านท่ี ละสม ัตสิ ่วนรวม ๘.๑ นักเรียนต้องช่วยกันดูแลรักษาความสะอาด อาคารสถานที่ของโรงเรียน ห้ามนักเรียนขีดเขียน หรือขูดขีด หรือต่อเติม โต๊ะ เก้าอี้ ฝาผนัง ประตู หน้าต่าง หรือทรัพย์สินอื่นใดของโรงเรียนเป็นอันขาด ใหช้ ว่ ยกนั ดแู ลรกั ษาให้อยู่ในสภาพเรียบรอ้ ยใชก้ ารได้ดีอย่เู สมอ หากพบเห็นการชำรดุ โดยเฉพาะอุปกรณไ์ ฟฟ้า ให้รีบแจ้งฝ่ายอาคารสถานท่ี หรอื คุณครูที่อยู่ใกลท้ ี่สดุ โดยเรว็ ๘.๒ นักเรียนต้องช่วยกันดูแลการประหยัดน้ำ ไฟฟ้า และการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดโดยคำนึงถึง ความปลอดภยั และประหยัด ไมอ่ นญุ าตให้นกั เรยี นชารจ์ แบตเตอร่ีอุปกรณส์ ื่อสารในโรงเรยี น 76 ค่มู อื นกั เรียน ผ้ปู กครอง ๒๕๖๔

๘.๓ นักเรียนใช้อาคารสถานที่ให้เหมาะสมและถูกต้อง การเล่นกีฬาทุกประเภท ให้ใช้บริเวณสนาม หรอื บริเวณทีโ่ รงเรียนกำหนด ๘.๔ นักเรียนที่มีความจำเป็นต้องเข้าห้องพักครู ห้องสำนักงานฝ่ายต่าง ๆ หรือห้องที่มีลักษณะเฉพาะ ต้องขออนุญาต และไดร้ บั อนุญาตจากคุณครผู ู้รบั ผดิ ชอบกอ่ นทุกครงั้ ๘.๕ ในเวลาเรียนปกติห้ามมิให้นกั เรียนเข้าไปในบริเวณบา้ นพักครู คนงาน ที่พักนักกีฬา ลานจอดรถ โรงซ่อมบำรงุ เรอื นเพาะชำ ยกเว้นนักเรียนทไ่ี ด้รับอนุญาตเมื่อมีความจำเปน็ เป็นคร้ังคราว ขอ้ ๙ การทำความเคารพ การทำความเคารพใหน้ กั เรยี นปฏิบตั ดิ ังนี้ ๙.๑ เมื่อนักเรียนพบครูทุกคน ให้นักเรียนยืนตรง หันหน้าไปทางคุณครู ทำความเคารพด้วยการไหว้ นักเรียนชายกล่าวคำว่า “สวัสดีครับ” นักเรียนหญิงกล่าวคำว่า “สวัสดีค่ะ” หากมีสัมภาระอยู่ในมือ ให้วาง สัมภาระก่อนการไหว้ ในกรณีที่ไม่สามารถวางสัมภาระได้ หรือเมื่อวางอาจส่งผลเสียหายต่อสัมภาระให้ทำ ความเคารพโดยการยนื ตรง นักเรียนชายกลา่ วคำว่า “สวัสดีครบั ” นกั เรยี นหญงิ กลา่ วคำวา่ “สวสั ดีค่ะ” ๙.๒ ขณะที่นักเรียนยืน หรือนั่งอยู่ตามบริเวณต่าง ๆ เมื่อคุณครูเดินผ่านให้ทำความเคารพ เช่น ขอ้ ๙.๑ ๙.๓ เมื่อนักเรียนเดินสวนกับคุณครู ต้องทำความเคารพเช่นข้อ ๙.๑ และให้คณุ ครูเดินผ่านไปก่อนจงึ คอ่ ยเดนิ ต่อไป ๙.๔ ขณะที่นักเรียนเดินไม่ควรเดินแซงคุณครู หากมีความจำเป็น ให้นักเรียนชายกล่าวคำว่า “ขอโทษครับ” นักเรียนหญิงกล่าวคำว่า “ขอโทษค่ะ” ก่อน จึงเดินแซงไป ในเครื่องแบบอื่น ๆ การทำความ เคารพใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บของเครอ่ื งแบบนนั้ ๆ ๙.๕ ในห้องเรียน เมื่อคุณครูเข้าห้องสอนให้หัวหน้าชั้นบอกคำว่า “นักเรียนทั้งหมดเตรียม” ให้ทุกคนหยุดทำงานที่กำลังทำอยู่นั้นทันที นั่งตัวตรง แล้วบอกว่า “ทำความเคารพ” ให้นักเรียนไหว้ นักเรียน ชายกล่าวคำว่า “สวัสดีครับ” นักเรียนหญิง กล่าวคำว่า “สวัสดีค่ะ” เมื่อหมดคาบเรียน ให้หัวหน้าชั้นบอก คำว่า “นักเรียนทำความเคารพ” ให้ทุกคนนั่งตัวตรงยกมือไหว้ ให้นักเรียนชายกล่าวคำว่า “ขอบคุณครับ” และนักเรียนหญงิ กล่าวคำว่า “ขอบคณุ คะ่ ” (ในวิชาต่างประเทศให้ใช้ภาษาในรายวิชาน้ัน ๆ) ๙.๖ ในการประชุม หรือการเขา้ อบรมในห้องประชุม เม่อื คุณครู หรอื วิทยากรจากภายนอกข้ึนบนเวที ให้หัวหน้าชั้นที่ได้รับมอบหมายในคาบนั้น ๆ บอกคำว่า “นักเรียนทำความเคารพ” ทุกคนนั่งอยู่ประจำที่ และ ให้ทุกคนทำความเคารพโดยการไหว้ ให้นักเรียนชายกล่าวคำว่า “สวัสดีครับ” นักเรียนหญิงกล่าวคำว่า “สวัสดีค่ะ” โดยไม่ต้องยืนขึ้น และเมื่อคุณครู หรือวิทยากรจากภายนอก จบการสอน หรือการอบรม หรือ การประชุม ให้หัวหน้าชั้นที่ได้รับมอบหมายในคาบนั้น ๆ บอกคำว่า “นักเรียนทำความเคารพ” ให้ทุกคน โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภูมิ 77

นั่งอยู่ประจำที่ และทำความเคารพโดยการไหว้ นักเรียนชายกล่าวคำว่า “ขอบคุณครับ” นักเรียนหญิงกล่าว คำว่า “ขอบคุณค่ะ” โดยไมต่ ้องยืนข้ึน ๙.๗ เมื่อพบคุณครูภายนอกบริเวณโรงเรียน ให้ถือปฏิบัติตามประเพณีนิยม คือ ทำความเคารพ ดว้ ยการไหว้ ขอ้ ๑๐ พิธีการหน้าเสาธง นักเรียนทุกคนต้องตระหนักว่า พิธีการหน้าเสาธงเป็นพิธีการอันศักดิ์สิทธิ์ แสดงถึงความภาคภูมิใจ ในความเป็นไทย และแสดงถึงเอกลักษณ์การเป็นนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ ดังนั้นก่อนการเรยี นการสอนทุกวัน ให้นักเรียนเข้าแถวตามลำดับชั้นตามที่โรงเรียนกำหนด เพื่อเข้าร่วมพธิ ีการ หน้าเสาธงด้วยความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และการเป็นนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สุวรรณภมู ิ (ในวันทมี่ ฝี นตกใหน้ กั เรยี นเขา้ แถวหนา้ หอ้ งเรยี น) เวลา ๐๗:๔๕ น. - นกั เรยี นทกุ คนเขา้ แถวพรอ้ มกนั ตามจดุ ท่ีกำหนด พรอ้ มทีจ่ ะเรม่ิ พธิ กี ารหนา้ เสาธง - การเชิญธงชาติสู่ยอดเสา (นักเรียนที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้รับผิดชอบ) ให้นักเรียนยืนตรง ร่วมร้อง เพลงชาติด้วยความภาคภูมิใจ (ในทุกวันศุกร์ หลังจากจบพิธีการต่าง ๆ ให้นักเรียนหันหน้าไปทางทิศเหนือ ยืนตรง เพื่อถวายความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถฯ และพระบรมวงศานุวงศท์ กุ พระองค์ โดยการร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี) - ประกาศต่าง ๆ อบรม ตักเตือน ชี้แจง มอบรางวัล ตรวจระเบียบการแต่งกายตั้งแต่ศีรษะจรด ปลายเท้า เวลา ๐๘:๑๐ น. - พบครูที่ปรึกษา เวลา ๐๘:๒๐ น. - เร่มิ เรียนคาบแรก ขอ้ ๑๑ การ จ้งของหาย การมอ คนื ของท่ีพ ละการรั ของคืน ๑๑.๑ เมื่อของสูญหายให้แจ้งฝ่ายกิจการนักเรียน พร้อมบันทึกลงในสมุดแจ้งของหาย และให้ติดต่อ ขอรบั ของคนื ทฝ่ี ่ายกจิ การนักเรียนในเวลาท่เี หมาะสม หากไม่แจ้งของหายจะรบั ของคืนไม่ได้ ๑๑.๒ เมื่อนักเรียนพบสิ่งของที่หาย ให้นำไปมอบที่ฝ่ายกิจการนักเรียนพร้อมบันทึกลงในสมุด ของที่พบนักเรียนจะได้รับคะแนนความประพฤติดี และจะได้รับการบันทึกการทำความดีลงในทะเบียนประวัติ หากสิ่งของที่พบมีมูลค่ามากพอสมควร นักเรียนจะได้รับการประกาศคุณความดีให้คณะครู และเพื่อนนักเรียน ทราบ พรอ้ มมอบเกียรตบิ ัตรเพื่อเกียรติประวตั ิ ๑๑.๓ นักเรียนที่ได้รับของหายคืน ต้องบันทึกการรับของคืนเป็นหลักฐานให้เรียบร้อยก่อนจึงจะรับ ของคืน และตอ้ งแสดงความขอบคณุ ตอ่ ผู้ท่ีพบของ ๑๑.๔ สิ่งของของนักเรียนทุกชิ้น ต้องรับผิดชอบ ป้องกันไม่ให้เกิดการสูญหาย ควรเขียนช่ือ หรือ ทำเคร่อื งหมายไวเ้ พือ่ ป้องกนั การสูญหาย หรอื เป็นหลกั ฐานรบั ของคนื 78 ค่มู ือนกั เรียน ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

ข้อ ๑๒ ผปู้ กครองของนกั เรยี น ๑๒.๑ นักเรียนทุกคนต้องมีผู้ปกครองตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ผู้ปกครองนักเรียน นักศึกษา พ.ศ.๒๕๒๒ ๑๒.๒ ผู้ปกครองหมายความว่า บุคคลซึ่งรับนักเรียนไว้ในความปกครอง หรืออุปการะเลี้ยงดู หรือ บุคคลที่นักเรียนอาศัยอยู่ ผู้ปกครองจะต้องร่วมมือกับสถานศึกษา เพื่อดูแลความประพฤติ ดูแลการศึกษาเล่า เรียน ดูแลให้ประพฤติตนตามระเบียบของโรงเรียน ผู้ปกครองควรติดต่อกับโรงเรียนอยู่เสมอ เพื่อรับทราบ ปัญหาและความกา้ วหน้าต่าง ๆ เกย่ี วกบั การศึกษาของนกั เรยี น และความประพฤตขิ องนักเรยี น ๑๒.๓ โรงเรียนกำหนดใหน้ กั เรยี นมีผปู้ กครองได้ ๑ หรือ ๒ คน เมอ่ื ผปู้ กครองยา้ ยที่อยู่ หรอื ความเปน็ ผูป้ กครองสนิ้ สดุ ลงด้วยประการใด ๆ ให้ผู้ปกครองแจง้ ให้แก่โรงเรียนทราบภายใน ๓ วนั ขอ้ ๑๓ การมาพ นกั เรียน ๑๓.๑ ผู้ปกครอง หรือญาติ หรอื เพอื่ น หรอื บคุ คลอื่นใด ทขี่ อพบนกั เรยี น ให้ขออนญุ าตพบนกั เรยี นที่ ห้องกจิ การนกั เรยี น โรงเรยี นไมอ่ นญุ าตใหผ้ ปู้ กครอง หรอื ญาติ หรือเพ่อื น หรือบคุ คลอื่นใดพบนกั เรียนโดย ลำพัง หรือพบตามห้องเรียน เวน้ แตไ่ ดร้ ับพิจารณาอนญุ าต ๑๓.๒ โรงเรียนไม่อนญุ าตให้นกั เรียนนำเพ่ือนต่างโรงเรียน หรอื บุคคลภายนอกเข้ามาในโรงเรยี น หรอื เข้ารว่ มกจิ กรรมของโรงเรียน เวน้ แตไ่ ดข้ ออนุญาต และได้รับพิจารณาอนญุ าตเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร ข้อ ๑๔ การทำทะเ ียนประวัติ ๑๔.๑ นักเรียนทุกคนต้องกรอกข้อมูลที่เป็นจริง และเป็นปัจจุบันในทะเบียนประวัติตามที่โรงเรียน กำหนด ๑๔.๒ หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลใด ๆ ในระหว่างปีการศึกษานักเรียนต้องแจ้งเปลี่ยนแปลงข้อมูล ดังกล่าวใหถ้ ูกต้องตามความเป็นจริงตอ่ คุณครปู ระจำช้ันภายใน ๓ วนั ๑๔.๓ ทะเบยี นประวตั ขิ องนกั เรยี นทกุ คน จะใชต้ ่อกันไปตลอด ๓ ปกี ารศกึ ษา (จบช่วงชนั้ ) ขอ้ ๑๕ ตั รประจำตัวนกั เรยี น ดว้ ยกระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ให้โรงเรียนในสงั กัดถอื ปฏิบัติ เรื่องมาตรการป้องกนั และแก้ไขพฤติกรรม อันไม่พึงประสงค์ของนักเรียน โดยให้ทุกโรงเรียนกำหนดให้นักเรียนทุกคนมีบัตรประจำตัวนักเรียน และให้พกติดตัวตลอดเวลา เพื่อประโยชน์ต่อนักเรียนเอง และสะดวกในการตรวจความประพฤตินักเรียน โรงเรียนจงึ กำหนดแนวปฏิบตั ิดังนี้ ๑๕.๑ นกั เรยี นทุกคนตอ้ งทำบตั รประจำตัว ตามท่โี รงเรียนกำหนด ๑๕.๒ เมอ่ื ไดร้ บั บัตรประจำตวั นกั เรียนแล้ว ต้องพกติดตวั ตลอดเวลา พร้อมทีจ่ ะแสดงตอ่ ครูสารวตั ร นกั เรยี นทข่ี อดบู ตั รประจำตวั นกั เรียน หรอื ใชใ้ นการตดิ ตอ่ กบั ฝา่ ยตา่ ง ๆ ของโรงเรยี น หากชำรดุ หรอื สญู หาย ให้รบี แจ้งครปู ระจำชนั้ เพือ่ ขอทำบัตรใหม่ พรอ้ มชำระคา่ ทำบตั รใหมต่ ามทโี่ รงเรียนกำหนด โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ 79

ขอ้ ๑๖ การขอใ รั รองความประพฤติ ๑๖.๑ นักเรียนที่ต้องการขอใบรับรองความประพฤติ เพื่อใช้ในการศึกษาต่อ หรือใช้รับรองต่อบุคคล หน่วยงาน องค์กร สถานศึกษา บริษัท ห้างร้าน สถานประกอบการ ฯลฯ ต้องยื่นคำร้องที่งานกิจการนักเรียน ตามแบบย่นื คำรอ้ งทโี่ รงเรยี นกำหนด ๑๖.๒ การออกใบรับรองความประพฤติ ฝ่ายกิจการนักเรียนจะพิจารณาจากทะเบียนประวัตินักเรียน หากเคยถูกลงโทษถึงขั้นทำทัณฑ์บน หรือมีหลักฐานว่าได้ประพฤติฝ่าฝืนระเบียบวินัยของโรงเรียนบ่อยครั้ง ฝา่ ยกจิ การอาจไมอ่ อกใบรบั รองความประพฤตใิ ห้ หมวดท่ี ๔ การลงโทษนกั เรียน การลงโทษนักเรียน หมายความว่า การลงโทษนักเรียนที่ประพฤติผิด หรือฝ่าฝืนระเบียบนักเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ พ.ศ.๒๕๖๐ (แก้ไขและปรับปรุงเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๖๒) การลงโทษนักเรียน จะต้องไม่กระทำด้วยวิธีรุนแรง กลั่นแกล้ง ด้วยความโกรธ พยาบาท หรือกระทำ โดยไร้มนุษยธรรม โดยวิธีอันไม่เหมาะสม และไม่กระทำการใด ๆ อันเป็นการขัดต่อกฎหมายหรือศีลธรรมอันดี ไม่กระทำการใด ๆ อันเป็นการละเมิดทางร่างกาย ทางเพศ วาจา การพูดดูหมิ่น หยาบคาย หลอกลวง ต้องปฏิบัติต่อนักเรียนโดยเสมอภาคด้วยความเป็นธรรม โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ ได้กำหนดระเบียบการลงโทษนักเรยี นดังน้ี ขอ้ ๑ โทษทจ่ี ะลง กน่ ักเรยี นมี ๕ ส านดงั นี้ ๑.๑ ว่ากล่าวตักเตือน และ/หรือหักคะแนนความประพฤติ และบันทึกไว้ในทะเบียนประวัติเป็น หลักฐาน ๑.๒ ทำกิจกรรม และ/หรือหกั คะแนนความประพฤติ และบันทกึ ไวใ้ นทะเบียนประวตั ิเปน็ หลักฐาน ๑.๓ ทำทัณฑ์ น และหกั คะแนนความประพฤติ และบันทกึ ไวใ้ นทะเบยี นประวัติเปน็ หลักฐาน และ เชิญผูป้ กครองมาบันทกึ รับทราบความผิด รับรองการทำทัณฑ์บน และปรับพฤติกรรม ๑.๔ พักการเรียน และหักคะแนนความประพฤติ และบันทึกไว้ในทะเบียนประวัติเป็นหลักฐาน และ เชิญผปู้ กครองมารับทราบเหตผุ ลเป็นลายลักษณ์อักษรตามท่ีกฎหมายกำหนด ๑.๕ การให้ออก นักเรียนคนใดประพฤติตนไม่เหมาะสมควรแก่สภาพนักเรียน หรือฝ่าฝืนระเบียบ ข้อบังคับของทางโรงเรียน หรือประพฤติผิดศีลธรรมจนเป็นที่เห็นได้ว่าถ้าให้อยู่ในโรงเรียนต่อไปจะทำให้ เสื่อมเสียชื่อเสียง และเกียรติศักดิ์ของโรงเรียนให้เชิญผู้ปกครองมารับทราบเหตุผลแล้วให้นักเรียนออกไป ตามท่กี ฎหมายกำหนด หรือระเบยี บใด ๆ ท่อี อกโดยทางราชการ 80 ค่มู ือนกั เรียน ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

ขอ้ ๒ การลงโทษ ๒.๑ การวา่ กล่าวตกั เตือน และ/หรอื หกั คะแนนความประพฤติ และบนั ทึกไวใ้ นทะเบียนประวตั ิ เป็นหลักฐาน ใชส้ ำหรบั นกั เรียนท่กี ระทำความผิดขัน้ เบา ให้เปน็ อำนาจของคุณครูประจำชนั้ เปน็ ผู้ พจิ ารณาลงโทษ คุณครูทั่วไป ที่พบเห็นการกระทำผิดของนักเรียน ให้นำตัวนกั เรียนส่ง หรือบันทึก หรือ จง้ คุณครปู ระจำช้ันของนกั เรยี น ๒.๒ การทำกจิ กรรม และ/หรือหกั คะแนนความประพฤติ และบนั ทึกไวใ้ นทะเบียนประวัตเิ ปน็ หลักฐาน ใชส้ ำหรบั นกั เรียนทก่ี ระทำผดิ ความผดิ ข้นั ปานกลาง ให้เป็นอำนาจของหัวหน้าระดั ชัน้ เปน็ ผพู้ ิจารณาลงโทษ โดยคุณครปู ระจำช้นั หรอื คณุ ครูท่วั ไป ท่ีพบเหน็ การกระทำผิดของนกั เรียน ให้นำตัวนกั เรียนสง่ หรอื บันทกึ หรอื แจง้ งานกิจการนักเรยี น (การทำกจิ กรรม หมายความวา่ การให้นักเรยี น ท่ีกระทำความผดิ ทำกจิ กรรม หรือบำเพ็ญตนใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ ตนเอง โรงเรียน หรอื สงั คม) ๒.๓ การทำทณั ฑ์ น และหักคะแนนความประพฤติ และบันทึกไวใ้ นทะเบยี นประวัตเิ ปน็ หลักฐาน และเชญิ ผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบความผิด และรบั รองการทำทัณฑบ์ น ใช้สำหรบั นักเรยี นท่ีกระทำผิด ความผดิ ข้นั รา้ ยแรง ให้เป็นอำนาจของหวั หน้างานกิจการนกั เรียนเปน็ ผู้พจิ ารณาลงโทษ โดยคุณครู ประจำช้นั หรอื คุณครูท่ัวไป ท่พี บเห็นการกระทำผดิ ของนักเรยี น ใหน้ ำตวั นักเรยี นส่ง หรือบันทกึ หรอื แจ้ง หวั หนา้ งานกิจการนักเรยี นดำเนนิ การเชิญผปู้ กครอง หากผปู้ กครองนกั เรยี นไม่มา หรอื ไม่สญั ญาวา่ จะอบรมสัง่ สอนและควบคุมนกั เรยี น เป็นคร้งั ท่ี ๓ โรงเรียนจะส่งตัวนักเรยี นพร้อมท้งั รายงานการลงโทษ นกั เรยี นใหผ้ ูอ้ ำนวยการพจิ ารณาเปน็ ครง้ั สดุ ทา้ ย ๒.๔ การพกั การเรยี น และหกั คะแนนความประพฤติ และบันทึกไวใ้ นทะเบยี นประวัตเิ ปน็ หลักฐาน และเชิญผูป้ กครองมารบั ทราบเหตุผลเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร ใชส้ ำหรับนักเรียนท่ีกระทำความผดิ เป็นนิจ หรือเคยถูกลงโทษให้ทำทณั ฑบ์ นแลว้ แตไ่ ม่เขด็ หลาบ หรือถูกหักคะแนนความประพฤติเกิน ๘๐ คะแนน ใหเ้ ป็นอำนาจของผูอ้ ำนวยการเป็นผู้พจิ ารณาลงโทษ โดยคณุ ครปู ระจำชน้ั หรือคณุ ครูท่ัวไป ท่พี บเห็น การกระทำผิดของนักเรยี น ใหน้ ำตวั นักเรยี นสง่ หรอื บันทกึ หรอื แจง้ หัวหน้าระดับชน้ั ใหห้ ัวหน้าระดบั ช้นั รายงานตอ่ ตอ่ หัวหนา้ ฝา่ ยกิจการนักเรยี นและใหห้ ัวหน้าฝา่ ยกิจการนกั เรยี นรายงานเสนอตามลำดบั ขั้น ต่อไป ๒.๕ หากนักเรียนคนใดประพฤติตน หรือไม่ยอมปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมของตน ให้สมควรแก่สภาพ นักเรียนหรือฝ่าฝืนระเบียบหรือประพฤติผิดศีลธรรมอันดีงาม จนเป็นที่เห็นได้ว่าถ้าให้อยู่ในโรงเรียนต่อไป จะทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียงและเกียรติศักดิ์ของโรงเรียน หรือเป็นเหตุให้ระเบียบวินัยหรือศีลธรรมอันดีของ นกั เรยี นอน่ื พลอยเสอ่ื มเสีย โรงเรยี นจะดำเนนิ การอยา่ งเฉยี บขาดกบั นกั เรยี นผนู้ ัน้ ตอ่ ไป ขอ้ ๓ ระดั ความผิดของการกระทำความผิด ละการหกั คะ นนความประพฤติ ๓.๑ ความผดิ ขน้ั เ า หกั คะแนนความประพฤติความผิดละไม่เกนิ ๕ คะแนน หากคะแนนสะสม เกนิ ๓๐ คะแนน ให้ถือเป็นความผดิ ขน้ั ปานกลาง โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสุวรรณภมู ิ 81

๓.๑.๑ หลีกเลี่ยงการเข้าแถวเคารพธงชาติ ๓.๑.๒ หลีกเล่ยี งการเรียนตามตารางเรยี น ๓.๑.๓ หลกี เลีย่ งการประชุมตามทกี่ ำหนด ๓.๑.๔ มาโรงเรียนสาย โดยไม่มีเหตผุ ล ๓.๑.๕ ไมร่ กั ษาวินัยแถว การเดนิ แถว และการเข้าคิว ๓.๑.๖ เข้าห้องเรียนสาย โดยไมม่ ีเหตุผล ๓.๑.๗ ขัดคำสัง่ คณุ ครู ในเรอื่ งเก่ยี วกับการเรยี น ๓.๑.๘ แต่งกายผิดระเบยี บ ไมแ่ ขวนบัตรนกั เรยี น และใช้เคร่อื งแตง่ กายของผู้อ่ืน ๓.๑.๙ ทรงผมผดิ ระเบียบ ๓.๑.๑๐ ไมใ่ ชก้ ระเปา๋ เป้ ตามที่โรงเรียนกำหนด ๓.๑.๑๑ ใช้เครอ่ื งประดับ และของมีคา่ อ่ืน หรอื ของใช้ทไ่ี ม่จำเป็น ๓.๑.๑๒ ไมร่ กั ษาความสะอาดส่วนตวั และอาคารสถานที่ ๓.๑.๑๓ ไมร่ กั ษาความสงบในหอ้ งเรยี น ในทปี่ ระชุม ๓.๑.๑๔ ไมใ่ ห้ความรว่ มมอื ตอ่ หมคู่ ณะ หรอื ส่วนรวม ๓.๑.๑๕ ไม่ชว่ ยดูแลรักษาสมบตั ิส่วนรวม ๓.๑.๑๖ รบั ประทานอาหารนอกเวลาที่กำหนด และลงมาส่ังอาหารในเวลาเรียน ๓.๑.๑๗ นัง่ บนราวรั้ว ราวแผงก้ัน ราวระเบยี งหอ้ ง ขอบหน้าตา่ ง ราวสะพาน หรอื ท่มี ี ลกั ษณะเดยี วกนั ทงั้ ในและนอกบรเิ วณโรงเรียน ๓.๑.๑๘ ขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน แต่ไม่ทำธุระตามทก่ี ำหนด หรอื ไม่กลบั มาตาม เวลาทก่ี ำหนด ๓.๑.๑๙ แสดงกริ ยิ าไมส่ ุภาพ ใสร่ ้ายผูอ้ น่ื พดู เท็จ พูดหยาบคาย ๓.๑.๒๐ เขา้ -ออก โรงเรยี นโดยไม่ผ่านประตูท่โี รงเรยี นกำหนด ๓.๑.๒๑ ไม่เดินบนบาทวถิ เี มอ่ื เขา้ -ออกโรงเรยี น ๓.๑.๒๒ ไมใ่ ชท้ างมา้ ลายตามทีโ่ รงเรียนกำหนด ๓.๑.๒๓ ความผดิ อน่ื อันอาจจะเกิดขึ้น ซ่งึ เปน็ ความผดิ ในระดับความผดิ เดยี วกนั นี้ ใหอ้ ยใู่ น ดุลยพินจิ ของ คุณครปู ระจำชั้น ๓.๒ ความผิดขน้ั ปานกลาง หกั คะแนนความประพฤตคิ วามผดิ ละไมเ่ กิน ๑๐ คะแนน หากคะแนน สะสมเกนิ ๖๐ คะแนน ใหถ้ อื เปน็ ความผดิ ข้ันรา้ ยแรง ๓.๒.1 ทำความผดิ ขนั้ เบาบ่อยครัง้ หรอื ถกู หกั คะแนนความประพฤติเกนิ ๓๐ คะแนน ๓.๒.2 เท่ยี วเตร่กลางคนื เปน็ นจิ ๓.๒.3 ประพฤตติ นในทำนองชู้สาว แตไ่ ม่ถึงขน้ั รา้ ยแรง ๓.๒.4 ประพฤติตนไมเ่ รียบรอ้ ย ไม่สมกับสภาพความเป็นนกั เรียน ๓.๒.5 เจตนาแต่งกายฝ่าฝนื ระเบยี บท้งั ในและนอกโรงเรยี น ๓.๒.๖ หนอี อกนอกบรเิ วณโรงเรยี น 82 ค่มู ือนกั เรยี น ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

๓.๒.7 ออกจากบ้านแล้วหลีกหนไี ม่เขา้ โรงเรียน ๓.๒.8 แสดงกิรยิ าไม่คารวะตอ่ คุณครูหรอื ผทู้ ีค่ วรให้ความเคารพ แต่ไม่ถงึ ขั้นรา้ ยแรง ๓.๒.9 เจตนานัดหมาย พบปะบคุ คลภายนอก หรอื นำบุคคลภายนอกเข้ามาในโรงเรยี น โดยไมข่ ออนุญาต ๓.๒.10 เจตนาประพฤตปิ ฏบิ ัติอันเปน็ การฝา่ ฝนื ระเบียบวนิ ัยของโรงเรียน ๓.๒.11 เจตนาปลอมแปลงเอกสาร หรือลายมือชื่อของผู้อนื่ ๓.๒.12 ไมน่ ำหนงั สือ หรือเอกสารของโรงเรยี น ทอี่ อกถึงผปู้ กครองไปให้ผูป้ กครอง ตาม กำหนดเวลา ๓.๒.13 ทจุ รติ ในการสอบ ๓.๒.14 มีสอื่ ลามกในครอบครอง อา่ น ดู และรบั ฝากสือ่ ลามกทกุ ประเภท ๓.๒.15 ยุยง ส่งเสรมิ ให้เกดิ การแตกความสามคั คี อันจะนำไปสู่การทะเลาะววิ าท ๓.๒.16 กลัน่ แกล้งผูอ้ ่นื ใหไ้ ดร้ ับความอบั อายหรือเสยี ชอ่ื เสียง หรือเสียทรัพย์สินสิ่งของ ๓.๒.17 หลีกเล่ยี งการเข้าร่วมกิจกรรมท่ีโรงเรยี นจัดขน้ึ ทงั้ ในและนอกโรงเรยี น ๓.๒.18 แต่งเครอ่ื งแบบ ไมต่ รงตามตารางเรยี นท่ีกำหนดไว้ ๓.๒.19 ความผิดอ่ืนอันอาจจะเกดิ ข้นึ ซ่ึงเปน็ ความผิดในระดบั ความผิดเดยี วกันนี้ ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ จิ ของหวั หน้าระดบั ชน้ั และ หวั หน้างานปกครอง ๓.๓ ความผดิ ขน้ั รา้ ย รง หักคะแนนความประพฤตคิ วามผิดละไม่เกนิ ๓๐ คะแนน หากคะแนน สะสมเกนิ ๘๐ คะแนน ให้เสนอผูอ้ ำนวยการพิจารณา ๓.๓.1. ทำความผดิ ขั้นปานกลางบอ่ ยคร้งั หรือถกู หักคะแนนความประพฤติเกนิ ๖๐ คะแนน ๓.๓.2 ประพฤตติ นในทำนองช้สู าวข้นั รา้ ยแรง หรือสาม/ี ภรรยา ๓.๓.3 ลกั ทรพั ย์ หรือสมรรู้ ว่ มคดิ การลกั ทรพั ย์สนิ ของผูอ้ ื่นหรือของโรงเรยี น หรือมีเจตนาทำ ให้ ทรพั ย์สินของผู้อนื่ หรอื ของโรงเรยี นได้รบั ความเสยี หาย ๓.๓.4 มัว่ สมุ ชกตอ่ ย ทะเลาะววิ าท ทำรา้ ยรา่ งกาย ๓.๓.5 นำอาวธุ หรอื อุปกรณ์อน่ื ใดทีเ่ จตนาเปน็ อาวธุ หรือซอ่ นเร้นไว้เพ่ือประทษุ รา้ ย ๓.๓.6 เลน่ การพนันทุกชนดิ สลากกนิ รวบ แชร์ ฯลฯ ๓.๓.7 สูบบุหร่ที ง้ั ในและนอกบริเวณโรงเรียน ๓.๓.8 เสพหรือมีไวเ้ พ่ือเสพ หรอื จำหนา่ ยจ่ายแจก หรอื รับฝากของมนึ เมา สารเสพตดิ ทกุ ชนดิ ๓.๓.9 กระทำอนาจาร หรือการกระทำทไี่ ม่สมควรทางเพศ ไม่ถกู ตอ้ งเหมาะสมตาม วัฒนธรรม ประเพณไี ทยและกฎหมายบา้ นเมือง ๓.๓.10 เข้าไปในสถานที่หรอื คบค้าหรือจดั หาหรือประพฤติตนเพื่อการค้าประเวณี ๓.๓.11 เข้าไปในสถานบรกิ าร หรอื สถานท่ีไม่เหมาะสมสำหรบั สภาพการเป็นนกั เรยี น เชน่ สถานเรงิ รมยต์ ่าง ๆ ๓.๓.12 ทำลายทรัพย์สินอันเปน็ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสุวรรณภูมิ 83

๓.๓.13 แสดงกริ ยิ าก้าวร้าว กระดา้ งกระเดื่อง ลบหลูด่ หู มิ่นเหยียดหยาม ท้าทาย อาฆาต พยาบาท ใชก้ ำลงั ประทุษรา้ ยบุคลากรของโรงเรียน ๓.๓.14 ประพฤติตนเป็นอันธพาล ขม่ ขู่ รดี ไถ เปน็ ผู้ใชห้ รือบงการหรอื บงั คบั ใหผ้ อู้ ืน่ กระทำ ผิด ๓.๓.15 กระทำผดิ กฎหมายของบ้านเมืองอนั กอ่ ให้เกิดความเสียหายต่อโรงเรียน ๓.๓.16 แอบอ้างช่ือโรงเรยี นหรอื บคุ คล หรือประพฤติผดิ กระทำผิด ซึ่งอาจนำความเสือ่ ม เสยี หรือกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อโรงเรียนและสังคม ๓.๓.17 ขับขจ่ี ักรยานยนต์ หรอื รถยนต์ ในเครอ่ื งแบบนกั เรียน ท้ังในและนอกโรงเรียน หมวดท่ี ๕ นกั เรยี นประพฤติหรอื กระทำดี เพื่อเป็นการยกย่อง ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่นักเรียนที่ประพฤติหรือกระทำดี และส่งเสริมให้นักเรียน มีคุณธรรม จริยธรรมสูงส่งยิ่งขึ้น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ ได้กำหนดให้คะแนน การประพฤติหรอื กระทำดีแก่ นักเรยี น โดยนกั เรียนท่ไี ดค้ ะแนนประพฤติหรอื กระทำดสี ะสมต้ังแต่ ๘๐ คะแนน ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรยกย่องของโรงเรียน และได้รับการบันทึกประวัติดีเด่ นในทะเบียนประวัติ เป็นหลักฐาน และนักเรียนที่ได้รับคะแนนประพฤติหรือกระทำดีสะสม ๓ ปีการศึกษาตั้งแต่ ๓๐๐ คะแนน ขึ้นไป จะได้รับเกียรติบัตรยกย่อง และเข็มเชิดชูเกียรติ หรือเหรียญเชิดชูเกียรติของโรงเรียน และได้รับการ บันทกึ ประวัติดีเด่นในทะเบียนประวัติเปน็ หลักฐาน ขอ้ ๑ คะ นนการประพฤติดหี รอื ทำความดี ๑.๑ เกบ็ ของมีค่าหรอื เงนิ ทีม่ ีมูลคา่ ไมเ่ กิน ๕๐ บาทส่งคืน ได้คะแนน ๕ คะแนน ๑.๒ เก็บของมีคา่ หรือเงนิ ท่มี มี ลู คา่ ตง้ั แต่ ๕๑ บาท ไมเ่ กนิ ๑๐๐ บาทสง่ คืน ไดค้ ะแนน ๑๐ คะแนน ๑.๓ เก็บของมีคา่ หรอื เงนิ ที่มีมูลคา่ ตั้งแต่ ๑๐๑ บาท ไม่เกิน ๕๐๐ บาทส่งคนื ไดค้ ะแนน ๒๐ คะแนน ๑.๔ เก็บของมีคา่ หรือเงนิ ทีม่ ีมูลค่าต้ังแต่ ๕๐๑ บาทข้ึนไปส่งคืน ได้คะแนน ๓๐ คะแนน ๑.๕ แสดงความมนี ำ้ ใจ เช่น ช่วยเหลืองานคุณครโู ดยมติ ้องรอ้ งขอ ไดค้ ะแนน ๑๐ คะแนน ๑.๖ แจง้ เบาะแสหรือแจง้ ขา่ วผูก้ ระทำผิดระเบยี บของโรงเรียน ได้คะแนน ๑๐ คะแนน ๑.๗ กรณอี ืน่ ๆ ทม่ี ไิ ด้ระบไุ วใ้ นระเบยี บหมวดน้ี ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ ิจของคุณครผู ู้ใหค้ ะแนนให้เหมาะสม ใกล้เคยี งกับระดบั คะแนนความดที ีก่ ำหนดไวใ้ นหมวดน้ี ๑.๘ ให้คณุ ครทู กุ ทา่ นเปน็ ผู้ให้คะแนนการประพฤติหรือการทำดขี องนกั เรียนทกุ คนเมื่อประสบ พบเหน็ โดยใหบ้ ันทกึ ลงในสมดุ ความดี และมอบให้กับนักเรียน ให้นกั เรียนนำไปแจง้ กบั ฝ่ายกจิ การนกั เรียน เพ่อื บันทกึ คะแนนไวใ้ นสมดุ ความดีเปน็ หลักฐาน 84 ค่มู อื นกั เรยี น ผปู้ กครอง ๒๕๖๔

ข้อ ๒ คะ นนการชนะการประกวดหรือการ ขง่ ขนั กจิ กรรมต่าง ๆ ๒.๑ นักเรยี นทช่ี นะการประกวดหรือการแขง่ ขนั กิจกรรมต่าง ๆ ภายในโรงเรียน ๒.๑.๑ ชนะการประกวดหรือการแขง่ ขัน รางวัลท่ี ๑ ได้คะแนน ๑๐ คะแนน ๒.๑.๒ ชนะการประกวดหรือการแข่งขัน รางวลั ที่ ๒ ได้คะแนน ๘ คะแนน ๒.๑.๓ ชนะการประกวดหรือการแขง่ ขัน รางวลั ที่ ๓ ไดค้ ะแนน ๕ คะแนน ๓.๒ นกั เรียนทชี่ นะการประกวดหรือการแขง่ ขนั กจิ กรรมต่าง ๆ ภายนอกโรงเรียน ๓.๒.๑ ชนะการประกวดหรือการแขง่ ขัน รางวลั ที่ ๑ ไดค้ ะแนน ๓๐ คะแนน ๓.๒.๒ ชนะการประกวดหรือการแข่งขัน รางวลั ท่ี ๒ ไดค้ ะแนน ๒๐ คะแนน ๓.๒.๓ ชนะการประกวดหรือการแขง่ ขัน รางวลั ท่ี ๓ ไดค้ ะแนน ๑๐ คะแนน ๓.๓ ใหค้ ุณครทู รี่ ับผดิ ชอบการประกวดหรือการแขง่ ขนั บันทึกลงในสมุดความดี และแจง้ กับ ฝ่ายกจิ การนักเรยี นเพ่อื บันทกึ รวบรวมคะแนนไว้ในสมุดความดเี ป็นหลักฐาน ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ( นายศุภกฤต ดษิ ฐสวุ รรณ ) ผ้อู ำนวยการโรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพฒั นาการสุวรรณภูมิ โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ 85

โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการสุวรรณภูมิ คำสญั ญาของนักเรยี น ขอให้คำสัญญาต่อผู้อำนวยการโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภูมิ ว่าจะปฏิ ตั ิตน ดงั ต่อไปนี้ ๑. ไม่สูบ หรอื เสพ ขาย ยาเสพตดิ หรือมียาเสพติดหรอื ของมึนเมาในครอบครอง ตามพรบ.ยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ.2522 ๒. ไม่ขับข่ีรถยนต์ หรอื รถจักรยานยนต์มาโรงเรยี น ๓. มาโรงเรียนให้ทันเวลา ๐๗:๔๐ น. เพอื่ ร่วมทำกิจกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอและถ้าไม่มาโรงเรียนให้ผปู้ กครองโทรแจ้งครทู ี่ ปรึกษาและสง่ ใบลาทกุ ครง้ั ๔. ต้งั ใจเรยี นและเอาใจใส่ในการเรียน ตง้ั ใจทำการบา้ น และงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายอย่างครบถ้วนและสง่ ตาม กำหนดเวลา ๕. ไม่หนโี รงเรยี น ไม่หลบหนใี นชวั่ โมงเรยี น ๖. เคารพเช่อื ฟงั คำอบรมสง่ั สอนของครู ไม่แสดงกิริยาวาจาท่ีไมส่ ุภาพหรือกา้ วร้าว ๗. รักษาสมบตั ิส่วนรวม ไมท่ ำลายหรอื ทำให้ทรัพยส์ ินของโรงเรียนเสียหาย ชำรุด หรอื ใช้สตี ่าง ๆ พ่น ทา ขีด เขียนคำ หยาบ หรือข้อความใด ๆ บนโต๊ะ ม้านง่ั หอ้ งสุขา รวมท้งั ฝาผนัง ๘. ไมก่ ่อการทะเลาะวิวาท หรือทำร้ายรา่ งกายท้งั นกั เรียนของโรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการสุวรรณภูมิ หรอื บคุ คลภายนอก ๙. ไมพ่ กพาอาวธุ ทุกประเภทมาโรงเรยี น ๑๐. ไมส่ วมใสเ่ ครอ่ื งประดับ ไมน่ ำของมคี า่ ทกุ ชนิด และสงิ่ ของผดิ ระเบียบมาโรงเรียน หากฝ่าฝนื และเกดิ การสูญหาย ขา้ พเจ้าจะเป็นผู้รับผิดชอบเอง โดยไม่เรียกร้องการดำเนินการใด ๆ จากทางโรงเรียน ๑๑. ไม่ลักขโมยส่ิงของของผอู้ นื่ หรอื ทรพั ย์สนิ ของโรงเรียน ๑๒. ไมป่ ระพฤติตนอันเปน็ การไมเ่ หมาะสมเชงิ ชสู้ าว หรอื ลว่ งละเมดิ กับเพศตรงข้าม ๑๓. ปฏิบตั ติ นตามระเบยี บของโรงเรียนทัง้ ท่มี ีอยู่แล้ว และที่จะปรากฏต่อไปโดยครบถว้ น หากถูกตดั คะแนนพฤติกรรม เกนิ ๖๐ คะแนน ยนิ ยอมใหเ้ สนอชือ่ ตอ่ คณะกรรมการกิจการนักเรียนพิจารณาเปลี่ยนสถานศกึ ษาโดยไม่มขี ้อโต้แยง้ ใด ๆ ๑๔. กรณีนกั เรียนเกิดอบุ ตั ิเหตถุ งึ ขัน้ ต้องได้รบั การผา่ ตัด และโรงเรียนไม่สามารถตดิ ตอ่ ผู้ปกครองได้ ผู้ปกครองต้องมอบ อำนาจการตดั สินใจยินยอมใหร้ องผอู้ ำนวยการกลุ่มงานบรหิ ารท่ัวไป ทำหนา้ ท่แี ทนผปู้ กครองได้ ข้าพเจ้า ได้รั ทรา ระเ ีย ข้อ ังคั ต่างๆในสัญญานี้ ละคู่มือนักเรียนของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ ล้ว ยนิ ดจี ะปฏิ ัติตามทุกประการ จงึ ลงลายมอื ช่อื ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน ลงชือ่ ..............................................................ผูใ้ หค้ ำสัญญา (.............................................................) ................/................./................ 86 ค่มู ือนกั เรียน ผปู้ กครอง ๒๕๖๔

กลุ่มงานบริการ งานอาคารสถานท่ีและส่งิ แวดลอ้ ม งานซอ่ มบารุง งานประชาสมั พนั ธ์ งานโภชนาการและโรงอาหาร งานโสตทศั นศกึ ษา งานสาธารณปู โภค งานอนามยั โรงเรยี น งานสมั พนั ธช์ มุ ชน โรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ 87

การพัฒนาอาคารส านท่ี ละสิ่ง วดลอ้ ม รู ณาการ ๕ หลกั การ ๓ นวทาง โดย นายศุภกฤต ดิษฐสุวรรณ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษาพฒั นาการสวุ รรณภูมิ นวตั กรรมการพัฒนาอาคารสถานท่แี ละส่งิ แวดล้อมแบบบรู ณาการ ๕ หลกั การ ๓ แนวทางน้ี มี วตั ถุประสงคเ์ พอื่ ๑. ลดปริมาณพื้นท่ีที่เป็นจุดอบั จดุ บกพร่อง และจดุ เสอื่ มโทรมใหเ้ กิดความสะอาด ร่มรนื่ สวยงาม น่าอยู่ ปลอดภัย เป็นแหล่งเรยี นรทู้ ดี่ ี เกดิ มลู คา่ เพิม่ ทางเศรษฐกจิ ๒. ลดภาระค่าใชจ้ า่ ยในการจา้ งพนกั งานและชว่ ยแก้ปญั หาการขาดแคลนอตั รากำลังของบคุ ลากร ในการดูแลรักษาความสะอาดความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ยของอาคารสถานทแี่ ละส่ิงแวดลอ้ ม ๓. เพ่ิมและพัฒนาแหล่งเรยี นร้ใู ห้เออ้ื ต่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๔. พัฒนาทักษะกระบวนการคดิ และทกั ษะการทางานเป็นทีมใหก้ บั นกั เรยี น ครู และบคุ ลากร ๕. นกั เรยี น ครู บคุ ลากร และชมุ ชนเกิดความพงึ พอใจในการใช้บรกิ าร การดำเนนิ การใช้ตวั แบบการพฒั นาอาคารสถานท่ีและสงิ่ แวดล้อมแบบบรู ณาการ ๕ หลกั การ ๓ แนวทาง ซึ่งมสี าระสำคัญดงั น้ี หลกั การที่ ๑ หลักการเปน็ เจา้ ของ เป็นหลักการกระจายความรับผิดชอบให้กับนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครองและคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้เข้ามามีส่วนร่วมเป็นเจ้าของพื้นที่ โดยการแบ่งพื้นที่ของโรงเรียนออกเป็นส่วน ๆ ตามจำนวนห้องเรียน มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการดูแลรักษา พัฒนา เฝ้าระวัง ตรวจสอบและแก้ไข ปัญหาในพื้นที่รับผิดชอบของตนภายใต้เงื่อนไขว่า ทำอย่างไร? อาคารสถานที่และพื้นที่รับผิดชอบที่ได้รับ จดั สรรจะสะอาด ร่มร่ืน สวยงาม น่าอยู่ ปลอดภยั เป็นแหลง่ เรยี นรู้ทดี่ ี และเกิดมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจ หลกั การที่ ๒ หลักการมสี ่วนรว่ ม เมื่อทุกคนได้เป็นเจ้าของพื้นที่ที่ได้รับจัดสรรแล้ว ผู้ที่มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของทุกคนจะต้องร่วมกัน คิดวางแผน หาวิธีการในการปรับปรุง พัฒนา บำรุงรักษาพื้นที่ที่รับผิดชอบด้วยกระบวนการคิด กระบวนการ ปฏิบัติและการประเมินผลงานอย่างสร้างสรรค์ โดยสามารถระดมทรัพยากรและความร่วมมือจากทุกภาคส่วน มาประยกุ ต์ใช้เพ่ือการพัฒนาให้บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ หลักการที่ 3 หลักการพจิ ารณาความคุ้มค่า ทรัพยากรทั้งหลายที่ใช้ในการพัฒนาเพื่อให้อาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมเกิดความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม น่าอยู่ ปลอดภัย เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดี และก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ผู้มีส่วนร่วมเปน็ เจ้าของควรประเมนิ ความคุ้มค่าระหว่างผลประโยชน์ทีเ่ กิดขึ้น กับต้นทุนทีใ่ ช้ไปวา่ คุ้มค่าหรือไม่ โดยยึดหลักการประเมินอัตราส่วนระหว่างผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับต้นทุนที่ใช้ไป ทั้งที่คิดเป็นตัวเงิน ได้และคิดเป็นตัวเงนิ ไม่ได้ 88 ค่มู อื นกั เรียน ผปู้ กครอง ๒๕๖๔

หลกั การท่ี ๔ หลักแนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพียง การบริหารจัดการพื้นที่ที่ทุกคนมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของนั้น นอกจากจะพิจารณาถึงความคุ้มค่าแล้ว สิ่งที่ทุกคนจะต้องคิดคำนึงอยู่เสมอ คือ การน้อมนำเอาหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ คือหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน ภายใต้เงื่อนไขความรู้ควบคู่ คุณธรรม ที่สำคัญ จะต้องมีสติปญั ญาและความเพยี ร ซ่งึ จะนำไปส่คู วามสขุ ในการดาเนนิ ชวี ิตอย่างแทจ้ ริง หลักการท่ี ๕ หลักการพฒั นาอย่างต่อเนอื่ งและยั่งยนื เมื่อผู้มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของพื้นที่รับผิดชอบทุกคน นำหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ การพัฒนาจะเกิดความต่อเนื่องและย่งั ยนื สมาชกิ ทุกคนต้องหมัน่ ตรวจสอบ ดแู ล แกไ้ ข ควบคุม คุณภาพรักษา มาตรฐาน การปฏิบัติและพยายามยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการปฏิบัติให้สูงขึ้น โดย คำนึงถึงผลลัพธ์ ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น พยายามศึกษาค้นคว้าวิจัยการดำเนินงานเพื่อให้ได้วิธีปฏิบัติที่ดีและเป็นแบบอย่างใน การพฒั นาอย่างสรา้ งสรรค์ ในการ รู ณาการ ๕ หลกั การนนั้ ผู้ปฏิ ตั ิควรดำเนินการโดยคำนงึ ึงเงือ่ นไข ๓ นวทาง คือ ๑. ทำอย่างไร ? อาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมจะสะอาดร่มรื่น เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม น่าอยู่ ปลอดภัย ๒. ทำอย่างไร ? อาคารสถานทแ่ี ละสง่ิ แวดล้อมจะเปน็ แหลง่ เรียนรูท้ ่ีดี ๓. ทำอยา่ งไร ? อาคารสถานทแ่ี ละสิ่งแวดลอ้ มจะเกดิ มูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกจิ ภายใต้เงื่อนไขทั้ง ๓ แนวทางนั้น เป็นคำถามที่นำไปสู่การฝึกทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และคิดอย่างสรา้ งสรรคข์ องผู้มีส่วนรว่ มเป็นเจ้าของพ้ืนที่ทุกคนว่าจะมีวิธีการใดบา้ งทีจ่ ะนำไปใช้ ในการปฏบิ ัตแิ ลว้ บรรลุผล จะใชท้ รัพยากรอะไรบ้าง จากแหล่งใด ปริมาณเท่าไร ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการ ปฏิบัติการในส่วนใดบ้าง จะมีวิธีดูแล ตรวจสอบ ควบคุมคุณภาพได้อย่างไร จะประเมินผลความสำเร็จ ไดอ้ ยา่ งไร โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ 89

90 ค่มู ือนกั เรียน ผ้ปู กครอง ๒๕๖๔

นวทางการปฏิ ตั ิตนของนกั เรยี น นกั เรยี นโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษาพฒั นาการสวุ รรณภมู ิ มีหน้าทีร่ ับผิดชอบและดูแลอาคารสถานที่ ตามนโยบาย ของผูอ้ ำนวยการ ๕ หลักการ ๓ แนวทาง ดงั นี้ ๑. นกั เรยี นตอ้ งชว่ ยกนั ดแู ลรกั ษาทรพั ยส์ มบตั ขิ องโรงเรยี นใหค้ งอยสู่ ภาพเดมิ ๒. นกั เรยี นตอ้ งชว่ ยกนั ดแู ลรกั ษาความสะอาดภายในหอ้ งเรยี นและบรเิ วณทเ่ี กย่ี วขอ้ งใหส้ ะอาด เป็นระเบยี บเรียบร้อยอยู่เสมอ ๓. นกั เรยี นตอ้ งประหยดั การใชน้ ำ้ การใชไ้ ฟฟา้ เชน่ ไม่เปดิ น้ำทง้ิ ไว้ ปิดกอ๊ กน้ำใหส้ นิท ปดิ ไฟ ปิดพัดลม และเครื่องปรบั อากาศก่อนออกจากห้องหรอื ใชต้ ามความจำเป็น ๔. ชว่ ยกันรักษาความสะอาดห้องน้ำ หอ้ งสว้ ม โดยทำความสะอาด หลังการใช้ทุกคร้ัง ๕. ไมข่ ีดเขียนรปู ภาพหรือข้องความใด ๆ ลงบนโตะ๊ เกา้ อ้ีพื้นหอ้ ง ผนัง หอ้ งเรียน ห้องนำ้ อาคารเรยี น หากพบเหน็ รอ่ งรอยเดมิ ให้ช่วยกนั ทำความสะอาด ใหเ้ รียบรอ้ ย ๖. แบง่ หนา้ ทแี่ ละเขตความรับผิดชอบการทำความสะอาดหอ้ งเรียน หรือบรเิ วณ ทีไ่ ด้รับมอบหมาย ใหด้ ูแลรกั ษา เชน่ สนาม สวนหยอ่ ม ลานใตต้ น้ ไม้ รวมถึง ส่ิงแวดล้อมทว่ั ไปให้อยูใ่ นสภาพดีเสมอ ๗. ให้ความร่วมมือในการปฏบิ ัติดูแลรักษา และใช้เครื่องมอื คอมพวิ เตอร์ และอปุ กรณ์อนิ เตอรเ์ น็ต อย่างระมัดระวัง เพอ่ื ให้มีอายกุ ารใชง้ านดีอยูเ่ สมอ ๘. ใหค้ วามรว่ มมอื ในการใชห้ ้องสมดุ อย่างมีระเบยี บวนิ ัยที่ถกู ตอ้ ง รกั ษา สภาพที่ดีของหนงั สอื ไม่ขดู ขีด ฆ่าหรอื ฉีกหนังสอื ไมท่ ำลายเครื่องมือเคร่ืองใช้ใดๆ ทเ่ี ป็นอุปกรณ์สว่ นรวม ไมร่ บกวนผู้อ่นื ช่วยกนั รักษาความสะอาดหอ้ งสมุด ข้อปฏิ ัตปิ ระจำวัน ๑. ครูที่ปรึกษากำกบั นกั เรยี นไปยงั หอ้ งเรยี น ๒. จัดวางรองเทา้ หนา้ หอ้ งเรียนใหเ้ ป็นระเบยี บ ๓. ปดิ อุปกรณ์สอ่ื สารและเกบ็ ไว้ในท่ีจัดเก็บของแต่ละหอ้ งเรยี น ๔. ไม่อนุญาตใหน้ กั เรยี นชาร์จอปุ กรณ์ส่ือสารในหอ้ งเรียน ๕. เปดิ หนา้ ตา่ ง เพ่ือใหอ้ ากาศถา่ ยเท ในช่วงเวลา Homeroom ๖. เปดิ ผ้ามา่ น โดยคล้องสายเก็บผา้ มา่ นให้เรยี บรอ้ ย และปิดผา้ มา่ นในยามจำเป็นเท่านน้ั ๗. ดแู ลทำความสะอาดโต๊ะ เกา้ อี้ พนื้ ห้องเรียน และจดุ เกบ็ อุปกรณ์ทำความสะอาด ให้เปน็ ระเบียบ ท้งั น้หี า้ มมีขยะในถังขยะข้ามวัน ๘. เตรียมพรอ้ มสำหรับการเรยี น ตามมาตรการ ๙ ส โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภมู ิ 91

งานอนามัยในโรงเรยี น การให้ รกิ าร ละระเ ยี การใช้หอ้ งพยา าล (ตคู้ อนเทนเนอร์ ) ๑. อนุญาตให้เฉพาะนักเรยี นทป่ี ว่ ยเขา้ ห้องพยาบาลไดเ้ ท่าน้นั ยกเว้นกรณปี ว่ ยไม่สามารถช่วยเหลือ ตวั เองได้ อนุญาตใหเ้ พือ่ นมาสง่ ได้ไมเ่ กนิ ๒ คน ๒. การขอรับยา - แสดงบัตรประจำตัวนกั เรยี น เพอ่ื บันทึกขอ้ มูลสขุ ภาพ เมอ่ื เข้ารับบรกิ ารในหอ้ งพยาบาล - ระบอุ าการปว่ ยลงในคอมพิวเตอร์ เพ่ือบันทึกขอ้ มูลและแจง้ ครพู ยาบาล ๓. การขอนอนพักห้องพยาบาลใหน้ ักเรยี นปฏิบัตดิ งั น้ี - นำเพ่ือนมาดว้ ยไมเ่ กนิ ๒ คน - ตอ้ งได้รับอนุญาตจากครหู อ้ งพยาบาลกอ่ นทุกครง้ั - บันทกึ ขอ้ มลู ลงในสมดุ บันทกึ การนอนห้องพยาบาล - ให้เพือ่ นนำใบขออนญุ าตนอนห้องพยาบาลแจง้ ใหค้ รปู ระจำชน้ั และประจำวิชาทราบ - ก่อนออกจากหอ้ งพยาบาล คลมุ เตยี งใหเ้ รยี บร้อย (นักเรยี นนอนไดไ้ มเ่ กิน ๑ คาบเรียน หรือเว้นแตบ่ างกรณี ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ ิจของครูพยาบาล) ๔. นกั เรยี นที่ไดร้ ับอุบตั ิเหตุ หรอื เจบ็ ป่วยมาก ครหู อ้ งพยาบาลจะเป็นผูต้ ดิ ต่อผปู้ กครองนำส่งแพทยเ์ อง การให้ รกิ ารพเิ ศษ ๑. โรงเรียนประกันอบุ ตั ิเหตุให้นกั เรยี นทกุ คน ในวงเงนิ รักษา ๘,๐๐๐ บาทตอ่ ครัง้ ๒. โรงเรียนจัดเชิญแพทย์ตรวจสุขภาพประจำปใี ห้กับนักเรยี น ครูและบุคลากร นวปฏิ ัตใิ นการขอรั เงนิ ค่าประกนั อุ ตั ิเหตุ ๑. สิ่งท่ีนกั เรยี นตอ้ งเตรยี มมาย่นื ให้กับเจา้ หนา้ ท่ีงานพยาบาลและงาน อนามยั โรงเรยี นกรณีเกิดอุบตั เิ หตุ ๑.๑ ใบรบั รองแพทย์ฉบบั จรงิ ๑.๒ ใบเสรจ็ รบั เงนิ ฉบบั จรงิ ๒. ระยะเวลาในการดำเนนิ การ ๒.๑ นักเรียนยน่ื เอกสารกับเจา้ หน้าทงี่ านพยาบาลและงานอนามัยโรงเรยี น และกรอกเอกสารประกนั ๒.๒ เจ้าหน้าทงี่ านพยาบาลและงานอนามยั โรงเรียนส่งเอกสาร ทกุ วันท่ี ๑ และ ๑๕ ของเดอื น ๒.๓ บรษิ ัทประกันภยั พิจารณาอนมุ ัติการเบิกจ่ายเงินประกนั ประมาณ ๑-๑๕ วนั ๒.๔ เจา้ หนา้ ทงี่ านพยาบาลและงานอนามยั โรงเรียนเบิกเงินเพือ่ จ่ายใหก้ บั นกั เรยี นประมาณ ๑๕ วัน ๓. ข้อตกลงคมุ้ ครอง ๓.๑ ผลประโยชน์การเสยี ชีวิตจากอบุ ตั ิเหตุ การสญู เสยี อวยั วะ สายตา หรือทพุ พลภาพถาวรสิน้ เชงิ จำนวนเอาประกันภัย จำนวน ๘๐,๐๐๐ บาท ๓.๒ ผลประโยชน์คา่ รกั ษาพยาบาล (ตอ่ อบุ ัติเหตแุ ตล่ ะครง้ั ) จำนวน เอาประกนั ภยั จำนวน ๘,๐๐๐ บาท 92 ค่มู อื นกั เรยี น ผู้ปกครอง ๒๕๖๔

งานโภชนาการ ละโรงอาหาร ระเ ยี การใชโ้ รงอาหาร ๑. การจำหนา่ ยอาหาร ใช้ระบบการชำระเงนิ ผ่านบัตรนักเรยี น (smart card) ๒. นกั เรยี นตอ้ งซอ้ื และรบั ประทานอาหารตามเวลาทโ่ี รงเรยี นกำหนด ดงั น้ี  เชา้ ๐๖:๐๐ น. ถึง ๐๗:๔๕ น. (ร้านคา้ ต้องหยุดจำหนา่ ยอาหาร และเครือ่ งด่ืมใหก้ บั นกั เรยี นก่อน หมดเวลาในแต่ละชว่ ง ๕ นาที )  พกั กลางวนั รอบ ม.ตน้ เวลา ๑๐:๕๐ น. ถึง ๑๑:๔๕ น. รอบ ม.ปลาย เวลา ๑๑:๔๐ น. ถงึ ๑๒:๓๕ น. ๓. กำหนดใหน้ ักเรียนรับประทานอาหาร เคร่อื งดื่ม และขนมในบริเวณโรงอาหารเท่านั้น ๔. ไม่นำภาชนะใส่อาหาร เครือ่ งด่มื ออกนอกบริเวณโรงอาหาร ๕. เม่ือรบั ประทานอาหารเสรจ็ เรยี บรอ้ ย ต้องเกบ็ ภาชนะทใ่ี ช้แลว้ แยกลงในภาชนะรองรับทจี่ ดั เตรยี มไว้ ****ช่วงส านการณ์การ พร่ระ าดของโควิท- ๑๙**** ๑. โรงอาหารจะทำความสะอาดทกุ วัน ด้วยนำ้ ยาฆา่ เชอ้ื หรอื แอลกอฮอล์ 70% โดยเฉพาะบรเิ วณที่ใช้ ร่วมกัน เชน่ โต๊ะ เก้าอ้ี พืน้ โรงอาหาร ร้านคา้ เป็นตน้ ๒. จาน ชาม ช้อน สอ้ ม ของโรงอาหารผ่านการฆา่ เช้ือด้วยเครื่องฆ่าเช้ืออินฟาเรด ๓. นกั เรยี นตอ้ งลา้ งมอื ดว้ ยเจลแอลกอฮอล์ ๗๐ % กอ่ นเขา้ โรงอาหารทุกครัง้ ๔. นกั เรยี นควรลา้ งมอื ดว้ ยสบใู่ หส้ ะอาดกอ่ นการรบั ประทานอาหาร ๕. นกั เรยี นจะตอ้ งพกั รบั ประทานอาหารกลางวนั ตามชว่ งเวลาทท่ี างโรงเรยี นกำหนดให้ โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการสวุ รรณภมู ิ 93

งานประชาสมั พนั ธ์ งานประชาสัมพันธ์ของโรงเรียนเป็นศูนย์กลางในการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วย งาน ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน โดยการเผยแพร่กิจกรรมข่าวสารต่าง ๆ เพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง รวดเร็วและสร้างสัมพันธภาพอันดีระหว่างบุคลากรและระหว่างหน่วยงาน ตลอดจน ให้การต้อนรับ ตอบข้อซักถาม การให้ข่าวสารและอำนวยความสะดวกต่าง ๆ แก่บุคคล หน่วยงานอื่น ๆ ที่มาติดต่อหรือมา เยี่ยมชมโรงเรยี น ช่องทางการประชาสมั พนั ธข์ องโรงเรียน 1. เว็บไซต์โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษาพฒั นาการสุวรรณภมู ิ www.tupp.ac.th 2. เพจเฟซบุ๊กของโรงเรยี น : TUPP และ PR TUPP 3. YouTube : TUPP channel 4. หมายเลขโทรศัพท์ 021306442 ฝา่ ยวิชาการ และ 021306445 ฝา่ ยประชาสัมพันธ์ 5. วารสารประจำปี สารสัมพนั ธ์สุวรรณภูมิ 6. กลุ่มไลนผ์ ูป้ กครองและนักเรียนของแตล่ ะหอ้ งเรยี น 94 ค่มู ือนกั เรยี น ผปู้ กครอง ๒๕๖๔